Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ancient Egypt อารยธรรมอียิปต์3 สมัยราชอาณาจักรกลาง

Ancient Egypt อารยธรรมอียิปต์3 สมัยราชอาณาจักรกลาง

Published by ขวัญจิต บุญมาก, 2022-01-21 02:21:30

Description: เรียนประวัติศาสตร์กับครูขวัญจิต

Search

Read the Text Version

ฟาโรห์เมนทโู ฮเทปที่ 2 (Mentuhotep II) ได้รวมอียิปต์บน และล่างเขา้ ด้วยกันสรา้ งเมืองหลวงใหม่ท่ีเมืองธปี ส์ (Thebes) ซง่ึ ตั้งอยูบ่ นฝ่ ังตะวนั ตกของแม่น้าไนล์ ฟาโรห์อเมเนมฮทั ที่ 1 (Amenemhet I) ครองราชยต์ ้ังแต่ 1991 – 1962 B.C. เป็นฟาโรห์ทม่ี ีบทบาทในการสรา้ งความ รุง่ เรอื งให้กับอียปิ ต์ในยุคนี้ งราชวงศ์ท่ี 12 นี้เรยี กได้วา่ เป็นยุคทองของอียปิ ต์ในยุคอาณาจกั รกลาง ทงั้ ด้านเศรษฐกิจ สถาปัตยกรรม มีการสรา้ งคลองติดต่อไปถึงทะเลแดง มีการสรา้ งเขอื่ นกั้นนา้ มีการแต่งวรรณคดีทง้ั บทรอ้ ยแก้วและ รอ้ ยกรอง (ยุคน้ีเป็นยุคเดียวกันกับอารยธรรมบาบิโลนของ พระเจา้ ฮมั มูราบีของเมโสโปเตเมีย) ยุคอาณาจกั รกลางเจรญิ ถึงขดี สุดในชว่ งสมัยของฟาโรห์อเมเนมฮัทที่ 3 (Amenemhet III) ราว 1842 – 1797 B.C. อาณาจกั รเรม่ ิ เส่ือมถอยลงในสมัยของฟาโรห์อเมเนมฮัทที่ 4 (Amenemhet IV) ราวๆ 1798 – 1790 B.C. และมาสิ้นสุด ราชวงศ์ที่ 12 ในชว่ งสมัยของ น้องสาวฟาโรห์อเมเนมฮทั ที่ 4 ราชนิ ีโซเบคเนเฟรู (Sobekneferu) ครองราชย์ชว่ ง 1789 – 1786 B.C. ซง่ึ ถือเป็นผู้ปกครองอียปิ ต์ทเ่ี ป็นผู้หญงิ คนแรก

ฟาโรห์เมนตโู ฮเทปท่ี 2 (Mentuhotep II) 2061 - 2010 B.C. ✿ ฟาโรห์กลบั มามอี านาจ รวบรวมอาณาจกั รเป็นปกึ แผ่นอีกครงั้ เปน็ การเขา้ สู่ราชอาณาจกั รสมยั กลาง ✿ ต้ังเมืองธบี ส์ (Thebes) เป็นเมอื งหลวง และตั้งราชวงศ์ท่ี 11 และสรา้ งโบสถ์ใหญอ่ ันสวยงามท่ี เดียร์ เอล-บาฮาร ี (Deir el-Bahari) เปน็ ทฝ่ี งั พระศพของพระองค์และฟาโรห์อีกหลายองค์ ✿ อียิปต์เรม่ ิ กลายเปน็ ชาติมหาอานาจ และสามารถตีอาณาจกั รนเู บยี ได้ ซง่ึ อุดมไปด้วยเหมอื งหิน ทองคา ✿ มีความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางวฒั นธรรมและทาค้าขายกบั เมือง Thebes อาบดิ อส (Abydos) เกาะครตี (Crete) นเู บยี (Nubia) พื้นที่อุดมสมบูรณ์ ประชากรอยคู่ งที่ อาระเบยี (Arabia) และบาบโิ ลเนยี (Babylonia) สมัยอาณาจกั รเกา่ ✿ วรรณคดีและศิลปกรรมกเ็ จรญิ ข้ึนมาก สมัยอาณาจกั รกลาง ✿ ดาเนนิ โครงการถมดินและชลประทานเพ่ือเพม่ิ ผลผลติ การเกษตร ท่ีผนวกดินแดนเพิ่มขน้ึ ✿ มกี ารสรา้ งป้อมปอ้ งกันในสามเหลยี่ มปากแม่นา้ ตะวนั ออก เรยี กวา่ กาแพงแหง่ ผปู้ กครองไวเ้ พือ่ ป้องกนั การรกุ รานจากต่างชาติ

ยุคทองของอยี ปิ ต์ พีระมิดแหง่ อาเมเนมัตที่ 1 เมืองธบี ส์ ฟาโรห์อเมนเนมเฮตทหี่ นงึ่ (Amenemhet I) 1991-1962 B.C. เรยี กได้วา่ เปน็ ยุคทองของอียปิ ต์ด้านเศรษฐกิจ สถาปัตยกรรม การสรา้ งคลองติดต่อไปถึงทะเลแดง การสรา้ งเขื่อนกั้นนา้ วรรณคดีทง้ั บทรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง ยุคน้ีเปน็ ชว่ งเดียวกัน กับอารยธรรมบาบโิ ลนของพระเจา้ ฮมั มูราบี ♠เกิดสงครามรบพุ่งกัน เป็นระยะๆ ทาให้ขาดกาลังทรพั ย์และ กาลังคนสรา้ งพีระมิด จงึ ใชก้ ารเจาะภูเขาเปน็ สุสานเก็บศพ เรยี กวา่ Rock – Cut – Tombs ♠ตั้งราชวงศ์ท1่ี 2 ข้ึน ได้นาความม่ังค่ังและเจรญิ รุง่ เรอื งกลับมา สู่อียิปต์อีกครง้ั มีการทาเหมืองแรแ่ ละอู่ต่อเรอื นอกจากนี้ มีการสรา้ งพีระมิดขนาดใหญข่ ึ้นหลายแห่งการเพาะปลูกอุดม สมบูรณ์ อานาจของฟาโรห์กลับมายิ่งใหญ่และมั่งค่ังอีกครงั้ หนงึ่ ภาพสลกั หิน ภายในพีระมิด ทางเข้า พีระมดิ ฟาโรห์อเมนเนมเฮตที่ 1 ความสงู 55 ม. ฐานยาว 83 ม.ความชนั 54 องศา ถูกสรา้ งขน้ึ ด้วยหนิ ปนู หยาบกอ้ นเลก็ ของทอ้ งถ่ิน เศษทรายและอฐิ โคลน หินปนู บางสว่ นถูกดึงออกจากพรี ะมดิ อ่ืนๆ ด้านในเป็นหนิ แกรนิต รอบพีระมิดมีหลมุ ฝงั ศพเลก็ ๆ ของขา้ ราชการชน้ั สงู รบั ใชฟ้ าโรห์

ฟาโรห์เซนสุ เรตท่ี 1-3 (Senusret I-III 1926-1839 B.C.) ฟาโรห์เซนุสเรตท่ี 1-3 ยุคแห่งสันติภาพและความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ก่อนถกู ชาวฮกิ โซสรกุ ราน ประติมากรรม Sesostris ท่ี 3 ♣ แผ่อิทธพิ ลครอบครองดินแดนตอนเหนือและตอนใต้ของอียปิ ต์ สูง 6 ½ นิ้ว แสดงลักษณะฟาโรห์ วา่ มิใชเ่ ทพ แต่เป็นสมมติเทพ สรา้ งปอ้ มปราการขนาดใหญ่ป้องกันการรุกราน พระพักตรเ์ ศรา้ เพราะสภาพ บา้ นเมืองไม่ค่อยสงบ ♣ มีความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางเศรษฐกิจ พีระมิด ขุดลอกคลองแม่น้าไนล์ใชใ้ นการเกษตร ฟ้ ืนฟูหัตถกรรมและการค้า ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 3 ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 1 Senusret III ได้สรา้ งปราสาท และพรี ะมิด และป้อมปราการเพ่ือปกป้องอียปิ ต์ ทางตอนใต้ ป้อมปราการ Buhen น้ี ฟาโรห์เซนุสเรตท่ี 2 จมลงในแม่น้าไนล์อันเป็นผลมาจากนา้ ท่วม และพีระมิด เรม่ ิ สรา้ งวหิ ารคารน์ ัค เสาโอเบลิสก์ทีเ่ ก่าแก่ทีส่ ุดในโลก ของฟาโรห์เซนุสเรตท1ี่ โอเบลสิ ก์ (Obelisk) เป็นเสาสงู สรา้ งจากหินแกรนิตขนาดใหญ่เพียงก้อนเดียว สรา้ งเพ่ือบูชาเทพอามุน-รา (สุรยิ เทพ) สงู 13 เมตร ฐานของเสาจะกวา้ งและค่อยๆ เรยี วแหลมข้นึ สู่ยอดด้านบนเป็นแทง่ สี่เหลีย่ มสี่ด้าน ยอดบนสุดจะเป็นลกั ษณะ เหมือนพีระมิด และมักนิยมหุ้มหรอื เคลอื บด้วยโลหะ เชน่ ทองคา เหล็ก หรอื ทองแดง

วหิ ารคารน์ คั (Karnak Temple Complex) เปน็ ศาสนสถานทใี่ หญท่ สี่ ุดของโลก คาวา่ “คารน์ คั ” เปน็ ภาษาอาหรบั ทมี่ ี “หมู่ปอ้ มปราการ” ในชว่ งยุคอาณาจกั รกลางนี้ ได้มีการเรม่ ิ กอ่ สรา้ งวหิ ารคารน์ ัค เรม่ ิ สรา้ ง ในสมยั ของ ฟาโรห์เซนสู เรตท่ี 1 (SenusretI) 1971 – 1926 B.C. ฟาโรห์องคท์ ่ี 2 แห่งราชวงศ์ที่ 12 และได้ทาการก่อสรา้ งต่อเรอ่ ื ยมาจนถึง ในสมยั ราชวงศ์ปโตเลมี (Ptolemaic Dynasty) (305 – 30 B.C.) โดยมฟี าโรห์ถงึ ประมาณ 30 พระองค์รว่ มกันก่อสรา้ งวหิ ารแห่งนี้ เพื่อบชู าเทพเจา้ อามนุ -รา ในชว่ งของยุคอาณาจกั รใหม่ วหิ ารแห่งน้ไี ด้ถกู สรา้ งขน้ึ ใหมเ่ พมิ่ เติม นอกจากวหิ ารของเทพอามุน-รา (สุรยิ เทพ) วหิ าร คารน์ คั ประกอบด้วยกลมุ่ วหิ ารอาคารต่างๆในพืน้ ทปี่ ระมาณ 12 ตาราง กิโลเมตร ภายในมหาวหิ าร จะมวี หิ ารหลกั 3 วหิ ารทอี่ ยใู่ นบรเิ วณเดียวกัน คือ วหิ ารเทพอามุน (Amun) วหิ ารเทพมี ารดา (Mut) และวหิ ารเทพแห่ง สงคราม (Montu) ภายในวหิ ารประกอบด้วย ซุม้ ประตูทางเขา้ เสาหินโอ บิลสิ ก์ ห้องเสาหินขนาดใหญใ่ ต้หลงั คา รูปสลกั หิน และวหิ ารต่างๆ การ ก่อสรา้ งและต่อเติม ดาเนินการต่อเน่ืองกันมายาวนานกวา่ 2,000 ปี ความยง่ิ ใหญข่ องวหิ ารคารน์ ัค เห็นได้จากซุม้ ประตูทางเขา้ ขนาดใหญห่ รอื ที่เรยี กวา่ ไพลอน (Pylon) ทีม่ ีทงั้ หมดถงึ 10 แห่ง เพราะมฟี าโรห์หลาย องค์สรา้ งต่อเนื่องกันมา

ส่วนทโี่ ดดเด่นและงดงามทส่ี ุดคือ Great Hypostyle Hall ซง่ึ เปน็ ห้องโถงทม่ี ีเสาหินขนาดใหญถ่ ึง 134 ต้น กินพนื้ ทถี่ ึง 6,000 ตารางเมตร Great Hypostyle Hall นี้ได้สรา้ งขนึ้ ในสมัยของฟาโรห์เซติท่ี 1 (Seti I) (1290 -1279 B.C.) ในยุค อาณาจกั รใหม่เสาหินแต่ละต้นมีความสูงและใหญม่ าก โดยมี การสลักอักษรภาพทบ่ี อกเลา่ ถึงวถิ ีชวี ติ และกิจกรรมของฟาโรห์ ทเ่ี ก่ียวข้องกับเรอ่ ื งความเชอ่ื ในเทพเจา้ และสงคราม

ยุคชว่ งรอยต่อครง้ั ที่ 2 เปน็ ชว่ งระยะเวลาประมาณ 1786 – 1567 B.C. อยูใ่ น ชว่ งราชวงศ์ท่ี 13-17 ในชว่ งราชวงศ์ท่ี 13 และ 14 เกิดความแตกแยกภายใน แผ่นดินแตกออกเปน็ เสี่ยงๆ อีกครง้ั ก่อนทใ่ี นเวลาต่อมาพวก ฮกิ โซส (Hyksos) เขา้ รกุ รานอียปิ ต์และสามารถยดึ ครองอียิปต์ได้ในราวๆ 1650 B.C. ความรงุ่ เรอื งของอียปิ ต์จงึ ต้องมาหยุดชะงกั ลง อีกครง้ั คาว่า “ฮกิ โซส” ในภาษาอียปิ ต์แปลวา่ “กษตั รยิ ์ ต่างชาติ” ซง่ึ พวกฮกิ โซสคือกล่มุ ชนปศุสัตวเ์ รร่ อ่ นทอี่ พยพ มาจากเอเชยี ตะวนั ตก

แต่ความรุง่ เรอื งของอียิปต์ก็หยุดชะงกั ลงจากการรกุ ราน เขตอานาจฮิกโซส ของกลุม่ ชนปศุสัตว์เรร่ อ่ นคือพวกฮิกโซส (Hyksos) ซง่ึ เขตอานาจอียิปต์ ก่อนหน้านี้ได้เขา้ ยึดครองซเี รยี ปาเลสไตน์ และเอเชยี ไม เนอรไ์ ด้แล้ว พวกฮิกโซสมีความเก่งกาจในการรบกวา่ ชาว อียิปต์ ทาให้สามารถครอบครองอียปิ ต์ไวไ้ ด้ต้ังแต่ 1,670- 1,570 B.C. แต่เนื่องด้วยอียปิ ต์มีความเจรญิ ทเี่ หนือกว่า พวกฮิกโซส จงึ เปน็ ฝ่ายรบั ความเจรญิ ไปจากอียิปต์ จงึ ทา ให้อารยธรรมอียปิ ต์ไม่ขาดความต่อเนื่องแต่อย่างใด ในทส่ี ุดพวกฮกิ โซสก็สามารถก่อตั้งราชวงศ์ปกครองอียปิ ต์ ได้สาเรจ็ โดยก่อตั้งราชวงศ์ที่ 15 และสืบสานวัฒนธรรม ของชาวอียปิ ต์ต่อ ตั้งเมืองหลวงชอื่ อวารสิ (Avaris) ขึ้นที่ บรเิ วณสามเหล่ยี มปากแม่นา้ ไนล์ และครอบครองดินส่วน เหนือของประเทศ (100 ป)ี ทางฝ่ายอียปิ ต์ก็ได้ต้ังราชวงศ์ท่ี 17 ทเี่ มืองธปี ส์(Thebes) เชน่ เดียวกัน โดยยอมอ่อนขอ้ ให้พวกฮกิ โซสในชว่ งแรก แต่หลังจากนั้นในชว่ งราวๆ 1570 B.C. ทางฝ่ายอียปิ ต์ จากเมืองธปี ส์ก็ได้ลกุ ขึน้ ทาสงครามกับพวกฮกิ โซส จนในทส่ี ุดฟาโรห์อาโมสท่ี 1 (Ahmose I) ก็สามารถขับไล่ พวกฮิกโซสออกไปจากดินแดนอียิปต์ได้สาเรจ็ และก่อตั้งราชวงศ์ท่ี 18 ขึน้

การมาถึงของกลุ่มชาวเอเชยี ตะวันตก Asian Aamu ในอียิปต์ ภาพในสุสานฟาโรห์ Khnumhotep II รูปป้ นั หนิ ชาวฮกิ ซอส สฟิงซห์ น้ากษัตรยิ ช์ าวฮิกโซส ฮิกโซส (Hyksos) เปน็ ชาวต่างชาติ กลุ่มแรกทป่ี กครองอียิปต์ ได้หลอมรวมอารยธรรมอียปิ ต์ และพวกเขายงั ได้รบั การยกยอ่ งวา่ เปน็ ผู้นานวตั กรรมทางเทคโนโลยี หลายอยา่ งเขา้ สู่อียปิ ต์ เชน่ ม้า รถม้า ดาบเคียว ธนูประกอบ