Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ February 2022

Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ February 2022

Description: Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ February 2022

Search

Read the Text Version

mmmwm 1J 1 /\\ y *- ____ L _ S S l s la I- 1 .1 .................... - N .« » 1 เ4 * . mrmummmQm m u

( เ ศ ร ษ ฐ ก จิ จ ง้ ท จ ้ด จ ้ย ภ ฆู ใิ น เ ด อื น ก ุฆ ภ า พ น้ ธ ์ 2 5 6 5 I เซาซ ย า ย ต วั 1 . 0 ° / จ า ก ก า ร ั ท ย ร ว ม ข อ ง จ ัง ห ว ดั ! พ ม่ี ข น้ึ ก า ร ใ ช '่ จ ่า ย ■ ก า ด ร ัฐ ก า ร บ ร โิ ภ ค ก า ด ! อ ก ซ น แ ล ะ ก า ร ล ง ท ุน ก า ด ! อ ก ซ น ข ย ับ ต วั ส ูง ข ้นึ ข ณ ะ ท ีด่ า น ก า ร ผ ล ติ ล ด ล ง จ า ก ก า ด ! ก น ด ร ก ร ร ม ก า ค อ ด ส า ห ก ร ร ม ส ำ ห ร บั ก า ด บ ร กิ า ร ป ร ับ ต วั ด ีข ึน้ ด า้ น ก า ร พ ส ติ - 1 . 0 % ด ัๆ น ก ๆ ร ใ ซ ัจ ่ๆ ย 2 . 9 % กาด!.ท,»๓ รก??ม กา?ใ'ช้จ่ายภาครัฐ จากผลกระ'ทบภารเภิ ๑ จากรายจา่ ยลงทนุ เบิกจ่าย เพ ผื่ ข้ึน เนอ่ื งจากส่3นราซภาร •J. โรดระบา๑ในลตั ร์ ซ่ึงภรผปศุลตั ร์ เบกิ จา่ ยเงินงบประผารน และงบรายจา่ ยประจำเพืผ้ ขน้ึ . ' ได้ระงับภารอนญุ าตฒ่าลัตร์ ในพ้นื ทท่ี เี่ กิ๑โรดระบา๑ ๑ งกสา่ ร j f j f ส่งผลใน้จำบรบ*m ญาบตั รสุภร s* ล๑ลง ประภอบภับผันสำปะ'พลง g a y โรงงาน และออ้ ย'โรงงาบล๑ลง การ‘บริโภคภาคเอก'พ,น. แ ร ุ จาภพน้ื ทีเ่ พาะปลภู ล๑ลง จ าก จ ำน 3น ร ภ ย น ต ์น ั่ง แภลาะคซาร๑ุตแรดทลน‘พรากอ?น?พ8ันJธ’ุ A น ๑ ตรั 1ร . ไ จสoา่ร_นน__ร_บ_น_ดุ _ร_ด_ภลOจ'_จภ__๑_ร_'ทย__าะ_นเบ_ย_ยี นนต๙ใิ นผ่ จากกำลงั การผลติ ซอง ;; โรงงานในภาคอตสานภรรผ k -1.7 °/: เ 3.6% เ จ๑'ทะเบียนในม่ และภาษี j j | x ลคส3 ตาผปริผาณ รตั ทดบ้ พ ผลู ด า่ เพ ผื่ น ผ3๑ ฃายสง่ (ผันส่าปะนสงั โรงงานและ ฃายปลกี เพ่ืผขึ้น อ้อยโรงงาน) ท่ีเฃา้ ส่โรงงาน การล3‘ทุนภาคเอก'ช,น. ส (9ไร^>3 ตาผรภยนต์เพือ่ ภารพารนิซย์ เพ ้ืผข้ึน จากกิจการด้านภารซนส่ง m ทาด1บ?ทา* พสั ศุ และลินเซอื่ เพอื่ การลงทนุ ท ร ป ี ภาครัรเพ่ผื กำลังการใซจ้ า่ ย เพ ผื้ ซน ตาผการปลอ่ ยสนิ เซือ ๑ อกเบยี้ ต่ําฃองรนาดารพารนซิ ย์ » ซ อ ง ป ร ะ ซ า ซ น ผ ่า น โ ด ร ง ก า ร เพื่อซ3่ ยเนลือประซาซน และเพืผ่ I \\ I ต่างๆ (โดรงการเพมิ่ กำลงั ซื้อฯ สภาพดสอ่ งใน้กบั ผูป้ ระกอบภาร โดรงภารคนละครี่ง เพัล แ-) เพ่อื สนับสนนุ รายไดซ้ องธรุ กิจ เพ ื่ผ ข นึ้ ด า้ น ก า ร เ ง นิ ด า้ น เ ส ก ยี ร ภ า ใ ซ ื่ o จ ต้ ร า ! ง นิ ! น ! อ 4 .0 % 0ก า ร จ ้า ง ง า น 6 . 1 % ด ร า ผ ต ้อ ง ก า ร แ ร ง ง า น จากภารเพผ่ื ขน้ึ ซองราดานผ3๑ -\" ว —ั —ไ - อานารและเดร่อื ง๑ ผได ้แก ่ ฃา้ ร แป้ง ภาคบริการเพ่ืผขึ้น น้าํ ผันพซื นํา้ ปลาไข่ ผลิตภัณ ฑ์นผ ผัก และผลไม้ และนผร๑ไผใ่ ซอ่ านาร และเดรอ่ื ง๑ ผ ได แ้ ก ่ นผร๑พานนะ \" ภารซนสง่ และภารลือสาร สำพกั นาHทสน์ จUั Mวัดซยั ภ ฅู tm ๆ ศาลากลานจนั พวดั อ .IH0U จ.ซยั ภ ูH

ร า ย ง า น ! ภ า ว ะ เ ศ ๚ ษ ฐ ก จ ) ก า ร ค ลุ จ เ^ ง ห ว ี V n * '* ฉบับที่ 2/2565 รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดชยั ภมู ิ ประจำเดอื นกมุ ภาพันธ์ 2565 “เคร่ืองช้เี ศรษฐกิจจงั หวดั ในเดือนกมุ ภาพันธ์ 2565 บง่ ชเี้ ศรษฐกจิ โดยรวมมีสัญญาณขยายตัวในอัตราชะลอตวั เมอ่ื เทยี บกับเดือนเดยี วกันของปกี อ่ น เปีนผลจากเครอ่ื งขี้เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ฝงี คข์ ยายตวั จากการใชจ้ า่ ยภาครัฐ การบรโิ ภค ภาคเอกซน และการลงทุนภาคเอกซน ด้านอุบ่หานหดตัว จากภาคเกษตรกรรม และภาคอตุ สาหกรรม ขณะท,ี ภาคบริการ ขยายตัว สำหรับดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัด อตั ราเงินเฟ้อทว่ั ไปของจงั หวัดปรบั เพมิ่ ข้นึ และด้านการจา้ งงานขยายตัว เมอื่ เทยี บกบั เดอื นเดียวกนั ฃองปกี อ่ น เศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (การผลติ ) พบว่า มีสญั ญาณหดตวั จากเดอื นเดียวกันของปกี อ่ น สะท้อนจากดัชนีผลผลิต ภาคเกษตรกรรม หดตวั รอ้ ยละ -15.9 เมอื่ เทยี บกับเดือนเดยี วกันของปกี อ่ น จากการเกดิ โรคระบาดในสัตว์ ซง่ึ กรมปศุสตั วไ์ ดร้ ะงับ การอนุญาตฆ่าในพน้ื ท่ีเกิดโรคดังกล่าว ส่งผลให้จำนวนอาชญาบัตรของสกุ รลดลง ขณะเดยี วกันปริมาณมันสำปะหลังโรงงานลดลง เนือ่ งจากประสบปญี หาอทุ กภยั ในชว่ งปลายปีทผ่ี ่านมา ทา้ ใหผ้ ลผลิตไดร้ ับความเสยี หาย และพื้นท่ีเพาะปลูกลดลง สว่ นปริมาณ ผลผลติ ออ้ ยโรงงานลดลง เน่อื งจากขาดแคลนท่อนพันธุในการเพาะปลูก สำหรับดชั นผี ลผลติ ภาคอุตสาหกรรม หดตวั ร้อยละ -1.7 เมื่อเทยี บกบั เดือนเดียวกนั ของปีก่อน จากกำลังการผลิตของโรงงานในภาคอตุ สาหกรรมลดลง ตามปริมาณวัตถุดิบ (มันสำปะหลัง โรงงานและออ้ ยโรงงาน) ท่เี ช้าสู1โรงงานลดลง ขณะทดี่ ัชนีผลผลติ ภาคบรกิ าร ขยายตัวร้อยละ 0.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดยี วกนั ของปกี ่อน และขยายตัวจากเดอื นก่อนทห่ี ดตัวร้อยละ -28.8 จากภาครัฐเพิม่ กำลงั การใช้จ่ายของประซาซนผา่ นโครงการต่างๆ ได้แก่ โครงการเพ่มิ กำลงั ซอ้ื แก1ผมู้ บี ตั รสวสั ดีการแห่งรัฐ และผู้ตอ้ งการความช่วยเหลือเปน็ พเิ ศษ โครงการคนละคร่ึง เฟส 4 เพ่ือสนบั สนนุ รายไดข้ องธรุ กิจจากยอดขายสินค้าทงั่ ขายปลีกและขายส่งเพมิ่ ขน้ึ เครอ่ื งชีเ้ ศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน ปี 2564 Q1 ปี 2564 ปี 2565 Q2 Q3 Q4 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. YTD (Supply Side) (สดั ส่วนต่อ GPP) -3.6 32.3 46.0 -57.0 -16.3 -36.9 -18.3 -15.9 -17.4 ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม (%yoy) (โครงสร้างสัดสว่ น 26.0%) 2.0 -0.4 1.8 -0.2 7.5 1.1 -3.9 -1.7 -2.8 ดชั นผี ลผลิตภาคอุตสาหกรรม (%yoy) (โครงสร้างสัดส่วน 20.0%) 13.2 21.6 24.8 0.3 8.4 6.7 -28.8 0.6 -16.2 ดัชนผี ลผลติ ภาคบริการ (%yoy) (โครงสร้างสดั ส่วน 54.0%)

-2 - เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ สงค์ (การใชจ้ ่าย) พบว่า มสี ญั ญาณขยายตัวจากเดอื นเดียวกันของปีก1อน จากการใชจ้ า่ ยภาครฐั ขยายตวั ร้อยละ 35.8 เมือเทียบกับเดือนเดยี วกนั ของปกี 1อน เนอื งจากจังหวัดใหค้ วามสำคญั กบั การติดตามเรง่ รดั เบกิ จ่าย เงินงบบริ ะมาณของสว่ นราชการให้เป็นไปตามเบาิ หมาย ทำให้การเบิกจ่ายงบลงทนุ และงบประจำเพ่ิมขน้ึ การบริโภคภาคเอกซน ขยายตวั ร้อยละ 3.6 เมอื เทียบกบั เดือนเดียวกันของปกี 1อน ขยายตัวจากเดอื นก1อนทีห่ ดตัวร้อยละ -29.8 เปน็ ผลมาจากจำนวน รถยนต์นง่ั ส่วนบคุ คลจดทะเบียนใหม่ จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบยี นใหม่ และภาษมี ลู ค่าเพิ่มหมวดขายสง่ ขายปลกี ประกอบกบั มาตรการกระต้นุ การใชจ้ ่ายตามโครงการของภาครฐั สำหรบั การลงทนุ ภาคเอกซน ขยายตวั รอ้ ยละ 0.6 เมื่อเทียบกบั เดอื นเดยี วกนั ของปีก1อน ตามจำนวนรถยนต์เทือการพาณ ิชย์จดทะเบียนใหมเ่ พม่ิ ช่ืน จากกจิ การดา้ นการขนส่งพสั ดุ และส นิ เช่อื เท อื การลงท ุน เท มื ช่นื ตามการบิล1อยส ิน เซ ือดอกเชื่ยตาของธน าคารพ าณ ชิ ย์ เทือช1วยเหลือประซาซน และเพ่มิ สภาพคลอ่ งใหก้ ับผปู้ ระกอบการ เคร่ืองชี้เศรษฐกิจดา้ นอปุ สงค์ ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565 (Demand Side) Q1 Q2 Q3 Q4 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. YTD ดัชนีการบริโภคภาคเอกขน (%yoy) ดชั นกี ารลงทุนภาคเอกขน (%yoy) 10.7 18.8 19.2 -0.7 6.1 5.3 -29.8 3.6 -15.9 ดัชนีการใชจ้ า่ ยภาครฐั (%yoy) 3.7 5.1 3.3 3.2 3.2 3.4 3.8 0.6 2.2 2.2 -11.0 30.0 -1.4 -3.5 69.9 51.0 35.8 43.9 ด้านรายไดเ้ กษตรกรในจงั หวดั พบว่า รายได้เกษตรกรเดอื นน้ี หดตวั ร้อยละ -7.2 เมอื เทียบกับเดือนเดียวกนั ของปกี อ่ น เปน็ ผลมาจากปรมิ าณผลผลติ ภาคเกษตรกรรมโดยรวมหดตัว ตามจำนวนอาชญาบตั รของสกุ ร ปริมาณมนั สำปะหลงั โรงงาน และออ้ ยโรงงาน ขณะที่ราคาสินคา้ เกษตรโดยรวมยงั คงขยายตัว เม่อื เทยี บกับเดอื นเดยี วกันปีก่อน ด้านการเงนิ พบว่า สภาพคล่องในระบบสถาบนั การเงนิ ขยายตวั ตามปรมิ าณเงนิ ฝากรวมและสนิ เชือ่ รวม โดยปริมาณ เงินฝากรวม ขยายตัวรอ้ ยละ 7.8 เมอื เทยี บกับเดอื นเดียวกันของปีกอ่ น เนือ่ งจากประซาซนให้ความสนใจในการออม เพือ่ ความม่ันคง ในอนาคต สำหรับปรมิ าณสินเซ่อื รวม ขยายตวั รอ้ ยละ 0.4 เมอ่ื เทยี บกับเดือนเดยี วกันของปกี อ่ น ตามสนิ เชือ่ ครวั เรอื นของธนาคาร พาณชิ ย์ และสนิ เชื่อเพ่อื ชว่ ยเหลือผ้ปู ระกอบการท่ไี คร้ บั ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาด COVID -19 เครอ่ื งช้ดี า้ นรายไดเ้ กษตรกร ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565 และด้านการเงิน Q1 Q2 Q3 Q4 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. YTD ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร (%yoy) 0.5 42.3 43.7 -55.3 -10.2 -28.8 -5.0 -7.2 -6.4 ปรมิ าณเงินฝากรวม (%yoy) ปรมิ าณสินเขือ่ รวม (%yoy) 9.7 14.6 12.5 12.5 9.7 9.7 10.4 7.8 7.8 3.3 4.3 2.8 3.6 3.3 3.3 3.5 0.4 0.4 เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบวา่ อตั ราเงินเฟอ้ ทว่ั ไปของจังหวดั ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2565 อยทู่ รี่ ้อยละ 4.0 จากการเพม่ิ ข้นึ ของราคาหมวดอาหารและเคร่อื งดม่ื ได้แก่ เน้ือหมู เปด็ ไก1และสตั ว์'นา และหมวดไม1ใช่อาหารและเครอ่ื งดื่มไดแ้ ก่ หมวดพาหนะ การขนสง่ และการสื่อสาร สำหรับการจา้ งงานเดือนกุมภาพันธ์ 2565 เพมิ่ ขน้ึ อยทู่ ี่รอ้ ยละ6.1 เมือ่ เทยี บกบั เดือนเดียวกันของปกี ่อน จากความต้องการแรงงานในภาคบรกิ ารเพม่ิ ขึน้ เครอื่ งชี้เสถยี รภาพเศรษฐกจิ ปี 2564 Q1 ปี 2564 ธ.ค. ปี 2565 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD อตั ราเงินเฟ้อ (Inflation Rate) (%yoy) 1.7 -0.3 3.3 1.4 2.3 2.2 3.6 4.0 3.8 การจ้างงาน (Employment) (%yoy) 4.5 -1.3 0.7 7.6 11.1 11.1 6.1 6.1 6.1

-3 - ดา้ นการคลัง ในเดือนกมุ ภาพันธ์ 2565 พบวา่ ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณรวม มีจำนวนทง้ั สนิ้ 471.2 ลา้ นบาท เพ่มิ ขึ้น1 เท่า เม่ือเทียบกบั เดือนเดยี วกันของปกี ่อน เน่ืองจากสว่ นราชการเรง่ รดั เบิกจ่ายเงินงบบริ ะมาณเพิ่มขน้ึ จากการเบิกจา่ ย งบลงทุน และการเบิกจา่ ยงบประจำ สำหรบั ผลการจัดเกบ็ รายได้มีจำนวนทั้งสิ้น 295.9 ลา้ นบาท เพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 80.4 เมอ่ื เทยี บกับเดือนเดยี วกันของปีกอ่ น เป็นผลมาจากส่วนราชการอืน่ ๆ จัดเกบ็ รายได้ค่าปรบั และคา่ ธรรมเนียมอืน่ ๆ เพ่ิมขึน้ และสำนกั งานสรรพากรพ้นื ท่ีชยั ภูมิ จัดเก็บรายได้ภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา ภาษเี งนิ ได้นติ ิบุคคล ภาษมี ลู ค่าเพ่ิม อากรแสตมป็ เพ่ิมข้ึน สำหรบั ดุลเงนิ งบบิระมาณในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2565 ขาดดุลจำนวน -296.0 ล้านบาท สะทอ้ นบทบาทการคลังในการกระตุน้ เศรษฐกจิ ในประเทศ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) (FY) เคร่อื งช้ภี าคการคลัง Ql(FY) ธ.ค. 64 ม.ค. 65 ก.พ. 65 YTD (FY) พ.ศ. 2564 รายไดจ้ ดั เกบ็ (ล้านบาท) 2,073.3 982.1 239.0 367.1 295.9 1,645.1 (%yoy) 119.2 72.1 138.1 80.4 117.5 ความแตกต่างเทียบกบั ประมาณการ(ลา้ นบาท) 16.7 664.7 124.3 242.3 177.1 1,084.1 รอ้ ยละความแตกต่างเทยี บกบั ประมาณการ(%) 481.2 -32.3 -48.0 -34.0 -40.1 -34.1 รายได้นำสง่ คลัง (ลา้ นบาท) -76.8 752.1 167.8 257.7 175.2 1,185.0 (%yoy) 1,996.0 75.0 -2.0 57.0 28.4 61.1 รายจา่ ยรวม (ล้านบาท) 28.8 1,889.7 748.1 644.3 471.2 3,005.1 (%yoy) 7,623.5 9.6 98.0 82.6 136.8 24.6 ดลุ เงนิ งบประมาณ (ล้านบาท) 17.0 -1,137.6 -580.3 -386.6 -296.0 -1,820.2 -5,627.5 ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สะสมตง้ั แตต่ น้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นกุมภาพนั ธ์ 2565 หนว่ ย ะลา้ นบาท รายการ งบประมาณ ผลการเบิกจา่ ยจรงิ รอ้ ยละ เป้าหมาย ทีไ่ ด้รบั จัดสรร การเบิกจ่าย การเบกิ จา่ ย 1. รายจ่ายจริงปีงบประมาณปจี จุบนั (ร้อยละ) 1.1 รายจา่ ยประจำ 1.2 รายจ่ายลงทนุ 5,578.0 3,005.1 53.9 93.0 1,614.0 1,403.4 2. รายจา่ ยงบประมาณเหลอื่ มปี 3,964.0 1,601.7 87.0 98.0 2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1,181.8 837.1 1,181.8 837.1 40.4 75.0 3. รวมการเบิกจา่ ย (1+2) 6,759.8 3,842.2 70.8 70.8 56.8 ทม่ี า ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)

- 4- กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกบั เปา้ หมายการเบกิ จ่ายสะสมตง้ั แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 รอ้ ยละ ทมี่ า ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS) กราฟผลการเบกิ จ่ายงบประมาณงบลงทุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกบั เป้าหมายการเบิกจา่ ยสะสมตั้งแตต่ ้นปีงบประมาณจนถึงเดอื นกุมภาพันธ์ 2565 รอ้ ยละ 80 ✓ 75 7_ ° .✓ '6 5 60 , * ‘55 50 40^ -'46 40 30 40.4 2-9- ' 3 4 2 0 .0 1 F U - - 10 4-, ต.ค. 64 พ.ย. 64 ธ.ค. 64 ม.ค. 65 ก.พ. 65 ม.ค. 65 เม.ย. 65 พ.ค. 65 มิ.ย. 65 ก.ค. 65 ส.ค. 65 ก.ย. 65 .ผลการเบกิ จ่าย -------เปา้ หมาย ท่ีมา ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

- 5- ผลการเบกิ จา่ ยงบลงทุนของหน่วยงานทไ่ี ดร้ บั งบประมาณจัดสรรต้งั แต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท สะสมตงั้ แตด่ ้นปีงบประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 หน่วย ะล้านบาท ลำดบั หนว่ ยงาน งบประมาณท่ี กอ่ หนี้ รอ้ ยละการ ผลการ รอ้ ยละการ ได้รบั จดั สรร กอ่ หน้ี เบกิ จา่ ยจริง เบกิ จ่าย ที่ 1 สำนักงานทดี่ ินจงั หวัดชยั ภมู ิ 11.2 0.8 7.1 1.6 14.3 20.3 2 ทที่ ำการปกครองจงั หวดั ชยั ภูมิ 36.0 27.1 75.3 7.3 10.9 9.2 3 มหาวิทยาลยั การกฬี าแห่งชาติ วทิ ยาเขตชัยภมู ิ 45.8 0.6 1.3 5.0 13.7 0.0 4 องค์การบริหารส่วนจงั หวดั ชยั ภมู ิ 45.9 41.6 90.6 4.2 60.7 0.0 5 สถานพี ฒั นาทด่ี นิ จงั หวดั ชัยภูมิ 30.0 23.0 76.7 4.1 12.8 6 หน่วยงานในสังกัดสนง.ตำรวจแหง่ ชาติ 57.9 57.9 100.0 0.0 7 สนง.พระพุทธศาสนาจังหวัดชัยภูมิ 24.4 0.0 0.0 14.8 8 หนว่ ยงานในสงั กดั อาชีวศกึ ษา(รหน่วยเบิก) 37.8 5.7 15.1 0.0 รวม 289.0 156.7 54.2 37.0 รายจา่ ยลงทุนท้ังหมดท่ีไดไ้ ด้รับจดั สรร 3,964.0 คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.3 ทีม่ า ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS) หนว่ ยงานท่มี ีรายจา่ ยลงทนุ วงเงินตัง้ แต่ 10 ลา้ นบาท ถงึ 100 ลา้ นบาท จำนวน 8 หน่วยงาน รวมรายจา่ ยลงทนุ 289.0 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 7.3 ของงบรายจา่ ยลงทนุ ทไ่ี ดร้ ับจัดสรรท้ังหมด ผลการเบกิ จ่ายงบลงทุนของหน่วยงานท่ไี ดร้ บั งบประมาณจัดสรรต้งั แต่ 100 ลา้ นบาทขนึ้ ไป สะสมตั้งแต่ดน้ ปีงบประมาณจนถงึ เดอื นกมุ ภาพันธ์ 2565 หนว่ ย ะลา้ นบาท ลำดับ หนว่ ยงาน งบประมาณท่ี กอ่ หน้ี รอ้ ยละการ ผลการ รอ้ ยละการ ได้รบั จดั สรร กอ่ หนี้ เบิกจา่ ยจรงิ เบกิ จ่าย ที่ 1 หน่วยงานในสังกดั กระทรวงสาธารณสุข(4 หน่วยเบกิ ) 131.0 110.0 84.0 19.5 14.9 0.0 0.0 2 มหาวทิ ยาลัยราซภฏั ชยั ภมู ิ 145.0 0.0 0.0 68.6 18.9 20.0 4.9 3 สนง.สง่ เสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ จงั หวดั ชัยภูมิ 362.4 0.0 0.0 20.3 5.3 1,224.5 67.0 4 แขวงทางหลวงซนบทชยั ภมู ิ 407.8 369.3 90.6 1,352.9 41.5 5 แขวงทางหลวงชยั ภมู ิ 385.5 320.8 83.2 6 หนว่ ยงานในสงั กัดกรมชลประทาน(2 หนว่ ยเบิก) 1,827.0 283.1 15.5 รวม 3,258.7 1,083.2 33.2 รายจ่ายลงทนุ ทง้ั หมดทไี่ ดไ้ ดร้ ับจัดสรร 3,964.0 คิดเปน็ ร้อยละ 82.2 ที่มา ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS) หนว่ ยงานที่มีรายจ่ายลงทนุ วงเงินต้งั แต่ 100 ลา้ นบาทขน้ึ ไป จำนวน 6 หนว่ ยงาน รวมรายจา่ ยลงทุน 3,258.7 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.2 ของงบรายจ่ายลงทุนทไี่ ดร้ ับจดั สรรทง้ั หมด

6 เคร่อื งช้ภี าวะเศรษฐกิจการคลงั จังหวัด (Economic and Fiscal) รายเดือน ตารางท่ี 1 เครือ่ งชี้เศรษฐกจิ จงั หวดั จ 2564 จ 2565 เ ค ร ่อื ง ช เ้ี ศ ร ษ ฐ ก จิ จ งั ห ว ดั ห น ่ว ย จ 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ธ .ค . ม .ค . ก .พ . YTD เศรษฐกิจดา้ นอุปทาน % yoy -3.6 32.3 46.0 -57.0 -16.3 -36.9 -18.3 -15.9 -17.4 ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม เทียบกบั ปี พ.ศ. 2563 ตัน 145,149.1 0.0 0.0 0.0 145,149.1 14,121.5 0.0 0.0 0.0 (โครงสรา้ งสัดส่วน 26.0%) %yoy ตัน -6 0 . 6 0.0 0.0 0.0 -6 0 . 6 -6 1 . 8 0.0 0.0 0.0 ปริมาณผลผลติ ; ขา้ วเจ้านาปี %yoy ตัน 279,400.0 1,001,565.7 415,882.8 65,962.8 279,400.0 2,879.3 253,381.0 283,519.8 536,900.8 ปริมาณผลผลติ ; ขา้ วเหนยี วนาปี %yoy 57.0 57.0 2.2 ตัน 13.9 60.1 -6 7 . 2 -7 5 . 9 -1 9 . 1 -1 0 . 3 ปริมาณผลผลิต ; มันสำปะหลัง %yoy 2,190,140.0 2,853,297.3 259,574.8 706,728.7 1,207,619.0 โรงงาน ตัว 26.1 0.0 78.3 136,750.2 520,211.7 1,727,830.7 %yoy 57.8 25.9 -2 4 . 9 ปริมาณผลผลิต ; อ้อยโรงงาน ตัว 3,413,894.9 1,614 2,695 5,820 301,022.8 -3 1 . 2 -0 . 9 -1 9 . 0 %yoy 68.3 159.6 385.4 2,001.5 570 จา้ นวนอาชญาบตั ร ;โคเนื้อ 14,528 53.6 15,340 4,399 301,022.8 496 1,066 % yoy 221.3 25,400 256.5 2,001.5 -6 . 7 6.4 จา้ นวนอาชญาบตั ร ; สกุ ร 84,890 31,540 7.0 -4 9 . 1 12,610 1,389 3,191 -1 . 0 ลา้ น kwh 39.1 224.5 3,130 ดชั นผี ลผลิตภาคอุตสาหกรรม %yoy -1 9 . 7 -5 6 . 9 4,210 -6 9 . 9 6,321 เทียบกับปี พ.ศ. 2563 โรง -6 9 . 8 (โครงสร้างสัดสว่ น 20.0%) %yoy 2.0 7.5 -5 7 . 2 -1 . 7 -6 9 . 8 ปรมิ าณการใซไฟฟา้ ชอง ล้านบาท ภาคอตุ สาหกรรม %yoy 408.0 -0.4 1 .8 -0.2 99.9 1.1 -3 . 9 31.0 -2 . 8 จา้ นวนโรงงานอตุ สาหกรรม (ข้อมูลสะสม) % yoy -7 . 3 118.9 99.1 90.1 -0 . 8 35.1 29.4 -6 . 6 60.4 จา้ นวนทุนจดทะเนยี นโรงงาน 4.2 0.3 อุตสาหกรรม (ขอ้ มูลสะสม) ล้านบาท 405.0 -0 . 3 399.0 -3 . 4 405.0 405.0 -1 2 . 0 404 -9 . 3 ดชั นผี ลผลติ ภาคบริการ เทยี บกบั %yoy 2.5 1.8 2.5 2.5 2.3 ปี พ.ศ. 2563 (โครงสร้างสดั ส่วน คน 25,447.8 397.0 25,109.6 403.0 25,447.8 25,447.8 405.0 25,432.3 404 54.0%) %yoy 1.5 3.1 5.2 1.5 2.5 1.4 2.3 25,099.3 0.1 25,300.0 1.5 25,447.8 25,432.3 ยอดชายสินคา้ ทงั้ ปลีกและสง่ % yoy 13.2 1.1 8.4 1.5 0.6 1.4 -0 . 7 จ้านวนนกั ท่องเท่ียว คัน 5,305.4 24.8 0.3 1,187.1 6.7 -28.8 472.8 -16.2 %yoy 13.9 21.6 8.8 1.9 เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ คัน 202,458 72,222 9,325 918.5 ดัชนกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน %yoy 1,578.4 1,234.2 1,305.7 404.3 445.7 จ้านวนรถยนต์นง่ั สว่ นบคุ คล ลา้ น kwh -2 4 . 8 22.1 23.6 2.5 -7 . 9 6.8 -6 6 . 6 -1 5 . 8 จดทะเนยี นใหม่ %yoy 64,925 36,157 29,154 -2 8 . 9 จา้ นวนรถจกั รยานยนต์ ลา้ นบาท 10.7 6.1 31,725 3.6 23,338 จดทะเนียนใหม่ %yoy 2,447 -8 . 1 -7 5 . 7 492 1.7 14,013 267 ปรมิ าณการใซไฟฟ้าชองครวั เรอื น 7.1 23.0 -4 7 . 6 ท่อี ยู่อาศัย 12,697 -0 . 8 -1 5 . 9 1,175 ภาษมี ลู ค่าเพมิ่ หมวดชายปลีก 4.2 -15.9 ชายสง่ 1 4 .8 18.8 19.2 -0.7 3,092 5.3 -29.8 22.3 535 10.1 135 268 396.1 903 582 470 75.5 13.4 -3 2 . 8 -1 5 . 2 -1 3 . 1 15.9 16.4 -7 . 7 -1 6 . 3 3,696 3,847 2,062 -1 5 . 9 1,179 1,249 33.1 2,424 16.0 84.8 -3 0 . 9 9.2 10.3 1.8 7.3 371.4 83.1 21.4 20.3 42.6 13.8 109.7 119.4 91.5 8.8 -3 3 . 5 -1 0 . 9 -1 5 . 3 -2 3 . 3 -2 7 . 2 -4 6 . 3 64.3 110.5 86.4 91.4 28.3 31.2 6.8 -1 5 . 8 22.1 23.1 2.2 -2 8 . 9

7 ตารางที่ 1 เครอื่ งช้ีเศรษฐกิจจงั หวดั (ตอ่ ) ปี 2564 ปี 2565 เ ค ร อ่ื ง ข เ้ี ศ ร ษ ฐ ก ิจ จ งั ห ว ัด ห น ่ว ย ป ี 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ธ .ค . ม .ค . ก .พ . YTD ดัชนีการลงทุนภาคเอกขน %yoy 3.7 5.1 3.3 3.2 3.2 3.4 3.8 0.6 2.2 คัน 400 97 110 87 106 27 38 42 80 รถยนตเ์ พื่อการพาณชิ ยท์ ่ีจดทะเบยี นใหม่ %yoy 36.5 6.6 254.8 34.2 35.0 81.0 35.5 53.8 ตรม. 13,268.6 3,765.0 2,630.0 -5 . 4 3,838.0 1,403.0 1,382.0 1,153.0 2,535.0 พื้นท่อี นญุ าตก่อสร้างทั้งหมด %yoy ล้านบาท -9 . 7 -2 . 2 -9 . 2 3,035.6 -9 . 8 -5 . 3 -1 . 1 -7 . 8 -4 . 3 สนิ เชอื่ เพอื่ การลงทุน %yoy (ขอ้ มลู สะสม) %yoy 21,679.7 21,138.3 20,918.9 -1 7 . 6 21,679.7 21,679.7 21,933.9 21,290.4 21,290.4 ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครฐั ล้านบาท 3.3 4.3 2.8 3.3 3.3 3.5 0.4 0.4 %yoy 2.2 -11.0 30.0 21,310.3 -3.5 69.9 51.0 35.8 43.9 รายจา่ ยประจำ ลา้ นบาท 890.0 903.8 3.6 975.7 186.1 191.6 236.1 427.7 %yoy 3,699.2 19.3 -1.4 19.2 รายจ่ายลงทนุ -3 2 . 8 -3 4 . 6 -2 1 . 2 -2 8 . 6 235.1 -8 . 3 %yoy -1 3 . 2 1,143.6 1,196.7 71.6 ด้านรายได(้ เทcome) %yoy 587.8 45.5 20.3 913.9 562.0 452.7 687.8 ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร %yoy 3,809.4 234.0 1,164.1 301.0 296.6 410.9 204.9 41.2 ดัชนผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม ล้านบาท 42.3 -2 2 . 8 ดัชนรี าคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy 0.5 32.3 ด้านการเงนิ (Financial) ลา้ นบาท -3.6 7.5 43.7 -55.3 -10.2 -28.8 -5.0 -7.2 -6.4 ปริมาณเงินฝากรวม %yoy 4.2 (ข้อมลู สะสม) 63,256.4 46.0 -57.0 -16.3 -36.9 -18.3 -15.9 -17.4 ปรมิ าณสินเชอ่ื รวม %yoy 65,954.1 14.6 -1.6 3.8 7.3 12.9 16.4 10.4 13.3 (ข้อมลู สะสม) %yoy 9.7 ดา้ นเสถยี รภาพเศรษฐกิจ (Stability) %yoy 70,461.0 62,469.5 63,887.4 65,954.1 65,954.1 67,894.0 67,877.0 67,877.0 ดัชนรี าคาผบู้ รโิ ภคทัว่ ไป 72,265.6 4.3 12.5 12.5 9.7 9.7 10.4 7.8 7.8 (อัตราเงินเฟ้อท่ัวไป) %yoy 3.3 - อาหารและเครือ่ งดืม่ 99.3 69,729.6 71,034.3 72,265.6 72,265.6 73,113.0 70,968.0 70,968.0 - ไมใชอ่ าหารและเคร่อื งดืม่ %yoy 101.6 -0.3 2.8 3.6 3.3 3.3 3.5 0.4 0.4 ดชั นรี าคาผบู้ ริโภคพื้นฐาน คน 1.7 (อตั ราเงนิ เฟอ้ พืน้ ฐาน) %yoy -3 . 1 100.7 100.7 101.5 101.4 102.8 103.3 103.1 ดัชนรี าคาผผู้ ลติ -3 . 0 3.3 1.4 2.3 2.2 3.6 4.0 3.8 (อัตราการเปลยี่ นแปลง) -2 . 2 2.6 3.3 2.9 1.6 -2 . 1 -3 . 9 -2 . 9 -2 . 8 4.5 4.7 4.6 การจา้ งงาน (Employment) 100.5 100.2 101.2 101.5 101.4 3.9 2.1 2.7 2.8 1.3 1.1 1.2 -0 . 9 -1 . 5 100.4 100.5 100.8 101.0 107.4 103.2 105.3 8.7 3.9 6.3 102.3 99.5 - 1.0 -0 . 7 -0 . 2 0.0 4.7 0.7 480,289e 480,289e 480,289e 473,423 452,822 101.6 102.6 105.5 105.7 4.5 5.4 5.1 7.7 7.7 6.1 6.1 6.1 -1 . 3 453,680 484,503 502,685 502,685 0.7 7.6 11.1 11.1 จm nm w i : ข้อมลู ตาม ปฏิทิน (ม.ค. 2564 - ธ.ค. 2564) Q1 คือ ยอดสะสมตั้งแต่เดอื นมกราคม ถึงเดอื นมินาคม (ม.ค. - ป.ี ค. 2564) Q2 คอื ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดอื นเมษายน ถงึ เดอื นมถิ ุนายน (เม.ย. - มิ.ย. 2564) Q3 คือ ยอดสะสมตง้ั แตเ่ ดือนกรกฎาคม ถงึ เดือนกนั ยายน (ก.ค. - ก.ย. 2564) Q4 คือ ยอดสะสมตงั้ แต่เดือนตลุ าคม ถึงเดือนธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2564) e ดอื estimate (ประมาณการ)

8 ตารางที่ 2 เครือ่ งช้ีภาคการคลงั ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) พ.ศ. 2564 (FY) เคร่อื งซืภ๊ าคการคลงั หน่วย Ql(FY) ธ.ค. 64 ม.ค. 65 ก.พ. 65 YTD (FY) รายไดจ้ ัดเกบ็ 2,073.3 295.9 สรรพากรพนื้ ที่ชัยภมู ิ ล้านบาท 16.7 982.1 239.0 367.1 80.4 1,645.1 สรรพสามิตพนื้ ทช่ี ยั ภูมิ %yoy 1,501.6 119.2 72.1 138.1 142.1 117.5 ธนารักษพ์ ืน้ ท่ชี ยั ภูมิ ล้านบาท 12.2 291.2 84.0 128.0 25.4 561.3 หน่วยราชการอ่นื ๆ %yoy 27.0 -12.4 -13.8 12.2 4.2 0.2 รายไดน้ ำสง่ คลัง ล้านบาท -41.3 14.1 4.3 5.2 -74.9 23.5 รายจา่ ยเงินงบประมาณ %yoy 14.7 50.0 -113.9 1.6 53.6 ดลุ เงินงบประมาณ ล้านบาท -13.5 5.1 - 5.1 -20.0 8.7 %yoy 530.0 96.2 0.9 77.8 147.6 70.6 ล้านบาท 41.6 671.7 - 232.3 368.6 1,051.6 %yoy 1,996.0 547.1 149.8 524.5 175.2 498.6 ลา้ นบาท 28.8 752.1 312.7 257.7 28.4 1,185.0 %yoy 7,623.5 75.0 167.8 57.0 471.2 61.1 ล้านบาท 17.0 1,889.7 -2.0 644.3 136.8 3,005.1 %yoy -5,627.5 9.6 748.1 82.6 -296.0 24.6 ลา้ นบาท -1,137.6 98.0 -386.6 -1,820.2 -580.3 m nm w i : FY คอื ป'ี รบประมาณ (ต.ค. 2564 - ก.ย. 2565) Q1 คอื ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดอื นตุลาคม ถงึ เดือนธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2564) Q2 คือ ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดือนมกราคม ถงึ เดอื นปีนาคม (ม.ค. - ปี.ค. 2565) Q3 ดือ ยอดสะสมตั้งแต่เดือนเมษายน ถึงเดือนมิถนุ ายน (เม.ย. - ป.ี ย. 2565) Q4 ดอื ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน (ก.ค. - ก.ย. 2565)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook