Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 2

ใบความรู้ที่ 2

Published by Aiyarath Y., 2019-07-09 12:32:08

Description: ใบความรู้ที่ 2

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่อื ง มลพิษ

ใบความร้ทู ี่ 2 เร่ือง มลพษิ 1. ความหมายและประเภทของมลพษิ มลพิษ (Pollution) หมายถึง สิ่งแวดล้อมท่ีไม่พึงประสงค์ที่เกิดจาก กระบวนการผลิตก่อให้เกิดของเสียและสารเคมีที่มีอันตราย ได้แก่ รังสี ความ ร้อน กล่ิน เสียง แสง ฝุ่นละอองความสั่นสะเทือน ท่ีทาให้สุขภาพอนามัยของ ประชาชนหรือผู้ปฏิบัติงานเกดิ อันตราย มลพิษต่างๆ มีผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม ไม่ว่าจะเปน็ ทางตรงหรือทางออ้ ม มลพษิ จากสถานประกอบการมหี ลายประเภท ได้แก่ 1. มลพษิ ทางน้า 2. มลพษิ ทางอากาศ 3. มลพิษทางเสยี ง 4. ขยะอันตราย 2. มลพษิ จากสารเคมี อันตรายจากมลพษิ ของสารเคมี ได้แก่ 1. ฝุ่น (Dust) คือ อนุภาคของแข็งท่ีแขวนลอยในอากาศ เป็นสารที่มี ความหลากหลายทางกายภาพ ฝุ่นที่ฟุ้งกระจายในอากาศเกิดจากการทางานเช่น การตัด การบด การกด การกระแทก โม่ ปน่ คดั แยก ลาเลียง ของสาร 2. ฟูม (Fume) คือ อนุภาคที่เกิดจากการหลอมเหลวของของแข็ง เช่น พลาสติกและโลหะกลายเป็นไอ เมื่อกระทบกับความเย็น จะควบแน่นเป็น อนุภาคขนาดเลก็ แขวนลอยในอากาศ 3. ฝุ่นละออง (Mist) คือ สารท่ีมีความหลากหลายทางกายภาพ มี องค์ประกอบเป็นของแข็งหรือของเหลวก็ได้ ฝุ่นละอองท่ีมีอยู่ในบรรยากาศ มี ขนาดต้ังแต่ 0.002 ไมครอน ไปจนถึงฝุ่นที่ขนาดใหญ่กว่า 500 ไมครอน ฝุ่น ละอองในบรรยากาศอาจแยกได้เป็น ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นและกระจายสู่

บรรยากาศจากแหล่งกาเนิดโดยตรงและฝุ่นละอองซ่ึงเกิดข้ึนโดยปฏิกิริยาต่างๆ ในบรรยากาศ 4. หมอกควัน (Smog) มาจากคาว่าหมอก (Fog) และควัน (Smoke) รวมกัน เปน็ มลพิษทางอากาศทเี่ กดิ จากการปนเปอ้ื นของหมอกทีเ่ กิดจากอากาศ เย็นกับกลุ่มควัน ที่ถูกปล่อยมาจากแหล่งต่างๆ เมื่อเข้าสู่ร่างกายทาให้เกิดการ ระคายเคืองตา หายใจไม่สะดวก เกดิ โรคที่เก่ียวกับระบบทางเดินหายใจ 5. เส้นใย (Fiber) คือ อนุภาคของแข็งที่มีรูปร่างยาวและบาง มีลักษณะ เป็นใย 6. ก๊าซ (Gas) คือ สารเคมีที่มีรูปร่างเป็นของเหลว ถูกเปล่ียนแปลงไป ตามภาชนะท่บี รรจุ การได้รับสารพษิ เขา้ สรู่ ่างกายโดยการสูดดม และการซึมเข้า ส่ผู วิ หนัง โดยไฮโดรเจน ไนโตรเจนคารบ์ อนมอนอกไซด์ และไฮโดรเจนไซยาไนด์ ทาให้ร่างกายขาดออกซิเจน อีเทอร์ และคลอโรฟอร์มมีผลต่อระบบประสาท ส่วนกลาง คลอรีน ฟอสจีน และไนโตรเจนไดออกไซด์ ทาให้ปอดระคายเคือง บรอมเบนซิลไซยาไนด์และคลอโรอะซีโตฟิโนน ซึ่งทาให้น้าตาไหล ก๊าซมัสตาด และก๊าซไนโตรเจนมสั ตาดทาใหเ้ ป็นตุ่มพอง อารซ์ ีนทาให้เมด็ เลอื ดแดงแตก ไดฟี นิลคลอโรอาร์ซีน และไดฟีนิลไซยาโนอาซีน ทาให้เกิดการจาม ระคายเคืองต่อ ระบบประสาท 7. ไอระเหย (Vapour) คือ สารที่เป็นของเหลวหรือของแข็งอยู่ใน อุณหภูมิและความดันปกติ เม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงของสารจะเกิดไอระเหยข้ึน เช่น สารอินทรีย์ ไอระเหยจากน้ามันขณะที่เติมรถยนต์ ไอระเหยจากสี เป็นต้น ไอระเหยเข้าสู่ร่างกายทางการหายใจ และผิวหนังหากได้รับในปริมาณมากจะ ทาลายระบบประสาทส่วนกลาง และมีอาการกดประสาท เกิดอาการทันทีหรือ หมดสติได้ ในการได้รับปริมาณน้อยและนานจะมีปัญหาเรื้อรัง อาจทาให้เกิด มะเรง็ และความเส่อื มสภาพของเนอ้ื เยอื่ อวยั วะภายในได้ดว้ ย 8. กรด คือ สารประกอบที่มี H+ และเมื่อละลายน้าจะแตกตัวให้ H+ เป็น สารท่ใี ห้โปรตอน (Proton donor) แก่สารอ่นื เช่น กรดไฮโดรคลอรกิ กรดโครมิก และกรดซัลฟูริก

9. ด่าง คือ สารประกอบท่ีมี OH- และเม่ือละลายน้าจะแตกตัวให้ OH- สารท่ีสามารถรับโปรตอน (Proton acceptor) จากสารอื่น เช่น โซเดียมไฮดร อกไซด์ 10. สารทาละลาย คือ สารเนื้อเดียวท่ีไม่บริสุทธ์ิ เกิดจากสารต้ังแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน สารละลายแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย ตัวละลาย 11. ไซยาไนด์ ที่ใช้โดยทั่วไปมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ แบบก๊าซ ได้แก่ ไฮโดรเจนไซยาไนด์หรือก๊าซไซยาไนด์ และแบบเกลือของไซยาไนด์ ได้แก่ โพแทสเซียมไซยาไนด์ สามารถเข้าสู่ร่างกายได้จากหลายเส้นทาง ทั้งการ รับประทานไซยาไนด์ท้ังชนิดเม็ดและชนิดน้า การสูดดม หรือการสัมผัสกับ สาร ไซยาไนด์ อาการของผู้ท่ีรบั ประทานไซยาไนด์ ได้แก่ กล้ามเนื้อลา้ หายใจลาบาก วงิ เวียน คลื่นไส้อาเจียน ระคายเคอื ง คนั ที่จมูก คอ ปาก ชัก หมดสติ การสูดดม ก๊าซไซยาไนด์เขา้ สรู่ ่างกายอาจทาให้ถงึ แก่ความตายได้ เพราะไซยาไนด์จะเข้าไป เกาะกับเฮโมโกลบินซึ่งเป็นสารท่ีร่างกายใช้ขนออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย ทาให้ เซลล์ในร่างกายขาดออกซเิ จนได้ มลพิษจากสารเคมสี ามารถเข้าส่รู ่างกายได้หลายทาง ไดแ้ ก่ 1. การหายใจ ได้แก่ สารเคมีประเภทก๊าซและไอ เมื่อผู้ปฏิบัติงานหายใจ เข้าสู่ร่างกายสารเคมีประเภทก๊าซและไอจะดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ถ้าเป็น อนุภาคเล็กๆ จะไปสะสมอยู่ที่ปอด เมื่อสะสมนานๆ จะเกิดโรคทางเดินหายใจ หากเป็นอนภุ าคใหญ่ก็จะถูกขบั ออกมาในลกั ษณะของการไอ จาม หรอื เสมหะ 2. การซึมเข้าทางผิวหนัง ได้แก่ สารเคมีท่ีซึมเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง ที่ เกิดบาดแผลกอ่ ให้เกิดอันตรายต่อร่างกายขั้นรุนแรง หรือเกิดการระคายเคืองทา ใหผ้ ิวหนงั เปน็ แผลได้ 3. การเข้าสู่ร่างกายทางปาก ได้แก่ การที่ผู้ปฏิบัติงานมือเป้ือนสารเคมี แล้วไม่ได้ทาความสะอาดและหยิบอาหารรับประทาน หรือการที่ฝุ่นละอองจาก สารเคมีปลวิ มาตดิ ใกลร้ มิ ฝีปากของผ้ปู ฏิบตั งิ าน

3. มลพษิ ทางกายภาพ มลพิษจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ คือ ส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัว ผู้ปฏิบัติงาน ได้แก่ ความร้อนความเย็น การส่ันสะเทือน เสียงดัง รังสี ความกด อากาศในการทางาน และรวมถึงเครื่องมือ เคร่ืองจักรอุปกรณ์ สภาพแวดล้อม ของสถานประกอบการ ความไม่เหมาะสมของสภาพแวดล้อมในสถานที่ ประกอบการและกระบวนการทางานมีส่วนให้เกิดอันตรายจากการประกอบ อาชพี มลพิษทางกายภาพ ไดแ้ ก่ 1. ความรอ้ น คือ สภาวะแวดล้อมท่ีมีอณุ หภูมิสงู จากสภาพปกติท่ัวไป จน ทาใหม้ ผี ลกระทบต่อสง่ิ มชี ีวิตในสภาพแวดลอ้ ม 2. ความส่ันสะเทือน คือ การปฏิบัติงานกับเครื่องมือหรือเครื่องจักรที่มี การส่ันสะเทอื นอยู่ตลอดเวลา มีผลกระทบต่อสุขภาพของผปู้ ฏิบัติงาน 3. รังสี คือ พลังงานที่แผ่ออกมาในรูปของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น คลืน่ วทิ ยุ คล่ืนไมโครเวฟ รังสีเอกซ์ แสงสว่าง รังสีคอสมกิ 4. แสงสว่าง คือ การทีต่ าสามารถมองเหน็ สิ่งต่างๆ ทใ่ี ห้รถู้ งึ รปู ร่าง ขนาด ทิศทางสี ความรวดเร็วในการเคลื่อนไหวต่างๆ แต่การมองเห็นดังกล่าวจะไม่ สามารถเกิดขึ้นได้เลยถ้าไม่มีแสงสว่าง ดังนั้น แสงสว่างจึงเป็นสิ่งสาคัญในการ ดารงชีวติ และในการปฏบิ ตั งิ าน 4. มลพษิ ทางชีวภาพ มลพิษของสภาพแวดล้อมทางชีวภาพหรืออันตรายจากการประกอบ อาชีพ คือ โรคท่ีเกิดจากการทางานที่ผู้ปฏิบัติงานได้สัมผัสกับเชื้อโรคที่ทาให้ ผ้ปู ฏิบัติงานเกิดอาการเจบ็ ป่วยและเปน็ โรคต่างๆ ได้ 1. อนั ตรายจากมลพิษทางชีวภาพ มีดงั น้ี 1.1 การติดเช้ือโรค เกิดจากผู้ปฏิบัติงานต้องสัมผัสคลุกคลีอยู่กับเชื้อ โรคหลายชนิดทงั้ ทางตรงและทางอ้อม

1.2 การเกดิ ภูมิแพ้หรือระคายเคือง เกิดจากการทางานอยกู่ ับพืชและ สตั ว์บางชนดิ ทม่ี ีสาเหตมุ าจากฝุ่นเส้นใย ละออง 1.3 ถกู สตั ว์กัดตอนปฏิบัติงาน อาจจะเป็นสัตว์เล้ียง สัตว์ป่า หรอื สตั ว์ น้า ข้นึ อยู่กับวา่ ผู้ปฏิบตั งิ านประกอบอาชีพใด 1.4 การเป็นโรคหนอนพยาธิ เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานท่ีทางานเก่ียวกับ แหล่งหนอนพยาธิ โพรโทซัว และสัตว์หรอื แมลงนาเช้อื โรคบางชนิด 2.โรคท่ีเกิดจากมลพษิ ทางชีวภาพ มดี งั น้ี 2.1 โรคเชอ้ื รา ส่วนใหญ่จะเป็นกับผู้ที่ประกอบอาชพี ดา้ นเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมท่ีทางานและหายใจหรือสัมผัสกับฝุ่นละอองท่ีมีเช้ือราเข้าไปใน ปอดและกระตนุ้ ใหเ้ กดิ อาการแพไ้ ด้ 2.2 โรคแอนแทรก โดยมีสัตว์เป็นตัวนาเช้ือโรคแบคทีเรียเข้าสู่ระบบ หายใจ ผู้ท่ีเส่ียงกบั การเปน็ โรคน้ีประกอบอาชีพ 2.3 วัณโรค ผู้ทมี่ อี าชพี หมอ พยาบาล มโี อกาสเปน็ มากกว่าผปู้ ระกอบ อาชีพอ่นื เน่อื งจากต้องอยู่ใกล้ชิดกับผู้ปว่ ยเป็นประจา 2.4 โรคบิสซิโนซีส เกิดจากเชื้อราและแบคทีเรียที่อยู่ในฝุ่นฝ้าย ป่าน ปอ ดังนั้น ผู้ท่ีมีความเส่ียงที่จะเป็นโรคน้ี คือ ผู้ที่ปฏิบัติงานในโรงงานทอผ้า โรงงานทาเชือก ผลิตเสน้ ดา้ ย และคนงานในไรฝ่ ้าย 5. หลักการควบคุมป้องกนั อันตรายจากมลพิษในการทางาน สถานประกอบการและผู้ปฏิบัติงานต้องช่วยกันป้องกันอันตรายที่จะ เกิดข้นึ โดยมีการควบคมุ ป้องกัน ดงั นี้ 1. ควบคมุ ตน้ เหตุท่กี ่อใหเ้ กดิ อนั ตรายหรอื ต้นเหตทุ ีท่ าให้เกดิ อุบัตเิ หตุ 2. ควบคมุ ไมใ่ ห้สง่ิ อนั ตรายสผู่ ปู้ ฏบิ ตั ิงาน 3. ควบคุมตัวคนทางาน สถานประกอบการควรสารวจสภาพแวดล้อมหรือสภาพการทางานเป็น ประจาเพ่ือให้สถานประกอบการมีความน่าพึงพอใจท่ีจะทางาน มีการดูแล อุปกรณ์ต่างๆ เช่น แอร์ ห้องทางานทางเดิน แสงสว่าง เคร่ืองจักร เครื่องมือ ที่

ระบายอากาศ ให้อยู่ในสภาพดี ไม่มีส่วนใดชารุดเสียหายเป็นต้น ส่วน กระบวนการทางานควรจัดวางอุปกรณ์ เครื่องใช้ เคร่ืองมือ ให้เหมาะสมกับ สภาพร่างกายของผู้ปฏิบัติงาน เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุต่างๆ ใน ระหวา่ งการทางาน 6. กจิ กรรม 5 ส ก า ร ด า เ นิ น ง า น อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง สภาพแวดล้อมในการทางานให้ผู้ปฏิบัติงานทางานด้วยความมั่นใจว่าจะ ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน ท่ีสถานประกอบการไม่ควรจะละเลย คือ การ ดาเนินกิจกรรม 5 ส เป็นหลักการเบ้ืองต้นในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการ ทางานให้มีความสะอาด สะดวก สบาย ถูกสุขลักษณะ เพราะหากผู้ปฏิบัติงาน ทางานในสถานที่สะอาดก็จะทาให้ผู้ปฏิบัติงานมีสุขภาพท่ีดี ไม่เกิดโรคจากการ ทางาน เมือ่ สถานประกอบการไดด้ าเนินการทากิจกรรม 5 ส ให้ไดร้ บั การยอมรบั จ า ก ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ ป ฏิ บั ติ กั น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ก็ จ ะ ท า ใ ห้ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง สภาพแวดล้อมในที่ทางานให้เป็นไปตามงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ต่อไป การดาเนินกิจกรรม 5 ส ประกอบด้วยหลกั การ ดงั นี้ 1. สะสาง (Seiri) คอื การแยกเอาสงิ่ ไม่ได้ใช้ออกจากส่ิงที่ต้องการใช้ โดย แยกออกเป็นหมู่พวก แยกตามลักษณะของส่ิงของเหล่าน้ัน ส่ิงของอันไหนท่ีไม่ ต้องใช้หรือไม่ใช้แล้วก็ต้องกาจัดออกไป อาจจะนาไปทิ้งหรือขายตามแต่ว่าเป็น สิ่งของอย่างไหน หรืออาจจะนากลับมาใช้ใหม่ก็ได้ถ้าหากเห็นว่าสิ่งของนั้น สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการจัดซ้ือใหม่เม่ือต้องการ ใช้ 2. สะดวก (Seiton) คือ การจัดส่ิงของต่างๆ ให้เป็นระเบียบ หลังจากที่ ได้แยกสิ่งของท่ีจาเป็นต้องใช้กับส่ิงของท่ีจะท้ิง หรือไม่จาเป็นต้องใช้ออกแล้ว ก็ ต้องจัดวางส่ิงของเหล่านั้นให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการนามาใช้มีการจัดแยก ออกเป็นแฟ้ม แยกตามหมวดหมู่ ตามลักษณะของวัสดุ เพื่อท่ีจะช่วยลดเวลาใน

การหาของท่ีต้องใช้ให้เร็วขึ้น เป็นการลดเวลาที่จะสูญเปล่าในการหาวัสดุหรือ ของท่ีตอ้ งการใช้ ทาให้เวลาในการปฏบิ ัติงานเสรจ็ เร็วขึ้น 3. สะอาด (Seiso) คือ การทาความสะอาดสถานทท่ี างานหรือเครื่องจกั ร อุปกรณ์ต่างๆ ให้สะอาดปราศจากฝุ่นละออง เศษขยะ หรือสิ่งสกปรกอ่ืนๆ ให้ หมดสน้ิ จนสัมผสั ได้ ควรมีการทาความสะอาดเป็นประจาและต่อเนือ่ ง เพราะจะ เป็นการป้องกันอันตราย และลดการสญู เสียค่าใช้จา่ ยในการซ่อมบารุงเครอ่ื งจักร อุปกรณ์ อีกทั้งดูแลทาความสะอาดสภาพแวดล้อมรอบสถานประกอบการให้ ปราศจากขยะ ฝุ่นผง ฯลฯ 4. สุขลักษณะ (Seiketsu) คือ ดูแลให้ 3 ส แรก ดาเนินไปอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้สถานท่ีทางานมีสุขลักษณะท่ีดี ทาให้บรรยากาศในสถานท่ีทางานสะอาด สะดวก สบาย โดยขจัดฝุน่ ผง ควัน กล่นิ เสยี ง หรอื สง่ิ รบกวนทาให้ผูท้ ่ปี ฏบิ ัติงาน มสี ขุ ลักษณะทด่ี ี สามารถทางานใหผ้ ลผลติ เพมิ่ มากขน้ึ 5. สร้างนิสัย (Shitsuke) คือ การสร้างนิสัยและความเป็นระเบียบให้กับ ปฏิบัติงานให้มีวินัยในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กาหนด ส่งผล ให้สถานประกอบการมีคนที่มีคุณภาพและผลผลิตก็เพิ่มขึ้นเนอ่ื งจากผปู้ ฏบิ ัติงาน มีความสุขในการทางาน ม่ันใจว่าจะไม่เกิดอันตรายในกระบวนการผลิต อีกท้ัง สภาพแวดลอ้ มกด็ ี ส่งผลดตี ่อสขุ ภาพของผู้ปฏบิ ตั งิ าน ประโยชน์ของกจิ กรรม 5 ส สถานประกอบการควรนากิจกรรม 5 ส มาปฏิบัติในการดาเนินงาน สถาน ประกอบการจะได้รับประโยชน์ คอื 1. ดา้ นผ้ปู ฏิบัตงิ านหรอื พนกั งาน 1.1 ไดร้ ูจ้ กั การทางานเปน็ ทีม 1.2 มรี ะเบยี บวนิ ัยในการปฏบิ ตั งิ านและตนเอง 1.3 มขี วัญและกาลังใจในการปฏิบตั ิงาน 1.4 มีความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ าน

1.5 เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ านของตนเอง 1.6 สถานที่ปฏบิ ัตงิ านมคี วามเปน็ ระเบียบสวยงาม 2. ด้านสถานประกอบการ 2.1 ช่วยลดต้นทุนการผลิต 2.2 ช่วยลดคา่ ใช้จ่ายในการซอ่ มแซมเคร่อื งจกั รอุปกรณ์ 2.3 ใชพ้ นื้ ท่ีในการดาเนนิ งานอย่างมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ 2.4 ช่วยลดอุบตั ิเหตุท่ีจะเกดิ กับผู้ปฏิบตั งิ าน 2.5 ชว่ ยสร้างภาพลักษณใ์ ห้กับสถานประกอบการ 3. ดา้ นลูกคา้ 3.1 มั่นใจว่าได้ใชส้ นิ ค้าทมี่ ีคุณภาพ 3.2 ชว่ ยรกั ษาสิง่ แวดล้อมใหด้ ีขนึ้ 3.3 มสี ่วนสนบั สนนุ ใหก้ ารใช้ทรัพยากรน้อยลงและใชท้ รัพยากรอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook