Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ช่องปากสุขี

คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ช่องปากสุขี

Description: คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ช่องปากสุขี

Search

Read the Text Version

5 0 คู่มือการดแู ลผสู้ งู วัย เล็กและยาสีฟันที่มีฟองน้อยแปรงฟันและเหงือกเบาๆ หากผู้สูงอายุไม่มีฟัน ให้ใช้แปรงสีฟันแปรงเพดานปาก เหงือก เน้ือเย่ืออ่อน และลิ้น เม่ือแปรงเสร็จควรเช็ดปาก ให้สะอาดดว้ ยผา้ ชบุ นำ้� หมาดๆ



4 อปุ กรณ์การดแู ล ปากและฟัน

ช่องปากสุขี 53 ผู้ดูแลควรจัดเตรียมอุปกรณ์พ้ืนฐานที่จ�ำเป็น ในการท�ำความสะอาดปากและฟนั ของผสู้ งู อายุ โดยจดั รวม ไว้ดว้ ยกนั ในตะกรา้ โปร่ง เพอื่ ใหข้ องใชเ้ หลา่ นแี้ หง้ สะอาด และพร้อมใชง้ าน อุปกรณท์ ี่จ�ำเปน็ ประกอบดว้ ยแปรงสฟี นั ยาสฟี นั ผา้ สะอาดส�ำหรับเชด็ ปาก นอกจากน้อี าจมีนำ้� ยาบว้ นปาก สูตรฟลูออไรด์ท่ีไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ แปรง ซอกฟนั ไหมขดั ฟนั ชามรปู ไต และหากผสู้ งู อายใุ สฟ่ นั เทยี ม ควรมกี ลอ่ งหรอื ถว้ ยส�ำหรับแช่ฟนั เทยี มด้วย

5 4 คูม่ ือการดแู ลผู้สูงวยั 1. แปรงสฟี ัน ควรเลอื กแปรงสีฟันแบบขนนุ่ม หวั เลก็ มีดา้ มจบั ขนาดใหญ่เพื่อให้จับได้แน่น อาจใช้แปรงส�ำหรับเด็กที่มี ด้ามจับขนาดใหญ่ หรือปรับด้ามแปรงโดยเสียบกับลูก เทนนสิ ทอ่ ยาง หรอื หลอดโฟม นอกจากนอ้ี าจใชผ้ า้ กอ๊ ซพนั ดา้ มแปรงใหห้ นาๆ เพื่อใหผ้ ูส้ งู อายจุ บั ไดถ้ นดั มือมากข้นึ ผู้ดูแลอาจงอด้ามแปรงด้วยการใช้น�้ำร้อนหรือ เครื่องเป่าผมเพื่อให้ด้ามแปรงร้อนก่อนจะดัดงอ แปรงท่ี ดัดใหม่ควรท�ำมมุ พอเหมาะกบั ปากของผสู้ ูงอายุ กรณีที่มีแปรงสีฟันไฟฟ้าจะช่วยให้ผู้ดูแลแปรง ฟันได้สะดวกขึ้น วิธีใช้คือ วางแปรงให้ขนแปรงสัมผัส ผิวเคลือบฟันและเหงือก จากนั้นจึงเปิดเคร่ืองให้ขนแปรง ท�ำงานเพ่ือท�ำความสะอาดทีละจุด แล้วย้ายต�ำแหน่งไป เรอ่ื ยๆ จนแปรงครบทว่ั ท้ังปาก 2. ยาสฟี นั เลอื กใชย้ าสฟี นั ทผ่ี สมฟลอู อไรด์ มฟี องนอ้ ย [ไมค่ วร มีส่วนผสมของสารโซเดียมลอริลซัลเฟต (SLS) ที่ท�ำให้ เกิดฟอง] มีรสอ่อน ไม่เผ็ด อาจใช้ยาสีฟันส�ำหรับเด็ก (มีฟลูออไรด์ 1000 ppm) และในกรณีท่ีมีโอกาสเสี่ยงว่า จะเกดิ ฟนั ผสุ งู อาจใชย้ าสฟี นั ทม่ี ปี รมิ าณฟลอู อไรดม์ ากถงึ 5000 ppm ซึง่ สง่ั จา่ ยโดยทันตแพทย์

ช่องปากสุขี 55 3. นำ�้ ยาบ้วนปาก เลือกใช้น�้ำยาบ้วนปากท่ีมีคุณสมบัติสอดคล้อง กับปัญหาช่องปากของผู้สูงอายุ เช่น ให้ความสดช่ืน ป้องกันหินปูน มียาฆ่าเชื้อ ลดการอักเสบ ฯลฯ อย่างไร ก็ตาม ควรใช้น้�ำยาบ้วนปากที่ไม่มีแอลกอฮอล์และไม่ใช่ สูตรฟอกสีฟัน รวมท้งั ไม่ผสมนำ้� มนั หอมระเหยเพราะอาจ ท�ำให้ระคายเคืองได้ ทั้งน้ีข้ึนกับปริมาณความเข้มข้นและ ปฏกิ ิริยาของผสู้ ูงอายแุ ต่ละคน หากใช้น้�ำยาบ้วนปากคลอเฮกซิดีน ควรเว้น ระยะห่างจากการใช้ฟลูออไรดร์ าว 30 นาทถี งึ 2 ชว่ั โมง 4. แปรงซอกฟนั ใช้แปรงซอกฟันในกรณีท่ีมีช่องห่างระหว่างฟัน หรือรากฟัน วิธีใช้คือ สอดแปรงเข้าไปในช่องระหว่างฟัน แล้วถูไปมาเบาๆ ในทิศทางแบบดันเข้า-ดึงออก โดยให้ แปรงแนบกบั ดา้ นขา้ งของฟนั แตล่ ะซ่ี ท�ำเชน่ นซ้ี ลี่ ะ 3-4 ครงั้ ให้ครบทุกซ่ีท่ีใส่แปรงซอกฟันได้ นอกจากนี้อาจใช้แปรง ซอกฟนั รว่ มกับยาสีฟันได้เช่นกัน

5 6 คมู่ ือการดแู ลผู้สูงวัย แปรงซอกฟนั 5. ไหมขัดฟนั ใชท้ �ำความสะอาดระหวา่ งซฟ่ี นั หรอื ซอกฟนั ไมค่ วร ใช้แบบใช้แล้วทิ้ง แต่ควรใช้แบบมีด้ามจับและเปลี่ยน เสน้ ไหมได้ เพ่ือให้เสน้ ไหมหย่อนพอท่จี ะโอบฟันได้ ไหมขัดฟนั แบบมีด้าม 6. อุปกรณอ์ ื่นๆ อุปกรณ์ดูแลช่องปากอ่ืนๆ เช่น แปรงส�ำหรับ แปรงลน้ิ แกว้ นำ้� ถงุ มอื ชามรปู ไต ผา้ ผนื เลก็ ๆ ไวใ้ ชเ้ ชด็ ปาก หลงั แปรงฟนั แปรงส�ำหรบั ฟนั เทยี ม ถว้ ยหรอื กลอ่ งส�ำหรบั

ช่องปากสุขี 57 แช่ฟันเทียม ขวดสเปรย์ฉีดน้�ำ เจลให้ความชุ่มช้ืนท่ีไม่มี สว่ นผสมของไขมนั เป็นต้น แปรงส�ำหรบั ฟนั เทยี ม ขวดสเปรยฉ์ ดี น�้ำ แปรงส�ำหรบั แปรงลิน้ เจลให้ความช่มุ ช้ืน

5 การดูแลและท�ำ ความสะอาด ฟันเทียม

ช่องปากสุขี 59 การดแู ลฟนั เทียมเปน็ เรื่องส�ำคัญมาก เพราะหาก ฟนั เทยี มไมส่ ะอาดจะท�ำใหเ้ กดิ เชอ้ื ราหรอื ตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี ในช่องปาก มีกลิ่นปาก เจ็บคอ เป็นแผล และเจ็บใต้ฐาน ฟนั เทยี ม ฟนั เทยี มแบบถอดได้ เออ้ื เฟ้อื ภาพจาก dcdentalclinic.com

6 0 คู่มือการดแู ลผู้สงู วัย การดูแลฟันเทียมแบบถอดได้ ให้ถอดท�ำความ สะอาดทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร และถอดฟันเทียม กอ่ นนอนเสมอไมว่ า่ ชว่ งกลางวนั หรอื กลางคนื เพอ่ื ใหเ้ หงอื ก ได้พักผ่อน การศึกษาในประเทศญ่ีปุ่นรายงานว่าหาก ผู้สูงอายุใส่ฟันเทียมขณะนอนหลับ อาจเพิ่มความเสี่ยง ทจี่ ะติดเช้อื ในปอดมากข้ึนถงึ 2 เทา่ วธิ ีท�ำความสะอาดฟนั เทยี มแบบถอดได้ ใช้แปรงสีฟันท่ีมีขนอ่อนนุ่มขัดท�ำความสะอาด ด้วยยาสีฟันชนิดครีม หรืออาจใช้น้�ำยาล้างจานแทนก็ได้ นอกจากนข้ี ณะท�ำความสะอาดควรมภี าชนะรองรบั ดา้ นลา่ ง เพอื่ ปอ้ งกนั ฟนั เทียมตกแตก มีภาชนะรองรบั ขณะท�ำความสะอาดฟันเทียม

ช่องปากสุขี 61 กลอ่ งใส่ฟันเทียมแช่น�ำ้ แบบมีฝาปิด กรณีมีคราบหินปูนหรือคราบบุหร่ีเกาะฟันเทียม สามารถใช้ยาเม็ดส�ำหรับแช่ท�ำความสะอาดฟันเทียมได้ แต่ต้องเลือกชนิดและศึกษาวิธีใช้งานอย่างละเอียด หรือ อาจแช่ฟันเทียมในน�้ำส้มสายชูท่ีผสมน้�ำในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 โดยแช่เป็นเวลา 8 ชั่วโมงจนกระท่ังหินปูนน่ิม แลว้ ใชแ้ ปรงสฟี นั แปรงคราบออก แตห่ ากเปน็ ฟนั เทยี มทม่ี ี โครงหรือตะขอโลหะ หา้ มแชใ่ นน้�ำสม้ สายชู กรณีฟันเทียมสกปรกมากและต้องการแช่น�้ำยา ฆ่าเชื้อ ใหใ้ ชน้ �ำ้ ยาฟอกขาว (sodium hypochlorite) ผสม น้�ำโดยใสน่ �ำ้ ยา 1 สว่ นต่อนำ้� 80 ส่วน (น�้ำยา 1 ชอ้ นโต๊ะ ตอ่ นำ้� 1 แกว้ ) แชเ่ ปน็ เวลา 3 นาที แลว้ ลา้ งท�ำความสะอาด ด้วยน้�ำและสบู่ ส�ำหรับฟันเทียมท่ีมีโครงหรือตะขอโลหะ ใหแ้ ช่ไดไ้ ม่เกิน 1 นาที

6 2 คมู่ อื การดูแลผสู้ งู วัย หลังจากท�ำความสะอาดแล้ว ให้แช่ฟันเทียมใน น�้ำสะอาดและเปลี่ยนน�้ำทุกวัน สาเหตุที่ต้องแช่น้�ำก็เพื่อ ป้องกันฐานพลาสติกแห้งจนแตกช�ำรุด นอกจากนี้ควร รกั ษาความสะอาดของภาชนะท่ีเกบ็ หรอื แช่ฟันเทียมด้วย หากผู้สูงอายุมีแผลใต้ฟันเทียม ควรหยุดใส่ ฟันเทียมจนกว่าแผลจะหาย ระหว่างรักษาแผลให้อม น�้ำเกลือ หากแผลไม่หายในเวลาประมาณ 10-14 วัน ควรปรึกษาทนั ตบุคลากร ฟันเทยี มแบบติดแน่น สอดไหมขดั ฟันท�ำความสะอาดใตค้ รอบฟนั เออ้ื เฟอ้ื ภาพจากกองทันตสาธารณสขุ กรงุ เทพมหานคร

ช่องปากสขุ ี 63 วิธกี ารท�ำความสะอาดฟันเทียมแบบติดแน่น ท�ำความสะอาดโดยแปรงฟันให้ท่ัวถึง และอาจใช้ แปรงซอกฟนั หรอื ไหมขดั ฟนั ชนดิ ซเู ปอรฟ์ ลอส (superfloss) โดยสอดไหมเขา้ ไปท�ำความสะอาดบรเิ วณใตฟ้ นั เทยี มและ ขอบเหงือก ส�ำหรับคนที่ใส่สะพานฟันแบบท่ีมีหลายซี่ ติดกัน ต้องใช้เข็มร้อยไหมช่วยสอดไหมขัดฟันเข้าไป ขา้ งใตฟ้ นั ครอบ เพอื่ ท�ำความสะอาดบริเวณฐานฟันครอบ ซ่ีนัน้ ๆ เพราะบรเิ วณนเ้ี ป็นที่สะสมของคราบจลุ ินทรีย์

6 4 คูม่ อื การดแู ลผสู้ งู วัย ค�ำขอบคณุ 4 การจัดท�ำคู่มือการดูแลเหงือกและฟันฉบับน้ี คณะท�ำงานได้รวบรวมและทบทวนคู่มือการดูแลผู้สูงอายุ ซงึ่ หนว่ ยงานราชการทรี่ บั ผดิ ชอบจดั ท�ำไวเ้ มอ่ื ปี พ.ศ. 2547- 2558 โดยลงพ้ืนท่ีเพ่ือสังเกตการปฏิบัติจริง สนทนากับ ผปู้ ฏบิ ัติงานด้านสาธารณสขุ และผู้ดแู ลผ้สู งู อายุ พรอ้ มกับ ทบทวนแนวทางปฏบิ ตั ขิ องตา่ งประเทศ โดยมผี เู้ ชย่ี วชาญ เปน็ ผใู้ หค้ �ำปรกึ ษาและตรวจสอบความถกู ตอ้ งดา้ นวชิ าการ หลังจากร่างคู่มือฉบับน้ีแล้ว คณะท�ำงานได้ลองน�ำไปใช้ เพอื่ ประเมนิ ความเปน็ ไปไดใ้ นการปฏบิ ตั จิ รงิ และน�ำขอ้ มลู ท่ีไดก้ ลับมาปรบั ปรงุ อกี ครงั้ หนึ่ง ขอขอบคุณ อ. ดร. ทพญ. มัทนา เกษตระทัต ผู้เช่ียวชาญด้านการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ คณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้คอยให้ ค�ำปรึกษาและตรวจสอบความถูกต้องด้านวิชาการ, นพ. เอกชัย เพียรศรีวัชรา ผู้อ�ำนวยการศูนย์อนามัยที่ 9

ช่องปากสขุ ี 65 กรมอนามยั ผใู้ หค้ �ำปรกึ ษาดา้ นระบบการดแู ลผสู้ งู อายขุ อง ประเทศไทย, รพ.สต. บางงา อ�ำเภอท่าว้งุ จังหวดั ลพบุร,ี รพ.สต. บางสีทอง กับ รพ. บางกรวย จังหวดั นนทบรุ ี และ ศูนยส์ าธารณสุขท่ี 16 ลมุ พินี กรุงเทพมหานคร ท่ีเอือ้ เฟอ้ื ใหค้ ณะท�ำงานเข้าไปเรียนรูก้ ารปฏิบัติงานจรงิ ในพ้นื ท่ี ขอขอบคุณมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุ ไทย (มส.ผส.) ท่สี นบั สนนุ ใหจ้ ัดท�ำคูม่ อื ฉบบั นี้ อนั จะกอ่ ให้ เกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมแก่ผู้ดูแลและผู้สูงอายุ รวมท้ังเป็นจุดเร่ิมต้นที่จะพัฒนางานด้านการดูแลสุขภาพ ช่องปากของผู้สูงอายุประเภทติดบ้านหรือติดเตียงให้มี คุณภาพยิ่งๆ ขึน้ ตอ่ ไป

6 6 คมู่ ือการดูแลผ้สู งู วยั เอกสารอ้างองิ 4 กระทรวงสาธารณสขุ , กรมการแพทย,์ สถาบนั ทนั ตกรรม. คณุ ภาพ ช่องปากของผู้สูงอายุ. องค์การค้าของคุรุสภา (ลาดพร้าว); 2547. กระทรวงสาธารณสุข, กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. คู่มือการ คัดกรอง/ประเมนิ ผู้สูงอาย;ุ 2557. กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย, สำ�นักทันตสาธารณสุข. การ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตนเองไม่ได้ [วีดิทัศน]์ ; 2558. กระทรวงสาธารณสขุ , กรมอนามยั , ส�ำ นกั ทนั ตสาธารณสขุ . รายงาน ผลการสำ�รวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศคร้ังท่ี 7 ประเทศไทย พ.ศ. 2555. สำ�นักทนั ตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2556. กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย, สำ�นักส่งเสริมสุขภาพ. คู่มือ แนวทางการอบรมผ้ดู แู ลผู้สูงอายุระยะยาว. สำ�นักงานกจิ การ โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก; 2556. กระทรวงสาธารณสขุ , กรมอนามยั , ส�ำ นกั สง่ เสรมิ สขุ ภาพ. รายงาน

ชอ่ งปากสขุ ี 67 การสำ�รวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยปี 2556 ภายใต้แผนงาน สง่ เสริมสขุ ภาพผู้สูงอายุและผูพ้ ิการ. โรงพิมพ์วัชรนิ ทร์ พ.ี พี.; 2556. กรุงเทพมหานคร, ส�ำ นกั อนามยั , กองทันตสาธารณสขุ . การดูแล สุขภาพช่องปากผู้สงู อายุ. อัดส�ำ เนา; 2558. กรงุ เทพมหานคร, ส�ำ นกั อนามยั . คมู่ อื ผดู้ แู ลผสู้ งู อายุ (Caregiver). อัดสำ�เนา. คณะทำ�งานพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ. คู่มือ แนวทางการฝึกอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตร 70 ช่ัวโมง. สำ�นักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2556. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. สถานการณ์ผู้สูงอายุ ไทย; 2556. วันดี โภคะกุล, จิตนภา วาณิชวโรตม์, บรรณาธิการ. การดูแล ผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมสำ�หรับประชาชน. สถาบันเวชศาสตร์ ผสู้ ูงอายุ กรมการแพทย์. สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. คู่มือระบบการดูแลระยะ ยาวด้านสาธารณสุขสำ�หรับผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิงในพ้ืนที่ (Long term care) ในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาต;ิ 2559. สิรินทร ฉันศิริกาญจน. คู่มือหมอครอบครัว. คณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล กรงุ เทพฯ: อัมรินทร;์ 2558. Abe S, Ishihara K, Adachi M, Okuda K. Tongue-coating as risk indicator for aspiration pneumonia in edentate elderly. Arch Gerontol Geriatr. 2008; 47:267-275.

6 8 คมู่ อื การดแู ลผู้สูงวยั All Wales Special Interest Group. Advice to support mouth care for adults with swallowing problems. Oral Health Care, All Wales Special Interest Group in Oral Health Care (SIG). 2014 Mar. Available from: http://www.sigwales.org/wp- content/uploads/dysphagia-adultmouthcare-booklet3.pdf. All Wales Special Interest Group. Dysphagia and oral health. 2014 Sept. Available from: http://www.sigwales.org/wp- content/uploads/sig-dysphagia-guidelines1.pdf. Appendix 10: Mouth care for intubated/ventilated patients. BDA. Dental problems and their management in patients with dementia. 2013 Dec. Available from: https://www. bda.org/dentists/education/sgh/Documents/Dental%20 problems%20and%20their%20management%20in%20 patients%20with%20dementia.pdf. Ebihara S, Kohzuki M, Sumi Y, Ebihara T. Sensory stimulation to improve swallowing reflex and prevent aspiration pneumonia in elderly dysphagic people. J Pharmacol Sci. 2011; 115(2):99-104. NHS Health Scotland. Caring for Smiles: guide for care homes better. 2013. Available from: http://www.nes.scot.nhs. uk/media/2603965/caring_for_smiles_guide_for_care_ homes.pdf. Chalmers J, Pearson A. Oral hygiene care for residents with dementia: a literature review. J Adv Nurs. 2005 Nov; 52(4):410-9.

ชอ่ งปากสุขี 69 Giffiths J, Lewis D. Guideline for the oral care of patients who are dependent, dysphagia or critically ill. Journal of Disability and Oral Health. 2002; 3(1):30-33. Linuma T, Arai Y, Abe Y, Takayama M, Fukumoto M, Fukui Y, et al. Denture wearing during sleep doubles the risk of pneumonia in the very elderly. J Dent Res. 2014. New Zealand Carers Alliance. Oral care for someone who is dying. Available from: http://www.hospice.org.nz/ cms_show_download.php?id=796. Parkinson’s UK. Dental and oral health in Parkinson’s. [updated 2014 Feb]. Available from: http://www. parkinsons.org.uk/sites/default/files/publications/download/ english/fs98_dentalandoralhealth.pdf. Rural and Regional Health and Aged Care Services Division, Victorian Government. Oral health for older people: a practical guide for aged care services, Department of Human Services. 2002 Aug [cited 2015 Nov 15]. Available from: https://www.dhsv.org.au/__data/assets/ pdf_file/0020/3269/oral-health-for-older-people.pdf. Sjogren P, Nilsson E, Forsell M, Johansson O, Hoogstraate J. A systematic review of the preventive effect of oral hygiene on pneumonia and respiratory tract infection in elderly people in hospitals and nursing homes: effect estimates and methodological quality of randomized controlled trials. J Am Geriatr Soc. 2008. 56:2124-2130.

7 0 ค่มู อื การดูแลผสู้ ูงวยั UK Oral Mucositis in Cancer Group. Mouth care guidance and support in cancer and palliative care. 2nd ed; 2015. Yasunori S. Oral care for the dependent elderly. National Center for Geriatrics and Gerontology, Japan. [cited 2015 Nov 15]. Available from: http://www.ncgg.go.jp/hospital/ english/clinics/documents/oralcavitycare_en1.pdf.