Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3-หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์

3-หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์

Description: 3-หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรื่องที่ 1 หลกั ฐานทางประวัติศาสตรแ์ ละ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ วิธีการทางประวตั ิศาสตร์

วตั ถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้ 1. เพือ่ เข้าใจความสาคญั และประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 2. เพือ่ เข้าใจการเขียนและการใช้หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ในประเทศไทย 3. เพือ่ เข้าใจแหล่งข้อมลู ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ไทย

1. ความสาคัญและประเภทของ หลักฐานทางประวัติศาสตร์

ความสาคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ดังน้ัน เหตุการณ์หรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์จึง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการค้นพบหลักฐานใหม่ และความน่าเช่อื ถือของหลักฐานทีค่ ้นพบ ด้วยเหตุนี้ถ้า ▪ สิ่งที่เป็นข้อมูลที่ให้ข้อเท็จจริงซึ่งได้เกิดข้ึนในอดีต และเหลือหลักฐานเป็น พบหลักฐานใหม่ เพิ่มขึ้นและน่าเชื่อถือ เน้ือหา ร่องรอยที่ทาให้นักประวัติศาสตร์นามาใช้เป็นข้อมลู ในการศึกษาความจริง ประวัติศาสตรใ์ นเรือ่ งน้ันกต็ ้องเปลี่ยนไป จากเหตุการณ์ เรื่องราวหรือสิง่ สาคญั ในอดีตเหล่าน้ัน ▪ หลักฐานประวัติศาสตร์ จึงมีความสาคัญอย่างยิ่งที่ช่วยให้นัก ประวตั ิศาสตร์สามารถสืบสวนเรอ่ื งราวในอดีตทีน่ าไปสู่การหาความจรงิ ▪ ข้อมลู ในหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์เปน็ เพียงข้อเท็จจริง (Fact) แต่ไมใ่ ช่ ความจริง (Truth) ทั้งนี้ เนือ่ งจากหลักฐานต่าง ๆ น้ัน เป็นข้อมลู เพียงส่วน เดียวของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ไม่ใช่เป็นข้อมูลทั้งหมด หรือข้อมูล บางส่วนอาจถูกทาลายสูญหาย หรือถกู ตัดต่อกล่ันกรองมาแล้ว ▪ ผู้เขียนประวัติศาสตร์ ยังอาจตีความหลักฐานตามความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก หรือความเข้าใจของตน สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ทาให้ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์เป็นเพียงข้อเทจ็ จริง

ประเภทของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรส์ ามารถจาแนกได้ตาม ประเภทต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 หลักฐานทจี่ าแนกตาม 2.2 หลกั ฐานทจี่ าแนกตาม 2.3 หลกั ฐานทีจ่ าแนกตาม 2.4 หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 2.5 หลกั ฐานประวัตศิ าสตร์ที่ ความสาคญั ของหลักฐาน ลักษณะอักษร จุดมุ่งหมายของการผลิต ทจ่ี าแนกตามยคุ สมัย จับต้องได้ และจบั ตอ้ งไม่ได้

2.1 หลกั ฐานทจ่ี าแนกตามความสาคญั ของหลักฐาน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 2.1.1 หลักฐานช้นั ตน้ (Primary Source) หมายถงึ บนั ทึกหรือคาบอกเล่าของผ้พู บเหน็ เหตกุ ารณ์ หรือผ้ทู ี่เกีย่ วขอ้ งกบั เหตุการณโ์ ดยตรง เช่น จารึก จดหมายเหตุ บนั ทึกการเดินทัพ เอกสารการปกครอง รวมท้ังหลกั ฐานทางโบราณคดี ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ 2.1.2 หลกั ฐานชน้ั รอง (Secondary Sources) หมายถงึ ผลงานทางประวัตศิ าสตร์ ทีเ่ ขยี นข้ึนหรือเรยี บเรียงข้ึนภายหลงั จากการเกดิ เหตกุ ารณ์นนั้ แล้ว โดยอาศยั จากคาบอกเลา่ ของผอู้ ื่น หรือจากหลกั ฐานชัน้ ต้นต่าง ๆ อาทิ ตารา หนงั สือ สารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ เปน็ ต้น

2.2 หลกั ฐานท่จี าแนกตามลักษณะอกั ษร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 2.2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Written Sources) หมายถึง หลักฐานที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเร่ืองราวต่าง ๆ โดย การจารึกไว้บนแผ่นไม้ แผ่นศิลา แผ่นโลหะ ใบลาน และกระดาษ เป็นต้น หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรบางชนิด ยังจารึกไว้ที่โบราณวัตถุ หรือ โบราณสถาน เช่น ฐานพระพทุ ธรูป ฐานเจดีย์ ผนังโบสถ์ และแผนทีพ่ ร้อมคาอธิบาย เป็นต้น 2.2.2 หลักฐานทีไ่ ม่เป็นลายลกั ษณ์อักษร (Unwritten Sources) หลักฐานประเภทนี้ มีท้ังหลักฐานยุคก่อนประวัติศาสตร์ และยุคประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ อาจนามาวิเคราะห์ได้ด้วยเอง หรืออาศัยการตีความจากนกั วิชาการอื่น ๆ เช่น นกั มานุษยวิทยา นกั โบราณคดี และนักภมู ิศาสตร์ เปน็ ต้น นกั มานุษยวิทยากบั คนอเมริกันพ้ืนเมือง

2.3 หลักฐานทจ่ี าแนกตามจดุ มุ่งหมายของการผลิต มี 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.3.1 หลักฐานที่มนษุ ยต์ ้งั ใจสรา้ งขึน้ (Artifact) ซึ่งอาจมีทั้งหลกั ฐานในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และยุคประวตั ิศาสตร์ หลักฐานประเภทยุคก่อนประวตั ศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ และ สิง่ กอ่ สรา้ งต่าง ๆ ทีม่ นษุ ย์สรา้ งขึน้ เพื่อใชใ้ นการดารงชวี ติ หรือตามความคิดความเชือ่ ของตนอาทิ เพ่งิ ที่พัก หลมุ ฝงั ศพ ภาพเขียน เป็นต้น และหลักฐานยคุ ประวตั ศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ หลักฐานที่เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร อาทิ ศิลาจารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดนิ ทางและแผนทีป่ ระกอบคาอธบิ ายและจดหมายสว่ นตวั เปน็ ต้น หลักฐานทีม่ นษุ ยส์ ร้างขึ้นมีท้ังที่เปน็ หลักฐานก่อนยคุ ประวัติศาสตร์ และยคุ ประวัติศาสตร์ 2.3.2 หลกั ฐานทมี่ ิได้เปน็ ผลผลิตที่มนุษยส์ ร้างหรอื ตั้งใจสรา้ ง (Non-Artifact) มีทง้ั หลกั ฐานสมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ และสมัยประวตั ิศาสตร์ ได้แก่ บรรดาซากสิ่งมีชีวิต เชน่ โครง กระดูกมนุษย์ กระดกู สตั ว์ เมล็ดพืช สถานทีซ่ ึ่งมนุษยเ์ คยอาศัยอยู่ ชนั้ ดนิ ทีแ่ สดงร่องรอยการอยอู่ าศยั ของมนุษย์ นอกจากนี้ ยงั มีเนินดนิ ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มอื่น ๆ เชน่ ภเู ขา ที่ราบ แม่น้า คคู ลอง และชายฝ่ังทะเล ซึ่งอาจจะเปน็ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ไดท้ ้ังสน้ิ

2.4 หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ทีจ่ าแนกตามยุคสมยั 2.4.1 หลักฐานยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานที่เกดิ ขนึ้ ในสมยั ที่ยังไมม่ กี ารบันทกึ เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร แต่ถือว่าเปน็ หลกั ฐานที่ให้รอ่ งรอย เก่ยี วกับมนุษย์ เช่น โครงกระดกู มนุษย์ ซากสิ่งมชี ีวติ ต่าง ๆ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดบั ร่องรอยการตั้งถ่นิ ฐานของชมุ ชน ตลอดจนการกระทาของ มนษุ ย์ยุคกอ่ นประวัติศาสตร์ใหค้ วามหมายหรือถา่ ยทอดประสบการณ์ของตน เช่น ภาพเขียนสีตามผนังถา้ หรือเรือ่ งราว ทีบ่ อกเล่าตอ่ กันมา ในลกั ษณะ นิทานหรือตานาน เปน็ ต้น 2.4.2 หลกั ฐานยคุ ประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานสมัยทีม่ นษุ ย์สามารถประดษิ ฐต์ วั อักษรเพือ่ ใช้สือ่ สาร และบนั ทกึ ลงในวัสดตุ า่ ง ๆ เช่น ไม้ อฐิ หิน และกระดาษ ร่องรอยเกย่ี วกบั ความเปน็ สังคมเมือง เช่น บ้านเรือน กาแพงเมือง ถนนหนทาง และความรู้ทางเทคโนโลยี เช่น การรู้จกั ใช้เหลก็ และโลหะ อืน่ ๆ นามาทาเปน็ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ที่ประณีต การกอ่ สร้างศาสนสถาน การสร้างประตมิ ากรรมรูปเคารพ เครือ่ งช่ังน้าหนกั ตลอดจนเงินตราชนดิ ตา่ ง ๆ

2.5 หลักฐานประวัติศาสตรท์ จ่ี บั ตอ้ งได้ และจับตอ้ งไม่ได้ 2.5.1 หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่จับตอ้ งได้ (Tangible Source) ได้แก่ เอกสาร ต่าง ๆ โบราณวตั ถุ โบราณสถาน รวมท้ังวัตถุและ สถานทีป่ ระวตั ิศาสตร์ ตลอดจนงานนพิ นธท์ างประวตั ศิ าสตร์ 2.5.2 หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ีจ่ บั ตอ้ งไมไ่ ด้ (Intangible Source) ได้แก่ ภาษา หรือคาทีใ่ ช้ในการสือ่ สารทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตามยุคสมยั ความรู้และภมู ิปญั ญาของมนษุ ย์ในอดตี เช่น ความรู้ในการทาเครือ่ งมือ เครื่องใช้ และการแกป้ ัญหาในการดารงชีวติ ความรู้เกย่ี วกับจักรวาล ดินฟ้า อากาศ ความรู้สึก ความคิด การนบั ถือศาสนา และความเชื่อ การสวดมนต์ ตลอดจนการขบั รอ้ งและระบาราฟ้อน และพิธีกรรมต่าง ๆ

2. การเขียนและ การใช้หลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ ในประเทศไทย

สมยั ตานาน ตานานเปน็ หลกั ฐานประวตั ศิ าสตร์ แบ่งได้ 3 ประเภท 1. ตานานวีรบุรษุ ซึ่งก็ คือ บรรพบรุ ุษของผู้คนใน 2. ตานานวงศต์ ระกูล เปน็ เรือ่ งราว กลา่ วถึงผู้นา 3. ตานานเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นเรื่อง ท้องถ่นิ ต่าง ๆ เชน่ ตานานพระรว่ ง ตานานพระเจ้า ทีส่ รา้ งบ้านสรา้ งเมือง แล้วมีลกู หลานเป็นหัวหน้า ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้นาชุมชน เรื่องราวของ อทู่ อง เปน็ ต้น ปกครองบ้านเมืองเหลา่ นี้สืบต่อมา เชน่ ตานานขุน บ้านเมืองกับพระพุทธศาสนา อาทิ ตานานอุรังค บรม และตานานท้าวฮงุ ขนุ เจือง ธาตุ และตานานพระพทุ ธสหิ งิ ค์ เปน็ ต้น หลกั ฐานประวัติศาสตร์ประเภทตานาน ยังขาดความน่าเชือ่ ถือ เนือ่ งจากเป็นเรื่องที่เล่าต่อกันมา แล้วไดร้ ับการบันทึกเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรในภายหลงั

สมัยพงศาวดาร ข้อจากัดของพงศาวดาร คือ บางตอนของพงศาวดารยังขาดความน่าเชื่อถือ เนือ่ งจากเปน็ เรือ่ งที่เขียนขึ้นในภายหลัง หรือ ไดร้ บั การแต่งเติมแก้ไขในเวลาต่อมา ชว่ งประมาณพุทธศตวรรษที่ 20 ถงึ ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 24 ตรงกบั สมัยอยุธยา และสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น ▪ พงศาวดาร คือ การบันทึกเก่ียวกับบุคคล เรื่องราว เหตุการณ์บ้านเมือง และสิ่งสาคัญ ใน อดีต รวมท้ังโลกทัศน์ที่มีความสัมพันธ์กับพุทธ- ศาสนา ▪ สมัยพงศาวดารได้แบ่งการเขียนประวัติศาสตร์ ออกเป็น 2 แบบคือ พงศาวดารแบบพุทธ- ศาสนาเป็นการเขียนถึงบุคคล เรื่องราว เหตกุ ารณ์บ้านเมือง โดยเชื่อมโยงกบั พระพุทธเจ้า และพระราชพงศาวดาร เป็นการเขียนเก่ียวกับ พระมหากษัตริย์

สมัยการปรบั ปรุงประเทศให้เป็นแบบใหม่ สมัยการปรับปรงุ ประเทศใหเ้ ป็นแบบสมยั ใหม่ ชว่ งประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 24 ถึงประมาณ กลาง พทุ ธศตวรรษที่ 26 ตรงกบั สมยั รัตนโกสินทรต์ อนกลาง ถงึ สมยั เปลีย่ นแปลงการปกครองเปน็ แบบ ประชาธิปไตย การเขียนประวัติศาสตร์โดยนาอุดมการณ์ชาตินิยมแบบตะวันตกมาใช้ เพื่อสร้างความเป็นเอกภาพ และยืนยันถึงเรื่องราวความเป็นมาของชน ชาติไทย ด้วยการใช้หลกั ฐานที่หลากหลาย ได้แก่ ตานาน พงศาวดารไทย และพงศาวดารชาติอื่น จดหมายเหตุ การเขียนและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ สมัยการปรับปรุงประเทศให้เป็นแบบสมัยใหม่ จึงเป็นการขยายพรมแดนแห่งความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และเป็นพื้นฐานการเรียนและใช้ หลกั ฐานในสมยั ต่อมา

สมยั ปัจจบุ นั ชว่ งประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 26 ถึงประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 26 ใน ชว่ งเวลานี้ เปน็ เวลาภายหลังการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475เป็นต้นมา จนถึง ภายหลังเหตุการณ์ 14ตุลาคม พ.ศ. 2516สังคมไทยในช่วงเวลานี้ มีการปกครองแบบ ประชาธิปไตย ซึ่งพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ถูกลดทอนลงให้อยู่ภายใต้ รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุด แต่ขณะเดียวกันสภาพการเมืองไทยขาดความม่ันคง เนือ่ งจากการแยง่ อานาจระหว่างข้าราชการพลเรือนกับทหาร พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงลงพระปรมาภิไธยในรฐั ธรรมนญู ถาวรฉบบั แรกของสยาม 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2475 ไดท้ รงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบบั ถาวรณ พระทน่ี ั่งอนันตสมาคม 14 ตุลาคม 2516

3. แหลง่ ข้อมลู ใน การศึกษา ประวัติศาสตร์ไทย

หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ พิพธิ ภัณฑ์ สื่อโสตทัศนอปุ กรณ์ หอสมดุ วชิรญาณ ห้องสมดุ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ผู้รู้

จบเรื่องที่ 1 หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์