Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ January 2022

Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ January 2022

Description: Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ January 2022

Search

Read the Text Version

รา•พ'Vๆนภา(วะ/พรพ'?/)จการ<r)f§fy4fyi*(56)‘ร ป ี^ เศรษฐกิจจ้งทว้ดซัยภูฆิในเดือนฆกรๆคฆ 2565 1 I ท ด ต ั ว -18.3% จ าก ด ้าน ก า ร ผ ล ิต ล ด ล ง ต าม ก าด บ ริก าร I กาด!กษตรกรรม และกาคอดสาหกรรม ประกอบกับดา้ นการใช้จา่ ยรวม ของจังหวดั ลดลงตามการบริโภคกาด!อกซน ขณะท่ีการใช้จา่ ย กาดรัฐ และการลงทนกาด!อกซนขยบั ด้วสงู ข้นึ คา้ ษการผลทิ -2 5 .7 % คา้ Hการใชจ้ า่ ย -10.1% รกา๑บรกิ าร -28.8%การบรโิ ก๑กาดเอกซน r จาภ ภ ารแพ ร่ระบ า๑โ ร ๑ Covid-19 จ า ภ ป ร ิผ า ร น ภ า ร ใ ' ช ไ้ พ ัฟ า้ ๑ ร ั3 b ? อ น ส า ย พ นั ธ ุโ อ ไ ผ ๑ ร อ น ล 3่ ผลใ น ้จ ำ น 3น ' ท ่ีอ ย ่อู า ศ ัย จ ำ น 3 น ร ภ ย น ต น์ ่ั3 จ ๑ ' ท ะ bบ ยี น นภั 'ท่อ3 b ท ยี่ 3ล๑ ล3 ป ระภ อ บ ภ บั ราย ไ ๑ ใ น ผ ่ น , ล ะ ภ า ษ ีผ ลู ด ่า b'พ ผี่ น ผ 3 ๑ จ ท ย ล ่3 ข า ย ฃอ3 รรุ ภ จิ ล๑ ล3 ต าผ ผ าตรภารภระต้น ป ล ีภ ล ๑ ล 3 ป ร ะ ภ อ บ ก ับ ม า ต ร ภ า ร ภ ร ะ ต ้น ภารใ จ ํร จ่ายฃอ3 ภาดร ฐั สิ้นส๑ุ ล3 า ร ใ จ รํ จ า่ ย ภ า ๑ ร ัฐ ส ้ิน ส ๑ุ ล 3 กาดเกษตรทรรม -18.3% การใซจ้ า่ ยภาครรั >1.0% จ า ภ ภ า ร ( ภ ๑ิ โ ร ๑ ร ะ บ า ๑ 'I ' น ส ัต 3 ภ ร ผ ' ป ศ สุ ัต ไ ต ้ bb53ร ะ 3 บ ภ า ร ฆ ่า bbaะ b53ต ร 3จ ล อ บ ล 3่ ผ ล ใ น ้ จ า ภ ส ่3 น ร า ' พ ภ า ร b « 3 ร ั๑ bบ ี ภ จ า่ ย b3 น จ ำ น 3 น อ า จ ร ญ า บ ตั ร จ ำ น 3 น ส ุภ ร น , ล ะ 'โ ด bWอ 3 บ ป ร ะ ผ า ร น bพ ผี่ ฃ ึน้ โ ๑ ย bSVWา ะ 3 บ ร า ย จ ่า ย ล ๑ ล 3 ฃ ร น ะ b๑ ย 3 ภ ัน ป ร ผิ า ร น อ ้อ ย โ ร 3 3 า น ล 3'ท น ล ๑ ล 3 b lb S 3 จ า ภ b๑ อ น ภ ่อ น น น ้า ผ ีภ า ร bภ บ็ การลงฑนภาด!,อกซน 3.8% ร3 ผ ล ผ ล ิต จ ำ น 3 น ผ า ภ ต า ผ ร ภ ย น ต ์ bพ ี อ ภ า ร พ า ร น ิจ ร ย ์b พ ผี « ภาคอฅรท’พกรรม -3.9% จ า ภ ภ จิ ภ า ร ต ้า น ภ า ร ฃ น ล ่3 พ ัส ด ุ b b a ะ ส นิ bช ่ื; [ โ b“w s ภ า ร ล 3 ' ท ุน bพ ่ีผ ฃ น้ึ ต า ผ ภ า ร ป ล ่อ ย ส นิ b'ช ือ่ จ า ภ ภ ำ ล 3ั ภ า ร ผ ล ีต ฃ อ 3 โ ร 3 3 า น ๑ อ ภ bบ ี้ย ต ํ่า ฃ อ 3 ร น า ด า ร พ า ร น จิ ร ย ์ b“W อ จ ร 3่ ย bน ล อี ใ น ภ า ๑ อ ุต ส า น ภ ร ร ผ ล ๑ ล 3 ต า ผ ป ร ิผ า ร น ป ร ะ จ ท จ ร น น , ล ะ ภ า ร bพ ผ่ี ส ภ า พ ๑ ล อ่ 3 ใ น ้ภ ับ 3 ต ภ ุ๑ บ ( อ อ้ ย โ ร 3 3 า น ) ท bี่ ฃ ้า ส ู่โ ร 3 3 า น ระภ อบ ภ าร ส ( ร ไ ส *3 อต้ ราเงินliflอ 3.3% การจ้างงาน -0.5% จ า ภ ภ า ร b“W ผ ฃ น้ึ ฃ อ 3 ร า ด า ๑ 3 า ผ ต ้อ 3 ภ า ร bbร 3 3 า น น ผ 3 ๑ อ า น า ร bbล ะ bด ร ่ือ 3 ๑ ผ ภ า ๑ bภ ษ ต ร ภ ร ร ผ ภ า ๑ บ ร ภิ า ร ไ ต ้ bbo bibอ น ผ ู b?l ๑ ไ ภ ่ bbaะ ส ัต 3 น ,ล ะภ า๑ อ ต ส า น ภ ร ร ผ ล ๑ ล 3 น ้าํ bbละ น ผ 3 ๑ ไ ผ ่ใ จ ร ่อ า น า ร bbล ะ bCTร ่ือ 3 ๑ ผ ไ ต น้ , ภ ่ น ฺผ 3 ๑ พ า น น ะ ภ า ร ฃ น ล 3่ bbละ ภ า ร ส ื่อ ส า ร

รายงาน!ภาวะเศ๚ษฐกจ)การคลุ จเ^งห วี V n * '* ฉบับที่ 1/2565 รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จังหวดั ชัยภมู ิ ประจำเดือนมกราคม 2565 “เครือ่ งชี้เศรษฐกิจจังหวัดในเดอื นมกราคม 2565 บ่งช้ีเศรษฐกิจโดยรวมมีสญั ญาณหดตวั เมอ่ื เทยี บกบั เดือนเดยี วกันของปกี อ่ น เป น็ ผ ล จาก เค รือ งข เึ้ ศ รษ ฐ ก จิ ดา้ นอุบ่หานหดตัว จากภ าคบ ริการ ภาคเกษตรกรรม และภาคอตุ สาหกรรม ประกอบกบั ด้านอปุ สงคห์ ดตัว จากการบริโภคภาคเอกซน ขณะที่การใชจ้ ่ายภาครฐั และการลงทนุ ภาคเอกซนขยายตัว สำหรบั เสถียรภาพเศรษฐกจิ จังหวดั อตั ราเงินเฟอ้ ทวั่ ไปของจังหวดั ปรบั เพ่ิมข้นึ และด้านการจ้างงาน หดตวั เมื่อเทยี บกับเดอื นเดียวกันของปกี ่อน เศรษฐกิจดา้ นอปุ ทาน (การผลติ ) พบว่า มสี ัญญาณหดตวั จากเดือนเดยี วกันของปีก่อน สะท้อนจากดัชนีผลผลติ ภาคบริการ หดตัวรอ้ ยละ -28.8 เมอื เทียบกับเดือนเดียวกนั ของปีก1อน และหดตวั จากเดือนก่อนทข่ี ยายตวั รอ้ ยละ 6.7 จากผลกระทบของการแพรร่ ะบาด COVID- 19 สายพนั ธโุ อไมครอน สง่ ผลใหจ้ ำนวนนักทอ่ งเทียวลดลง ประกอบกับรายได้ของ ธุรกจิ จากยอดขายสินคา้ ท้งั ขายปลกี และขายสง่ ลดลง ตามมาตรการกระตนุ้ การใช้จา่ ยของภาครัฐสนิ้ สดุ ลง ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม หดตัวร้อยละ -18.3 เมอื เทยี บกบั เดอื นเดียวกันของปีก่อน ปรับตวั ดขื ึน้ จากเดือนกอ่ นทห่ี ดตัวร้อยละ -36.9 จากการเกิดโรคระบาดในสัตว์ กรมปศสุ ัตว์ไดแ้ จง้ ระงบั การฆา่ และเร่งตรวจสอบ สง่ ผลใหจ้ ำนวนอาชญาบัตรของสกุ ร และโคเนอ้ื ลดลง ขณะเดียวกันปริมาณผลผลติ อ้อยโรงงานลดลง เน่ืองจากเดือนก่อนหน้ามกี ารเก็บเก่ียวผลผลติ จำนวนมาก และดัชนีผลผลิต ภาคอตุ สาหกรรม หดตวั รอ้ ยละ -3.9 เมื่อเทยี บกบั เดอื นเดยี วกนั ของปีก่อน และหดตวั จากเดือนก่อนทีข่ ยายตวั ร้อยละ 1.1 จากกำลงั การผลิตของโรงงานในภาคอุตสาหกรรมลดลง ตามปรมิ าณวตั ถดุ บิ (ออ้ ยโรงงาน) ทเี่ ช้าสโู่ รงงานลดลง เครอื่ งชี้เศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565 (Supply Side) (สัดสว่ นตอ่ GPP) -3.6 2.0 Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม (%yoy) 13.2 32.3 (โครงสรา้ งสัดสว่ น 26.0%) -0.4 46.0 -57.0 -16.3 -12.3 -36.9 -18.3 ดชั นีผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม (%yoy) 21.6 (โครงสร้างสดั สว่ น 20.0%) 1.8 -0.2 7.5 12.0 1.1 -3.9 ดชั นผี ลผลิตภาคบรกิ าร (%yoy) (โครงสรา้ งสัดสว่ น 54.0%) 24.8 0.3 8.4 0.7 6.7 -28.8

- 2- เศรษฐกิจดา้ นอุปสงค์ (การใช้จ่าย) พบว่า มสี ัญญาณหดตัวจากเดือนเดียวกนั ของปกี ่อน จากการบรโิ ภคภาคเอกซน หดตวั ร้อยละ -29.8 เม่ือเทยี บกบั เดอื นเดยี วกนั ของปกี อ่ น หดตัวจากเดอื นกอ่ นท่ีขยายตวั ร้อยละ 5.3 เปน็ ผลมาจากปรมิ าณการใช้ ไฟฟ้าครวั เรือนท่อี ย่อู าศัย จำนวนรถยนตน์ ัง่ สว่ นบคุ คลจดทะเบียนใหม่ และภาษีมลู คา่ เพ่ิมหมวดขายปลีกขายส่งลดลง ประกอบกับ มาตรการกระต้นุ การใช้จ่ายตามโครงการของภาครัฐสิ้นสดุ ลง ขณะทกี่ ารใชจ้ ่ายภาครฐั ขยายตัวรอ้ ยละ 51.0 เม่อื เทียบกบั เดอื น เดยี วกนั ของปกี ่อน จากการเบิกจ่ายงบลงทุนเพมิ่ ขน้ึ เนื่องจากสว่ นราชการเร่งรดั เปกจา่ ยเงนิ งบประมาณเพม่ิ ข้นึ สำหรบั การลงทนุ ภาคเอกซน ขยายตัวรอ้ ยละ 3.8 เมอื่ เทยี บกบั เดือนเดยี วกันของปกี อ่ น ขยายตวั ต่อเน่อื งจากเดอื นก่อนที่ขยายตวั รอ้ ยละ 3.4 ตามจำนวนรถยนต์เพื่อการพาณชิ ยจ์ ดทะเบยี นใหมเ่ พิ่มข้ึน จากกิจการด้านการขนสง่ พัสดุ และสินเชอ่ื เพื่อการลงทุนเพิ่มข้ึน ตามการปล่อยสินเช่ือดอกเบย้ี ต่ําฃองธนาคารพาณิชย์ เพ่อื ชว่ ยเหลอื ประซาซน และการเพ่ิมสภาพคลอ่ งให้กบั ผ้ปู ระกอบการ เคร่ืองช้ีเศรษฐกิจด้านอปุ สงค์ ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565 (Demand Side) Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกขน (%yoy) ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกขน (%yoy) 10.7 18.8 19.2 -0.7 6.1 -0.2 5.3 -29.8 ดัชนีการใช้จา่ ยภาครฐั (%yoy) 3.7 5.1 3.3 3.2 3.2 3.3 3.4 3.8 2.2 -11.0 30.0 -1.4 -3.5 -37.0 69.9 51.0 ดา้ นรายไดเ้ กษตรกรในจงั หวัด พบวา่ รายไดเ้ กษตรกรเดอื นบ้ี หดตัวรอ้ ยละ -5.0 เมอื เทียบกบั เดือนเดยี วกนั ของปกี อ่ น เป็นผลมาจากปรมิ าณผลผลิตภาคเกษตรกรรมโดยรวมหดตัว ตามจำนวนอาชญาบัตรของสกุ ร โคเน้อื และอ้อยโรงงาน ขณะทร่ี าคาสนิ คา้ เกษตรโดยรวมยงั คงขยายตัว เม่อื เทยี บกับเดือนเดยี วกันปกี อ่ น ดา้ นการเงิน พบวา่ สภาพคล่องในระบบสถาบนั การเงนิ ขยายตัวตามปริมาณเงนิ ฝากรวมและสินเชอื่ รวม โดยปรมิ าณ เงินฝากรวม ขยายตวั ร้อยละ 10.4 เมอื่ เทยี บกบั เดอื นเดยี วกนั ของปกี ่อน เนอื่ งจากประซาซนใหค้ วามสนใจในการออม เพื่อความมนั่ คง ในอนาคต สำหรบั ปริมาณสินเซื่อรวม ขยายตวั ร้อยละ 3.5 เม่ือเทยี บกบั เดือนเดียวกนั ของปีก่อน ตามสินเช่อื ครวั เรือนของธนาคาร พาณิชย์ และสินเชอ่ื เพอื่ ชว่ ยเหลือผูป้ ระกอบการท่ีไดร้ ับผลกระทบจากการแพรร่ ะบาด COVID -19 เครอื่ งช้ีดา้ นรายได้เกษตรกร ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565 และดา้ นการเงิน Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ดัชนีรายได้เกษตรกร (%yoy) ปรมิ าณเงินฝากรวม (%yoy) 0.5 42.3 43.7 -55.3 -10.2 -8.1 -28.8 -5.0 ปริมาณสินเขอื่ รวม (%yoy) 9.7 14.6 12.5 12.5 9.7 7.0 9.7 10.4 3.3 4.3 2.8 3.6 3.3 2.8 3.3 3.5 เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบว่า อัตราเงนิ เฟ้อท่วั ไปของจังหวัด ในเดือนมกราคม 2565 อยู่ท่ีรอ้ ยละ 3.3 จากการเพิม่ ข้นึ ของราคาหมวดอาหารและเคร่ืองดืม่ ไดแ้ ก่ เน้ือหมู เปด็ ไก1และสัตว'์ นา และหมวดไม1ใช่อาหารและเครื่องดื่มได้แก่ หมวดพาหนะ การขนสง่ และการส่อื สาร สำหรบั การจ้างงานเดอื นมกราคม 2565 ลดลงอยู่ทีร่ ้อยละ -0.5 เมอ่ื เทยี บกับเดือนเดยี วกันของปีก่อน จากความต้องการแรงงานในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบรกิ ารลดลง เคร่ืองชี้เสถยี รภาพ เศรษฐกิจ ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565 อัตราเงินเฟอ้ (Inflation Rate) (%yoy) Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. การจ้างงาน (Employment) (%yoy) -0.9 -3.0 0.1 -1.1 0.4 0.9 0.5 3.3 -0.5 -1.3 -0.04 -0.3 -0.4 -0.4 -0.4 -0.5

- 3- ด้านการคลัง ในเดอื นมกราคม 2565 พบว่า ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณรวม มีจำนวนทง้ั ส้นิ 644.3 ล้านบาท เพิม่ ข้ึน ร้อยละ 82.6 เมือเทียบกบั เดือนเดยี วกนั ของปีก่อน เนอื งจากสว่ นราชการเรง่ รัดเบกิ จ่ายเงินงบบริ ะมาณเพิม่ ขึ้น โดยเฉพาะ การเบกิ จ่ายงบลงทุน สำหรบั ผลการจดั เกบ็ รายได้ มจี ำนวนทั้งสน้ิ 367.1 ลา้ นบาท เพม่ิ ข้ึน 1 เท่า เมือเทียบกบั เดอื นเดียวกัน ของปกี อ่ น เป็นผลมาจากสว่ นราชการอ่นื ๆ จัดเกบ็ รายได้คา่ ปรบั และคา่ ธรรมเนียมอ่นื ๆ เพ่ิมขึ้น สำนักงานธนารกั ษ์พ้นื ทช่ี ัยภูมิ จัดเก็บรายไดค้ า่ ธรรมเนียมเบด็ เตลด็ คา่ เขา่ อสังหาริมทรพั ย์ เพ่ิมขึ้น สำนักงานสรรพากรพน้ื ท่ชี ยั ภมู ิ จัดเกบ็ รายได้ภาษีเงนิ ได้ บุคคลธรรมดา ภาษีมูลคา่ เพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมปี เพิ่มขนึ้ สำหรบั ดลุ เงินงบบริ ะมาณในเดอื นมกราคม 2565 ขาดดุล จำนวน -386.6 ล้านบาท สะท้อนบทบาทการคลังในการกระตุน้ เศรษฐกิจในประเทศ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) (FY) เครอื่ งช้ีภาคการคลงั Ql(FY) พ.ย. 64 ธ.ค. 64 ม.ค. 65 YTD (FY) พ.ศ. 2564 รายได้จดั เก็บ (ล้านบาท) 2,073.3 982.1 507.4 239.0 367.1 1,349.2 (%yoy) 119.2 234.7 72.1 138.1 124.0 ความแตกต่างเทียบกับประมาณการ(ล้านบาท) 16.7 664.7 427.6 124.3 242.3 907.0 ร้อยละความแตกต่างเทยี บกับประมาณการ(%) 481.2 -32.3 -15.7 -48.0 -34.0 -32.8 รายไดน้ ำส่งคลัง (ล้านบาท) -76.8 752.1 415.0 167.8 257.7 1,009.8 (%yoy) 1,996.0 75.0 264.7 -2.0 57.0 70.0 รายจา่ ยรวม (ล้านบาท) 28.8 1,889.7 682.5 748.1 644.3 2,534.0 (%yoy) 7,623.5 9.6 -26.8 98.0 82.6 22.0 ดลุ เงินงบประมาณ (ลา้ นบาท) 17.0 -1,137.6 -267.5 -580.3 -386.6 -1,524.2 -5,627.5 ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สะสมตง้ั แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถงึ เดือนมกราคม 2565 หน่วย ะล้านบาท รายการ งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ยจริง รอ้ ยละ เปา้ หมาย ท่ไี ด้รบั จัดสรร การเบกิ จ่าย การเบกิ จา่ ย 1. รายจ่ายจริงปีงบประมาณปจี จุบัน (รอ้ ยละ) 1.1 รายจ่ายประจำ 1.2 รายจ่ายลงทุน 5,264.5 2,513.0 47.7 93.0 1,567.1 1,157.3 2. รายจ่ายงบประมาณเหลอ่ื มปี 3,697.4 1,355.7 73.8 2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1,195.1 686.7 1,195.1 686.7 36.7 75.0 3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 6,459.6 3,199.7 57.5 57.5 49.5 ทมี่ า ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)

- 4- กราฟผลการเบกิ จ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเป้าหมายการเบกิ จ่ายสะสมตงั้ แต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นมกราคม 2565 รอ้ ยละ ™90 1 3 8 ^ ^ 4 7 .7 ^ 58^ 86 «, » 93 80 30 37 เม.ย. 65 พ.ค. 65 มี.ย. 65 ส.ค. 65 ก.ย. 65 70 60 20 50 40 พ.ย. 64 ธ.ค. 64 ม.ค. 65 ก.พ. 65 ม.ี ค. 65 ก.ค. 65 30 20 10 10 0 ต.ค. 64 ------- ผลการเบิกจ่าย ------- เป้าหมาย ท่ีมา ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงนิ การคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS) กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณงบลงทนุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกบั เป้าหมายการเบิกจา่ ยสะสมตัง้ แตต่ น้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นมกราคม 2565 ร้อยละ ทีม่ า ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

- 5- ผลการเบกิ จ่ายงบลงทนุ ของหน่วยงานที่ไดร้ บั งบประมาณจดั สรรตั้งแต่ 10 ถงึ 100 ลา้ นบาท สะสมตั้งแต่ด้นปงี บประมาณจนถึงเดอื นมกราคม 2565 หนว่ ย ะลา้ นบาท ล ำ ด บั ห น ่ว ย ง า น งบประมาณท่ี ก อ่ ห น ้ี ร ้อ ย ล ะ ก า ร ผลการ ร อ้ ย ล ะ ก า ร ได้รบั จดั สรร ก อ่ ห น ้ี เบิกจา่ ยจรงิ เ บ ิก จ ่า ย ที่ 1 สำนกั งานท่ดี นิ จังหวดั ชัยภูมิ 1 1 .2 0 .0 0 .0 1 .6 1 4 .2 2 ท่ีทำการปกครองจังหวดั ชัยภมู ิ 2 8 .6 7 5 .9 5 .8 1 5 .4 3 7 .7 4 .5 มหาวิทยาลัยการกฬี าแหง่ ชาติ วิทยาเขตชยั ภูมิ 0 .6 1 .3 0 .0 9 .8 4 5 .8 4 5 .8 9 9 .8 4 .0 0 .0 3 1 7 .1 5 7 .4 0 .0 1 3 .4 4 5 .9 5 7 .9 1 0 0 .0 1 3 .6 0 .0 4 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดชัยภูมิ 0 .0 5 5 .7 5 สถานีพฒั นาทด่ี ินจงั หวดั ชัยภมู ิ 2 9 .8 0 .0 0 .0 0 .0 6 หน่วยงานในสงั กัดสนง.ตำรวจแหง่ ชาติ 0 .0 0 .0 29.5 7 สนง.พระพุทธศาสนาจงั หวัดชัยภมู ิ 5 7 .9 10.1 8 หน่วยงานในสังกดั อาชีวศกึ ษา(รหนว่ ยเบกิ ) 150.0 51.6 2 4 .4 รวม 3 7 .8 รายจ่ายลงทุนทัง้ หมดที่ได้ไดร้ บั จดั สรร 290.5 คดิ เป็นร้อยละ 3,697.4 7.9 ทม่ี า ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS) หนว่ ยงานทมี่ ีรายจา่ ยลงทุน วงเงนิ ต้งั แต่ 10 ล้านบาท ถึง 100 ล้านบาท จำนวน 8 หน่วยงาน รวมรายจา่ ยลงทนุ 290.5 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 7.9 ของงบรายจ่ายลงทนุ ท่ไี ดร้ ับจัดสรรท้ังหมด ผลการเบกิ จา่ ยงบลงทุนของหนว่ ยงานท่ไี ดร้ ับงบประมาณจดั สรรตัง้ แต่ 100 ล้านบาทข้นึ ไป สะสมตง้ั แต่ด้นปีงบประมาณจนถงึ เดือนมกราคม 2565 หนว่ ย ะลา้ นบาท ลำดบั ห น ว่ ย ง า น งบประมาณที่ กอ่ หน้ี ร ้อ ย ล ะ ก า ร ผลการ ร อ้ ย ล ะ ก า ร ได้รับจดั สรร ก ่อ ห น ี้ เบิกจา่ ยจริง เ บ ิก จ ่า ย ที่ 1 หน่วยงานในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ (4 หน่วยเบกิ ) 131.0 114.5 87.4 14.4 11.0 0.0 0.0 0.0 0.0 2 มหาวทิ ยาลัยราซภัฏชยั ภมู ิ 145.0 0.0 0.0 28.6 7.9 375.5 93.9 12.5 3.1 3 สนง.สง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ จังหวัดชัยภมู ิ 363.7 8.6 4.6 16.5 8.7 299.8 16.9 1,189.7 67.0 4 แขวงทางหลวงซนบทชยั ภูมิ 400.0 798.4 26.6 1,261.7 42.0 5 แขวงทางหลวงชัยภมู ิ 188.6 6 หนว่ ยงานในสงั กดั กรมชลประทาน(2 หน่วยเบกิ ) 1,775.4 รวม 3,003.7 รายจ่ายลงทุนทงั้ หมดทีไ่ ดไ้ ด้รับจัดสรร 3,697.4 คดิ เปน็ ร้อยละ 81.2 ที่มา ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) หนว่ ยงานทมี่ ีรายจา่ ยลงทนุ วงเงินตง้ั แต่ 100 ลา้ นบาทขน้ึ ไป จำนวน 6 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน 3,003.7 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 81.2 ของงบรายจ่ายลงทุนที่ได้รับจัดสรรท้งั หมด

6 เคร่ืองช้ภี าวะเศรษฐกจิ การคลังจังหวดั (Economic and Fiscal) รายเดอื น ตารางท่ี 1 เครอ่ื งชเ้ี ศรษฐกจิ จังหวัด จ 2564 จ 2565 เคร่ืองชเี้ ศรษฐกิจจงั หวัด หนว่ ย พ.ย. ธ.ค. ม.ค.จ 2 5 6 4 เศรษฐกิจด้านอุปทาน Q1 Q2 Q3 Q4 ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม เทยี บกับปี พ.ศ. 2563 %yoy -3.6 32.3 46.0 -57.0 -16.3 -12.3 -36.9 -18.3 (โครงสร้างสัดส่วน 26.0%) ปรมิ าณผลผลติ ; ขา้ วเจา้ นาปี ตนั 145,149.1 0.0 0.0 0.0 145,149.1 131,027.6 14,121.5 0.0 ปริมาณผลผลติ ; ข้าวเหนยี วนาปี %yoy -6 0 . 6 0.0 -6 0 . 6 -6 0 . 5 -6 1 . 8 0.0 ปรมิ าณผลผลติ ; มันสำปะหลังโรงงาน ตัน 279,400.0 0.0 0.0 65,962.8 279,400.0 276,520.7 2,879.3 253,381.0 57.0 66.6 2.2 ปรมิ าณผลผลิต ; ออ้ ยโรงงาน %yoy 57.0 -6 7 . 2 -7 5 . 9 706,728.7 528,478.5 1,207,619.0 จ้านวนอาชญาบตั ร ;โคเน้อื ตัน 2,190,140.0 1,001,565.7 415,882.8 0.0 78.3 357.9 136,750.2 0.0 -2 4 . 9 จ้านวนอาชญาบตั ร ; สกุ ร %yoy 26.1 13.9 60.1 5,820 301,022.8 -3 1 . 2 ดชั นีผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม 385.4 2,001.5 1,460 570 เทยี บกับปี พ.ศ. 2563 ตัน 3,413,894.9 2,853,297.3 259,574.8 15,340 4,399 262.3 301,022.8 (โครงสร้างสดั สว่ น 20.0%) 256.5 4,400 2,001.5 -6 . 7 ปริมาณการใซไฟฟา้ ชองภาคอตุ สาหกรรม %yoy 68.3 57.8 25.9 -4 9 . 1 12,610 1,389 จ้านวนโรงงานอตุ สาหกรรม -5 5 . 9 224.5 3,130 (ข้อมูลสะสม) ตวั 14,528 1,614 2,695 -0.2 -5 6 . 9 4,210 จา้ นวนทุนจดทะเนียนโรงงานอตุ สาหกรรม 12.0 -6 9 . 8 (ขอ้ มูลสะสม) %yoy 221.3 53.6 159.6 90.1 7.5 -5 7 . 2 ดชั นผี ลผลิตภาคบรกิ าร เทยี บกบั ปี -3 . 9 พ.ศ. 2563 (โครงสรา้ งสดั สว่ น 54.0%) ตวั 84,890 31,540 25,400 -3 . 4 1.1 ยอดชายสนิ คา้ ท้งั ปลีกและสง่ 29.4 %yoy -1 9 . 7 39.1 7.0 403.0 35.1 จา้ นวนนกั ทอ่ งเทยี่ ว 5.2 0.3 -1 2 . 0 เศรษฐกจิ ด้านอปุ สงค์ %yoy 2.0 -0.4 1.8 25,300.0 405.0 ดชั นีการบรโิ ภคภาคเอกชน 1.1 2.5 405.0 จ้านวนรถยนตน์ ั่งส่วนบคุ คลจดทะเนียนใหม่ ลา้ น kwh 408.0 118.9 99.1 0.3 99.9 33.9 25,447.8 2.5 %yoy 4.2 1,305.7 0.9 1.5 25,447.8 จ้านวนรถจักรยานยนต์จดทะเนียนใหม่ โรง -7 . 3 -0 . 3 399.0 2.5 -0 . 8 404.0 1.5 %yoy 1.8 29,154 5.5 6.7 -28.8 ปรมิ าณการใซไฟฟ้าชองครัวเรือนท่อี ยู่อาศัย ลา้ นบาท 405.0 397.0 25,109.6 405.0 25,326.5 404.3 445.7 %yoy 2.5 3.1 0.1 -7 5 . 7 2.5 27.3 6.8 ภาษีมูลค่าเพมิ่ หมวดชายปลกี ชายสง่ 25,447.8 25,099.3 25,447.8 31,725 -2 8 . 9 %yoy 1.5 24.8 -0.7 1.5 0.7 1.7 -0 . 7 470 14,013 ลา้ นบาท 13.2 1,234.2 8.4 375.7 5.3 %yoy 21.6 23.6 -7 . 7 1.2 135 -1 5 . 9 คน 5,305.4 36,157 1,187.1 21,838 13.4 %yoy 13.9 1,578.4 2,062 8.8 1,179 -29.8 202,458 22.1 -2 0 . 0 9.2 268 64,925 -3 0 . 9 72,222 21.4 -2 4 . 8 -0.2 -3 2 . 8 -8 . 1 91.5 -7 . 9 167 -2 7 . 2 1,249 %yoy 10.7 18.8 19.2 -2 3 . 3 6.1 -9 . 2 28.3 10.3 492 6.8 20.3 คนั 2,447 903 582 91.4 1,144 2.2 -0 . 8 37.3 -4 6 . 3 %yoy 7.1 15.9 16.4 26.0 3,092 31.2 คนั 12,697 3,696 3,847 10.1 -1 0 . 0 75.5 -2 8 . 9 %yoy 1 4 .8 16.0 84.8 26.3 -1 5 . 9 1.2 ล้าน kwh 396.1 109.7 119.4 83.1 %yoy -1 6 . 3 -1 0 . 9 -1 5 . 3 8.8 ล้านบาท 371.4 110.5 86.4 %yoy 13.8 22.1 23.1

7 ตารางท่ี 1 เครื่องช้ีเศรษฐกจิ จังหวดั (ต่อ) เครอ่ื งข้เี ศรษฐกจิ จงั หวดั หน่วย ปี 2564 จ 2564 ปี 2565 ดัชนีการลงทุนภาคเอกขน %yoy 3.7 Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ดนั 400 5.1 3.3 3.2 3.3 3.4 3.8 รถยนต์เพอ่ื การพาณชิ ย์ทจี่ ดทะเบยี นใหม่ %yoy 36.5 97 110 87 3.2 42 27 38 ตรม. 13,268.6 6.6 254.8 106 121.1 35.0 81.0 พืน้ ทอี่ นุญาตกอ่ สร้างท้งั หมด %yoy 3,765.0 2,630.0 -5 . 4 34.2 1,310.0 1,403.0 1,382.0 ลา้ นบาท -9 . 7 3,838.0 สนิ เชือ่ เพ่อื การลงทนุ %yoy -2 . 2 -9 . 2 3,035.6 -7 . 2 -5 . 3 -1 . 1 (ข้อมูลสะสม) %yoy 21,679.7 ดชั นกี ารใชจ้ า่ ยภาครฐั ลา้ นบาท 3.3 21,138.3 20,918.9 -1 7 . 6 -9 . 8 21,439.4 21,679.7 21,933.9 %yoy 2.2 4.3 2.8 2.8 3.3 3.5 รายจ่ายประจำ ล้านบาท -11.0 30.0 21,310.3 21,679.7 -37.0 69.9 51.0 %yoy 3,699.2 890.0 903.8 3.6 3.3 336.7 186.1 191.6 รายจา่ ยลงทนุ 19.3 -1.4 -3.5 -1 3 . 2 -3 2 . 8 1,143.6 975.7 -6 0 . 1 -2 1 . 2 -2 8 . 6 ดา้ นรายได้(เทcome) 45.5 1,196.7 ดชั นีรายได้เกษตรกร 3,809.4 587.8 20.3 -3 4 . 6 345.8 562.0 452.7 41.2 234.0 43.7 1,164.1 308.3 296.6 410.9 ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม 46.0 913.9 ดัชนรี าคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรม 42.3 -1.6 -2 2 . 8 301.0 -8.1 -28.8 -5.0 ด้านการเงิน (Financial) 32.3 -12.3 -36.9 -18.3 ปรมิ าณเงินฝากรวม %yoy 0.5 7.5 62,469.5 -55.3 -10.2 4.8 12.9 16.4 (ขอ้ มูลสะสม) 12.5 -57.0 -16.3 ปริมาณสนิ เชอื่ รวม %yoy -3.6 63,256.4 3.8 7.3 62,532.6 65,954.1 67,894.0 (ขอ้ มูลสะสม) %yoy 4.2 14.6 69,729.6 7.0 9.7 10.4 ด้านเสถยี รภาพเศรษฐกิจ (Stability) 2.8 ดชั นีราคาผู้บริโภคทัว่ ไป ล้านบาท 65,954.1 70,461.0 63,887.4 65,954.1 71,464.8 72,265.6 73,113.0 (อตั ราเงินเฟอ้ ท่วั ไป) %yoy 9.7 4.3 99.8 12.5 9.7 2.8 3.3 3.5 - อาหารและเครือ่ งด่ืม - ไมใช่อาหารและเครื่องด่ืม ลา้ นบาท 72,265.6 99.3 0.1 71,034.3 72,265.6 102.2 101.8 103.1 ดชั นรี าคาผ้บู รโิ ภคพ้นื ฐาน %yoy 3.3 3.6 3.3 0.9 0.5 3.3 (อตั ราเงินเฟอ้ พ้นื ฐาน) -3 . 0 -2 . 1 2.6 ดชั นรี าคาผู้ผลติ 100.3 100.3 101.8 -2 . 5 -2 . 8 4.5 (อตั ราการเปลยี่ นแปลง) -3 . 1 3.9 0.4 101.2 %yoy -0 . 9 100.4 -1 . 1 3.4 2.8 1.3 การจ้างงาน (Employment) -2 . 2 -2 . 9 100.9 101.0 107.4 %yoy -3 . 0 - 1.0 -3 . 9 8.7 100.2 2.7 - 0.1 0.0 450,692e %yoy 1.6 101.6 2.1 100.8 -1 . 5 5.4 100.5 106.1 105.7 -0 . 5 100.5 450,110 -0 . 2 8.5 7.7 99.5 -0 . 7 450,692e 450,692e %yoy -0 . 9 0.7 -0 . 0 4 105.5 452,815 102.6 7.7 -0 . 4 -0 . 4 102.3 5.1 450,692e -1 . 3 449,153 %yoy 4.7 -0 . 4 -0 . 3 คน 450,693 %yoy -0 . 5 จm nm w i : ข้อมูลตาม ปฏทิ นิ (ม.ค. 2564 - ธ.ค. 2564) Q1 คือ ยอดสะสมตง้ั แตเ่ ดอื นมกราคม ถงึ เดอื นมนิ าคม (ม.ค. - ป.ี ค. 2564) Q2 คอื ยอดสะสมตัง้ แตเ่ ดอื นเมษายน ถึงเดือนมถิ ุนายน (เม.ย. - ม.ิ ย. 2564) Q3 คอื ยอดสะสมต้ังแต่เดอื นกรกฎาคม ถึงเดอื นกันยายน (ก.ค. - ก.ย. 2564) Q4 คอื ยอดสะสมตง้ั แต่เดือนตุลาคม ถึงเดอื นธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2564) e ดอื estimate (ประมาณการ)

8 ตารางท่ี 2 เคร่อื งชภ้ี าคการคลงั ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) พ.ศ. 2564 (FY) เครอื่ งซืภ๊ าคการคลัง หน่วย Ql(FY) พ.ย. 64 ธ.ค. 64 ม.ค. 65 YTD (FY) รายได้จัดเก็บ 2,073.3 982.1 507.4 239.0 367.1 1,349.2 สรรพากรพ้ืนท่ีชัยภมู ิ ล้านบาท 16.7 119.2 234.7 72.1 138.1 124.0 สรรพสามิตพน้ื ที่ชยั ภูมิ %yoy 1,501.6 291.2 110.8 84.0 128.0 419.2 ธนารักษ์พน้ื ท่ีชยั ภูมิ ลา้ นบาท 12.2 -12.4 -3.8 -13.8 12.2 -6.1 หน่วยราชการอ่ืนๆ %yoy 27.0 14.1 4.4 4.3 5.2 19.3 รายไดน้ ำส่งคลงั ลา้ นบาท -41.3 50.0 51.7 -113.9 69.3 รายจา่ ยเงินงบประมาณ %yoy 14.7 5.1 3.2 - 5.1 ดลุ เงนิ งบประมาณ ลา้ นบาท -13.5 96.2 255.6 0.9 77.8 6.7 %yoy 530.0 671.7 389.0 232.3 91.4 ล้านบาท 41.6 547.1 1,093.3 - 524.5 904.0 %yoy 1,996.0 752.1 415.0 149.8 257.7 541.1 ลา้ นบาท 28.8 75.0 264.7 312.7 57.0 1,009.8 %yoy 7,623.5 1,889.7 682.5 167.8 644.3 70.0 ล้านบาท 17.0 9.6 -26.8 -2.0 82.6 2,534.0 %yoy -5,627.5 -1,137.6 -267.5 748.1 -386.6 22.0 ลา้ นบาท 98.0 -1,524.2 -580.3 m nm w i : FY คอื ปี'รบประมาณ (ต.ค. 2564 - ก.ย. 2565) Q1 คอื ยอดสะสมตง้ั แต่เดือนตลุ าคม ถงึ เดอื นธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2564) Q2 คือ ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดอื นมกราคม ถึงเดอื นปีนาคม (ม.ค. - ปี.ค. 2565) Q3 ดือ ยอดสะสมตั้งแต่เดือนเมษายน ถึงเดือนมถิ ุนายน (เม.ย. - ป.ี ย. 2565) Q4 ดือ ยอดสะสมตง้ั แตเ่ ดอื นกรกฎาคม ถงึ เดอื นกนั ยายน (ก.ค. - ก.ย. 2565)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook