Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4-หน่วยการเรียนรู้ที่ 3-1 วิเคราะห์ประเด็นสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย

4-หน่วยการเรียนรู้ที่ 3-1 วิเคราะห์ประเด็นสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย

Description: 4-หน่วยการเรียนรู้ที่ 3-1 วิเคราะห์ประเด็นสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 เรื่องที่ 1 ความเป็นมาของชนชาติไทย วิเคราะห์ประเดน็ สาคัญ และอาณาจกั รโบราณในดินแดนไทย ทางประวัติศาสตร์ไทย

วตั ถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้ 1. เพือ่ เข้าใจแนวคดิ เกย่ี วกับความเปน็ มาของชนชาติไทย 2. เพือ่ เข้าใจอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย และอิทธพิ ลทม่ี ีตอ่ สังคมไทย 3. เพื่อเข้าใจปจั จัยทม่ี ีผลต่อการต้ังถ่นิ ฐานของมนษุ ย์ 4. เพือ่ เข้าใจการต้ังถ่นิ ฐานในดินแดนประเทศไทย

1. แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นมา ของชนชาติไทย

แนวคิดเกีย่ วกบั ความเปน็ มาของชนชาติไทย แนวคิดเรื่องถิ่นกําเนิดของชนชาติไทยยังเป็นประเด็นที่นักวิชาการหลายๆ คนให้ความสนใจ เสนอประเด็นต่าง ๆ อย่าง กว้างขวาง ซึง่ แต่ละแนวคิดที่นาเสนอได้มหี ลกั ฐาน และข้อมูลสนับสนนุ เพือ่ ความน่าเชื่อถือ แต่ในปัจจุบนั ยังไมส่ ามารถหาข้อยตุ ิได้ว่า แนวคิด ใดเป็นแนวคิดที่น่าเชื่อถือมากที่สุด โดยแนวคิดเรื่อง ถิ่นกําเนิดของคนไทย เท่าที่ปรากฏในปัจจุบัน และได้มีการนาเสนออยู่ในช่วงเวลานี้ จาแนกได้เป็น 5 แนวคิด ดังนี้ แนวคิดท่ี 1 บริเวณเทือกเขาอัลไต แนวคิดท่ี 2 บริเวณมณฑลเสฉวน แนวคิดท่ี 3 กระจายท่ัวไปทางตอนใต้ แนวคดิ ท่ี 4 ประเทศไทยปจั จุบัน แ น ว คิ ด ที่ 5 บ ริ เ ว ณ ภ า ค ของประเทศจีน ตอนเหนือของ ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ในมองโกเลีย ทางตอนเหนือของ ลุ่มแม่น้าแยงซีเกียง ในตอนกลางของ ภมู ิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และ ไทย หรืออินโดจีน หรือบริเวณ บรเิ วณแคว้นอัสสมั ในประเทศอนิ เดยี คาบสมทุ รมลายู ประเทศจีน จีน

แนวคิดที่ 1 บริเวณเทือกเขาอลั ไตในมองโกเลีย ทางตอนเหนือของประเทศจีน ผ้เู สนอแนวคิด คือ ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ (William, Clifton Dodd) มิชชันนารี ดร.วลิ เลยี ม คลฟิ ตนั ดอดด์ ขนุ วจิ ิตรมาตรา ชาวอเมริกัน หมอดอดด์ได้เดินทางสารวจอาณาจักรต่าง ๆ ที่อยู่นอกประเทศไทยและเขียน หนังสือชื่อ ชนชาติไทย ใน พ.ศ. 2452 โดยอาศัยหลักฐานประเภท ตานานและพงศาวดาร และจดหมายเหตุของจีนในการค้นคว้า การเผยแพร่แนวคิด แนวคิดนี้มีอิทธิพลต่อนักวิชาการชาวต่างประเทศนักวิชาการ ชาวไทย เชน่ ขุนวิจิตรมาตรา (รองอามาตยโ์ ทสงา่ กาญจนาคพันธ์) ซึ่งไดส้ นับสนนุ แนวคิด ดังกล่าวลงในหนังสือเรื่อง “หลักไทย” ใน พ.ศ. 2471 โดยเสนอว่าคนไทยเคยอยู่บริเวณ เทือกเขาอัลไต หนังสือเล่มนี้ยังมีส่วนทาให้กระทรวงศึกษาธิการบรรจุแนวคิดจากทฤษฎี ดงั กลา่ วลงในตาราเรียนประวัติศาสตร์ไทย ความน่าเช่ือถืออของแนวคิด ปัจจุบันแนวคิดนี้ไม่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ เพราะขาดหลักฐานสนับสนุน และที่สาคัญการอพยพผ่านมาทางใต้โดยผ่านทะเลทรายโกบี ซึ่งอยหู่ า่ งไกลและมีสภาพอากาศทีห่ นาวเยน็ มาก

แนวคิดที่ 2 บริเวณมณฑลเสฉวน ลุ่มแม่น้าแยงซีเกียง ในตอนกลางของจีน ผู้เสนอแนวคิด คือ แตเรียง เดอดู เปอร์ลา คงปรี (Terrierde la Couperie) ผู้เชยี วชาญทาง ภาษาศาสตร์ของอนิ โดจีน ไดเ้ สนอแนวความคิดนี้เมือ่ พ.ศ. 2428 โดยเขียนหนงั สือชื่อว่า Cradle of the Shan Race หรือ ถิ่นกําเนิดของชนชาติฉาน ซึ่งได้นาเสนอความเห็นว่า คนไทยอาศัย อยู่ต้ังถิ่นฐานอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวนในประเทศจีนมาก่อน ต่อมาเมื่อถูก ชาวจีนรุกรานจึงถอยร่นลงมาทางใต้เรื่อย ๆ จนถึงดินแดนสุวรรณภูมิหรืออินโดจีน จน กลายเป็นต้นกาเนิดของบรรพบุรุษของคนไทย ลาว การเผยแพร่แนวคิด งานของเดอคูเปอร์ลา คงปรี ได้รับการสืบทอดต่อมาในสังคมไทย กรมพระยาดํารงราชานุภาพ นักวิชาการไทยหลายท่านที่สนับสนุนแนวคิดดังกล่าว เช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรม พระยาดํารงราชานภุ าพ ไดเ้ สนอแนวคิดดงั กลา่ วลงใน“แสดงบรรยายพงศาวดารสยามและ ลักษณะการปกครองประเทศสยามโบราณ” (พ.ศ. 2467) ขณะที่พระยาอนุมานราชธน ได้ เสนอในหนังสือ“เรือ่ งของชนชาตไิ ทย”หลวงวิจิตร วาทการ ได้เสนอลงในหนังสือ 2 เล่ม คือ “สยามกับสุวรรณภูมิ” (พ.ศ. 2467) และ “งานค้นคว้า เรื่องชนชาติไทย” (พ.ศ. 2499) และ พระบริหารเทพธานี กลา่ วไว้ในผลงานเรื่อง “พงศาวดารชาตไิ ทย” (พ.ศ. 2496) ความน่าเช่ือถืออของแนวคิด ในปัจจุบันแนวคิดนี้ยังเป็นที่ยอมรับกันอยู่บ้างแต่ เฉพาะนักวิชาการในบางกลุ่ม และนักวิชาการเหล่านี้ได้พยายามหาหลักฐานเพ่ิมเติมเพื่อให้ แนวคิดนี้เกิดความน่าเชื่อถือมากย่งิ ขึ้น

แนวคิดที่ 3 กระจายทว่ั ไปทางตอนใต้ของประเทศจีน ตอนเหนือของภมู ิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบริเวณแคว้นอัสสมั ในประเทศอินเดีย ผู้เสนอแนวคิด คือ อาร์ชบัล อาร์ โคคูอันท์ (Archibal R. Colquhoun) ชาวอังกฤษ เขียน หนังสือชื่อ ไครเซ (Chrysi) แนวคิดนี้สรุปว่า คนไทยเป็นชาติที่อพยพจากถิ่นอื่นก่อนที่จะเข้า มาต้งั ถิ่นฐานในบริเวณทีร่ าบลุ่มแมน่ ํา้ เจา้ พระยา โดยอพยพจากทางเหนือมาทางใต้ การเผยแพร่แนวคิด แนวคิดนี้เป็นที่ยอมรับของนักวิชาการอย่างมาก และได้มี นักวิชาการหลายท่านนาแนวคิดนี้ดังกล่าว ไปศึกษาหาหลักฐานต่าง ๆ เพิ่มเติมเพื่อขยาย แนวคิดใหน้ ่าเชือ่ ถือมากขึ้น เชน่ พระยาประชากจิ กรจกั ร (แชม่ บนุ นาค) ได้เสนอแนวคิดตาม ทฤษฎีลงในหนังสือ “พงศาวดารโยนก” ตีพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2441-2442 งานช้ินนี้สรุปว่า ถิ่น กาเนิดของชนชาติไทยอยู่กระจัดกระจายในบรเิ วณตอนใต้ของจีนรวมไปถงึ รฐั อัสสัมของอนิ เดยี นอกจากนี้ยงั มีนกั วิชาการต่างประเทศ เชน่ วลู แกรม อีเบอรฮ์ าด (Wolgram Eberhard)วิลเลยี ม เคร์ดเนอร์ (Wilian Credner) เฟรเดอริก โมด (Frederick Mod) และศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (George Coedes) ส่วนนักวิชาการไทย เช่น ศาสตราจารย์หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล, ศาสตราจารยข์ จร สขุ พานิช, จติ ร ภมู ิศักด์ิ และบรรจบ พนั ธุเมธา เป็นต้น ความน่าเชอ่ื ถืออของแนวคิด แนวคิดนี้เป็นที่ยอมรับค่อนข้างสงู จากภาษาศาสตร์และ นักประวตั ิศาสตร์ ท้ังนี้เพราะ อาศัยหลักฐานท้ังทางนิรกุ ติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ มานษุ ยวิทยา แลว้ สรุปไดว้ ่าคนไทย

แนวคิดที่ 4 ประเทศไทยปัจจบุ ัน ผู้เสนอแนวคิด แนวคิดนี้เป็นแนวคิดที่ค่อนข้างใหม่ ผู้ที่เสนอ คือ พอล เบนิดดท์ (Paul Benedict) นกั ภาษาศาสตร์และนักมานษุ ยวิทยาชาวอเมริกนั การศึกษาค้นควา้ ตามแนวคิดนี้เขา ใช้หลักฐานทางภาษาศาสตร์เป็นหลักในการสนับสนุน โดยได้ให้ความเห็นว่าภาษาไทยเป็น ตระกูลภาษาหนึ่งของชนชาติในเอเชยี จดั อยใู่ นตระกูลออสตริคหรือออสโตรนีเซียน ที่อาศัย อยใู่ นบริเวณนี้มาก่อน การเผยแพร่แนวคิด แนวคิดดังกล่าวได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากนักวิชาการชาว ต่างประเทศ เชน่ ดร.ควอริช เวลล์ (Dr. Quaritch Wales) ส่วนนักวิชาการชาวไทย โดยเฉพาะนัก โบราณคดี เช่น ศาสตราจารย์นายแพทย์สุด แสงวิเชียร, ศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี, ศาสตราจารย์พิเศษศรีศักร วัลลิโภดม, พิสิษฐ์ วงษ์เทศ ฯลฯ นักวิชาการกลุ่มนี้ ใช้ หลักฐานทางโบราณคดีในการศึกษา โดยสามารถขดุ พบหลกั ฐานต่าง ๆ ที่ระบุถึงการดารงชีวิต ของมนษุ ยใ์ นอาณาบริเวณประเทศไทย ต้ังแต่สมัยหนิ เก่า (500,000-10,000 ปี ลว่ งมาแลว้ ) ความน่าเช่ือถืออของแนวคิด แนวคิดนี้ใช้หลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงให้เห็นถึง ความต่อเนื่องทางวฒั นธรรม รวมท้ังการศึกษาเปรียบเทียบลกั ษณะโครงกระดูกมนุษย์ที่ขุดพบ ในดินแดนไทยสนบั สนุน ดังน้ัน ตามแนวคิดนี้จึงสรุปได้ว่า บรรพบุรุษของคนไทยอยู่ในดินแดน ประเทศไทยมาโดยตลอด

แนวคิดที่ 5 บริเวณภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศไทย หรืออินโดจีน หรือบริเวณคาบสมุทรมลายู ผู้เสนอแนวคิด คือ นายแพทย์สมศักด์ิ พนั ธสุ์ มบุญ และศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ผู้เสนอแนวคิดกลุ่มนี้ ได้ศึกษาประวัติความเป็นมาของชนชาติไทยด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ บนรากฐาน ของวิชาพนั ธศุ าสตร์ คือ การศึกษาความถี่ของยนี และหมู่เลือดและการศึกษาเรื่องฮโี มโกลบินอี การเผยแพร่แนวคิด แนวคิดนี้เริ่มเป็นที่สนใจในวงวิชาการไทยอย่างกว้างขวาง และได้มีการนาเอา แนวคิดดังกล่าวไป ขยายผลของการศึกษาเพิ่มขึ้นด้วยการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับฮีโมโกลบินอี เช่น นายแพทย์ประเวศ วะสี และกลุ่มนักวจิ ัยมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ความน่าเช่ือถืออของแนวคิด ได้ข้อสรุปว่า ฮีโมโกลบินอี พบมากในผู้คนในแถบเอเชียอาคเนย์ คือ ไทย ลาว พม่า มอญ และอื่น ๆ สาหรบั ประเทศไทย ผู้คนทางภาคอีสานมฮี ีโมโกลบินอีมากที่สุด ซึ่งไม่ มีในคนจีนเลย จึงไม่น่าเป็นไปไดท้ ีค่ นไทยจะเคยอาศัยอยใู่ นดนิ แดนประเทศจีน

2. อาณาจกั รโบราณ ในดินแดนไทย และ อิทธิพลที่มีต่อ สังคมไทย

อาณาจักรโบราณในดินแดนไทยและอิทธิพลที่มีต่อสังคมไทย ดินแดนประเทศไทยเมือ่ ประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 13 ไดเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงสาคญั ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบ้านเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศไทยอยู่ 2 ประการ คือ 1. การคา้ ขาย ทีก่ อ่ นหน้านั้นเคยติดต่อค้าขายกับโรมนั และอนิ เดียส้ินสุดลง ประเทศที่เข้ามามีบทบาทแทน คือ จีน ดังนั้น อาณาจักรต่าง ๆ จึงหันไปค้าขายกับจีนและได้มีการ สง่ เครือ่ งบรรณาการซึง่ เป็นสนิ ค้าพื้นเมืองไปถวายจักรพรรดจิ ีน 2. อาณาจักรฟนู านที่เคยเป็นอาณาจักรที่ย่ิงใหญ่ในช่วงนี้ล่มสลายลง ทาให้อาณาจักรเล็กอาณาจักรน้อย ที่เคยตกอยู่ภายใต้อานาจของอาณาจักรฟูนานมีความเป็นอิสระ อาณาจักรเล็กอาณาจักรน้อยที่ได้รับอิสระก็พัฒนาตนเองขึ้นมาเป็นอาณาจักรใหญ่ ที่มีขอบเขตกว้างขวางขึ้น รวมทั้งได้ขยายขอบเขตของบ้านเมืองจากฝ่ังทะเล ลึกเข้าไปสู่ แผ่นดนิ ใหญ่ภายในเพิม่ ขึ้น ในชว่ งตั้งแต่พทุ ธศตวรรษที่ 13-18 ได้มอี าณาจักรสาคัญเกดิ ขึน้ หลายอาณาจกั ร ดังนี้ อาณาจักรในภาคกลาง อาณาจกั รในภาคใต้ อาณาจกั รในภาคเหนือ อาณาจักรในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

อาณาจกั รในภาคกลาง อาณาจกั รที่เกิดขน้ึ ในภาคกลาง ก่อนการสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทยั ในช่วงเวลานี้เป็นอาณาจักรต่าง ๆ บริเวณ ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนลา่ ง รวมไปถึงทางภาคตะวนั ตก และภาคตะวนั ออกของลุ่มน้าเจ้าพระยาด้วย โดยมีอาณาจักรสาคญั ดังนี้ อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรละโว้ อาณาจักรอโยธยา อาณาจักรสุพรรณภูมิ ▪ ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีอยู่ท่ีใดไม่ ▪ เมืองละโว้เป็นชุมชนโบราณ ต้ังอยู่ด้านตะวันออก ▪ เมืองอโยธยาเป็นเมืองท่ีเกิดข้ึนใหม่ และ ▪ เมืองสุพรรณภูมิปรากฏชื่อครั้ง ปรากฏชดั เจน ของแม่นา้ เจ้าพระยาตอนล่าง เป็นเมืองท่ีได้รับการสืบทอดและพัฒนา แรกในศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 มาจากอาณาจกั รละโว้ ▪ นักประวัติศาสตร์มีความเห็นแตกต่างกันเป็น 3 ▪ มีความเจริญรุ่งเรือง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ▪ เมืองน้ีต้ังอยู่ในเขตตะวันตกของท่ี กลมุ่ คอื กลมุ่ ท่ี 1 เชื่อว่ามีศูนย์กลางท่ีเมืองนคร อาณาจกั รละโว้มีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก ▪ อาณาจักรอโยธยาได้สืบทอดวัฒนธรรม ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา และอยู่ ชัยศรี จังหวัดนครปฐม กลุ่มที่ 2 เชื่อว่ามี หลายอย่างมาจากเมืองละโว้ ตดิ กับแม่นา้ สุพรรณบรุ ี ศูนย์กลางอยู่ท่ีเมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ▪ ใน ช่วงศตวรรษที่ 13-14 ศูนย์กลางของอาณาจักร และกลุ่มที่ 3 เชื่อว่ามีศูนย์กลางอยู่ท่ีตาบลคูบัว ละโว้ในตอนต้นสนั นิษฐานว่าอยู่ท่เี มืองลพบุรี ▪ ต่อมาตอนปลายพุทธศตวรรษท่ี 19 ▪ การปกครองอาณาจักรสุพรรณ จังหวัดราชบุรี การมีข้อสันนิษฐานแตกต่างกัน ดินแดนแถบน้ีมีจึงกาลังไพร่พลมากข้ึน ภู มิ อยู่ ในช่ วงควบคู่ ไปกั บการ เช่นนี้เป็นเพราะบริเวณทั้ง 3 แห่งน้ี ต่างก็มี ▪ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา อาณาจักร ท่ีสาคัญมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทาง ปกครองอาณาจกั รสโุ ขทัย ร่องรอยเมืองโบราณ ศิลปวัตถุ และโบราณสถาน ขอมได้ขยายอานาจมาทางตะวันตกและได้เข้ามา การเมือง และทางเครือญาติ กับเมือง แบบทวารวดเี ป็นจานวนมากในหลายทอ้ งท่ี บริเวณน้ี ทาให้ละโว้ไดร้ ับอทิ ธพิ ลศิลปะขอมตามไป สุพรรณภูมิ ▪ ต่อมาพระเจ้าอู่ทองทรงรวม ด้วย อาณาจักรอโยธยาและอาณาจักร ▪ ทวารวดีเริ่มเส่ือมลงราวปลายพุทธศตวรรษท่ี 16 ▪ จนสามารถรวมตั วกั นก่อตั้งเป็ น สุ พรรณภู มิ ต้ั งเป็ นอาณาจั กร เมื่ออทิ ธพิ ลวัฒนธรรมแบบขอมเขา้ มาแทนท่ี ▪ ปลายพุทธศตวรรษที่ 17 การคา้ ขายระหว่างละโว้กับ อาณาจักรอยธุ ยาใน พ.ศ. 1883 อยุธยาแล้ว อาณาจักรสุพรรณภู จีนเจริญรุ่งเรืองเพิ่มข้ึน ทาให้อาณาจักรละโว้ได้ มิได้ถูกลดความสาคัญลงเป็นหัว ย้ายราชธานีใหม่ มาตั้งตรงปากแม่น้าลพบุรี และมี ช้ันเมืองเอก ฐานะเป็นเมืองลกู หลวงของ อาณาจกั รอโยธยา

อาณาจักรในภาคใต้ อาณาจักรสําคัญที่เกิดขึ้นในภาคใต้ เป็นอาณาจักรที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ 8-12 และในช่วงเวลานี้เกิดอาณาจักรสาคัญ ๆ ขึ้นอีกหลาย อาณาจักรทีส่ าคญั คือ อาณาจักรตามพรลิงค์ ซึง่ ต่อมาภายหลังพัฒนาเป็นอาณาจกั รนครศรธี รรมราช อาณาจักรตามพรลงิ ค์ อาณาจักรนครศรีธรรมราช ▪ อาณาจักรตามพรลิงค์ตั้งอยู่ในพื้นที่ตามแนวชายฝ่ังทางภาคใต้ของประเทศ ▪ อาณาจักรนี้สนั นิษฐานวา่ เปน็ อาณาจกั รที่พัฒนามาจากอาณาจกั ร ตามพรลงิ ค์ ไทยในปจั จุบนั ▪ มีความเหมาะสมอย่างย่ิงในด้านการค้าขายดินแดนที่เป็นที่ต้ังของอาณาจักร ▪ โดยประมาณพุทธศตวรรษที่ 18 เคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของ พวกโจฬะหรือพวกทมิฬ ตามพรลงิ ค์ทีเ่ อื้อต่อเศรษฐกิจ ▪ ทาให้กลุ่มคนต่าง ๆ เข้ามาตั้งหลักแหล่ง ปะปนกับชาวพื้นเมืองจนเกิดการ ▪ ต่อมาได้ถกู ราชวงศ์ศรธี รรมาโศกราชเข้าปกครอง ▪ ในด้านศาสนาสันนิษฐานได้ว่า พุทธศาสนาเข้าสู่แผ่นดินสยาม ผสมผสานท้ังทางด้านเผ่าพันธุ์และวฒั นธรรม ▪ นอกจากนี้ยังเป็นดินแดน ที่มีกลุ่มผลัดเปล่ียนกันเข้ามาครอบครอง ได้แก่ โบราณโดยใช้นครศรีธรรมราชเป็นศูนย์กลางรับพุทธศาสนามาจาก อาณาจกั รศรีวิชยั อาณาจักรกัมพชู า และพวกโจฬะหรือพวกทมิฬในอนิ เดยี ลงั กา โดยหลักฐานจากศิลาจารึกหลกั ที่ 1 ของสุโขทยั ยังไดก้ ลา่ วให้ เห็นว่าพระสงฆ์จากนครศรีธรรมราชได้เผยแพร่พุทธศาสนาไปยัง อาณาจักรสโุ ขทยั

อาณาจกั รในภาคเหนือ อาณาจกั รสาคญั ก่อนการสถาปนาอาณาจักรสุโขทยั ในบริเวณภาคเหนือของไทยหรือทีเ่ รียกว่าลา้ นนา หมายถึง บริเวณจังหวัดเชยี งราย แม่ฮ่องสอน เชยี งใหม่ ลาปาง ลาพูน แพร่ และน่าน ซึ่งการรวมตวั กนั เปน็ อาณาจกั รมีลกั ษณะเดยี วกับภาคอื่น ๆ คือ ก่อตวั ขึ้นราวพทุ ธศตวรรษที่11-12 โดยมีอาณาจกั รทสี่ าคัญๆ ไดแ้ ก่ อาณาจักรโยนกเชียงแสน อาณาจักรเงินยางเชียงแสน อาณาจักรหริภญุ ชัย อาณาจักรล้านนา ▪ เรื่องราวของอาณาจักรนี้ปรากฏใน ▪ อาณาจักรเงินยางเชียงแสน ก่อต้ังขึ้นโดย ▪ อาณาจักรหริภุญชัยก่อต้ังขึ้นเมื่อ ▪ อาณาจักรล้านนาจากเอกสาร ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 พื้นเมืองของภาคเหนือได้กล่าว “ตาํ นานสิงหนวัตกิ ุมาร” พระเจ้าลาวจกมีศูนย์กลางการเมืองการ ว่า ในช่วงประมาณพุทธศตวรรษ ▪ การปกครองของแควันหริภุญชัยมี ที่ 18-19 พระเจ้ามังราย (พ่อ ▪ โดยอาณาจักรนี้ตั้งขึ้น ในดินแดน ปกครองอยทู่ ีเ่ ชยี งราย ลักษณะคือ เจ้าเมืองจะส่งทายาทไป ขนุ มังราย) ลุ่มแม่น้าโขงทางตอนบนสุดของ ▪ อาณาจกั รนี้มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดใน ครองเมืองที่อยู่ใกล้เคียง เพื่อรวบรวม เมืองนั้นให้อยู่ภายใต้ในอาณาเขตของ ▪ ประมาณ พ.ศ. 1836 พระเจ้ามัง ประเทศไทย มีเมืองโยนกเชียงแสน สมัยของพ่อขุนมังราย ซึ่งได้ขยายอาณา อาณาจักรตน พระนางจามเทวีก็เช่นกัน รายก็ได้พยายามรวบรวม หัว ได้ส่งพระโอรสไปบูรณะเมือง เขลางค์ เมืองต่าง ๆ ทางภาคเหนือ เช่น (ปัจจุบันคือ อาเภอเชียงแสน เขตออกไปอยา่ งกว้างขวาง (ลาปาง) ซึ่งเป็นเมืองร้าง และได้ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลาปาง จังหวัดเชียงราย) เป็นศูนย์กลาง ▪ จนกระทั่งประมาณพุทธศตวรรษที่ 19ก็ ปกครองเมืองน้ันใหม้ ีความเจริญขึ้นมา ล าพู น และน่ าน เข้ าเป็ น อาณาจักร เรียกว่า “อาณาจักร การเมืองการปกครอง สามารถเข้าโจมตี และยึดครองอาณาจักร ลา้ นนา” ▪ อาณาจักรนี้มีความเจริญรุ่งเรือง หริภุญชัย รวมท้ังเมืองเขลางค์นคร แพร่ อยู่ในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 16-18มี น่าน ไว้ไดเ้ ป็นเหตุให้อาณาจักรหริภุญชัย อาณาเขตอยู่ในบริเวณจังหวัด ส้นิ สุดลง เชยี งราย และจงั หวดั พะเยา

อาณาจักรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาณาจักรสาคัญก่อนการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยที่เกิดขึ้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะแถบลุ่มแม่น้ามูลและแม่น้าชีส่วนใหญ่ อยู่ภายใต้การปกครองและ วัฒนธรรมของอาณาจกั รกัมพชู า โดยในชว่ งพุทธศตวรรษที่ 11-13 อยภู่ ายใต้อทิ ธิพลของอาณาจกั รเจนละ จนพุทธศตวรรษที่ 14 บ้านเมืองบริเวณนี้จึงเปน็ อสิ ระ อาณาจักรต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ทีส่ าคัญมีอยู่ด้วยกัน 2 อาณาจักร คือ อาณาจกั รศรจี นาศะ อาณาจกั รศรีโคตรบรู ▪ อาณาจักรนี้ก่อตั้งขึ้นทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงประมาณพุทธ ▪ อาณาจักรศรีโคตรบูรนักวิชาการหลายท่านมองว่าเป็นอาณาจักรในอุดมคติ โดย ประวัติความเป็นมาของอาณาจักรศรีโคตรบูรจากหนังสือ “ตํานานอุรังคธาตุ” ศตวรรษที่ 13-14 อาจกาหนดเขตแดนของอาณาจกั รศรีโคตรบรู ไดว้ ่าอยบู่ ริเวณ สองฝ่ังแม่น้าโขง ▪ มีอิทธิพลทางการเมืองอยู่แถบบริเวณลุ่มแม่น้ามูลและแม่น้าชี มีศูนย์กลางการ ▪ ประชาชนของอาณาจักรศรีโคตรบูรนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทอย่างมาก ปกครองอยทู่ ี่เมืองพิมาย จงั หวดั นครราชสมี า เหน็ ไดจ้ ากการ ก่อสร้าง ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ หลายแหง่ ▪ อาณาจกั รนี้มคี วามผูกพันทางวฒั นธรรมกับอาณาจกั รเจนละ ▪ นอกจากนี้ยงั ไดม้ ีการสร้างสรรค์ศิลปะแบบทวารวดี ทีเ่ ปน็ ของตนเอง ▪ พุทธศตวรรษที่ 19 อาณาจักรขอมเริ่มเสื่อมอานาจลง และพระเจ้าฟ้างุมแห่ง ▪ กษัตริย์และประชาชนท่ัวไปให้ความนับถือพุทธศาสนา และศาสนาพราหมณ์- อาณาจักรล้านช้าง ได้รวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ในแถบลุ่มแม่น้าโขงเข้าด้วยกัน ทา ใหด้ นิ แดนบริเวณนี้ตกอยภู่ ายใต้ “อาณาจกั รลา้ นช้าง” ดว้ ย ฮินดู ▪ อาณาจักรนี้มีอิสระอยู่เพียงระยะส้ันๆ ก็ล่มสลายไป เนื่องจากอาณาจักรเจนละ รวมกันเป็นอาณาจักรกัมพูชา ทาให้ดินแดนเหล่านี้ก็อยู่ภายใต้อิทธิพลของ อาณาจกั รกัมพชู า

3. ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การตงั้ ถ่ินฐาน ของมนษุ ย์

ปจั จัยที่มีผลต่อการต้งั ถิ่นฐานของมนษุ ย์ ปัจจยั ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการต้ังถิ่นฐานของมนษุ ย์ แบ่งได้เปน็ 2 ประเภท คือ ปจั จัยทางกายภาพ และปัจจยั ทางสังคม ปัจจัยทางกายภาพ หมายถึง ลักษณะและการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ ปัจจัยทางสังคม หมายถึง เมื่อมีการรวมกลุ่มของมนุษย์มากขึ้น ก็จะมีการ ที่แวดล้อมตัวของมนุษย์ เช่น ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ แบ่งงานกันทา มีการแลกเปล่ียนผลิตผล สมาชิกมีสถานะที่แตกต่างกันใน มนุษย์จะเลือกต้ังถิ่นฐานในถิ่นที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมแก่การอยู่อาศัยและ สังคมเกิดเป็นชนช้ันต่าง ๆ เกิดระบบการปกครอง มีการกาหนดกติกาควบคุม การดํารงชีวิต ด้านต่าง ๆ ปัจจัยทางกายภาพจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการ สมาชิกในสังคม กาหนดมาตรฐานต่าง ๆ ในสังคม ก่อให้เกิดระบบจารีต ตัดสนิ ใจเลือกที่ตั้งหลกั แหลง่ ของมนษุ ย์ ประเพณี จนกระทั้งพัฒนามาเป็นกฎหมาย

4. การตงั้ ถ่ินฐานในดินแดน ประเทศไทย

การตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย การตั้งถน่ิ ฐานในภาคเหนือ การตง้ั ถ่นิ ฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การต้งั ถ่นิ ฐานในภาคกลาง การต้งั ถ่นิ ฐานในภาคใต้

การตั้งถิน่ ฐานในภาคเหนือ ภาคเหนือมีรอ่ งรอยการอยอู่ าศยั ของมนุษยก์ ่อนประวตั ิศาสตร์ตั้งแต่ยุคหนิ เกา่ เป็นตน้ มา หลักฐาน ที่พบ เชน่ ที่บ้านแม่ทะ และบ้านดอนมูล จังหวัดลาปาง พบเครื่องมือหินกะเทาะอายุกว่า 700,000 ปี ที่ถ้าผี ถ้าปุงฮุงและถ้าผาชัน จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบเครื่องมือหินกะเทาะ เศษภาชนะดินเผา เมล็ดพืช และกระดูกสัตว์ สันนิษฐานว่าเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ที่ดารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ และ หาของป่า ▪ ในทางโบราณคดีและประวตั ิศาสตร์ ถือวา่ ภาคเหนือเร่มิ ต้ังแต่ จงั หวัดนครสวรรค์ อทุ ัยธานี และตาก ▪ ภาคเหนือตอนบน ไดแ้ ก่ เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาผีปนั น้า และเทือกเขาหลวงพระบาง ▪ ภาคเหนือตอนลา่ งพื้นทีส่ ่วนใหญ่เป็นทีร่ าบลมุ่ แม่น้าและทีร่ าบแบบลอนคลืน่ มีภเู ขาโดดและเนินเขา ▪ ลมุ่ แม่น้าสาคัญทีเ่ กิดจากเทือกเขาในภาคเหนือ ไดแ้ ก่ ลมุ่ แม่น้าปิง ลมุ่ แม่น้าวงั ลมุ่ แม่น้ายม ลมุ่ แม่น้าน่าน

การต้ังถิ่นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มี 20 จงั หวดั เหมือนการแบ่งภาคทางภมู ศิ าสตรด์ ินเปน็ ดินทราย จึงไม่เก็บน้าไว้ในดนิ อากาศค่อนข้างแหง้ แลง้ ในฤดูหนาว อากาศหนาวเยน็ กว่าภาคอืน่ แอง่ สกลนคร เปน็ แหลง่ วฒั นธรรมบ้านเชยี งยคุ โลหะ มนษุ ยใ์ นวัฒนธรรมบ้านเชยี งมีการ ตั้งชมุ ชนเปน็ หลกั แหล่ง ตั้งหวั หน้าปกครอง ทาการเกษตร รจู้ กั ทาเครือ่ งป้ันดินเผาลายเขียน สีและรู้จักทาเครื่องมือสาริด และต่อมาสามารถทาเครื่องมือจากเหล็กได้ มีประเพณีทาศพ และมีการประกอบพิธีกรรมเพื่อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ แต่ชุมชนเหล่านี้มีพัฒนาการ สงู สดุ แค่เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่เท่าน้ัน มีไดข้ ยายตวั ขึ้นเปน็ มืองแต่อยา่ งใด แอง่ โคราช มีพื้นที่เหมาะแก่การเพาะปลูก จึงมีผู้คนเข้ามาตั้งหลักแหลง่ กันต้ังแต่ยคุ โลหะ เมือ่ ประมาณ 3,000 ปี มาแลว้ สว่ นใหญ่จะอยตู่ ามทีล่ ุ่มตา่ ก่อน แล้วจึงเคลื่อนย้ายไปอยู่บน ที่สูงในภายหลัง อาจแบ่งกลุ่ม ชุมชนในแอ่งโคราชได้เป็น 3 กลุ่ม ตามลักษณะแตกต่างของ เครือ่ งปัน้ ดนิ เผา ไดแ้ ก่ กลมุ่ ในนชยั กลมุ่ ทุ่งกุลาร้องไห้ กลมุ่ ทุ่งสาริด

การต้งั ถิ่นฐานในภาคกลาง ภาคกลางอยู่ถัดภาคเหนือลงไปถึงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จงั หวัดในภาคตะวันตกและภาคตะวันออก การต้ังบ้านเมืองสมัยประวัติศาสตร์ในภาคกลาง สันนิษฐานว่ามีรากฐานสืบ เนื่องมาจากแหล่งชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่อยู่ใกล้เคียง ประมาณพุทธ ศตวรรษที่ 12 อันเปน็ สมัยทวารวดมี ีเมืองต่าง ๆ เกิดขึ้นหลาย เมืองในภาคกลาง เมืองในภาคกลางได้รับวัฒนธรรมเขมร ซึ่งแผ่อานาจเข้ามาจนถึงลุ่มแม่น้า เจ้าพระยาตอนลา่ งโดยมีละโว้หรือลพบุรีเปน็ ศนู ยก์ ลาง จนเมื่อเขมรเสือ่ มอานาจลง จึงเกิดอาณาจักรและอาณาจักรใหม่ ๆ ของชนชาติ ไทยขึ้น อาณาจักรสาคัญ คือ อาณาจกั รอยธุ ยา

การตั้งถิ่นฐานในภาคใต้ ภาคใต้ คือ บริเวณต้ังแต่จังหวัดชุมพรลงไปจนสุดเขตแดนจังหวัดสตูล สงขลา ยะลา และ นราธวิ าส ซึ่งตดิ ตอ่ กับประเทศมาเลเซีย ภูมิประเทศมีลักษณะเป็นคาบสมุทร ขนาบด้วยทะเลอันดามันและอ่าวไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของทะเลจีนใต้ มีเทือกเขาภูเก็ตและเทือกเขานครศรีธรรมราช ทอดตัวในแนวจากเหนือไปใต้ กับเทือกเขาสันกาลาคีรีกั้นพรมแดนไทยกับมาเลเซีย มีที่ราบชายฝั่งทะเลท้ังสองด้านของ คาบสมุทร ที่ราบชายฝั่งทะเลตะวันออกเป็นที่ราบใหญ่ เกิดจากคลื่นพัดพาเอาดินตะกอนมาทับ ถมกนั

จบเรื่องที่ 1 ความเปน็ มาของชนชาติไทย และอาณาจกั รโบราณในดินแดนไทย