Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ancient Egypt อารยธรรมอียิปต์4 สมัยราชอาณาจักรใหม่

Ancient Egypt อารยธรรมอียิปต์4 สมัยราชอาณาจักรใหม่

Published by ขวัญจิต บุญมาก, 2022-01-21 02:22:57

Description: เรียนประวัติศาสตร์กับครูขวัญจิต

Search

Read the Text Version

นักประวตั ิศาสตรต์ ่างยอมรบั กนั วา่ 1546 – 1526 B.C. ยุคน้ีเปน็ ยคุ ทอี่ ียปิ ต์รงุ่ เรอื งทส่ี ุด มีความสามารถ ในยุคอาณาจกั รใหมน่ ้ี ด้านการรบ มีการขยายอานาจปกครอง และแผ่ขยาย ไปยงั ดินแดนซเี รยี อาณาจกั รออกไป ปาเลสไตน์ และฟนี เิ ซยี มีอาณาเขตกวา้ งขวางขนึ้ ยุคสมยั นจี้ งึ ได้รบั การขนานนามวา่ ยุคจกั รวรรดิ (Empire Age) ซง่ึ ถือวา่ เปน็ การสรา้ งยคุ จกั รวรรดิ เปน็ ครงั้ แรกของโลก ยุคอาณาจกั รใหม่ เรม่ ิ ต้นด้วยฟาโรห์อาโมส ก่อตั้งราชวงศ์ที่ 18 หลังจากทข่ี บั ไลพ่ วกฮกิ โซสออกจาก อียปิ ต์ได้สาเรจ็ และต้ังเมืองหลวง อยู่ที่เมืองธปี ส์ (Thebes)

หุบเขาแห่งกษตั รยิ ์ (Velley of King) หุบเขาแห่งกษัตรยิ ต์ ้ังอยู่ทางฝ่ ังตะวนั ตกของแม่นา้ ไนล์ ตรงข้ามกับเมืองธบี ส์ เปน็ สถานท่ีฝงั พระศพของฟาโรห์และเชอ้ื พระวงศ์ในชว่ งยุคอาณาจกั รใหม่ ตั้งแต่ราชวงศ์ท่ี 18-20 พบหลุมศพอยู่ 64 แห่ง มีห้องมากกวา่ 120 ห้อง ทส่ี ลับซบั ซอ้ น สุสานถกู ตกแต่งด้วยภาพจติ รกรรมทง่ี ดงามของเทพเจา้ และความเชอ่ื เก่ียวกับพิธศี พ 1506 – 1493 B.C. มีความสามารถด้านการรบ และแผ่ขยายอาณาจกั รออกไป ผู้รเิ รม่ ิ ในการฝังศพฟาโรห์ทหี่ ุบเขาแห่งกษัตรยิ ์ ได้เรม่ ิ เปลีย่ นจากการฝังพระศพในพรี ะมิด มาฝังในสถานทลี่ บั ทคี่ ิดวา่ ปลอดภัยจากโจรขโมยจากทผี่ ่านมา จงึ เปน็ จุดเรม่ ิ ต้นของการสรา้ ง “หุบเขาแห่งกษตั รยิ ”์ อันเปน็ สถานทฝ่ี ังพระศพของเหลา่ ฟาโรห์

ฟาโรห์แฮตเชปซุต (Hatshepsut) ประมาณ 1479 – 1448 B.C. ฟาโรห์หญิงผู้มีชอื่ เสียง เป็นฟาโรห์องค์ที่ 5 ในราชวงศ์ที่ 18 ทรงอภิเษกสมรสกับฟาโรห์ทุตโมซสิ ท่ี 2 และต่อมาทรงเปน็ ผู้สาเรจ็ ราชการแทนฟาโรห์ทุตโมซสิ ท่ี 3 ผู้ซง่ึ เยาว์วยั เกินกว่าจะทาการ ปกครองได้ พระนางได้สถาปนาตนขึ้นครองราชย์เป็นฟาโรห์โดย สมบูรณ์ เป็นสตรผี ูย้ ง่ิ ใหญพ่ ระองคแ์ รกในประวตั ิศาสตรท์ น่ี ัก ประวัติศาสตรม์ ขี อ้ มูลทรงเปน็ ทรี่ จู้ กั อย่างมากในฐานะ “ราชนิ ีมเี ครา” ซง่ึ มาจากการท่พี ระนางได้สวมเคราปลอมเหมือน ดังท่บี ุรษุ ฟาโรห์ (การมีเคราแบบเทพเจา้ ถือเป็นสัญลักษณ์ของพลงั อานาจ สติปัญญา และอาจรวมไปถึงพลงั ความแขง็ แกรง่ ) โดยสัญลักษณ์นี้แสดงถึงสถานะความอยูเ่ หนือมนุษย์ของเทพเจา้ ต่างๆ ดังนั้นเคราจงึ เปน็ สัญลักษณ์แสดงถึงการมีสถานะเปน็ เทพเจา้ Sacarab เป็นเครอ่ ื งรางอย่างหนึ่งของผู้คนอียิปต์ในสมัยโบราณโดยเป็นเครอ่ ื งหมายของเทพเคปร ี (Khepri) ท่ีเป็นสัญลักษณ์ของพระอาทิตย์โดยมีความหมายถึงการเกิดใหม่ เนื่องจากแรกเรม่ ิ เดิมทีชาว อียิปต์เชอ่ื ว่าเทพราที่ขา้ มผ่านในแต่ละ่ วันทาเกิดรา่ งกายและจติ วญิ ญาณ ซง่ึ โดยธรรมชาติของแมลงส คารบั น้ีจะป้ ันก้อนดินท่ภี ายมีไข่ของมันอยู่ขา้ งไหนและกล้งิ ไปขา้ งหลังเรอ่ ื ยๆเพื่อสะสมอาหารและเม่ือไข่ ฝักออกมาก็จะมีอาหารเพ่ือมันอยู่ทนั ที ชาวอียิปต์เชอ่ื วา่ เทพ Khepri จะสรา้ งดวงอาทติ ย์ใหม่ในแต่วนั และจะนามันไปโลกอ่ืนเมื่อหมดวัน ทาอย่างน้ีอยู่เรอ่ ื ยๆเชน่ เดียวกับแมล็งซแคแรบ็ เราจงึ สามารถพบ เห็นสัญญาลักษณ์ของเทพ Khepri ได้โดยมีตัวเหมือนเทพราแต่มีหน้าเป็นscarab

ในรชั สมัยของฟาโรห์แฮตเชปซตุ อียิปต์ได้ ขยายการค้ากว้างไกลลงไปยังพันต์ (Punt) และนูเบยี (Nubia) ซง่ึ อยูล่ ึกลงไปในทวปี แอฟรกิ า ในสมัยน้ีได้มีการสรา้ ง วหิ ารฟาโรห์ แฮตเชปซุต(Mortuary Temple of Hatshepsut) ซงึ่ ต้ังอยูท่ ี่ เดียร์ เอล บาฮาร ี (Deir Al Bahri) ใกล้ๆกับเมืองลักเซอร์ (Luxor) ตัววหิ ารนั้นสรา้ งขึ้นจากหน้าผาหินสูง กวา่ 300 เมตรท่ตี ้ังอยู่ทางด้านหลังถือเปน็ หนึ่งในสถาปตั ยกรรมท่สี วยงามทส่ี ุดของ อียปิ ต์โบราณ อีกทงั้ ยงั เปน็ สถานทน่ี ัก โบราณคดีได้ค้นพบหลักฐานจารกึ เก่ียวกับ ฟาโรห์แฮตเชปซุตด้วย วหิ ารบชู า เทพเจา้ วหิ ารฟาโรห์ ทุตโมซสิ ท่ี 3 วหิ ารฟาโรห์ แฮตเชปซุต วหิ าร ฟาโรห์ มอนตโู ฮ เทปท2ี่ สฟิงซผ์ ปู้ กปกั Hatshepsut Temple Ankh กุญแจแห่งชวี ติ รกั ษาวหิ าร อังค์ (Ankh) สัญลักษณ์แห่งความเป็นอมตะ ชวี ติ การดารงชวี ติ และความเป็นอมตะ ทัง้ ในโลกนี้และปรโลก

ฟาโรห์อเมนโฮเทปท่ี 4 (Amenhotep IV) ภาพฝาผนงั ทแ่ี สดงถึงฟาโรห์แอเคนาเทน หรอื ฟาโรห์อาเคนาเตน (Akhetaton) พระนางเนเฟอรต์ ิติ และพระธดิ า 3 องค์ : 1379 – 1362 B.C. ท่ีแสดงถึงความนบั ถอื ต่อเทพอาเตน (เทพเจา้ ทรงฉายแสงอยูข่ ้างบน) เม่ือมาถึงชว่ งทา้ ยๆของราชวงศ์ท่ี 18 ใน สมัยของฟาโรห์อเมนโฮเทปที่ 4 ฟาโรห์ ลาดับท่ี 10 ในราชวงศ์ท่ี 18 อียปิ ต์มีการ เปล่ียนแปลงครงั้ สาคัญทางศาสนา ถือวา่ เปน็ การปฏวิ ตั ิทางศาสนาเลยทเี ดียว โดยฟาโรห์อเมนโฮเทปท่ี 4 ได้นา ความเชอ่ื ในเทพเจา้ องค์เดียวมาบงั คับใช้ โดยทัว่ กัน คือการบูชาเทพ “อาเตน” (Aton) เพียงองค์เดียว แทนเทพสูงสุด “อามุน-รา” (Amun-Ra) และเทพองค์ อ่ืนๆในอดีต พระองค์ยังได้เปลี่ยนชอื่ พระองค์เองเป็น “อาเคนาเตน” เพ่ือให้ เชอื่ มโยงกับเทพอาเตนอีกด้วย ทรงสรา้ ง เมืองหลวงใหม่ชอื่ อามารน์ า (Amarna) (ปจั จุบันเหลือแต่ซากโบราณสถาน) อาเคนาเตน แปลว่า ผู้รบั ใชข้ ององคอ์ าเตน

ราชนิ เี นเฟอรต์ ิตี (Nefretiti) ฟาโรห์อาเคนาเตนได้อภิเษกสมรสกับ “ราชนิ ีเนเฟอรต์ ิตี” (Nefertiti) ซงึ่ เป็นราชนิ ีท่มี ีพระสิรโิ ฉม งดงามมาก เปน็ เจา้ หญิงมาจากไมตานี ซงึ่ เป็นอาณาจกั รโบราณแห่งหนึง่ แถวๆทางเหนือของ เมโสโปเตเมีย มีพระราชธดิ าด้วยกัน 6 พระองค์ วา่ กันว่าการปฏิรูปศาสนาครงั้ นี้ได้แรงสนับสนุน มาจากราชนิ ีเนเฟอรต์ ิตี ซง่ึ มาจากดินแดนทนี่ ับถือเทพเจา้ องค์เดียว กล่าวกันว่าเนเฟอรต์ ิติอาจเคย ขึ้นเสวยราชสมบตั ิครองบลั ลังก์อียิปต์เปน็ ชว่ งเวลาส้ัน ๆ หลังจากพระราชสวามีสวรรคต และก่อนท่ี ฟาโรห์ตุตันคามุนจะเถลิงราชสมบตั ิ มีศิลาจารกึ ท่ีขานพระนางวา่ เป็น 'ผู้สืบทอด' 'ที่สุดของผู้เปน็ ที่ โปรดปราน' 'ผู้มีสเนห่ ์' 'ผู้แผ่ความสุข' 'ชายาผู้อ่อนหวาน' 'ผู้เป็นทีร่ กั ’ ฯลฯ อียิปต์เผยผลวเิ คราะห์สแกนเรดาร์ ฟาโรห์อาเคนาเทน ห้องเก็บพระศพฟาโรห์ตุตันคาเมน และพระนาง ยืนยันวา่ มีห้องลบั 2 ห้องซอ่ นอยู่ เนเฟอรต์ ิติ หลงั กาแพง โดยนักโบราณคดีและ นักประวตั ิศาสตรห์ วังวา่ จะนาไปสู่ การค้นพบทฝี่ ังพระศพราชนิ ีเนเฟอร์ ติติ ทเ่ี ป็นปรศิ นามากวา่ 3,000 ปี ภาพแกะสลกั พระนางเนเฟอรต์ ิติ ภายในสุสาน โลงศพ ฟาโรห์ ตุตันคาเมน รูปป้ ันทอ่ นบนของพระนางเนเฟอรต์ ิติ ปัจจุบนั อยู่ที่พิพิธภัณฑก์ รุงเบอรล์ ิน ประเทศเยอรมัน

ห้องเสรมิ มัมม่ี หีบทแ่ี กะสลกั ทางเขา้ ถกู ปิดตาย พบเครอ่ ื งใช้ จากหินควอรต์ ถกู ฝังอยู่ใต้หีบ ไซต์ทั้งก้อน ทาด้วยไม้ปิดทองและทองคาแท้ 3หลัง ส่วนหัวมี หน้ากากทองคา โครงไม้ห่อ ห้องเล็ก ผ้าลนิ ิน ฟาโรห์ที่สิ้นพระชนม์ อายุ18-19ปี ครองราชย์ 10ปี สุสานขนาดเล็ก แต่มีห้องเก็บสมบตั ิ มากมาย เมืองธบี ส์ปัจจุบนั ชอื่ เมืองลกั เซอร์ ทางเดิน ห้องพระคลงั ลาดเอียงสูง2เมตร ทางเขา้ หีบเก็บโถ ฮาวเวริ ด์ คารเ์ ตอร์ มีเทพคอยพิทักษ์ ใชเ้ วลา8ปี จงึ พบ อวยั วะภายใน ปอด ทางเขา้ สุสานในปี ตับ ไส้ กระเพาะ ค.ศ.1922 ของฟาโรห์

ยุครามเสส” (Ramesside Period) เป็นฟาโรห์รามเสสที่1 (Rameses I) ราชวงศ์ที่ 19-20 (ราว 220 ป)ี แ ผู้ก่อต้ังราชวงศ์ที่ 19 ของอียิปต์โบราณ ครองราชย์เพียง 2 ปี อาณาจกั รใหม่ของอียปิ ต์มาถึงจุดสูงสุดของอานาจภายใต้ฟาโรห์เซติท่ี 1 (Seti I) รามเสสที่ 2 (Rameses II) และรามเสสที่ 3 (Rameses III) สุสานและมัมม่ฟี าโรห์เซติที่ 1 ฟาโรห์เซติท่ี 1 (Seti I :1294 – 1279 B.C.) ในหุบเขากษตั รยิ ท์ เ่ี มืองลกั ซอร์ แได้ทาสงครามหลายครงั้ ในเอเชยี ตะวนั ตก ลิเบยี และนูเบียในทศวรรษแรกของการครองราชยข์ อง พระองค์และเอาชนะกองทัพ Hittite ทพี่ ยายาม ปกป้องเมือง อยา่ งไรก็ตาม ชาวฮิตไทต์สามารถ รบั มือได้อีกครง้ั หลงั จากท่ีเซติจากไป ฟาโรห์รามเสสที่ 2 (Ramesses II :1279-1213 B.C.) ทรงพยายามฟ้ ืนฟูดินแดนปกครองพระองค์ หลังจากรบกับพวกฮิตไทต์เป็นเวลานาน และเกิดสนธสิ ัญญา แสันติภาพระหวา่ งสองประเทศในท้ายทส่ี ุด อียิปต์สามารถได้รบั ความม่ังค่ังและความมั่นคงภายใต้ การปกครองเป็นเวลากว่าครง่ ึ ศตวรรษ ยงั ทรงก่อต้ังเมืองหลวงแห่งใหม่ในสามเหล่ียมปากแม่น้าในรชั สมัย ของพระองค์ เรยี กวา่ บี-รามเสส ได้สรา้ งอนุสรณ์สถานขนาดใหญจ่ านวนมาก รวมทั้งแหล่งโบราณคดีแห่งวหิ ารอาบซู มิ เบล แฟาโรห์รามเสสที่ 3 (Rameses III:1186-1155 B.C.) อียติ ปถ์ ูกรุกรานท้งั ทางบกและทางนา้ ได้เอาชนะพวกเขาในการรบทางบกและทางทะเลสองครง้ั แต่ก็ถกู ชนต่างชาติเข้ามารุกรานมากขึ้น จนทาให้สถานการณ์คลังเสื่อมลง อานาจของอียิปต์ลดลงไปเรอ่ ื ยๆ หลงั จากครองราชย์ 30 ปี หลงั การส้ินพระชนม์ของฟาโรห์รามเสสท่ี3 ก็มีฟาโรห์รามเสสต่อมาถึงองค์ที่ 11 แต่ก็ไม่มีความเจรญิ มั่งคั่งเหมือนเดิมอีก

ฟาโรห์รามเสสที่ 2 (Rameses II) : 1279 – 1213 B.C. เป็นฟาโรห์องค์ที่ 3 ของราชวงศ์ที่ 19 หรอื รามเสสมหาราช (Rameses the Great) เป็นกษัตรยิ ท์ ่ีถือกันว่า ยง่ิ ใหญ่ ทรงอานาจ และมีชอ่ื เสียงมากที่สุดของอียปิ ต์ ผู้ครองราชยต์ ่อจากพระองค์และชนอียิปต์รนุ่ หลังยงั ได้ขนานนามพระองค์วา่ “มหาบรรพชน” (Great Ancestor) พระองค์ทรงครองราชยอ์ ยูน่ านถึง 66 ปี 2 เดือน สวรรคตประมาณ 90 พรรษา ทรงเป็นนักปกครองทส่ี ามารถ เปน็ นักรบทเี่ ก่งกาจ ทรงปราบปรามชาวนเู บียทางตอนใต้จนยอมสวามิภักด์ิและได้ขยายอานาจเข้าไปในเอเชยี โดยปราบปรามชนเผ่า ต่างๆจนราบคาบ พระนางเนเฟอรท์ าร ี(Nefertari) ผนงั ภายในสุสาน พระนางเนเฟรอ์ตาร ี ราชนิ ีองค์แรกของราเมสท2ี่ ได้รบั การตกแต่ง อย่างงดงาม ราชนิ ีผู้โดดเด่นแห่งอารยธรรมอียิปต์ ทีฟ่ าโรห์รามเสสท่ี2 ทรงตกแต่งสุสาน ให้อยา่ งงดงาม เป็นหนึง่ ในหลมุ ฝังศพ ท่ีย่งิ ใหญ่ทีส่ ุดและงดงามทีส่ ุดในหุบเขาราชนิ ี (Valley of the Queens)และจารกึ ไวว้ ่า พระมเหสีผู้ยิ่งใหญแ่ ห่งสองดินแดน, ผู้เป็นที่รกั ,นายหญิงแห่งอียิปต์บนและอียิปต์ลา่ ง

มหาวหิ ารอาบซู มิ เบล (Abu Simbel Temple) มหาวหิ ารถกู ก่อสรา้ งโดยการเจาะ แกะสลักเข้าไปในภูเขาหิน เป็นวหิ ารท่ีย่ิงใหญท่ ่ีสุดทถี่ กู ก่อสรา้ งขนึ้ ในสมัยของฟาโรห์แรเม ซสิ ที่ 2 ในปี 1264 B.C. ใชเ้ วลา ก่อสรา้ งนานถึง 20 ปี และเสรจ็ สมบูรณ์ในปี 1244 B.C.วหิ ารน้ีรูจ้ กั กันในนามว่าเป็น “วหิ ารแห่งราม เสสอันเป็นที่รกั ของเทพเจา้ อามุน” เป็นวหิ ารสาหรบั บูชาเทพเจา้ อามุน-รา และเพื่อประกาศฉลอง ชยั ใน “สงครามคาเดช” (Battle of Kadesh)กับพวกฮิตไทท์ (Hittite) เม่ือปี 1275 B.C. และเพื่อเป็น เครอ่ ื งเตือนใจต่อชาวนูเบียถึง ความยงิ่ ใหญข่ องอียปิ ต์ ด้านหน้ามีรูปป้ ันแกะสลกั อัน มหึมาของฟาโรห์แรเมซสิ ที่ 2 กับ ราชนิ ีเนเฟอรต์ าร ี โดยปกติแลว้ ภาพวาดหรอื รูปป้ ันขององค์ฟาโรห์ นั้นจะใหญก่ วา่ ผู้อ่ืนเสมอ แต่ที่ วหิ ารน้ีรูปป้ ันของราชนิ ีเนเฟอรท์ าร ี มีขนาดใกล้เคียงกับของฟาโรห์ราม เสสท่ี 2 เลยทีเดียว ว่ากันว่าราชนิ ี องค์น้ีเป็นมเหสีท่ีรกั ยงิ่ ของฟาโรห์ รามเสสที่ 2 แกะสลกั เป็นรูปของพระองค์และราชนิ เี นเฟอรท์ ารมี เหสผี เู้ ป็นทร่ี กั ของพระองค์

ยุคภายใต้การปกครองของผู้รกุ ราน (The period of Invasion) เปน็ ชว่ งระยะเวลาประมาณ 1085 – 30 B.C. อยู่ในชว่ ง ราชวงศ์ที่ 21-31 ยุคนี้เป็นยุคทอ่ี ียิปต์ปกครองโดยชาวต่างชาติ ตั้งแต่พวกลิเบีย นูเบยี และถกู ยึดครองโดยอัสซเี รยี ในปี 663 B.C. ต่อมาก็ตกอยู่ภายใต้อาณาจกั รเปอรเ์ ซยี ในปี 525 B.C. จนกระทัง่ เมื่อปี 332 B.C. พระเจา้ อเลก็ ซานเดอรม์ หาราช (Alexander the Great) แห่งมาซโิ ดเนียหรอื กรกี ได้พิชติ อาณาจกั รเปอรเ์ ซยี ลง อียิปต์จงึ ตกเปน็ ของกรกี โดยมีพระเจา้ อเล็กซานเดอรม์ หาราชข้ึนเป็นฟาโรห์ ของอียปิ ต์ และได้สรา้ งเมืองอเลก็ ซานเดรยี (Alexandria) ข้ึน ปี 323 B.C. เมื่อพระเจา้ อเล็กซานเดอร์ ส้ินพระชนม์ นายพลปโตเลมีขุนศึกของพระเจา้ อเล็กซานเดอรก์ ็ได้ตั้งตนเปน็ ฟาโรห์ และตั้ง ราชวงศ์ปโตเลมี ข้ึน ซง่ึ ถือเปน็ ราชวงศ์สุดทา้ ย ทข่ี ึ้นปกครองอียปิ ต์ ก่อนท่อี าณาจกั รอียิปต์ จะล่มสลาย

ราชวงศ์ปโตเลมีซง่ึ เปน็ ราชวงศ์เชอ้ื สายกรกี ได้ปกครองอียิปต์เรอ่ ื ยมา จนกระท่งั ถึงสมัยของฟาโรห์ ปโตเลมีท่ี 12 มีพระธดิ าคนหนึ่งชอื่ พระนางคลีโอพัตรา ซงึ่ มีพระนามเต็มว่า พระนางคลโี อพตั ราที่ 7 (Cleopatra VII) ราว 51 B.C. ฟาโรห์ปโตเลมีที่ 12 สวรรคต พระโอรสของพระองค์ คือ ฟาโรห์ปโตเลมีท่ี 13 ข้ึน ครองราชย์ และทรงอภิเษกสมรสกับพระนางคลีโอพัตราผู้ซงึ่ เปน็ พี่สาวของพระองค์ เพ่ือเปน็ การ ปกปอ้ งสายเลือดท่บี รสิ ุทธต์ิ ามโบราณประเพณี ในสมัยของฟาโรห์ปโตเลมีที่ 13 เกิดการแก่งแย่งอานาจระหวา่ งฟาโรห์กับพระนางคลีโอพัตรา พระนางคลีโอพัตราต้องการครองบลั ลังก์อียิปต์ และเพ่ือให้ทุกอย่างสาเรจ็ พระนางจงึ ต้อง พ่ึงพากาลังของโรมัน โดยในปี 48 B.C. พระนางคลีโอพัตราได้ทรงพบกับ จูเลียส ซซี าร์ (Julius Caesar) ผู้ทรงอานาจแห่งกรุงโรมสังหารฟาโรห์ปโตเลมีท1่ี 3 แล้วก็สถาปนา อนชุ าข้ึนเปน็ ฟาโรห์ปโตเลมีท1่ี 4 จูเลียส ซซี าร์ และพระนางคลีโอพัตรา มีโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ พระนามว่า ซซี ารเ์ รยี น(Caesarian) ปี 44 B.C. จูเลียส ซซี ารถ์ ูกลองสังหารตาย ออตตาเวยี นซซี าร์ ขึ้นมามีอานาจ จูเลยี ส ซซี าร์ ซซี ารเ์ รยี น มารค์ แอนโทน่ี ที่กรุงโรม เกิดความขัดแยง้ ภายใน พระนางคลีโอพัตราสังหารฟาโรห์ มารค์ แอนโทน่ี ขุนพลโรมันชว่ ยพระนางคลีโอพัตราขึ้นมามีอานาจและ หลงรกั พระนางคลีโอพัตรา ทาให้ออตตาเวยี นไม่พอใจทมี่ ารก์ แอนโทนี่ ท้ิงภรรยาซงึ่ เปน็ น้องสาวของออตตาเวยี น ส่วนมารก์ ก็แย้งวา่ ซซี ารเ์ รยี น บุตรของจูเลียสซซี ารเ์ ป็นผู้สืบทอดโรมัน ปี 31 B.C. ความขัดแย้งปะทุข้ึนกลายเป็นสงครามสู้รบดุเดือด เรยี กวา่ ยุทธนาวแี อกทอี มุ (Battle of Actium) ผลคือความพา่ ยแพข้ องอียิปต์ มารค์ แอนโทนี่และพระนางคลโี อพตั รา จบชวี ติ ด้วยการฆา่ ตัวตาย ออตตาเวยี น ซซี าร์