Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ June 2022

Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ June 2022

Description: Chaiyaphum Economic & Fiscal report @ June 2022

Search

Read the Text Version

0น'น16>@'เ1**ช'ุ10ซเ4 2565 M nagg ffflmninmแแแแแแทแ!> ๚เ' พุ่1JS W vVkVll ,tF3fw rr^i ๙■jJzxL iisil ■1 Ifc- ^ S P ir _ R 1 a K ^ |451 iพ1. i M a l i mfr■ พเฒ ร ฺฒ | aE -fr=รg ='E==j f i ฃBาAฌMNนETจิ N(AนROรNงGด ลกนกงานคสงั จ^ั วฺดช็ ยภม

เศ รษ ฐ ก ิจ จ งั ฑ วดํ ช ยั ภ อู ใน เด อื น 3 . 5 ° 0 จากดานการผลิตเพมฃน ดามกาดบรกิ าร ประกอบกบั ดานการ1#จ่ายรวม!พบขน ตามการบริโกดกาดเอกซน และการลงทนุ กาดเอกซน ค ้า H m s ผ ล ิต 2 . 8 % ค า้ H ก า ร ใ ช ้จ ่า ย ภ า ภ ‘น ? ภ า ร : 5 . 0 % 73ภ า ร : ‘บ ? โ ภ ภ ภ า ภ ! .อ ภ * พ น . . % จากการtil©**1ลาอ} 1\"®รการบองก’ I ๐ ภ า ร ภ พ น .ภ า ภ !.อ ภ * พ น . 3 .5 % !นบ๘ร ะ ’ <า31โพว® -T9 นละการส่ง;๙5} I จาก 'ล ่’ 4 เรอ่ ;’ฟ ้อ ก า ร ล ง ’า’ ทไฟ}้ เร่’ 4 !ฑอ่ :Iท©่ี วโ’ ทเงหว'® ส่งโ,เลโ#จำ’ ท ' 4 รท ) เก า ร บ ล อ่ อ 'ล ่’ .เร อ่ ® อ ก ;’'3เอ8ร่า ท่องเท ี่อว นละยอ®ขายล'14พ้า*างบรกแร ข อ ง ร ’ 4าพ าร’ เท 1าขอ่ เ’ฟ อ้ ฟ ว้ อ ;ห ล ่อ น ล ะ ;’ฟ้}เสทา’ แพล่องโ#ล่'’ เ:แบระก© ’ 'ก า ร จ“ก ก ‘ ร;ก รโ่ รพ ระ’ ก©&<ส่3เว กร', [บพุสั'31 จ ง ร ะ 3'’ I ก า ร ฆ า่ น ล ะ ; 3 ง จ ® ห า ว ้พ 3 ฟ อ้ พ ว ’ เพ}เโรพ r 1“ .ห จ ํ-’ 4ว ’ .อ า ช i 1Jา ท ุ31 [ ก ร น ล ะ โ พ ; ’i อ ล ® ล ง บ ร ะ ก อ ’ เล่ ' Iล - ล ่31i n . ส ่า TJะ ห ล '่ 'ง 'โ ร ง ง า ’ .ล ® ล ร่อ ง จ า ก ข '® น พ ล ’ 1ท อ ’ 1’ เท. ร ุ่ จ า ก ล '่ ล '่ ง ก “ ร - ล่'ป้เของโรงงา’ 4 โ ’ .ท าพ อ ุ® ล าห ก รร}เล ® ล ง ร ท แ บ ร } ท แ เ ว®ท®ุ ท |)ท 4 ส ำป ะห ส งั โ รง ง า’ 4เ ท ี่;ฟ า้ ส่ ๑ 'T U ก า ร เอ น ๐ ( 3 © า น ล ่ร บ ร ก า พ 4.8% อตั รฺ าเงนิ เผอ 6.5% การจ้างงาน 'ป ? ม า ก น 3 ‘น ฝ า ก 6 จ “ก ก \"ร;’'ฟ}้ เร่’ .'ของร“พาห} ท®อ-ห-■ร น ละเพ รอ่ ]๙ )เไส'ั แล่ หรท๙ ! 'กนละ:,เล&เ ห8ท®เพเร©่ งบ’ะ ก อ ’ เอาห าร V8 ท©เ’ร่อส'ั ® ว เ?)® ท าพ ’ ไ ล ่ นละสั'®ว’ !า หรท©งเโฟอ้ “ห 'ร น ล ะ เพ ร อ่ ง ๙ }I ไสนั ก, หรท®*น (ไห!a: ก'•รข’ 4ส่ง นละกาว-ิ ลอ่ ส-ร^ ส า่ พ ัก น า พ ฅ ส ง่ จ ัน ห ว ดั ซ ข ก พ ั U H 1 £ 1 า ก า ก ล า ง จ ัน ห ว ัด อ . I H อ ง ป .ี ซ ข ก พ ั สาฟก้ ง1า น พ 5fเชยภม cm [email protected]

ร า ย ง า น ! ภ า ว ะ เ ศ ๚ ษ ฐ ก จ ) ก า ร ค ุล จ เ ^ ง ห ว ี V n * '* ฉบับท่ี 6/2565 รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจงั หวัดชัยภูมิ ประจำเดือนมิถุนายน 2565 “เครือ่ งชเ้ี ศรษฐกิจจงั หวดั ในเดอื นมิถนุ ายน 2565 บ่งช้เี ศรษฐกจิ โดยรวมมสิ ญั ญาณขยายตวั เมือ่ เทียบกบั เดอื นเดยี วกนั ของปกี อ่ น เปน็ ผลจากเครือ่ งช้ีเศรษฐกิจด้านอุปทาน ขยายตวั จากภาคบรกิ าร ด้านอุปสงค์ขยายตวั จากการบรโิ ภคภาคเอกซน และการลงทุนภาคเอกซน สำหรับด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจจงั หวัด อตั ราเงินเฟอ้ ท่ัวไปของจังหวดั ปรบั เพิม่ ขนึ้ และด้านการจ้างงานขยายตวั เมอื่ เทยี บกับเดอื นเดยี วกันของปกี ่อน เศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน (การผลติ ) พบวา่ มสี ญั ญาณขยายตวั จากเดือนเดียวกันของปีกอ่ น สะท้อนจากดัชนผี ลผลติ ภาคบรกิ าร ขยายตวั ร้อยละ 5.0 เมอื่ เทยี บกับเดอื นเดยี วกนั ของปีก่อน เนื่องจากการผอ่ นคลายมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาด โควิด -1 9 และการส่งเสริมการทอ่ งเท่ยี วในจังหวดั สง่ ผลให้จำนวนนกั ท่องเที่ยว และยอดขายสนิ คา้ ท่ังปลีกและส่งเพมิ่ ขึ้น ขณะที่ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม หดตัวร้อยละ -39.3 เมื่อเทยี บกบั เดอื นเดียวกันของปกี ่อน และปรับตัวลดลงจากเดือนกอ่ น ท่ีหดตัวร้อยละ -12.3 จากสถานการณโ์ รคระบาดในสตั ว์ กรมปศุสตั ว์ไดแ้ จง้ ระงับการฆ่าและเร่งจดั หาวัคซีนเพ่ิมเพื่อควบคุมโรค ส่งผลใหจ้ ำนวนอาชญาบัตรของสกุ รและโคเนือ้ ลดลง ขณะเดยี วกันปรมิ าณผลผลติ มันสำปะหลังโรงงานลดลง เนื่องจากขาดแคลน ท่อนพันธุ ประกอบกับมีฝนตกหลายพื้นที่สง่ ผลให้ผลผลิตมเี ช้อื แป้งลดลง และดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม หดตวั รอ้ ยละ -7.6 เมอ่ื เทยี บกับเดือนเดียวกันของปีกอ่ น และปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนทห่ี ดตัวร้อยละ -5.9 จากกำลงั การผลิตของโรงงาน ในภาคอุตสาหกรรมลดลง ตามปริมาณวัตถดุ บิ (มันสำปะหลังโรงงาน) ทเี่ ข้าสโู่ รงงานลดลง เครอ่ื งช้เี ศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน ปี 2564 Q1 ปี 2565 (Supply Side) (สัดส่วนตอ่ GPP) Q2 เม.ย. พ.ค. มิ.ย. YTD ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม (%yoy) -3.6 -23.3 -9.9 7.0 -12.3 -39.3 -20.4 (โครงสร้างสดั ส่วน 11.0%) ดชั นผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม (%yoy) 2.0 -8.3 -7.0 -7.5 -5.9 -7.6 -7.7 (โครงสรา้ งสดั ส่วน 35.0%) ดัชนีผลผลิตภาคบริการ (%yoy) 13.3 -18.0 9.7 18.9 7.1 5.0 -5.9 (โครงสร้างสัดส่วน 54.0%)

- 2- เศรษฐกิจดา้ นอุปสงค์ (การใชจ้ า่ ย) พบวา่ มีสัญญาณขยายตวั จากเดือนเดยี วกันของปกี ่อน จากการบริโภคภาคเอกซน ขยายตวั ร้อยละ 7.3 เมือ่ เทยี บกับเดือนเดยี วกนั ของปีกอ่ น เปน็ ผลมาจากจำนวนรถยนตน์ ่ังสว่ นบุคคลจดทะเบียนใหม่ รถจักรยานยนต์ จดทะเบียนใหม่ และภาษมี ูลคา่ เพ่ิมหมวดขายปลกี ขายส่งเพิ่มข้ึน และการลงทนุ ภาคเอกซน ขยายตัวรอ้ ยละ 3.5 เม่ือเทียบกบั เดือนเดียวกัน ของปกี ่อน จากสนิ เชื่อเพือ่ การลงทนุ เพ่ิมขน้ึ ตามการปล่อยสนิ เชอื่ ดอกเบีย้ ตาํ่ ของธนาคารพาณชิ ย์ เพือ่ ชว่ ยเหลือและเพม่ิ สภาพคลอ่ ง ให้กบั ผู้ประกอบการ ขณะทก่ี ารใชจ้ า่ ยภาครฐั หดตวั ร้อยละ -6.7 เมอื่ เทยี บกบั เดือนเดยี วกันของปกี อ่ น เนอ่ื งจากการเบิกจา่ ย รายจ่ายงบลงทุนลดลง เครอ่ื งชีเ้ ศรษฐกิจด้านอุปสงค์ ปี 2564 ปี 2565 มิ.ย. YTD (Demand Side) Q1 Q2 เม.ย. พ.ค. 7.3 -6.8 10.7 -18.2 7.7 9.5 6.7 3.5 3.5 ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกขน (%yoy) 3.7 3.1 3.9 3.4 4.8 -6.7 43.2 ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกขน (%yoy) 2.2 63.5 27.7 146.1 -39.7 ดชั นีการใช้จา่ ยภาครัฐ (%yoy) ดา้ นรายได้เกษตรกรในจังหวัด พบวา่ รายได้เกษตรกรในเดอื นน้ี หดตัวรอ้ ยละ -25.9 เมอื่ เทยี บกับเดือนเดียวกัน ของปกี อ่ น เปน็ ผลมาจากบจี จัยดา้ นปริมาณสนิ คา้ เกษตรโดยรวมลดลง ด้านการเงนิ พบว่า สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงนิ ขยายตวั ตามปริมาณเงนิ ฝากรวมและสินเชื่อรวม โดยปรมิ าณเงินฝากรวม ขยายตวั รอ้ ยละ 6.2 เมือ่ เทียบกับเดือนเดยี วกันของปกี ่อน เนอ่ื งจากประซาซนใหค้ วามสนใจในการออม เพอื่ ความมัน่ คงในอนาคต สำหรับปริมาณสินเซอื่ รวม ขยายตวั ร้อยละ 3.6 เมือ่ เทียบกบั เดือนเดยี วกนั ของปีกอ่ น ตามสนิ เช่อื ครวั เรือนของธนาคารพาณิชย์ และสนิ เชอ่ื เพอ่ื ชว่ ยเหลอ่ ผ้ทู ีไ่ ด้รับผลกระทบจากการแพรร่ ะบาด COVID - 19 เคร่ืองชด้ี ้านรายไดเ้ กษตรกร ปี 2564 Q1 ปี 2565 YTD และด้านการเงิน Q2 เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. -5.6 6.2 ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร (%yoy) 0.5 -11.0 9.1 31.1 4.1 -25.9 3.6 ปริมาณเงินฝากรวม (%yoy) ปริมาณสนิ เชอ่ื รวม (%yoy) 9.7 7.5 6.2 10.2 8.2 6.2 3.3 5.0 3.6 3.9 4.7 3.6 เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบว่า อตั ราเงนิ เฟ้อท่ัวไปของจงั หวัด ในเดอื นมิถนุ ายน 2565 อยู่ท่รี อ้ ยละ 6.5 จากการเพม่ิ ขน้ึ ของราคาหมวดอาหารและเครื่องดมื่ ไดแ้ ก่ หมวดผกั และผลไม้ หมวดเคร่ืองประกอบอาหาร หมวดเนื้อสตั ว์ เป็ด ไก1และสตั ว์'นา หมวดข้าว แปง้ และผลติ ภัณฑ์จากแป้ง หมวดไม1ใชอ่ าหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ หมวดพาหนะ การขนสง่ และการส่ือสาร สำหรบั การจ้างงาน เดอื นมิถนุ ายน 2565 เพิ่มขึ้นอยทู่ ร่ี อ้ ยละ 4.8 เม่อื เทยี บกบั เดือนเดยี วกันของปกี ่อน ตามความต้องการแรงงานในภาคบริการเพิม่ ข้ึน เครือ่ งชเ้ี สถยี รภาพ เศรษฐกจิ ปี 2564 Q1 ปี 2565 YTD 3.9 Q2 เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 4.6 อัตราเงนิ เฟอ้ (Inflation Rate) (%yoy) 1.7 -2.9 5.3 4.1 5.2 6.5 1.0 การจา้ งงาน (Employment) (%yoy) 4.5 4.8 4.8 4.8 4.8

- 3- ดา้ นการคลัง ในเดือนมถิ ุนายน 2565 พบวา่ ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณรวม มีจำนวนท้ังสนิ้ 735.0 ลา้ นบาท ลดลง รอ้ ยละ -12.9 เมอื่ เทยี บกบั เดอื นเดยี วกันของปีกอ่ น จากการเบิกจา่ ยงบลงทนุ ลดลง สำหรบั ผลการจัดเกบ็ รายไดม้ จี ำนวนทงั้ สิน้ 321.7 ล้านบาท เพิม่ ข้ึนรอ้ ยละ 53.0 เม่ือเทยี บกบั เดอื นเดยี วกนั ของปกี ่อน เปีนผลมาจากส่วนราชการอ่นื ๆ จดั เก็บรายได้ค่าปรบั และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ เพมิ่ ขึ้น ประกอบกบั สำนกั งานสรรพสามติ พื้นที่ชัยภมู ิ จดั เก็บรายไดเ้ พิ่มข้ึนจากภาษสี ุรา และสำนกั งาน ธนารกั ษพ์ นื้ ท่ีชยั ภมู ิ จดั เก็บรายไดเ้ พิ่มขึน้ จากคา่ ธรรมเนยี มเบด็ เตล็ด และคา่ เข่าอสงั หาริมทรพั ย์ สำหรบั ดลุ เงนิ งบประมาณ ในเดือนมิถุนายน 2565 ขาดดลุ จำนวน -513.7 ล้านบาท สะท้อนบทบาทการคลงั ในการกระตุ้นเศรษฐกจิ ในประเทศ เครอ่ื งช้ภี าคการคลัง ปงี บประมาณ Ql(FY) Q2(FY) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) มิ.ย. YTD (FY) Q3(FY) เม.ย. พ.ค. (FY) พ.ศ. 2564 321.7 3,155.8 53.0 115.0 รายไดจ้ ัดเกบ็ (ลา้ นบาท) 2,073.3 982.1 1,160.6 1,013.1 362.6 328.8 145.8 1,988.6 (%yoy) 16.7 119.2 154.2 93.8 122.5 126.6 -54.7 -37.0 ความแตกต่างเทียบลับประมาณการ(ล้านบาท) 481.2 664.7 761.8 562.2 233.3 183.0 221.3 2,195.7 รอ้ ยละความแตกต่างเทียบลบั ประมาณการ(%) -76.8 -32.3 -34.4 -44.5 -35.7 -44.3 18.5 58.5 รายไดน้ ่าส่งคลงั (ลา้ นบาท) 1,996.0 752.1 771.5 672.1 234.6 216.2 735.0 7,275.0 (%yoy) 28.8 75.0 152.4 124.2 34.2 62.2 -12.9 38.7 รายจา่ ยรวม (ล้านบาท) 1,889.7 2,563.6 2,821.7 1,703.9 382.8 -513.7 -5,079.3 (%yoy) 7,623.5 9.6 79.9 60.5 191.2 -38.1 ดุลเงนิ งบประมาณ (ล้านบาท) 17.0 -1,137.6 -1,792.1 -2,149.6 -1,469.3 -166.6 -5,627.5 ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สะสมต้งั แตต่ น้ ปีงบประมาณจนถึงเดือนมิถุนายน 2565 หนว่ ย ะล้านบาท รายการ งบประมาณ ผลการเบิกจ่ายจรงิ ร้อยละ เปา้ หมาย ทไี่ ด้รับจดั สรร การเบกิ จ่าย การเบกิ จ่าย 1. รายจ่ายจรงิ ปงี บประมาณปีจจบุ นั (ร้อยละ) 1.1 รายจา่ ยประจำ 1.2 รายจา่ ยลงทุน 7,552.8 5,609.9 74.3 93.0 3,134.3 2,705.5 2. รายจา่ ยงบประมาณเหลอื่ มปี 4,418.5 2,904.4 86.3 98.0 2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1,205.1 1,040.7 1,205.1 1,040.7 65.7 75.0 3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 8,757.9 6,650.6 86.4 86.4 75.9 ท่มี า ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

4- - กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกบั เปา้ หมายการเบิกจา่ ยสะสมต้ังแต่ต้นปงี บประมาณจนถงึ เดือนมถิ ุนายน 2565 ร้อยละ 100 8^«* 93 90 80 70 ^■ 7*•2‘'74.3 60 50 40 30 20 10 10 0 ต.ค. 64 พ.ย. 64 ธ.ค. 64 ม.ค. 65 ก.พ. 65 ม.ี ค. 65 เม.ย. 65 พ.ค. 65 มิ.ย. 65 ก.ค. 65 ส.ค. 65 ก.ย. 65 ------- ผลการเบิกจ่าย------- เป้าหมาย ทมี่ า ะรายงาน MIS จากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS) กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณงบลงทุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจา่ ยสะสมตัง้ แตต่ น้ ปีงบประมาณจนถึงเดอื นมถิ นุ ายน 2565 รอ้ ยละ ทีม่ า ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

5- - ผลการเบิกจา่ ยงบลงทนุ ของหน่วยงานทไี่ ด้รับงบประมาณจัดสรรตง้ั แต่ 10 ล้านบาท ถงึ 100 ล้านบาท สะสมตั้งแตด่ ้นปีงบประมาณจนถงึ เดอื นมถิ นุ ายน 2565 หนว่ ย ะลา้ นบาท ลำดับ หน่วยงาน งบประมาณ กอ่ หน้ี ร้อยละ ผลการ รอ้ ยละ ที่ ท่ไี ดร้ บั การก่อหนี้ เบิกจ่าย การเบิกจา่ ย 1 ทที่ ำการปกครองจังหวัดชยั ภมู ิ จัดสรร จริง 2 มหาวิทยาลัยการกีฬาแหง่ ชาติ วิทยาเขตชยั ภมู ิ 3 องค์การบริหารส่วนจงั หวัดชยั ภมู ิ 35.7 13.8 38.7 21.4 59.9 4 สถานีพฒั นาทีด่ นิ จังหวดั ชยั ภมู ิ 5 หน่วยงานในสงั กดั สนง.ตำรวจแห่งชาติ 45.8 20.3 44.3 6.9 15.1 6 สนง.พระพุทธศาสนาจงั หวดั ชยั ภูมิ 7 หน่วยงานในสังกัดอาชวี ศึกษา (5 หนว่ ยเบิก) 45.9 11.1 24.2 34.7 75.6 รวม 48.2 2.8 5.8 43.2 89.6 รายจา่ ยลงทนุ ท้งั หมดทไี่ ดร้ ับจดั สรร คิดเป็นรอ้ ยละ 57.9 48.9 84.5 9.0 15.5 24.4 0.0 0.0 24.4 100.0 35.7 33.4 93.6 2.3 6.4 293.6 130.3 44.4 141.9 48.3 4,418.5 6.6 ทมี่ า ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) หน่วยงานท่ีมีรายจา่ ยลงทนุ วงเงนิ ต้งั แต่ 10 ลา้ นบาท ถงึ 100 ล้านบาท จำนวน 7 หนว่ ยงาน รวมรายจา่ ยลงทนุ 293.6 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 6.6 ของงบรายจ่ายลงทนุ ทีไ่ ดร้ บั จัดสรรทงั้ หมด ผลการเบกิ จ่ายงบลงทุนของหนว่ ยงานทีไ่ ดร้ บั งบประมาณจดั สรรตัง้ แต่ 100 ลา้ นบาทขึ้นไป สะสมตัง้ แต่ดน้ ปีงบประมาณจนถงึ เดือนมถิ นุ ายน 2565 หนว่ ย ะลา้ นบาท ลำดับ หน่วยงาน งบประมาณ ก่อหน้ี ร้อยละ ผลการ รอ้ ยละ ท่ไี ด้รับ การก่อหนี้ เบิกจ่าย การเบกิ จา่ ย ที่ จดั สรร จรงิ 1 หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ (4 หนว่ ยเบกิ ) 130.1 45.5 35.0 84.6 65.0 15.8 10.9 3.7 2.6 2 มหาวิทยาลยั ราซกัฏชัยภมู ิ 145.0 0.0 0.0 284.7 78.7 74.4 17.5 340.6 80.1 3 สนง.ส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ินจงั หวัดชัยภมู ิ 361.8 90.0 22.9 285.4 72.7 286.9 15.2 1,483.7 78.8 4 แขวงทางหลวงซนบทชยั ภมู ิ 425.0 512.6 15.4 2,482.7 74.4 5 แขวงทางหลวงชัยภมู ิ 392.6 6 หนว่ ยงานในสงั กดั กรมชลประทาน (2 หนว่ ยเบกิ ) 1,883.5 รวม 3,338.0 รายจ่ายลงทุนท้งั หมดท่ไี ดร้ ับจัดสรร 4,418.5 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.5 ท่ีมา ะรายงาน MIS จากระบบการบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) หน่วยงานทีม่ รี ายจา่ ยลงทุน วงเงินต้ังแต่ 100 ลา้ นบาทข้ึนไป จำนวน 6 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน 3,338.0 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 75.5 ของงบรายจา่ ยลงทุนท่ีได้รบั จัดสรรทั้งหมด

6 เครือ่ งช้ีภาวะเศรษฐกิจการคลังจงั หวดั (Econom ic and Fiscal) รายเดือน ตารางท่ี 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจจงั หวัด เครอื่ งขีเ้ ศรษฐกจิ จงั หวดั หนว่ ย จ 2564 Q1 Q2 จ 2565 มิ.ย. YTD เม.ย. พ.ค. -3.6 -23.3 -9.9 -39.3 -20.4 เศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน %yoy 7.0 -12.3 ดชั นีผลผลิตภาคเกษตรกรรม 145,149.1 0.0 0.0 0.0 0.0 เทยี บกบั ปี พ.ศ. 2563 ตัน -60.6 - - 0.0 0.0 - - (โครงสร้างสดั สว่ น 26.0%) 0.0 0.0 0.0 0.0 %yoy 279,400.0 - - - - - - ปริมาณผลผลติ : ขา้ วเจ้านาปี 57.0 657,714.1 458,776.0 0.0 0.0 50,800.0 1,116,490.1 ตัน -34.3 10.3 -38.3 -21.2 ปริมาณผลผลติ : ขา้ วเหนียวนาปี 2,190,140.0 2,626,932.0 87,590.0 - - 0.0 2,714,522.0 %yoy 26.1 -7.9 -66.3 190,122.5 217,853.5 - -12.8 ปรมิ าณผลผลติ : มนั สำปะหลังโรงงาน 1,480 1,443 580 2,923 ตัน 3,413,894.9 -8.3 -46.5 95.0 -7.7 -52.1 -32.2 ปริมาณผลผลิต : อ้อยโรงงาน 68.3 9,658 11,421 87,590.0 3,673 21,079 %yoy 14,528 -69.4 -55.0 -66.3 0.0 -41.7 -63.0 จำนวนอาชญาบตั ร :โคเนอ้ื 221.3 ตนั 84,890 -8.3 -7.0 212 - -7.6 -7.7 จ0านวนอาชญาบัตร : สกุ ร -19.7 -71.2 651 %yoy 94.4 79.7 3,818 -13.2 22.5 174.1 ดัชนีผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม 2.0 -20.6 -19.6 -62.4 -22.7 -20.1 เทยี บกบั ปี พ.ศ. 2563 ตัว 404 401 3,930 401 401 (โครงสรา้ งสดั ส่วน 20.0%) 408.0 1.8 0.5 -56.1 0.5 0.5 %yoy -7.3 25,541.0 25,535.0 25,535.0 25,535.0 ปรมิ าณการใข้ไฟฟ้าชองภาคอตุ สาหกรรม 405 1.8 1.7 -7.5 -5.9 1.7 1.7 ตวั 2.5 จำนวนโรงงานอตุ สาหกรรม 25,447.8 -18.0 9.7 29.3 27.9 5.0 -5.9 (ข้อมลู สะสม) %yoy 1.5 -19.7 -16.7 จำนวนทุนจดทะเนยี นโรงงาน 1,297.0 1,341.4 404 403 475.7 2,638.4 อตุ สาหกรรม (ข้อมลู สะสม) %yoy 13.3 -17.8 8.7 1.8 1.0 4.1 -6.2 ดัชนผี ลผลิตภาคบรกิ าร เทยี บกับปี พ.ศ. 46,391 79,209 25,541.0 25,539.3 14,875 125,600 2563 (โครงสรา้ งสัดสว่ น 54.0%) ล้าน kwh 5,305.4 -28.5 112.9 1.8 1.7 1,182.3 23.0 13.9 ยอดชายสินคา้ ทั้งปลีกและส่ง %yoy 203,502 -18.2 7.7 18.9 7.1 7.3 -6.8 -24.8 จ0านวนนกั ทอ่ งเท่ียว โรง 763 720 404.3 461.4 255 1,483 10.7 -15.5 23.7 17.9 6.2 41.7 -0.1 เศรษฐกิจด้านอุปสงค %yoy 3,706 3,902 47,021 17,313 1,339 7,608 ดัชนกี ารบริโภคภาคเอกชน 2,447 0.3 1.4 51.0 253.3 4.1 0.9 จ0านวนรถยนตน์ ัง่ ส่วนบคุ คลจดทะเบียน ล้านบาท 7.1 69.9 89.1 30.1 159.0 ใหม่ 12,697 -36.3 -25.4 9.5 6.7 -5.0 -30.6 %yoy 14.8 90.8 93.9 33.3 184.7 จำนวนรถจกั รยานยนต์จดทะเนยี นใหม่ 396.1 -17.8 8.7 182 283 4.1 -6.2 %yoy -16.3 -1.6 30.4 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าชองครัวเรอื น 371.4 ท่อี ยอู่ าศยั ล้านบาท 13.8 1,119 1,444 -19.7 23.6 ภาษีมูลคา่ เพมิ่ หมวดชายปลกี ชายสง่ %yoy 28.7 30.3 -35.5 -29.9 คน 28.3 32.3 17.9 6.3 %yoy %yoy คนั %yoy คัน %yoy ลา้ น kwh %yoy ล้านบาท %yoy

7 ตารางที่ 1 เครอื่ งชเ้ี ศรษฐกจิ จงั หวดั (ต่อ) เครือ่ งข้เี ศรษฐกจิ จงั หวดั หน่วย ปี 2564 Q1 Q2 ปี 2565 มิ.ย. YTD 3.1 3.9 3.5 ดชั นีการลงทุนภาคเอกขน %yoy 3.7 เม.ย. พ.ค. 3.5 115 86 201 รถยนตเ์ พื่อการพาณิชย์ทจ่ี ดทะเบยี นใหม่ คนั 400 18.6 -21.8 3.4 4.8 31 -2.9 %yoy 36.5 3,635.0 2,780.0 -18.4 6,415.0 พ้ืนทอ่ี นุญาตก่อสร้างท้ังหมด ตรม. 13,268.6 -3.5 5.7 24 31 950.0 0.3 %yoy -9.7 22,195.9 21,679.5 -48.9 24.0 -1.0 21,679.5 สนิ เช่ือเพ่ือการลงทุน ล้านบาท 21,679.7 5.0 3.6 930.0 900.0 21,679.5 3.6 (ข้อมูลสะสม) %yoy 3.3 9.4 9.8 3.6 63.5 27.7 21,836.0 21,943.1 43.2 ดัชนีการใชจ้ า่ ยภาครัฐ %yoy 2.2 3.9 4.3 -6.7 1,156.1 734.6 1,890.7 รายจา่ ยประจำ ลา้ นบาท 3,966.2 29.9 -18.7 146.1 -39.7 377.3 5.4 %yoy -13.2 1,407.5 2,087.1 30.0 รายจ่ายลงทนุ ล้านบาท 3,809.4 139.5 82.5 182.9 174.4 357.7 3,494.6 %yoy 41.2 -37.3 -45.8 -35.4 101.8 ดัานรายไดั(เทcom e) -11.0 9.1 1,521.0 208.4 ดชั นีรายไดเั กษตรกร %yoy 0.5 -23.3 -9.9 418.1 -29.7 -5.6 %yoy -3.6 16.1 21.1 -20.4 ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy 4.2 31.1 4.1 -25.9 18.6 ดชั นรี าคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรม 68,007.1 66,319.1 7.0 -12.3 -39.3 ดัานการเงิน (Financial) ล้านบาท 65,954.1 7.5 6.2 22.5 18.7 22.1 66,319.1 %yoy 9.7 6.2 ปริมาณเงนิ ฝากรวม ล้านบาท 73,986.3 72,265.0 69,074.8 67,245.7 66,319.1 (ข้อมลู สะสม) %yoy 72,265.6 5.0 3.6 10.2 8.2 6.2 72,265.0 ปรมิ าณสินเช่อื รวม 3.3 3.6 (ขอ้ มูลสะสม) %yoy 103.2 106.0 72,786.8 73,143.7 72,265.0 %yoy 100.6 3.9 5.3 3.9 4.7 3.6 104.6 ดาั นเสถียรภาพเศรษฐกิจ (Stability) %yoy 1.7 2.8 5.1 4.6 ดชั นรี าคาผู้บรโิ ภคทว่ั ไป -3.0 5.0 5.6 104.5 106.4 107.2 3.9 %yoy 1.6 101.4 102.2 4.1 5.2 6.5 5.3 (อตั ราเงนิ เฟ้อทว่ั ไป) 100.5 1.2 1.9 3.2 5.4 6.7 101.8 - อาหารและเครือ่ งด่ืม %yoy -0.9 108.2 115.1 3.9 5.8 7.1 1.5 - ไมใ่ ช่อาหารและเครือ่ งดืม่ คน 102.3 8.7 13.3 101.6 102.6 102.5 111.7 %yoy 4.7 439,577 475,588e 1.3 2.3 11.0 ดัชนรี าคาผู้บรโิ ภคพืน้ ฐาน 473,423 -2.9 4.8 114.0 115.1 2.0 457,583e 4.5 12.8 13.3 116.2 1.0 (อตั ราเงินเฟอ้ พ้นื ฐาน) 475,588e 475,588e 13.8 4.8 4.8 475,588e ดัชนรี าคาผผู้ ลติ 4.8 (อัตราการเปล่ยี นแปลง) การจา้ งงาน (Employment) จm nm w i : ขอ้ มลู ตาม ปฏทิ นิ (ม.ค. 2565 - ธ.ค. 2565) Q1 คือ ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดือนมกราคม ถึงเดอื นมนิ าคม (ม.ค. - ปี.ค. 2565) Q2 คอื ยอดสะสมต้ังแต่เดือนเมษายน ถงึ เดือนมถิ ุนายน (เม.ย. - ม.ิ ย. 2565) Q3 คอื ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดือนกรกฎาคม ถงึ เดอื นกนั ยายน (ก.ค. - ก.ย. 2565) Q4 คือ ยอดสะสมตงั้ แตเ่ ดือนตลุ าคม ถึงเดอื นธันวาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2565) e ดือ estimate (ประมาณการ)

8 ตารางที่ 2 เครอื่ งชีภ้ าคการคลงั เครื่องชี้ภาคการคลงั หน่วย ปงี บประมาณ Ql(FY) Q2(FY) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (FY) มิ.ย. YTD พ.ศ. 2564 (FY) Q3(FY) เม.ย. พ.ค. รายไดจ้ ดั เก็บ ลา้ นบาท 2,073.3 982.1 1,160.6 1,013.1 362.6 328.8 321.7 3,155.8 %yoy 16.7 119.2 154.2 93.8 122.5 126.6 53.0 115.0 สรรพากรพื้นทชี่ ยั ภมู ิ ล้านบาท 1,501.6 291.2 450.5 485.5 168.3 153.4 163.8 1,227.2 %yoy 12.2 -12.4 23.2 12.2 36.5 40.9 -3.3 9.4 สรรพสามิตพื้นท่ีชัยภูมิ ล้านบาท 27.0 14.1 15.6 16.0 4.5 5.1 6.4 45.7 %yoy -41.3 50.0 217.1 532.4 200.0 121.7 255.6 112.4 ธนารกั ษพ์ ้ืนทชี่ ยั ภมู ิ ล้านบาท 14.7 5.1 4.2 3.3 0.4 1.7 1.2 12.6 %yoy -13.5 96.2 -54.3 - -69.2 21.4 9.1 32.6 หน่วยราชการอื่นๆ ลา้ นบาท 530.0 671.7 690.3 508.3 189.4 168.6 150.3 1,870.3 %yoy 41.6 547.1 797.7 509.5 413.3 418.8 296.6 493.0 รายได้นำส่งคลงั ลา้ นบาท 1,996.0 752.1 771.5 672.1 234.6 216.2 221.3 2,195.7 %yoy 28.8 75.0 152.4 124.2 34.2 62.2 18.5 58.5 รายจา่ ยเงนิ งบประมาณ ล้านบาท 7,623.5 1,889.7 2,563.6 2,821.7 1,703.9 382.8 735.0 7,275.0 %yoy 17.0 9.6 79.9 60.5 191.2 -38.1 -12.9 38.7 ดลุ เงนิ งบประมาณ ล้านบาท -5,627.5 -1,137.6 -1,792.1 -2,149.6 -1,469.3 -166.6 -513.7 -5,079.3 m nm w i : FY คือ ปี'รบประมาณ (ต.ค. 2564 - ก.ย. 2565) Q1 คอื ยอดสะสมต้ังแต่เดอื นตลุ าคม ถงึ เดอื นธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2564) Q2 คือ ยอดสะสมต้งั แต่เดือนมกราคม ถงึ เดอื นปนี าคม (ม.ค. - ป.ี ค. 2565) Q3 ดอื ยอดสะสมต้งั แต่เดือนเมษายน ถงึ เดือนมถิ ุนายน (เม.ย. - ป.ี ย. 2565) Q4 ดอื ยอดสะสมต้งั แตเ่ ดือนกรกฎาคม ถึงเดอื นกนั ยายน (ก.ค. - ก.ย. 2565)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook