Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ March 2022

Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ March 2022

Description: Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ March 2022

Search

Read the Text Version

w it t W s M jp n n w n R n f o f f lm R r g fr เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ จ ้ ' ' ง ท ว ั ด ซ ั ย ภ ู ฆ ิ ใ น เ ด ื อ น JJ น ๆ ค น 2 5 6 5 * I ท ด ต ัว - 1 1 . 4 % จากดำน การผลิตลดลง ตามกาด!กษตรกรรม กาดบริการ และกาคอดสาหกรรม ประกอบกับดำนการใช่'จ่ายรวม ของจงั หวดั ลดลงตามการบริโภคกาด!อกซนขณะท่กี ารใชจ่ ่ายกาดรฐั และการลงทนกาด!อกซนขยบั ตัวสงู ขึน้ คาพการผลิค -22.4 %%r6\\ 1^ ค้าพการ?โยจ้ า่ ย -0.8% ภ าด เก ,ช’®ไรกรโรม -35.6% = ร การโบรโิ ภคภาคเอกจ!‘น. -23.1% จาภป ริผ ารนผ ลผ ลิต ผ ัน สำปะนลัง จาภ'ปริผาณภาร1ใf พ้ไฟ'ฟ้าดรัจเรือน โ ร ง ง า น ล ๑ ลง เน ื่อ ง จ า ภ ป ร ะ ส บ ปีญนาอุ'ทภภัยโน6ช่จงปลาย ปี'ที่ผ่านผา ที่อยู่อาศัย ภาษีผูลด่าเพื่ผนผจด6ขายสง่ ' ท ำ โ น ้ผ ล ผ ล ิต ไ ต ้ร ับ ด จ า ผ เส ีย น า ย ฃายปลีภ จำนจนรภ?เนต์จ๑'ทะเบี?!นโนผ่ ป ระภ อ บ ภ ับ จำน จน อ า6ช ญ าบัตรสุภร และรภจัภรยานยนต์ จ๑'ทะเบี ยนในผ่ แ ล ะโด เน ื้อ ล ๑ ลง (รไส'3 ’ I. โ. 1rcs0ภาคบรกิ าร -21.8% การใ^จา่ ยภ าค ร§ิ 81.6% จาภยอ๑ฃายสินดา'ทังปสีภและส่ง v y เ น ื่อ ง จ า ภ ส ่จ น ร า 6ช ภ า ร เ ร ่ง ร ั๑ ล๑ลง เนื่องจาภประจภ6ชนระผั๑ระจัง เบีภ จ่ายเงินงบประผ าภเงบรายจ่าย ภารโ'ช้จ่าย อย่างไรภ็ตาผภาดรัฐยังดงผี ลง'ทุน และงบรายจ่ายประจำเพ ิ่ผฃิ้น ผาตรภารเพื่ผภำลังภารใข้จ่าย โ น ้เ ป ีน ไ ป ต า ผ เ ป ีา น ผ า ย ฃ อ ง ไ ต ร ผ า ส ฃองรรภิจเพ ื่ผ ช ื่น ๐ท ี่2 ภาคอ®ไสา‘บเกรโรโม -17.3% การกร'ทนภาด!,อกจm 4.8% จ า ภ ภ ำ ล ัง ภ า รผ ล ิต ฃ อ ง โรง ง าน จาภสีนเชื่อเพ ื่อภารลง'ทุนเพ ื่ผชื่น โน ภ าด อุต ส าน ภ รรผ ล ๑ ลง ต าผ ป ริผ าภ เจต สุ๑ บ (ผ ันสำป ะนลัง ต าผ ภ ารป ล่อย ส ิน เช ื่อ๑ อภ เบ ี้ยต ํ่า 0^ โรงงาน) ท ี่เข ้าส ู่โรงงาน ล ๑ ลง ฃองรนาดารพ ารนิ6ชย์ เพ ื่อ6ช่จยเนลิอ ^ f ๑านทาร/วน Q ๐และเพื่ผสภาพดล่องโน้ภับผู้ประภอบภาร คานฟ!)ขรภา'พ อ ้ต ร ๆ เง ิน เพ !อ 4 . 1 % กๆรจำงงาน 6.1% จาภภารเพื่ผชื่นฃองราดา ดจาผ1ต้องภ ารแรงงาน ภาดภารภ่อสร้างเพ ผฃ็ เผั ๑เผั เข้นผผ่ภจแ๑ล_อะผา'นลๆา*รแลนะผเดจ_รๆื่อง!<๑?ผ ไต้แภ ่ ■_อานา_รแล_ะ ' เดรื่อง๑ ผ ไต้แภ่ นผฺจ๑พานนะ ' ๕ - ^ ภาร'ขนสง และภารสอสาร สำ!?กงาHทลนั จังพวัคชัยภูบิ ชแ ๆ ศาลากลานจังVรวัคชยั ภู!? อ.เยือง จ.ชยั ภบู ิ 36๐๐๐ สฟ์า้ นกั งานคกลังจงั หทวักชัย้ ภมู1J [email protected]

รายงาน!ภาวะเศ๚ษฐกจ)การคลุ จเ^งห วี V n * '* ฉบับท่ี 3/2565 รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวัดชยั ภูมิ ประจำเดอื นมนี าคม 2565 “เครอ่ื งช้ีเศรษฐกิจจงั หวดั ในเดอื นมนี าคม 2565 บง่ ซเี้ ศรษฐกจิ โดยรวมมสี ัญญาณหดตวั เมือ่ เทียบกบั เดอื นเดียวกันของปกี ่อน เป น็ ผ ล จาก เครอื งข ี,่ เศรษ ฐก ิจดา้ นอปุ หานหดตัว จากภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ และภาคอุตสาหกรรม ด้านอุปสงคห์ ดตวั จากการบริโภคภาคเอกซน ขณะท่ีการใช้จา่ ยภาครัฐ และการลงทุนภาคเอกซน ขยายตัว สำหรบั ด้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ จงั หวัด อตั ราเงินเฟ้อท่วั ไปของจังหวดั ปรบั เพ่ิมข้นึ และดา้ นการจ้างงานขยายตัว เม่อื เทียบกบั เดอื นเดียวกันฃองปกี ่อน เศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (การผลิต) พบวา่ มสี ัญญาณหดตวั จากเดอื นเดียวกันของปีก1อน สะท้อนจากดชั นีผลผลิต ภาคเกษตรกรรม หดตัวรอ้ ยละ -35.6 เมอ่ื เทียบกบั เดือนเดียวกนั ของปกี อ่ น และปรับตวั ลดลงต่อเน่ืองจากเดอื นกอ่ นทหี่ ดตวั รอ้ ยละ -15.9 จากปรมิ าณมันสำปะหลงั โรงงานลดลง เน่ืองจากประสบปีญหาอทุ กภัยในชว่ งปลายปที ผ่ี า่ นมา ทำใหผ้ ลผลติ ไดร้ ับ ความเสยี หาย และพนื้ ทเ่ี พาะปลกู ลดลง ขณะเดียวกนั เกิดโรคระบาดในสตั ว์ ซง่ึ กรมปศุสตั ว์ไดร้ ะจับการอนญุ าตฆา่ ในพื้นที่ ที่เกิดโรคตังกล่าว สง่ ผลใหจ้ ำนวนอาชญาบัตรของสกุ รและโคเน้ือลดลง สำหรบั ดชั นีผลผลิตภาคบริการ หดตวั รอ้ ยละ -21.8 เมื่อเทยี บกบั เดือนเดยี วกนั ของปกี 1อน และหดตัวจากเดอื นก่อนทข่ี ยายตัวร้อยละ 0.6 จากยอดขายสนิ คา้ ท่ังปลกี และส่งลดลง เน่ืองจากประซาซนระมดั ระวังการใช้จ่าย อย่างไรก็ตาม ภาครัฐมมี าตรการเพิ่มกำลังการใชจ้ า่ ยของประซาซนผ่านโครงการต่างๆ ได้แก่ โครงการเพม่ิ กำลงั ซือ้ แก1ผู้มบี ตั รสวัสดกี ารแหง่ รฐั และผู้ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเปน็ พเิ ศษ โครงการคนละคร่ึง เฟส 4 เพือ่ สนบั สนนุ รายไดข้ องธุรกิจเพมิ่ ข้ึน และดชั นีผลผลติ ภาคอุตสาหกรรม หดตวั ร้อยละ -17.3 เมื่อเทยี บกับเดือนเดียวกนั ของปกี อ่ น จากกำลังการผลติ ของโรงงานในภาคอตุ สาหกรรมลดลง ตามปรมิ าณวตั ถดุ ิบ (มนั สำปะหลงั โรงงาน) ทีเ่ ชา้ สโู่ รงงานลดลง เครอ่ื งช้ีเศรษฐกิจด้านอุปทาน ปี 2564 Q1 ปี 2565 YTD ม.ค. ก.พ. ร.ค. -23.3 (Supply Side) (สดั ส่วนตอ่ GPP) -8.3 -3.6 -23.3 -18.3 -15.9 -35.6 -18.0 ดัชนผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม (%yoy) (โครงสรา้ งสดั สว่ น 26.0%) 2.0 -8.3 -3.9 -1.7 -17.3 ดัชนีผลผลติ ภาคอุตสาหกรรม (%yoy) (โครงสร้างสัดสว่ น 20.0%) 13.2 -18.0 -28.8 0.6 -21.8 ดัชนผี ลผลิตภาคบริการ (%yoy) (โครงสรา้ งสัดส่วน 54.0%)

- 2- เศรษฐกิจด้านอปุ สงค์ (การใช้จ่าย) พบวา่ มีสัญญาณหดตวั จากเดือนเดยี วกันของปีก่อน จากการบริโภคภาคเอกซน หดตวั ร้อยละ -23.1 เมื่อเทยี บกับเดือนเดียวกนั ของปกี อ่ น หดตัวจากเดอื นกอ่ นทขี่ ยายตัวรอ้ ยละ 3.6 เป็นผลมาจากปรมิ าณการใช้ ไฟฟ้าครัวเรือนท,ี อยอู่ าศัย ภาษีมลู ค่าเพ่ิมหมวดขายสง่ ขายปลกี จำนวนรถยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ และรถจักรยานยนต์จดทะเบียน ใหมล่ ดลง ขณะทกี่ ารใชจ้ ่ายภาครฐั ขยายตัวรอ้ ยละ 81.6 เม่ือเทยี บกับเดอื นเดียวกนั ของปกี อ่ น เนอ่ื งจากจงั หวดั ให้ความสำคญั กับการตดิ ตามเรง่ รดั เบิกจา่ ยเงินงบประมาณของสว่ นราชการใหเ้ ปน็ ไปตามเบาี หมายของไตรมาสท่ี 2 ทำให้การเบิกจ่ายงบลงทุน และงบประจำเพม่ิ ขน้ึ สำหรับการลงทนุ ภาคเอกซน ขยายตัวร้อยละ 4.8 เม่ือเทียบกบั เดอื นเดียวกนั ของปีกอ่ น ตามการเพิ่มขึ้นของสนิ เชอื่ เพือ่ การลงทุน จากการปลอ่ ยสนิ เชื่อดอกเบี้ยต่าํ ฃองธนาคารพาณชิ ย์ เพ่ือช่วยเหลอื และเพมิ่ สภาพคล่องให้กบั ผปู้ ระกอบการ เครือ่ งช้ีเศรษฐกจิ ดา้ นอปุ สงค์ ปี 2564 Q1 ปี 2565 YTD (Demand Side) ม.ค. ก.พ. ร.ค. -18.2 3.1 ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกขน (%yoy) 10.7 -18.2 -29.8 3.6 -23.1 63.5 ดัชนกี ารลงทุนภาคเอกขน (%yoy) ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครัฐ (%yoy) 3.7 3.1 3.8 0.6 4.8 2.2 63.5 51.0 35.8 81.6 ดา้ นรายไดเ้ กษตรกรในจงั หวดั พบวา่ รายไดเ้ กษตรกรในเดอื นบ้ี หดตัวร้อยละ -21.2 เม่อื เทียบกบั เดอื นเดยี วกัน ของปกี ่อน เป็นผลมาจากปรมิ าณผลผลติ ภาคเกษตรกรรมโดยรวมหดตัว ตามปริมาณมันสำปะหลงั โรงงาน จำนวนอาชญาบตั ร ของสกุ รและโคเนอื้ ขณะทรี่ าคาสินค้าเกษตรโดยรวมยังคงขยายตวั ซึ่งเปน็ ไปตามกลไกของตลาด ดา้ นการเงิน พบว่า สภาพคล1องในระบบสถาบนั การเงินขยายตวั ตามปริมาณเงินฝากรวมและสินเขือ่ รวม โดยปรมิ าณเงินฝากรวม ขยายตวั รอ้ ยละ 7.5 เมอื่ เทียบกบั เดอื นเดยี วกันของปกี ่อน เนือ่ งจากประซาซนใหค้ วามสนใจในการออม เพ่ือความมนั่ คงในอนาคต สำหรับปรมิ าณสนิ เซอื่ รวม ขยายตวั ร้อยละ 5.0 เมอื เทยี บกบั เดือนเดียวกนั ของปกี อ่ น ตามสนิ เชือ่ ครวั เรือนของธนาคารพาณิชย์ และสินเชื่อเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระกอบการท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID -19 เครือ่ งชดี้ ้านรายได้เกษตรกร ปี 2564 Q1 ปี 2565 YTD และด้านการเงนิ ม.ค. ก.พ. ร.ค. -11.0 7.5 ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกร (%yoy) 0.5 -11.0 -5.0 -7.2 -21.2 5.0 ปริมาณเงนิ ฝากรวม (%yoy) ปรมิ าณสนิ เชือ่ รวม (%yoy) 9.7 7.5 10.4 7.8 7.5 3.3 5.0 3.5 0.4 5.0 เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบวา่ อัตราเงินเฟอ้ ทว่ั ไปของจงั หวัด ในเดือนมีนาคม 2565 อย่ทู ี่รอ้ ยละ 4.1 จากการเพ่ิมขนึ้ ของราคาหมวดอาหารและเครอื งดืมไดแ้ ก่ ผกั และผลไม้และหมวดไม1ใช่อาหารและเครืองดมื ได้แก่ หมวดพาหนะการขนสง่ และการสอ่ื สาร สำหรับการจา้ งงานเดอื นมีนาคม 2565 เพิ่มขึ้นอยทู่ ่ีรอ้ ยละ 6.1 เม่อื เทยี บกบั เดือน เดียวกนั ของบิกอ่ น จากความต้องการแรงงานในภาคการก่อสร้างเพ่ิมขนึ้ เครื่องช้ีเสถยี รภาพเศรษฐกิจ ปี 2564 Q1 ปี 2565 YTD 3.9 ม.ค. ก.พ. ร.ค. 3.9 อตั ราเงนิ เฟ้อ (Inflation Rate) (%yoy) 1.7 6.1 3.6 4.0 4.1 6.1 การจา้ งงาน (Employment) (%yoy) 4.5 6.1 6.1 6.1

- 3- ด้านการคลัง ในเดอื นมนี าคม 2565 พบว่า ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณรวม มีจำนวนทั้งส้นิ 1,448.1 ล้านบาท เพ่มิ ขนึ้ ร้อยละ 84.2 เมือเทยี บกบั เดอื นเดียวกันของปีกอ่ น เนือ่ งจากสว่ นราชการเร่งรดั เบิกจ่ายเงนิ งบประมาณเพ่ิมขนึ้ จากการเบิกจา่ ย งบลงทนุ และงบประจำให้เป็นไปตามเปาี หมายของไตรมาสท่ี 2 สำหรบั ผลการจดั เกบ็ รายไดม้ ีจำนวนทัง้ สนิ้ 497.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2 เท่า เม่อื เทยี บกับเดือนเดยี วกนั ของปกี อ่ น เปน็ ผลมาจากส่วนราชการอ่นื ๆ จัดเก็บรายได้คา่ ปรบั และคา่ ธรรมเนียมอื่น ๆ เพิม่ ขน้ึ ประกอบกับสำนกั งานสรรพากรพ้นื ทีช่ ัยภมู ิ จดั เกบ็ รายได้เพ่มิ ขึ้นจากภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ภาษเี งินได้นิติบคุ คล ภาษมี ลู คา่ เพิ่ม อากรแสตมป็ และสำนกั งานสรรพสามิตพื้นทชี่ ัยภมู ิ จัดเก็บรายได้เพมิ่ ขึ้นจากภาษสี รุ า ภาษยี าสบู และรายไดเ้ บด็ เตลด็ สำหรับดุลเงนิ งบประมาณในเดอื นมนี าคม 2565 ขาดดลุ จำนวน -1,109.5 ล้านบาท สะทอ้ นบทบาทการคลงั ในการกระต้นุ เศรษฐกจิ ในประเทศ เครอ่ื งชี้ภาคการคลงั ปีงบประมาณ Ql(FY) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) YTD (FY) Q2(FY) ม.ค. 65 ก.พ. 65 ม.ี ค. 65 (FY) 982.1 2,142.7 พ.ศ. 2564 119.2 125.6 664.7 1,581.7 รายไดจ้ ัดเก็บ (ล้านบาท) 2,073.3 -32.3 1,160.6 367.1 295.9 497.6 -26.2 (%yoy) 16.7 752.1 154.2 138.1 80.4 242.7 1,523.6 ความแตกตา่ งเทียบกับประมาณการ(ล้านบาท) 481.2 75.0 1,035.8 242.3 177.1 342.3 71.1 รอ้ ยละความแตกต่างเทยี บกับประมาณการ(%) -76.8 1,889.7 -10.8 -34.0 -40.1 -31.2 4,453.3 รายได้นำสง่ คลัง (ลา้ นบาท) 1,996.0 9.6 771.5 257.7 175.2 338.6 39.3 (%yoy) 28.8 -1,137.6 152.4 57.0 28.4 191.1 -2,929.7 รายจ่ายรวม (ลา้ นบาท) 7,623.5 2,563.6 644.3 471.2 1,448.1 (%yoy) 17.0 79.9 82.6 136.8 84.2 ดุลเงินงบประมาณ (ลา้ นบาท) -1,792.1 -386.6 -296.0 -1,109.5 -5,627.5 ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สะสมต้งั แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถงึ เดอื นมีนาคม 2565 หน่วย ะลา้ นบาท รายการ งบประมาณ ผลการเบิกจ่ายจรงิ ร้อยละ เป้าหมาย ที่ไดร้ ับจดั สรร การเบกิ จ่าย การเบกิ จา่ ย 1. รายจ่ายจริงปีงบประมาณปจี จุบัน (ร้อยละ) 1.1 รายจา่ ยประจำ 1.2 รายจา่ ยลงทุน 6,800.2 3,982.2 58.6 93.0 2,400.7 1,895.8 2. รายจา่ ยงบประมาณเหลื่อมปี 4,399.5 2,086.4 79.0 98.0 2.1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1,189.6 940.7 1,189.6 940.7 47.4 75.0 3. รวมการเบิกจ่าย (1+2) 7,989.8 4,922.9 79.1 79.1 61.6 ท่มี า ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

4- - กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกับเปา้ หมายการเบิกจ่ายสะสมตัง้ แต่ต้นปงี บประมาณจนถงึ เดือนมนี าคม 2565 รอ้ ยละ ที่มา ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณงบลงทนุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกบั เปา้ หมายการเบิกจ่ายสะสมตงั้ แตต่ ้นปงี บประมาณจนถงึ เดือนมีนาคม 2565 รอ้ ยละ 80 75 70 65 60 * 50 .< ^ 5 5 40 4 7 . 4 4 P -.-''* 46 30 ■4 ^ < 20 10 0 ต.ค. 64 พ.ย. 64 ธ.ค. 64 ม.ค. 65 ก.พ. 65 มี.ค. 65 เม.ย. 65 พ.ค. 65 มิ.ย. 65 ก.ค. 65 ส.ค. 65 ก.ย. 65 .ผลการเบกิ จ่าย -------เป้าหมาย ที่มา ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

5- - ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของหน่วยงานท่ีได้รับงบประมาณจัดสรรตง้ั แต่ 10 ล้านบาท ถึง 100 ลา้ นบาท สะสมตง้ั แต่ดน้ ปงี บประมาณจนถงึ เดอื นมนี าคม 2565 หนว่ ย ะล้านบาท ลำดบั หน่วยงาน งบประมาณ ก่อหน้ี รอ้ ยละการ ผลการ รอ้ ยละการ ที่ ทไี่ ดร้ บั กอ่ หน้ี เบิกจ่าย เบกิ จ่าย จัดสรร 1 สำนกั งานท่ดี ินจงั หวัดชัยภูมิ จรงิ 14.3 2 ท่ีทำการปกครองจังหวดั ชัยภมู ิ 11.2 37.7 3 มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ วทิ ยาเขตชยั ภมู ิ 35.8 8.2 73.2 1.6 12.2 4 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ชยั ภมู ิ 45.8 34.0 5 สถานพี ัฒนาท่ดี นิ จังหวัดชัยภมู ิ 45.9 22.2 62.0 13.5 45.9 6 หน่วยงานในสังกัดสนง.ตำรวจแห่งชาติ 44.2 4.8 7 สนง.พระพุทธศาสนาจงั หวดั ชยั ภมู ิ 57.9 1.4 3.0 5.6 91.8 8 หน่วยงานในสังกัดอาชีวศึกษา (5หน่วยเบกิ ) 24.4 0.0 37.8 30.3 66.0 15.6 27.0 รวม 303.0 รายจ่ายลงทนุ ทงั้ หมดท่ีได้ได้รับจัดสรร 4,399.5 10.4 23.5 20.3 คดิ เป็นร้อยละ 6.9 55.1 95.2 2.8 0.0 0.0 22.4 32.9 87.0 0.0 160.5 53.0 81.8 ท่ีมา ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุน วงเงินต้ังแต่ 10 ล้านบาท ถงึ 100 ล้านบาท จำนวน 8 หนว่ ยงาน รวมรายจ่ายลงทนุ 303.0 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.9 ของงบรายจ่ายลงทุนท่ีได้รับจดั สรรท้งั หมด ผลการเบิกจ่ายงบลงทนุ ของหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณจดั สรรตั้งแต่ 100 ลา้ นบาทขึน้ ไป สะสมต้งั แตด่ ้นปีงบประมาณจนถงึ เดอื นมนี าคม 2565 หน่วย ะล้านบาท ลำดับ หน่วยงาน งบประมาณ กอ่ หน้ี รอ้ ยละการ ผลการ ร้อยละการ ทไี่ ด้รับ ก่อหนี้ เบกิ จ่าย เบกิ จ่าย ที่ จัดสรร จริง 1 หน่วยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ (4 หนว่ ยเบกิ ) 131.0 63.9 48.8 66.3 50.6 2 มหาวทิ ยาลัยราซภัฏชยั ภมู ิ 145.0 3.7 2.6 0.0 0.0 3 สนง.ส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ินจังหวัดชยั ภูมิ 362.4 0.0 0.0 141.5 39.0 4 แขวงทางหลวงซนบทชัยภมู ิ 412.8 251.2 60.9 142.6 34.5 5 แขวงทางหลวงชัยภมู ิ 388.9 180.1 46.3 173.9 44.7 6 หน่วยงานในสงั กัดกรมชลประทาน (2 หนว่ ยเบกิ ) 1,865.1 380.7 20.4 1,297.0 69.5 รวม 3,305.2 879.6 26.6 1,821.3 55.1 รายจ่ายลงทนุ ทั้งหมดทไี่ ดไ้ ด้รับจัดสรร 4,399.5 คิดเป็นรอ้ ยละ 75.1 ทม่ี า ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) หนว่ ยงานท่ีมีรายจ่ายลงทนุ วงเงนิ ตั้งแต่ 100 ลา้ นบาทข้ึนไป จำนวน 6 หนว่ ยงาน รวมรายจา่ ยลงทนุ 3,305.2 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.1 ของงบรายจา่ ยลงทนุ ทไี่ ดร้ ับจดั สรรทงั้ หมด

6 เครื่องชภี้ าวะเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวดั (Economic and Fiscal) รายเดอื น ตารางที่ 1 เคร่อื งช้เี ศรษฐกิจจังหวดั เคร่อื งขเ้ี ศรษฐกิจจงั หวดั หนว่ ย จ2564 Q1 ปี 2565 ม.ี ค. YTD เศรษฐกิจดา้ นอปุ ทาน ม.ค. ก.พ. ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม เทียบกบั ปี พ.ศ. 2563 %yoy -3.6 -23.3 -18.3 -15.9 -35.6 -23.3 (โครงสรา้ งสดั สว่ น 26.0%) ตัน 145,149.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ วเจ้านาปี %yoy -60.6 - - - - - ปริมาณผลผลติ : ขา้ วเหนียวนาปี 0.0 0.0 ตนั 279,400.0 0.0 0.0 0.0 ปริมาณผลผลิต : มันสำปะหลงั โรงงาน - - %yoy 57.0 - - - 120,813.3 657,714.1 ปริมาณผลผลติ : อ้อยโรงงาน ตัน 2,190,140.0 657,714.1 253,381.0 283,519.8 -70.0 -34.3 จำนวนอาชญาบัตร : โคเนอ 899,101.3 2,626,932.0 %yoy 26.1 -34.3 2.2 -19.1 จ0านวนอาชญาบตั ร : สุกร 25.0 -7.9 ดัชนีผลผลติ ภาคอุตสาหกรรม ตัน 3,413,894.9 2,626,932.0 1,207,619.0 520,211.7 414 1,480 เทียบกบั ปี พ.ศ. 2563 -22.9 -8.3 (โครงสรา้ งสัดส่วน 20.0%) %yoy 68.3 -7.9 -24.9 -0.9 3,337 9,658 -68.5 -69.4 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าชองภาคอุตสาหกรรม ตัว 14,528 1,480 570 496 จำนวนโรงงานอตุ สาหกรรม (ขอ้ มูลสะสม) %yoy 221.3 -8.3 -6.7 6.4 จำนวนทนุ จดทะเนยี นโรงงานอุตสาหกรรม (ข้อมลู สะสม) ตัว 84,890 9,658 3,130 3,191 ดัชนีผลผลติ ภาคบริการ เทียบกบั ปี พ.ศ. 2563 (โครงสร้างสดั สว่ น 54.0%) %yoy -19.7 -69.4 -69.8 -69.9 ยอดชายสนิ ค้าทง้ั ปลีกและสง่ %yoy 2.0 -8.3 -3.9 -1.7 -17.3 -8.3 จ0านวนนักทอ่ งเทย่ี ว เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ สงค ลา้ น kwh 408.0 94.4 29.4 31.0 34.0 94.4 ดชั นีการบรโิ ภคภาคเอกชน -7.3 -20.6 -12.0 -6.6 -35.0 -20.6 จำนวนรถยนตน์ ั่งส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ %yoy 405 404 405 404 404 404 2.5 1.8 2.5 2.3 1.8 1.8 จำนวนรถจกั รยานยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ โรง 25,447.8 25,541.0 25,447.8 25,432.3 25,541.0 25,541.0 1.5 1.8 1.5 1.4 1.8 1.8 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าชองครัวเรือนทอ่ี ยูอ่ าศัย %yoy 13.2 -18.0 -28.8 0.6 -21.8 -18.0 ภาษีมลู คา่ เพม่ิ หมวดชายปลกี ชายส่ง ลา้ นบาท 5,305.4 1,297.0 445.7 472.8 378.5 1,297.0 %yoy 13.9 -17.8 -28.9 1.9 -22.3 -17.8 202,458 46,391 14,013 9,325 23,053 46,391 %yoy -24.8 -28.5 -15.9 -66.6 13.3 -28.5 ลา้ นบาท %yoy คน %yoy %yoy 10.7 -18.2 -29.8 3.6 -23.1 -18.2 228 763 คนั 2,447 763 268 267 -20.6 -15.5 1,282 3,706 %yoy 7.1 -15.5 -32.8 23.0 -10.7 0.3 27.3 69.9 คัน 12,697 3,706 1,249 1,175 -40.1 -36.3 26.5 90.8 %yoy 14.8 0.3 10.3 4.2 -22.3 -17.8 ล้าน kwh 396.1 69.9 20.3 22.3 %yoy -16.3 -36.3 -46.3 -15.2 ล้านบาท 371.4 90.8 31.2 33.1 %yoy 13.8 -17.8 -28.9 1.8

7 ตารางท่ี 1 เครือ่ งช้เี ศรษฐกจิ จงั หวัด (ตอ่ ) เครื่องข้ีเศรษฐกจิ จังหวัด หนว่ ย จ 2564 Q1 ม.ค. จ 2565 ม.ี ค. YTD 3.1 ดัชนีการลงทุนภาคเอกขน %yoy 3.7 115 3.8 ก.พ. 4.8 3.1 คนั 400 18.6 38 35 115 รถยนต์เพื่อการพาณิชยท์ ี่จดทะเบียนใหม่ %yoy 36.5 3,635.0 81.0 0.6 -22.2 18.6 ตรม. 13,268.6 -3.5 1,382.0 42 1,100.0 3,635.0 พื้นทีอ่ นุญาตก่อสร้างทัง้ หมด %yoy -9.7 22,195.9 -1.1 35.5 -1.5 -3.5 ลา้ นบาท 21,679.7 5.0 21,933.9 1,153.0 22,195.9 22,195.9 สินเช่ือเพอื่ การลงทนุ %yoy 3.3 63.5 3.5 -7.8 5.0 5.0 (ข้อมลู สะสม) %yoy 2.2 1,156.1 21,290.4 ดัชนกี ารใช้จา่ ยภาครัฐ ล้านบาท 3,699.2 29.9 51.0 0.4 81.6 63.5 %yoy -13.2 1,407.5 191.6 728.4 1,156.1 รายจา่ ยบรี ะจำ ล้านบาท 3,809.4 139.5 -28.6 35.8 71.9 29.9 %yoy 41.2 452.7 236.1 719.7 1,407.5 รายจา่ ยลงทนุ -11.0 410.9 19.2 98.7 139.5 %yoy 0.5 -23.3 235.1 ดัานรายได(ั เทcome) %yoy -3.6 16.1 71.6 ดชั นีรายได้เกษตรกร %yoy 4.2 68,007.1 -5.0 -7.2 -21.2 -11.0 ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม ลา้ นบาท 65,954.1 7.5 -18.3 -15.9 -35.6 -23.3 ดชั นีราคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy 9.7 16.4 10.4 22.3 16.1 ดา้ นการเงิน (Financial) ลา้ นบาท 73,986.3 ปรมิ าณเงินฝากรวม %yoy 72,265.6 5.0 67,894.0 67,877.0 68,007.1 68,007.1 (ข้อมูลสะสม) 3.3 10.4 7.8 7.5 7.5 ปรมิ าณสินเชือ่ รวม %yoy 103.2 (ข้อมลู สะสม) %yoy 101.6 3.9 73,113.0 70,968.0 73,986.3 73,986.3 ดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกจิ (Stability) %yoy 1.7 2.8 3.5 0.4 5.0 5.0 ดัชนรี าคาผู้บริโภคทัว่ ไป -3.0 5.0 (อตั ราเงินเฟอ้ ทั่วไป) %yoy 1.6 101.4 102.8 103.3 103.5 103.2 - อาหารและเคร่ืองดื่ม 100.5 1.2 3.6 4.1 - ไมใ่ ชอ่ าหารและเครือ่ งดืม่ %yoy -0.9 108.2 2.6 4.0 2.4 3.9 ดัชนรี าคาผ้บู รโิ ภคพน้ื ฐาน คน 102.3 8.7 4.5 3.3 5.7 2.8 (อตั ราเงนิ เฟ้อพนื้ ฐาน) %yoy 4.7 480,289e 101.2 4.7 101.6 5.0 ดชั นีราคาผู้ผลติ 473,423 6.1 1.3 101.5 1.3 101.4 (อตั ราการเปล่ียนแปลง) 4.5 107.4 1.1 112.0 1.2 8.7 105.3 11.4 108.2 การจา้ งงาน (Em ploym ent) 480,289e 6.0 480,289e 8.7 6.1 480,289e 6.1 480,289e 6.1 6.1 จm nm w i : ข้อมูลตาม ปฏิทนิ (ม.ค. 2565 - ธ.ค. 2565) Q1 คอื ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดือนมกราคม ถงึ เดอื นมนิ าคม (ม.ค. - ปี.ค. 2565) Q2 คือ ยอดสะสมตัง้ แต่เดอื นเมษายน ถงึ เดอื นมถิ ุนายน (เม.ย. - ม.ิ ย. 2565) Q3 คอื ยอดสะสมต้งั แตเ่ ดือนกรกฎาคม ถงึ เดือนกันยายน (ก.ค. - ก.ย. 2565) Q4 คอื ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดอื นตุลาคม ถงึ เดอื นธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2565) e ดอื estimate (ประมาณการ)

8 ตารางที่ 2 เครอื่ งชี้ภาคการคลงั เครื่องซืภ๊ าคการคลัง หน่วย ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) รายไดจ้ ัดเกบ็ พ.ศ. 2564 (FY) ลา้ นบาท Ql(FY) Q2(FY) ม.ค. 65 ก.พ. 65 มี.ค. 65 YTD สรรพากรพนื้ ที่ชยั ภมู ิ 2,073.3 สรรพสามติ พ้นื ทชี่ ัยภูมิ %yoy 982.1 1,160.6 367.1 295.9 497.6 2,142.7 ธนารักษ์พนื้ ทีช่ ยั ภูมิ 16.7 119.2 138.1 80.4 242.7 หน่วยราชการอืน่ ๆ ล้านบาท 1,501.6 291.2 154.2 128.0 142.1 180.4 125.6 รายไดน้ ำสง่ คลงั 12.2 450.5 12.2 25.4 55.1 รายจ่ายเงินงบประมาณ %yoy -12.4 5.2 4.2 6.2 741.7 ดุลเงนิ งบประมาณ 27.0 14.1 23.2 -74.9 128.5 3.0 ลา้ นบาท -113.9 -41.3 50.0 15.6 5.1 1.6 2.0 29.7 %yoy 14.7 5.1 96.2 217.1 77.8 -20.0 - 86.6 ลา้ นบาท -13.5 232.3 671.7 4.2 147.6 310.4 9.3 %yoy 530.0 -54.3 524.5 547.1 690.3 368.6 1,112.5 63.2 ล้านบาท 41.6 257.7 752.1 797.7 57.0 175.2 338.6 1,362.0 %yoy 1,996.0 75.0 28.4 191.1 28.8 1,889.7 771.5 644.3 471.2 1,448.1 554.5 ลา้ นบาท 7,623.5 136.8 84.2 9.6 152.4 82.6 1,523.6 %yoy 17.0 -386.6 -296.0 -1,109.5 -5,627.5 -1,137.6 2,563.6 71.1 ลา้ นบาท 79.9 4,453.3 %yoy 39.3 -1,792.1 ล้านบาท -2,929.7 m nm w i : FY คอื ป'ี รบประมาณ (ต.ค. 2564 - ก.ย. 2565) Q1 คือ ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดอื นตลุ าคม ถงึ เดอื นธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2564) Q2 คือ ยอดสะสมตงั้ แตเ่ ดอื นมกราคม ถงึ เดือนปีนาคม (ม.ค. - ป.ี ค. 2565) Q3 ดอื ยอดสะสมต้ังแตเ่ ดอื นเมษายน ถึงเดอื นมิถุนายน (เม.ย. - ปี.ย. 2565) Q4 ดือ ยอดสะสมตง้ั แต่เดอื นกรกฎาคม ถึงเดอื นกันยายน (ก.ค. - ก.ย. 2565)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook