Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ช่องปากสุขี

คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ช่องปากสุขี

Description: คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ช่องปากสุขี

Search

Read the Text Version

คูม่ อื การดูแลผ้สู งู วัย: ชอ่ งปากสุขี พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 กรกฎาคม 2559 จำ�นวนพิมพ์ 1,000 เล่ม • ผูเ้ ขียน ที่ปรกึ ษา ทพญ. จนั ทนา อ้งึ ชูศักดิ์ นพ. บรรลุ ศริ ิพานชิ ทพญ. ช่ืนตา วชิ ชาวุธ พญ. วชั รา ริว้ ไพบลู ย์ ทพญ. ฉววี รรณ ภักดธี นากลุ พญ. ลดั ดา ดำ�รกิ ารเลิศ ทพญ. อัญชลี เนาวรตั นโ์ สภณ ดร. ทพญ. มทั นา เกษตระทัต ทพญ. วรางคณา เวชวธิ ี นพ. เอกชยั เพียรศรวี ัชรา ผศ. ดร. ศภุ ลกั ษณ์ เข็มทอง ผจู้ ดั การการสือ่ สารสาธารณะ ทพญ. สณุ ี วงศค์ งคาเทพ เนาวรัตน์ ชมุ ยวง ทพญ. สรุ ตั น์ มงคลชัยอรญั ญา ประสานงานวิชาการ อัปสร จินดาพงษ์ รัชนี ล้ิมสวสั ดิ์ แพรว เอ่ียมน้อย บรรณาธกิ ารจดั การ บุศรนิ ทร์ นนั ทานุรกั ษ์สกลุ ณัฏฐพรรณ เรืองศริ นิ สุ รณ์ บงกช จูฑะเตมีย์ จุฑารัตน์ แสงทอง บรรณาธกิ าร ณัฏฐพรรณ เรอื งศริ ินสุ รณ์ ผู้ช่วยบรรณาธกิ าร บญุ ชยั แซ่เงี้ยว อสภรุ กญิ า ญนตา์ สกตัติ ยตาพิ นรี นกทร์ • w อr oอnกแgบdบe ปs iกg n กฤตินภธาีรพวปิทกยาอาจ ภาพประกอบ ทพญ. อัญชลี เนาวรตั นโ์ สภณ พรชนติ ว์ วิศิษฐชยั ชาญ ศิลปกรรม พรชนติ ว์ วศิ ิษฐชัยชาญ

ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของส�ำ นักหอสมุดแหง่ ชาติ คู่มอื การดูแลผ้สู งู วัย: ช่องปากสุข.ี -- นนทบุรี : สถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสขุ (สวรส.), 2559. 72 หนา้ . -- (ค่มู อื การดแู ลผู้สูงวยั ). 1. ผสู้ งู อายุ--การดูแลและสุขวทิ ยา. 2. ผูส้ ูงอายุ--การดแู ลทนั ตสขุ ภาพ. I. จนั ทนา อึ้งชศู ักด์.ิ II. อัญชลี เนาวรัตนโ์ สภณ, ผ้วู าดภาพประกอบ. III. ช่อื เรอื่ ง. 618.9776 ISBN 978-974-299-240-8 ดำ�เนินการโดย สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) รว่ มกับ มลู นิธิสถาบันวิจยั และพฒั นา ผูส้ ูงอายุไทย (มส.ผส.) สนับสนนุ โดย ส�ำ นักงานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) จัดพมิ พโ์ ดย บริษทั โอเพน่ เวิลด์ส พับลชิ ช่ิง เฮาส์ จ�ำ กัด สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสุข 88/39 อาคารสขุ ภาพแห่งชาติ ชน้ั 4 กระทรวงสาธารณสุข ซ.6 ถ.ตวิ านนท์ 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี 11000 โทรศัพท/์ โทรสาร 02-832-9200, 02-832-9201 http://www.hsri.or.th, http://www.healthyability.com, http://www.bluerollingdot.org ดาวนโ์ หลดหนังสือเล่มนแี้ ละงานวจิ ัยอ่นื ๆ ของ สวรส. และเครือข่ายได้ท่ี คลังขอ้ มูลและความรูร้ ะบบสุขภาพของ สวรส. และองค์กรเครอื ขา่ ย http://kb.hsri.or.th



สารบญั บทน�ำ 8 หลกั การดูแลชอ่ งปาก 12 ตามเงือ่ นไขของผสู้ งู อายุ 20 การแปรงฟันและ ทำ� ความสะอาดช่องปาก 42 ปัญหาในชอ่ งปาก ทพี่ บบ่อยในผู้สูงอายุ 52 อปุ กรณ์การดูแล ปากและฟัน 58 การดแู ลและ ท�ำความสะอาดฟันเทยี ม ค�ำขอบคณุ 6664 เอกสารอ้างองิ



ช่องปากสขุ ี คมู่ ือการดแู ลผ้สู งู วยั

บทนำ�

ชอ่ งปากสขุ ี 9 การดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุเป็นเรื่อง ส�ำคัญ เพราะปากและฟันท่ีสะอาดจะช่วยให้ผู้สูงอายุ รู้สึกสบาย ไม่เจ็บปวด ไม่มีกลิ่นปาก กินอาหารได้ตาม ปกติ ลดความเส่ียงที่จะติดเช้ือ โดยเฉพาะปัญหาปอด ติดเช้ือจากการส�ำลัก (aspiration pneumonia) ซึ่งอาจ เป็นสาเหตุให้เสียชีวิตได้ มีผลสรุปจากงานวิจัยท่ีพบว่า หากท�ำความสะอาดช่องปากดีข้ึน อาจลดอัตราการ เสียชีวิตจากภาวะปอดอักเสบของผู้สูงอายุในบ้านพัก คนชราได้ 1 ใน 10 ดังน้ันการดูแลช่องปากอย่างดี จะช่วยให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตประจ�ำวันได้อย่างมีความสุข และสง่ ผลดีต่อสขุ ภาพโดยรวมอีกดว้ ย ผู้สูงอายุติดเตียงท่ีช่วยเหลือตัวเองไม่ได้อาจมี อาการกลืนล�ำบากหรือส�ำลักง่าย จึงต้องให้อาหารทาง สายยางหรอื ใส่ทอ่ ช่วยหายใจ ผสู้ ูงอายอุ าจปากแหง้ หรือมี

1 0 คู่มอื การดแู ลผูส้ งู วยั แผลในปาก การท�ำความสะอาดปากและฟันจึงต้องอาศัย เทคนิค การจัดท่าทาง หรืออุปกรณ์บางอย่างเป็นพิเศษ ผู้ดูแลควรท�ำความสะอาดปากและฟันของผู้สูงอายุทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 คร้งั ผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตนเองไม่ได้มักเผชิญอาการ เจ็บป่วยหลายอย่างพร้อมกัน ดังนั้นการดูแลสุขอนามัย ในช่องปากจึงถือเป็นองค์ประกอบหน่ึงที่ต้องบูรณาการ ควบคไู่ ปกบั การดแู ลทางการแพทยอ์ นื่ ๆ ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ความ ร่วมมือและการวางแผนร่วมกันจากหลายฝ่าย ท้ังจาก ทีมบุคลากรสาธารณสุขและจากคนในครอบครัวหรือ อาสาสมคั รซ่งึ คอยดแู ลผสู้ งู อายุเป็นประจ�ำ การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของผู้สูงอายุท่ีมี ภาวะพึ่งพงิ หรือผสู้ ูงอายุกลมุ่ ตดิ บา้ นและติดเตียง ถอื เปน็ ส่วนหน่ึงของกิจกรรมในระบบการดูแลระยะยาว (long- term care) ซง่ึ เปน็ บรกิ ารสาธารณสขุ และบรกิ ารทางสงั คม ท่ีจัดข้ึนเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้ท่ีประสบ ภาวะยากลําบากเพราะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ใน ชีวิตประจําวัน โดยแบ่งเป็นรูปแบบทางการ คือดูแลโดย บุคลากรด้านสาธารณสุขและสังคม กับรูปแบบไม่เป็น ทางการ คือดูแลโดยครอบครัว อาสาสมัคร เพื่อน และ เพอ่ื นบา้ น

ชอ่ งปากสขุ ี 11 คู่มือนี้จัดท�ำขึ้นส�ำหรับผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (care manager) ระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพต�ำบล (รพ.สต.)1 และผู้ที่ท�ำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน เพื่อให้ ทราบถึงวิธีการดูแลช่องปากของผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน กับกลุ่มติดเตียงซ่ึงต่างมีเงื่อนไขเฉพาะตัว และสามารถ เลอื กใชว้ ธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในการดแู ลผสู้ งู อายแุ ตล่ ะกลมุ่ ได้ 1 ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุหรือ care manager ในที่น้ีหมายถึง บคุ ลากรสาธารณสขุ ทที่ �ำงานในระดบั รพ.สต. โดยอาจเปน็ พยาบาล เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ หรือทนั ตาภบิ าล

1 หลกั การดูแลช่องปาก ตามเง่ือนไขของผสู้ ูงอายุ

ชอ่ งปากสุขี 13 เนื่องจากผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียง มีลักษณะและเงื่อนไขของปัญหาช่องปากที่แตกต่างกัน อยู่บ้าง จึงควรจัดท�ำแผนการดูแลสุขอนามัยช่องปาก เฉพาะบุคคล (individualized oral hygiene care plan) โดยประกอบด้วยข้ันตอนการตรวจประเมิน การท�ำแผน ดูแลประจ�ำวัน การฝึกทักษะผู้ดูแลหรือผู้สูงอายุ และการ จัดสภาพแวดล้อม ขั้นตอนทั้งหมดน้ีควรเกิดจากความ รว่ มมอื กนั ระหวา่ งทนั ตบคุ ลากร ผจู้ ดั การการดแู ลผสู้ งู อายุ และผ้ดู ูแลผูส้ งู อายุ เมื่อทีมเยี่ยมบ้านมาเยี่ยมผู้สูงอายุและมีทันต- บุคลากรมาด้วย ทันตบุคลากรจะเป็นผู้ตรวจประเมิน ในขนั้ ตน้ โดยอาจใช้แบบฟอรม์ ทก่ี �ำหนดมาจากกระทรวง สาธารณสุข หรือแบบฟอร์มท่ีก�ำหนดเองตามความ เหมาะสม หากไม่มีทันตบุคลากรอยู่ในทีมเย่ียมบ้าน

1 4 คู่มอื การดูแลผู้สงู วยั ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุจะเป็นผู้ตรวจประเมิน โดยเร่ิม จากสอบถามประวัติโรคประจ�ำตัวหรือประวัติการรักษา ทผ่ี า่ นมาซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพชอ่ งปาก จากนน้ั จงึ ฝึกทักษะใหก้ บั ผดู้ แู ลหรือผสู้ งู อายุ และจดั สภาพแวดล้อม ในบ้านให้พร้อมส�ำหรับการดูแลช่องปากในชีวิตประจ�ำวัน หากผสู้ งู อายจุ �ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั บรกิ ารทางทนั ตกรรม หนว่ ย เคลือ่ นทใ่ี นทีมเย่ียมบ้านอาจเป็นผู้ให้บรกิ ารโดยตรง หรอื ส่งต่อมายงั สถานพยาบาล ผู้สูงอายกุ ลมุ่ ตดิ บา้ น ติดเตยี ง หรอื มีภาวะพงึ่ พิง สามารถแบง่ ตามเงือ่ นไขได้ 4 แบบ ดงั นี้ 1. ผู้สูงอายุกลุ่มช่วยเหลือตัวเองได้ อาจมีข้อจ�ำกัด ในการเคล่อื นไหวอยบู่ า้ ง เช่น มอื และแขนขาออ่ นแรง จากปัญหาอัมพฤกษ์อัมพาต แต่ยังแปรงฟันเองได้ และให้ความร่วมมืออย่างดี ควรสนับสนุนให้ผู้สูงอายุ กลุ่มนี้แปรงฟันด้วยตัวเอง โดยผู้ดูแลช่วยจัดเตรียม อุปกรณ์ให้พร้อม และช่วยพยุงให้น่ังหรืออยู่ในท่าที่ สะดวกปลอดภัย วิธีท�ำความสะอาดปากและฟันของ ผ้สู ูงอายุกลุ่มนไ้ี มไ่ ดแ้ ตกตา่ งจากกล่มุ วยั อ่ืนๆ

ชอ่ งปากสขุ ี 15 มือแขนออ่ นแรง

1 6 คู่มือการดูแลผู้สูงวัย 2. ผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง แต่อาจมีอาการ หลงลืม ซึมเศร้า หรือก้าวร้าว ผู้สูงอายุกลุ่มน้ีมัก ไมย่ อมอา้ ปาก อาจกดั แปรง กดั หรอื ทบุ ตผี ดู้ แู ล ผดู้ แู ล จ�ำเป็นต้องมีเทคนิคด้านการส่ือสารและการจัดการ พฤติกรรม เพ่ือให้ผู้สูงอายุวางใจและให้ความร่วมมือ หากผสู้ งู อายแุ ปรงฟนั เองไดค้ วรสนบั สนนุ ใหแ้ ปรงฟนั ดว้ ยตัวเอง หากท�ำไม่ได้ผู้ดแู ลจงึ ค่อยแปรงให้

ช่องปากสุขี 17 3. ผู้สงู อายทุ ช่ี ่วยเหลือตวั เองไม่ได้ ผูด้ ูแลควรค�ำนึงเรื่อง การจัดท่าทางเพ่ือความปลอดภัย และวิธีท�ำความ สะอาดช่องปากและฟันที่เหมาะสม ผู้สูงอายุอาจมี อาการกลืนล�ำบาก ส�ำลักง่าย หรือมีปัญหาสุขภาพ ด้านอื่นๆ ร่วมด้วย การท�ำความสะอาดช่องปากและ ฟันเป็นอีกช่องทางหนึ่งท่ีจะช่วยกระตุ้นและฟื้นฟู ให้ผ้สู ูงอายุรบั ประทานอาหารได้ดขี ึน้

1 8 ค่มู ือการดูแลผู้สูงวยั 4. ผสู้ งู อายอุ ยใู่ นระยะเจบ็ ปว่ ยรนุ แรง ควรท�ำความสะอาด ช่องปากและฟันตามความจ�ำเป็น เม่ือผ่านพ้นอาการ ขั้นวิกฤตไปแล้วจึงท�ำความสะอาดตามปกติ ส่วน ผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต ควรดูแลแบบ ประคับประคองเพื่อให้รู้สึกสบาย ไม่เจ็บปวด และมี คณุ ภาพชีวิตทีด่ ี



2 การแปรงฟนั และ ท�ำ ความสะอาดช่องปาก

ชอ่ งปากสุขี 21 การแปรงฟนั และท�ำความสะอาดชอ่ งปากประกอบ ไปด้วยการท�ำความสะอาดฟัน ลิ้น กระพุ้งแก้ม และ ฟนั เทียม รวมทง้ั ตอ้ งสงั เกตความผดิ ปกตทิ ีอ่ าจเกดิ ขึ้นใน ชอ่ งปากและฟนั โดยแบ่งตามเงื่อนไขของผ้สู งู อายดุ ังนี้ 1. ผู้สูงอายทุ ีแ่ ปรงฟันไดด้ ้วยตวั เอง ควรสนับสนุนให้แปรงฟันและท�ำความสะอาด ชอ่ งปากเอง โดยมผี ดู้ แู ลคอยใหก้ �ำลงั ใจและชว่ ยเหลอื ดงั น้ี (1) จดั เตรยี มอปุ กรณใ์ หพ้ รอ้ ม โดยจดั รวมกนั ไวใ้ น ทเี่ ดยี ว เพอื่ ให้หยิบใชไ้ ดส้ ะดวก อุปกรณ์ท่ีจ�ำเปน็ ประกอบ ไปด้วยแปรงสีฟันขนอ่อนนุ่ม ยาสีฟันที่ผสมฟลูออไรด์ มีฟองน้อย และรสไม่เผ็ดมาก (อาจใช้แปรงสีฟันและ ยาสีฟันส�ำหรับเด็กท่ีมีฟลูออไรด์ไม่น้อยกว่า 1000 ppm กไ็ ด้) ผ้าสะอาดส�ำหรบั เชด็ ปาก และอาจมีน�ำ้ ยาบ้วนปาก

2 2 ค่มู อื การดแู ลผู้สูงวยั สูตรผสมฟลูออไรด์ที่ไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ หากผู้สูงอายุใส่ฟันเทียมควรมีกล่องหรือถ้วยส�ำหรับแช่ ฟันเทยี มดว้ ย หากผู้สูงอายุควบคุมมือไม่ถนัดแต่ยังแปรงฟัน เองได้ ผดู้ แู ลอาจเขา้ ไปชว่ ยเหลอื ได้ เชน่ ถา้ ผสู้ งู อายกุ างนวิ้ ไม่ได้ ใหผ้ ดู้ ูแลช่วยสอดด้ามแปรงเข้าไปในฝา่ มือท่ีก�ำแนน่ ถา้ ผสู้ งู อายกุ �ำมอื แนน่ ๆ ไมไ่ ด้ ควรปรบั ดา้ มแปรงสฟี นั ใหจ้ บั ไดเ้ หมาะมอื เชน่ ใชแ้ ปรงเดก็ ทมี่ ดี า้ มใหญ่ ใชแ้ ฮนดจ์ กั รยาน หรือปลอกโฟมสวมทับด้ามแปรง โดยยึดด้วยกาวหรือ ดินนำ�้ มนั หรือเพมิ่ สายรัดเพ่อื ยดึ ด้ามแปรงตดิ กบั มอื หรอื อาจใชแ้ ปรงสฟี นั ไฟฟ้าเพ่อื ผ่อนแรง

ช่องปากสุขี 23 (2) การจดั ทา่ ทางและต�ำแหนง่ การจดั ทา่ ทางและ ต�ำแหน่งที่เหมาะสมจะช่วยป้องกันการส�ำลักและท�ำให้ แปรงฟันสะดวกยิ่งข้ึน ในกรณีท่ีผู้สูงอายุแปรงฟันเองได้ ผู้ดูแลควรช่วยพยุงข้ึนนั่ง โดยอาจให้น่ังบนเก้าอี้ เก้าอี้ รถเข็น หรือน่ังบนเตียงแล้วปรับระดับหัวเตียงข้ึน หรือ ใช้หมอนหนุนรองหลังให้อยู่ในท่าเอนตัวประมาณ 30-60 องศาจากพ้ืน (3) การแปรงฟัน ผู้ดูแลจัดเตรียมแปรงสีฟันและ ยาสีฟันให้ บีบยาสีฟันเล็กน้อยโดยไม่ต้องเอาแปรงจุ่มน้�ำ เพ่ือลดปรมิ าณน้ำ� และฟองในปาก

2 4 คมู่ อื การดูแลผู้สงู วยั ให้ขนแปรงสัมผสั ขอบเหงือก ส�ำหรบั วธิ แี ปรง ควรเรม่ิ แปรงจากดา้ นนอกใหค้ รบ ทกุ ซก่ี อ่ น ขณะแปรงดา้ นนอกหรอื ดา้ นกระพงุ้ แกม้ ควรให้ ผู้สูงอายุกัดฟันไว้แล้วแปรงไล่ไปทีละซี่ เพ่ือจะได้ไม่ลืม แปรงดา้ นใดดา้ นหนง่ึ ฟนั ลา่ งซใ่ี นสดุ ควรแปรงเปน็ ต�ำแหนง่ สุดทา้ ยเพ่อื ปอ้ งกนั การอาเจียน เวลาแปรงฟนั ใหข้ นแปรง สมั ผสั ขอบเหงอื กด้วย หลงั แปรงฟนั เสรจ็ ควรแปรงลนิ้ ตอ่ อาจใชแ้ ปรงสฟี นั ทั่วไปหรือแปรงส�ำหรับแปรงลิ้นโดยเฉพาะ ให้ลากแปรง จากโคนลิ้นออกมายังปลายลนิ้ ประมาณ 4-5 ครัง้

ช่องปากสขุ ี 25 กรณีผู้สูงอายุที่ไม่มีฟันทั้งปาก ให้ใช้แปรงขนนุ่ม แปรงบรเิ วณสนั เหงอื ก กระพุง้ แก้ม และลน้ิ วันละ 2 คร้ัง เชา้ -เยน็ การแปรงลนิ้ จะชว่ ยลดกลน่ิ ปากได้ แมว้ า่ ผสู้ งู อายุ จะไม่มีฟันธรรมชาติในปากแล้ว แต่หากมีคราบสกปรก ติดลิ้นอาจเพิม่ ความเส่ยี งที่จะเกดิ ปอดอกั เสบไดเ้ ช่นกนั กรณีผู้สูงอายุใส่ฟันเทียม ต้องถอดฟันเทียมออก ก่อนท�ำความสะอาดปากและฟัน และท�ำความสะอาด ฟันเทียมด้วยทุกคร้ัง

2 6 ค่มู อื การดแู ลผสู้ ูงวยั 2. ผสู้ งู อายทุ มี่ อี าการหลงลมื ซมึ เศรา้ หรอื ไมใ่ หค้ วาม รว่ มมอื มกั พบว่าผสู้ ูงอายุทมี่ ภี าวะสมองเสอ่ื ม อัลไซเมอร์ มีภาวะซึมเศร้า หรือมีโรคพาร์กินสัน อาจมีปัญหาไม่ให้ ความร่วมมือขณะแปรงฟัน เช่น ไม่ยอมอ้าปาก อ้าปาก ไมข่ น้ึ ปากสน่ั กลา้ มเนอื้ ชอ่ งปากออ่ นแรง มอี าการสน่ั เกรง็ หรือหันศีรษะไปมาตลอดเวลา ชอบกัดแปรง กัดผู้ดูแล ตีหรือเตะผู้ดูแลเม่ือแปรงฟันให้ และอาจมีอาการกลืน ล�ำบากหรอื ส�ำลักงา่ ยร่วมด้วย หลักการดูแลผู้สูงอายุลักษณะนี้คือ เห็นใจ ใส่ใจ รู้ใจ และเข้าใจ เน้นพูดคุยให้ผู้สูงอายุผ่อนคลายด้วยท่าที เปน็ มติ ร อธบิ ายทลี ะขน้ั ตอนอยา่ งกระชบั ชดั เจน ไมต่ �ำหนิ หรือโต้เถียง และเตรียมอุปกรณ์ท�ำความสะอาดช่องปาก และฟนั ให้พรอ้ มก่อนเสมอ วิธีดแู ลผูส้ ูงอายมุ ีดงั น้ี (1) ในขน้ั ตอนกอ่ นทจี่ ะแปรงฟนั ผดู้ แู ลไมค่ วรเขา้ หา ผู้สูงอายุจากด้านข้าง เพราะอาจท�ำให้ตกใจ ควรเข้าหา ผู้สูงอายุทางด้านหน้า และบอกก่อนว่าจะท�ำอะไร โดย อธบิ ายทีละข้ันตอนอย่างกระชบั และชดั เจน หากผู้สงู อายุ แปรงเองได้ ควรสนบั สนนุ ใหท้ �ำเอง ผดู้ แู ลอาจคอยชว่ ยเหลอื เช่น ให้ยืนอยู่ข้างๆ ผู้สูงอายุท่ีหน้ากระจกขณะแปรงฟัน และใหเ้ ปน็ คนเรมิ่ ตน้ แปรงกอ่ น เพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ สู้ งู อายเุ หน็

ชอ่ งปากสุขี 27 ชว่ ยจับมอื แปรง แล้วเริ่มแปรงตามด้วยตัวเอง นอกจากนี้ผู้ดูแลอาจช่วย จับมือผู้สูงอายุขณะแปรงโดยให้ผู้สูงอายุเห็นภาพสะท้อน จากกระจกวา่ ก�ำลังท�ำอะไร (2) รกั ษาสภาพแวดลอ้ มแบบเดมิ ทผี่ สู้ งู อายคุ นุ้ เคย เช่น สถานที่แปรงฟัน อุปกรณ์ ช่วงเวลาแปรงฟัน เน้น สร้างสัมพันธ์กับผู้สูงอายุด้วยใจเมตตากรุณาและยิ้มแย้ม อยเู่ สมอ อาจรอ้ งเพลง ชวนคยุ นวดไหลน่ วดเทา้ ใหผ้ สู้ งู อายุ หรอื ใหผ้ สู้ งู อายถุ อื หรอื จบั ของทชี่ อบไวเ้ พอ่ื จะไดร้ สู้ กึ อนุ่ ใจ

2 8 คมู่ ือการดแู ลผสู้ งู วยั เบนความสนใจ กรณผี สู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะซมึ เศรา้ ควรลดสงิ่ เรา้ ทอ่ี าจ กระทบความรู้สึก (เช่น คนหรือวัตถุส่ิงของ) ชวนคุยถึง เรอ่ื งราวดีๆ ทีผ่ ่านมาของผู้สูงอายุ คอยรบั ฟงั ใหก้ �ำลังใจ และโน้มน้าวให้ผู้สูงอายุภูมิใจในคุณค่าแห่งชีวิตของตน หากผู้สูงอายุยังไม่ให้ความร่วมมือ ควรเลือกช่วงเวลาที่ ผ้สู งู อายุอารมณ์ดี พยายามเบีย่ งเบนความสนใจโดยใหท้ �ำ กจิ กรรมอ่นื ๆ ทผ่ี ู้สงู อายุเคยชอบหรอื ถนัด และกระต้นุ ให้ ร่วมมอื ในลกั ษณะเหมือนเพ่อื นช่วยเพอ่ื น

ช่องปากสุขี 29 กรณผี สู้ งู อายุไม่ยอมอ้าปาก มเี ทคนิคดังน้ี ขั้นท่ี 1: การนวดสัมผัส (desensitize) โดยใช้ ปลายน้ิวสัมผัสที่ริมฝีปากของผู้สูงอายุ นวดเพียงเบาๆ รอบๆ ริมฝีปากและแกม้ ดังรูป ข้ันท่ี 2: สอดน้ิวเข้าไปตรงช่องว่างระหว่างฟัน กับกระพุ้งแก้มจนถึงต�ำแหน่งเลยท้ายฟันกรามล่างไป เลก็ นอ้ ย ใชป้ ลายนว้ิ กดเบาๆ (สวมถงุ มอื และตดั เลบ็ ใหส้ นั้ ) ตรงต�ำแหนง่ K point (ดังรูปในหนา้ ถัดไป) จะท�ำใหผ้ ้ปู ่วย อา้ ปากได้

3 0 คมู่ อื การดูแลผูส้ ูงวัย K point ปรับภาพจาก Kojima C, et al., Dysphagia 17(4):273-7. February 2002. ข้ันที่ 3: เม่ือผู้สูงอายุอ้าปาก ให้ผู้สูงอายุกัดด้าม แปรงสีฟันที่พนั ผ้าก๊อซ โดยให้ใช้ฟนั หลังกัดเสมอ อยา่ กัด ท่ีฟนั หนา้ ปรบั ความหนาของผา้ ก๊อซตามความเหมาะสม เพือ่ ให้มีทว่ี า่ งในชอ่ งปากพอเขา้ ไปท�ำความสะอาดฟนั ได้

ชอ่ งปากสุขี 31 3. ผสู้ งู อายทุ ่ีชว่ ยเหลือตัวเองไมไ่ ด้ ในกรณีผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สามารถ ยืดหยุ่นเรื่องเวลาการแปรงฟัน ไม่จ�ำเป็นต้องแปรงตอน เชา้ และตอนเยน็ เสมอไป โดยใหผ้ ดู้ แู ลเลอื กเวลาทผ่ี สู้ งู อายุ สะดวก แต่ควรแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 1 คร้ัง และ ควรค�ำนึงเรื่องการจัดท่าทางรวมถึงวิธีท�ำความสะอาดท่ี เหมาะสม วิธดี ูแลผู้สงู อายุมีดงั นี้ (1) จัดเตรียมอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นไว้ในที่เดียวกัน ได้แก่ แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่ม 1-2 ด้าม ยาสีฟันท่ีผสม ฟลูออไรด์ มีฟองน้อย และรสไม่เผ็ด ผ้าสะอาดส�ำหรับ เช็ดปาก ชามรองรูปไตหรอื ชามอ่ืนๆ ส�ำหรบั รองบ้วนปาก และถุงมอื (2) การจดั ท่าทางและต�ำแหนง่ ผูด้ แู ลอยูท่ างดา้ น หลังหรือด้านข้างของผู้สูงอายุ ใช้แขนข้างหนึ่งประคอง ศีรษะของผู้สงู อายุไว้ และใชม้ อื อกี ขา้ งช่วยแปรงฟนั ให้

3 2 ค่มู ือการดูแลผ้สู ูงวยั กรณีผู้สูงอายุที่นั่งบนเก้าอี้เองไม่ได้ อาจต้องใช้ คน 2 คนชว่ ยกนั โดยคนหนง่ึ ใชแ้ ขนกอดจากดา้ นหลงั ของ ผู้สูงอายุเพื่อกดไหล่และแขนของผู้สูงอายุไว้กับพนักเก้าอ้ี สว่ นอกี คนช่วยแปรงฟนั ให้ กรณีผู้สูงอายุนอนอยู่บนเตียง ควรพยุงผู้สูงอายุ ขึ้นน่ังเอนหลัง ให้ศีรษะสูงจากพ้ืนท�ำมุมประมาณ 30-45 องศา อาจใชห้ มอนสามเหลยี่ มชว่ ยหนนุ ดา้ นหลงั หากไมใ่ ช้ วธิ นี อี้ าจใหผ้ สู้ งู อายหุ นนุ ตกั ในทา่ ทถ่ี นดั หรอื ใหน้ อนตะแคง ขา้ งใดขา้ งหนงึ่ เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ �ำลกั จากนนั้ วางผา้ ขนหนู รองบริเวณคอแล้ววางชามรูปไตไว้ใต้คางผู้สูงอายุ ถ้าวาง ไมไ่ ดใ้ ห้วางผ้าขนหนรู องเพือ่ ซบั น้�ำแทน

ชอ่ งปากสขุ ี 33 (3) การแปรงฟนั ผดู้ แู ลควรใสถ่ งุ มอื ขณะท�ำความ สะอาดปากและฟนั ใหผ้ สู้ งู อายุ แลว้ แปรงตามล�ำดบั ขน้ั ตอน ดังน้ี ขนั้ ท่ี1กำ� จดั เศษอาหารใหผ้ สู้ งู อายกุ ดั ฟนั สงั เกตวา่ มอี าหารคา้ งอยทู่ ก่ี ระพงุ้ แกม้ หรอื ไม่ โดยเฉพาะกระพงุ้ แกม้ ข้างที่กล้ามเน้ืออ่อนแรง หากมีให้ใช้แปรงหรือนิ้วพัน ผา้ กอ๊ ซชบุ นำ้� หมาดๆ กวาดเอาเศษอาหารและคราบตา่ งๆ ออกกอ่ น จากนน้ั ใชแ้ ปรงสฟี นั หรอื ผา้ ทช่ี บุ นำ�้ หรอื นำ�้ เกลอื หมาดๆ เช็ดในช่องปากเบาๆ ถูบริเวณฟัน กระพุ้งแก้ม และล้ิน เพ่ือก�ำจัดเสมหะหรือน้�ำลายเหนียวๆ ออกมาให้ มากทีส่ ดุ ข้ันที่ 2 แปรงฟัน ใช้แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่มและ ยาสีฟันท่ีผสมฟลูออไรด์ บีบยาสีฟันเล็กน้อย ไม่ต้องเอา แปรงจุ่มน�้ำเพื่อจะได้ลดปริมาณน�้ำและฟองในปาก อาจ ใช้แปรงสีฟัน 2 อัน อันหนึ่งใช้แปรงฟัน ส่วนด้ามแปรง อีกอันใช้รั้งช่องปาก หรืออาจใช้วิธีพันผ้าก๊อซหนาๆ ท่ี ด้ามแปรงให้ผู้สูงอายุกัด เพื่อให้มีพ้ืนท่ีว่างในช่องปาก พอที่จะท�ำความสะอาดฟันได้

3 4 คูม่ อื การดูแลผู้สูงวยั ใหผ้ ้สู งู อายุกดั ดา้ มแปรงทีพ่ นั ดว้ ยผา้ หนาๆ ท้ังนี้ควรเริ่มแปรงจากด้านนอกให้ครบทุกซี่ก่อน ขณะแปรงด้านนอกหรือด้านกระพุ้งแก้ม ควรให้ผู้สูงอายุ กัดฟันไว้แล้วแปรงไลไ่ ปทีละซ่ี จากนั้นจึงแปรงฟนั ดา้ นใน แตส่ ว่ นใหญผ่ ดู้ แู ลมกั ประสบปญั หาผสู งู อายไุ มย อมอา้ ปาก วธิ แี กไ้ ขคอื ใหผ้ ดู้ แู ลลบู แกม ทง้ั สองขา้ งของผสู้ งู อายแุ ลว้ ใช้ นว้ิ ลบู รมิ ฝปี ากใหก้ ลา้ มเนอ้ื ผอ่ นคลาย (ดเู พมิ่ เตมิ ในหวั ขอ้ “กรณีผู้สูงอายุไม่ยอมอ้าปาก” หน้า 29-30) การแปรง ดา้ นในของฟนั เรมิ่ จากแปรงฟน หนา บน ฟน หลงั บน แลว จงึ แปรงฟนหนาลาง สุดท้ายคือฟนหลังลาง ขณะแปรงฟัน ใหข้ นแปรงสมั ผัสขอบเหงือกด้วย

ชอ่ งปากสุขี 35 หลังจากแปรงฟันเสร็จควรแปรงล้ินต่อ อาจใช้ แปรงสีฟันทั่วไปหรือแปรงส�ำหรับแปรงล้ินโดยเฉพาะ ลากแปรงจากโคนลน้ิ ออกมายงั ปลายลนิ้ ประมาณ 4-5 ครง้ั เมื่อแปรงฟันและลิ้นเสร็จแล้วให้ใช้ผ้าเช็ดฟองที่เหลือ หรือหากจ�ำเปน็ ต้องบว้ นน้�ำ พยายามบ้วนน้�ำใหน้ อ้ ยท่ีสดุ การท�ำความสะอาดฟนั ทีห่ า่ งมากๆ (เช่น ฟันซใ่ี น หรือฟันท่ีอยู่เด่ียวๆ) ให้ใช้ผ้าก๊อซพับเป็นแถบแบนยาว ประมาณ 5-6 นิ้ว กว้างประมาณความสูงของตัวฟัน คลอ้ ง ผ้าตรงต�ำแหน่งช่องว่างแล้วถูไปมา หรืออาจพันผ้าไว้กับ น้ิวมอื แล้วเช็ดท�ำความสะอาดบรเิ วณฟนั เหงอื ก ล้นิ และ ใช้ขดั ฟันโดยถูไปมาตามแนวนอน 5-6 คร้ัง

3 6 คู่มือการดแู ลผ้สู ูงวัย กรณีผู้สูงอายุท่ีไม่มีฟันทั้งปาก ให้ใช้แปรงขนนุ่ม แปรงบริเวณสันเหงือก กระพงุ้ แก้ม และล้ินวันละ 2 คร้ัง เชา้ -เยน็ การแปรงลน้ิ จะชว่ ยลดกลน่ิ ปากได้ แมว้ า่ ผสู้ งู อายุ จะไม่มีฟันแท้ในปากแล้ว แต่หากมีคราบสกปรกติดล้ิน อาจเพม่ิ ความเสย่ี งทจ่ี ะเกิดปอดอักเสบได้เช่นกัน กรณีผู้สูงอายุใส่ฟันเทียม ต้องถอดฟันเทียมออก ก่อนท�ำความสะอาดปากและฟัน และท�ำความสะอาด ฟนั เทียมด้วยทกุ คร้งั ขณะท�ำความสะอาดชอ่ งปากของผสู้ งู อายุ ผ้ดู ูแล ควรสงั เกตวา่ มฝี า้ ขาว แผลเนอื้ งอกเปน็ กอ้ นทผี่ ดิ ปกติ หรอื มเี ชอ้ื ราหรอื ไม่ กรณที ผ่ี สู้ งู อายใุ สฟ่ นั เทยี มควรตรวจสภาพ ฟันเทียมว่าอยู่ในสภาพดีหรือไม่ หลวมหลุดง่ายหรือไม่ ฟันเทียมบาดเน้ือเย่ือในช่องปากเป็นแผลหรือไม่ บริเวณ ใต้ฐานฟันเทียมมีร่องรอยอักเสบหรือไม่ ถ้าพบความ ผิดปกติให้ปรึกษาพยาบาลเย่ียมบ้านหรือทันตบุคลากร เพอ่ื รักษาต่อไป

ช่องปากสุขี 37 4. ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในระยะเจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ใน ระยะสดุ ทา้ ยของชวี ติ ผูส้ งู อายทุ ่ีเจ็บป่วยเรอ้ื รงั หรือปว่ ยหนักขัน้ ร้ายแรง ผู้สูงอายุที่เข้าข่ายอยู่ในกลุ่มนี้ เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง หลังรักษาด้วยเคมีบ�ำบัดหรือฉายแสง มักมีปัญหาใน ชอ่ งปาก ไดแ้ ก่ มคี ราบจลุ นิ ทรยี ม์ าก ปากแหง้ เจบ็ เนอื่ งจาก ในปากอกั เสบหรอื มแี ผล ฟนั ผงุ า่ ย มนี ำ�้ ลายไหลยอ้ ย และมี กลน่ิ ปาก ผดู้ แู ลสามารถดแู ลชอ่ งปากแบบประคบั ประคอง ที่บ้านโดยท�ำความสะอาดปากและฟันตามความจ�ำเป็น เมื่อผ่านช่วงท่ีอาการวิกฤตไปแล้วจึงท�ำความสะอาดตาม ปกติ เวลาแปรงฟันของผู้สูงอายุกลุ่มน้ีอาจยืดหยุ่นได้ ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งแปรงตอนเชา้ และตอนเยน็ เสมอไป โดยเลอื ก เวลาที่ผู้สูงอายุสะดวก แต่ควรแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง วธิ ดี ูแลผู้สูงอายุมีดงั น้ี (1) อปุ กรณท์ ค่ี วรเตรยี มใหพ้ รอ้ ม ไดแ้ ก่ แปรงสฟี นั หวั เลก็ ขนออ่ นนมุ่ ยาสฟี นั ทผี่ สมฟลอู อไรด์ มฟี องนอ้ ย และ รสไม่เผ็ด (อาจใช้แปรงสีฟันและยาสีฟันส�ำหรับเด็กที่มี ฟลูออไรด์ก็ได้) ชามขนาดเล็กส�ำหรับบ้วนน�้ำ ผ้าสะอาด หากผู้สูงอายุมีแผลอักเสบในปากหรือปากแห้งมาก ควร เตรียมคลอเฮกซิดีนชนิดน�้ำยาบ้วนปากและสารหล่อลื่น สูตรนำ้� ทไี่ มม่ ไี ขมนั เปน็ สว่ นผสม เชน่ เควายเจล

3 8 คู่มอื การดูแลผูส้ ูงวยั (2) การดูแลช่องปากทัว่ ไป กรณีผู้สูงอายุยังมีฟันธรรมชาติเหลืออยู่ ท�ำได้ โดยการแปรงฟันวนั ละ 1-2 ครัง้ โดยจัดใหผ้ ้สู งู อายอุ ยู่ใน ท่ากึ่งนั่งแล้วประคองศีรษะของผู้สูงอายุไว้ หากผู้สูงอายุ อยใู่ นท่านอน ควรพยงุ ผูส้ ูงอายขุ น้ึ นั่งเอนหลัง ใหศ้ รี ษะสูง จากพนื้ ท�ำมมุ ประมาณ 30-45 องศา แลว้ ตะแคงหนา้ มาทาง ดา้ นทถ่ี นดั โดยวางผา้ รองไวใ้ ตค้ างเพอ่ื ชว่ ยซบั นำ้� จากนน้ั แปรงฟันด้วยยาสีฟันที่ผสมฟลูออไรด์ ระหว่างแปรงฟัน ใช้ผ้าสะอาดเช็ดน้�ำและน้�ำลายเป็นระยะๆ หลังแปรงฟัน เสรจ็ ควรแปรงลนิ้ ใหด้ ว้ ยเพอื่ ลดคราบสกปรกบนลนิ้ ทเี่ ปน็ สาเหตุของกล่ินปากและการติดเชื้อ นอกจากน้ีควรให้ ผสู้ งู อายบุ ว้ นปากดว้ ยนำ�้ เกลอื ทมี่ รี ะดบั ความเขม้ ขน้ 0.9% (เกลือครงึ่ ช้อนชา ผสมน้ำ� 1 แกว้ )

ชอ่ งปากสขุ ี 39 กรณีผสู้ งู อายไุ มม่ ฟี ันธรรมชาตแิ ลว้ ผดู้ แู ลยังตอ้ ง ท�ำความสะอาดช่องปากให้ โดยใช้แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่ม หรือผ้าสะอาดเช็ดบรเิ วณเหงอื ก กระพงุ้ แกม้ และล้นิ เพื่อ ลดคราบสกปรก รวมถึงให้ผสู้ ูงอายุบว้ นปากด้วยนำ�้ เกลอื และให้ด่มื นำ�้ บ่อยๆ หากผู้สูงอายุมีแผลหรือมีอาการอักเสบในปาก ควรดูแลช่องปากแบบประคับประคองเพ่ือบรรเทาอาการ ให้ผู้สูงอายุรู้สึกสบายขึ้นและลดความเจ็บปวด โดยใช้ น้�ำเช็ดภายในช่องปากและเช็ดตามริมฝีปากให้ชุ่มชื้น อยู่เสมอ หากผู้สูงอายุมีอาการเย่ือบุช่องปากอักเสบ ให้คอยเช็ดหรือทาสารหล่อลื่นสูตรน�้ำ เช่น เควายเจล ทกุ 1-2 ชวั่ โมง และอาจเชด็ ดว้ ยนำ�้ เกลอื หรอื คลอเฮกซดิ นี ชนดิ นำ้� ยาบว้ นปากซงึ่ มฤี ทธฆ์ิ า่ เชอ้ื รวมถงึ งดการแปรงฟนั หรือใส่ฟันเทียมจนกว่าอาการอักเสบจะดีข้ึน หากมีเลือด ออกใหก้ ลวั้ ปากดว้ ยน้�ำใสน่ ำ�้ แขง็ คอยกดประคบต�ำแหนง่ ที่มีเลือดออกด้วยถุงชาแช่แข็งหรือผ้าก๊อซเปียก และให้ ผูส้ ูงอายจุ ิบนำ�้ บอ่ ยๆ ผู้สงู อายทุ ่ีอยู่ในระยะสดุ ทา้ ยของชีวติ ผู้สูงอายุกลุ่มน้ีมักมีปัญหาปากแห้ง เป็นแผล มอี าการอกั เสบ เจบ็ ปวด หรอื มเี ลอื ดออก เปา้ หมายในการ ดแู ลปากและฟนั ของผสู้ งู อายกุ ลมุ่ นอ้ี าจไมใ่ ชก่ ารแกป้ ญั หา

4 0 คูม่ อื การดแู ลผูส้ งู วยั เรอ่ื งโรค แตเ่ ปน็ การบรบิ าลเพอ่ื บรรเทาอาการ ใหผ้ สู้ งู อายุ รู้สึกสบายข้ึน ลดความเจ็บปวด และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ผู้ดูแลต้องให้ความช่วยเหลือโดยค�ำนึงถึงสภาวะของ ผ้สู งู อายุเปน็ ส�ำคัญ ควรดแู ลด้วยความนุ่มนวล ระมัดระวัง และให้เกยี รติ วิธีดูแลช่องปากของผู้สูงอายุกลุ่มน้ีคือ ดูแล ช่องปากให้สะอาดและชุ่มช้ืนทุกๆ 1-2 ชั่วโมง โดยให้ใช้ ผ้าซับน�้ำลายหรือเสมหะท่ีข้างริมฝีปาก และทาริมฝีปาก ด้วยสารหล่อล่ืนสูตรน�้ำ เช่น เควาย เจลล่ี และอาจเช็ด ด้วยนำ้� เกลอื ไม่ต้องแปรงฟันหรอื ใส่ฟันเทยี ม หากมีเลือด ออกให้กดประคบต�ำแหน่งที่มีเลือดออกด้วยถุงชาแช่แข็ง หรอื ผา้ กอ๊ ซเปยี ก หากมอี าการเจบ็ ปวดใหร้ กั ษาตามอาการ



3 ปญั หาในช่องปาก ท่ีพบบ่อยในผสู้ งู อายุ

ช่องปากสขุ ี 43 บทนจี้ ะพดู ถงึ ปญั หาชอ่ งปากทพ่ี บบอ่ ยในผสู้ งู อายุ และวิธดี แู ลรักษาทน่ี �ำไปปฏิบัตไิ ด้โดยงา่ ย ภาวะปากแห้ง ผู้สูงอายุท่ีมีภาวะปากแห้ง คอแห้ง น้�ำลายน้อย น้�ำลายหนืด และกลืนล�ำบาก ให้จิบน�้ำบ่อยๆ อย่างน้อย วันละ 8-12 แก้ว หรือ 2-3 ลติ ร (ยกเว้นผ้สู งู อายทุ ม่ี ีโรค ประจ�ำตวั ซงึ่ ตอ้ งระมดั ระวงั เรอื่ งปรมิ าณนำ้� ดมื่ เชน่ มโี รคไต ควรปรึกษาแพทย์) อาจให้ดม่ื น้ำ� ซปุ เคร่ืองด่ืมทม่ี ีน�้ำตาล น้อย หรือเคร่ืองด่ืมที่ไม่มีน้�ำตาล ผู้ดูแลอาจต้ังขวดน�้ำไว้ ใกล้ๆ ผู้สูงอายุเพื่อให้ไม่ลืมด่ืมน�้ำ ถ้าน้�ำลายน้อยหรือ หนืดมากอาจตอ้ งใชน้ �้ำลายเทียมช่วย ถา้ ผสู้ งู อายรุ มิ ฝปี ากแหง้ ใหใ้ ชล้ ปิ มนั หรอื วาสลนี ได้ (แต่ไม่ควรใช้ในกรณีที่ผู้สูงอายุมีภูมิคุ้มกันต่�ำเพราะอาจ ติดเชื้อ) นอกจากนี้สามารถใช้ผลิตภัณฑ์หล่อลื่นสูตรน�้ำ

4 4 ค่มู อื การดูแลผสู้ งู วยั เชน่ เควายเจลหลกี เลย่ี งอาหารเผด็ จดั หรอื รอ้ นจดั หลกี เลย่ี ง ยาสูบประเภทต่างๆ หลีกเลี่ยงกาแฟและสุราซ่ึงท�ำให้ ปากแห้งมากข้ึน ควรใช้น้�ำยาบ้วนปากท่ีมีส่วนผสมของ ฟลูออไรด์ แต่ไม่ควรใช้น้�ำยาบ้วนปากท่ีมีส่วนผสมของ แอลกอฮอลห์ รอื ไฮโดรเจนเพอรอ์ อกไซด์ นอกจากนผี้ ดู้ แู ล สามารถท�ำนำ�้ ยาบว้ นปากใหผ้ สู้ งู อายเุ องได้ โดยผสมเกลอื คร่ึงช้อนชาในน�้ำอุ่น 1 แก้ว หรือผสมเกลือครึ่งช้อนชา และโซดาท�ำขนม (โซเดียมไบคาร์บอเนต) คร่ึงช้อนชา ลงในนำ�้ 1 แก้ว ให้ผสู้ งู อายุใชบ้ ว้ นปาก หรือผูด้ ูแลอาจใช้ ผา้ ชบุ นำ้� ยานเี้ ชด็ ชอ่ งปากฟนั เหงอื กเพดานปากกระพงุ้ แกม้ และลิ้นใหผ้ ู้สูงอายุ ผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ บั การฉายรงั สหี รอื เคมบี �ำบดั นอกจาก จะปากแหง้ แลว้ ยงั มโี อกาสตดิ เชอ้ื ราในปาก อาการทปี่ รากฏ คือมีฝ้าขาวหรือรอยแดงปนขาว โดยเฉพาะบริเวณใต้ ฟนั ปลอมหรอื มมุ ปาก ถา้ พบอาการเชน่ นใี้ หป้ รกึ ษาบคุ ลากร สาธารณสุขเพ่อื พจิ ารณาว่าจะใช้ยาต้านเชอ้ื ราหรือไม่ เย่ือบุช่องปากอักเสบ ให้ผู้ดูแลใชน้ ้�ำเกลือท่ีมีความเข้มขน้ 0.9% (เกลือ คร่ึงช้อนชา ผสมน�้ำ 1 แก้ว) หรือผสมโซดาท�ำขนม ประมาณ ¼ ช้อนชากับเกลือ ¼ ช้อนชาในน้�ำ 1 แก้ว ใหผ้ สู้ ูงอายอุ มวนั ละ 5-6 ครงั้ คร้งั ละ 1-2 นาที

ช่องปากสุขี 45 ภาพจาก Mol RP - Indian J Palliat Care (2010) https://openi.nlm.nih.gov แผลมมุ ปาก อาการทปี่ รากฏคอื เนอื้ เยอื่ มมุ ปากมสี ซี ดี ยยุ่ เปน็ แผลแตก ระคายเคอื ง เจบ็ ปวดขณะอา้ ปาก สาเหตเุ กดิ จาก มุมปากแห้ง น�้ำลายเอ่อมุมปาก ขนาดของฟันปลอม ไม่ถูกต้อง ทานยาปฏิชีวนะมานาน หรือขาดวิตามินบี นอกจากนี้อาจมีการตดิ เชือ้ รารว่ มด้วย การดแู ลเบอ้ื งตน้ ท�ำไดโ้ ดยใชผ้ า้ สะอาดเชด็ นำ�้ ลาย ทม่ี มุ ปากใหแ้ หง้ เสมอ ทาลปิ มนั หรอื วาสลนี บรรเทาอาการ ปากแหง้ และสง่ ใหท้ นั ตแพทยร์ กั ษาและแกไ้ ขสาเหตตุ อ่ ไป ภาพจาก https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Angular_cheilitis1.jpg

4 6 คมู่ ือการดแู ลผสู้ งู วัย กล่ินปาก ปัญหากลิ่นปากมักเป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุกังวลใจ ซึ่งแก้ไขได้โดยแปรงฟันให้สะอาดและแปรงลิ้น เพราะ การแปรงลิ้นจะช่วยก�ำจัดคราบที่เกาะหนาบนล้ินอันเป็น สาเหตขุ องกลนิ่ ปาก ควรจบิ นำ้� บอ่ ยๆ เพอื่ ใหน้ ำ้� ลายไมห่ นดื ตรวจดูวา่ ผู้สงู อายุมีอาการปากแห้ง เหงอื กอกั เสบ หรอื มี เศษอาหารติดในช่องปากหรือไม่ นอกจากนี้อาจใช้น้�ำยา บว้ นปากชนิดไม่มีแอลกอฮอลร์ ่วมดว้ ย ภาวะกลนื ล�ำบาก ภาวะกลืนล�ำบาก คือภาวะที่ผู้สูงอายุกลืนอาหาร ของเหลว หรอื นำ�้ ลงสลู่ �ำคอไดย้ ากกวา่ ปกติ อาการทแ่ี พทย์ หรือนักกิจกรรมบ�ำบัดใช้ประเมินว่าผู้สูงอายุมีภาวะกลืน ล�ำบาก ได้แก่ อาการกลา้ มเนอ้ื รอบปากออ่ นแรง รมิ ฝปี าก ปิดไมส่ นทิ จนน้ำ� ลายไหล ชอบเก็บอาหารไวท้ ีก่ ระพุง้ แกม้ กลา้ มเน้ือรอบปากขยบั ไดช้ า้ ขณะเคี้ยว ภาวะกลืนล�ำบาก อาจท�ำใหเ้ กดิ ปญั หาในชอ่ งปาก เชน่ มอี าหารตกคา้ งบรเิ วณ กระพุ้งแก้ม มีแผ่นคราบจุลินทรีย์สะสมในปริมาณมาก ฟนั ผงุ ่ายขึ้น มโี อกาสปากแหง้ ได้มากข้นึ และส�ำลักไดง้ ่าย การดูแลสุขอนามัยช่องปากส�ำหรับผู้มีภาวะกลืน ล�ำบาก ท�ำได้โดยแปรงฟันด้วยยาสีฟันที่ผสมฟลูออไรด์ เช่นเดียวกับผู้สูงอายุติดเตียงทั่วไป แต่ต้องระมัดระวัง

ช่องปากสขุ ี 47 ท่าทางเป็นพิเศษ ผู้ดูแลควรจัดให้ผู้สูงอายุอยู่ในท่านั่ง เอนหลงั ใหศ้ รี ษะสงู จากพนื้ โดยท�ำมมุ ประมาณ 30-45 องศา แลว้ ชว่ ยประคองบริเวณคอ จากน้นั สังเกตวา่ มอี าหารค้าง อยทู่ ก่ี ระพงุ้ แกม้ และลนิ้ หรอื ไม่ หากมใี หใ้ ชผ้ า้ ชบุ นำ�้ หมาดๆ กวาดเศษอาหาร คราบต่างๆ เสมหะ หรือน�้ำลายเหนียว ออกให้มากที่สุด แล้วแปรงฟันด้วยแปรงสีฟันขนอ่อนนุ่ม และยาสีฟันที่ผสมฟลูออไรด์ บีบยาสีฟันเพียงเล็กน้อย โดยไม่ต้องจุ่มน้�ำ คอยใช้ผ้าซับน้�ำและน�้ำลายเป็นระยะ เมอื่ แปรงเสรจ็ แลว้ ใหใ้ ชผ้ า้ ชบุ นำ�้ หมาดๆ เชด็ ปากใหส้ ะอาด กรณผี สู้ งู อายทุ ไี่ มม่ ฟี นั ใหใ้ ชแ้ ปรงขนออ่ นนมุ่ แปรง หรือใช้ผ้าเช็ดบรเิ วณเหงอื ก เพดาน กระพุ้งแก้ม และลิน้ ในกรณีที่แพทย์หรือนักกิจกรรมบ�ำบัดตรวจ ประเมนิ แลว้ พบวา่ ผสู้ งู อายมุ ภี าวะกลนื ล�ำบาก อาจแนะน�ำ ใหอ้ อกก�ำลงั กลา้ มเนอื้ รอบปากเพอ่ื กระตนุ้ การกลนื โดยจดั ใหผ้ สู้ งู อายอุ ยใู่ นทา่ นง่ั ทม่ี น่ั คง อาจยกหวั เตยี งสงู ขน้ึ หรอื ใช้ หมอนหนุนให้อยู่ในท่ากึ่งนั่งก่ึงนอน โดยหลังท�ำมุมเกือบ ตั้งฉากหรือท�ำมุม 30-60 องศาจากพ้ืน ห้ามให้ผู้สูงอายุ แหงนคอเพราะอาจส�ำลักเงียบได้ อธิบายให้ผู้สูงอายุฟัง ดว้ ยนำ�้ เสยี งทช่ี ดั เจนเพอื่ กระตนุ้ ใหต้ น่ื ตวั แตไ่ มค่ วรตะโกน จากนนั้ ใหเ้ รม่ิ บรหิ ารกลา้ มเนอ้ื รอบปากโดยใชน้ วิ้ โปง้ กดลง ตรงกลางรมิ ฝปี ากบนแลว้ วนเปน็ วงกลม (ตามเขม็ นาฬกิ า) ลงมายังริมฝีปากล่าง ก่อนจะกลับมาบรรจบที่จุดตั้งต้น

4 8 คมู่ อื การดูแลผสู้ ูงวัย เออ้ื เฟอ้ื ภาพจาก คมู่ ือหมอครอบครวั ท�ำทั้งหมด 5 ครั้ง จากน้ันใช้นิ้วชี้แตะในทิศทางต่างๆ ดงั ภาพด้านบน นอกจากนกี้ ารท�ำความสะอาดภายในชอ่ งปากยงั มี ส่วนช่วยแก้ปัญหากลืนล�ำบาก วิธีปฏิบัติคือ ให้ผู้ดูแลยืน ตรงหน้าผู้สูงอายุและช่วยเปิดปาก จากน้ันใช้แปรงสีฟัน ขนอ่อนนุ่มกระตุ้นบริเวณลิ้นตามภาพ โดยค่อยๆ ลาก แปรงไปช้าๆ บริเวณด้านข้างลิ้น (ข้างที่ถนัดหรือข้างที่ อ่อนแรงก็ได้) ลากจากตอนกลางมายังปลายลิ้น แล้วท�ำ เชน่ เดยี วกนั กบั อกี ขา้ ง จากนน้ั ตวดั แปรงจากตรงกลางลน้ิ ไปทางด้านข้างล้ิน โดยเริ่มจากโคนลิ้นแล้วค่อยๆ ขยับ ออกมายังปลายล้ิน ท�ำเชน่ เดยี วกนั ทั้งสองขา้ ง เอื้อเฟอื้ ภาพจาก คู่มอื หมอครอบครัว

ช่องปากสขุ ี 49 ผู้สงู อายทุ ี่ต้องให้อาหารทางสายยาง ผู้สูงอายุที่ให้อาหารทางสายยางก็จ�ำเป็นต้อง ท�ำความสะอาดช่องปากเช่นกัน ผู้มีหน้าท่ีดูแลผู้สูงอายุ ท่ีบ้านควรสังเกตว่าในช่องปากของผู้สูงอายุมีแผล มี เลือดออก รอยบวม หรือมีอาการปากแห้งหรือไม่ ถ้ามี ควรปรึกษาบุคลากรสาธารณสุข ถ้าไม่มีควรตรวจสอบว่า ท่อส่งอาหารอยู่ในต�ำแหน่งปลอดภัยก่อนท�ำความสะอาด ปากและฟัน การจัดท่าทางขณะท�ำความสะอาดปากและฟัน ควรให้ผู้สูงอายุอยู่ในท่ายกศีรษะสูงหรือตะแคงข้าง หาก ผสู้ งู อายยุ งั มฟี นั ธรรมชาติ ใหผ้ ดู้ แู ลใชแ้ ปรงสฟี นั แหง้ ขนาด