Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนวรรณคดีไทย เรื่อง “ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ”

สื่อการสอนวรรณคดีไทย เรื่อง “ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ”

Published by krumayy16, 2021-04-14 06:26:55

Description: สื่อการสอนวรรณคดีไทย เรื่อง “ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ”
โดย ครูจารุวรรณ ยิ้มจันทร์
โรงเรียนศึกษานารีวิทยา

Search

Read the Text Version

วรรณคดไี ทย ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนสุ สภูมิ นางสาวจารุวรรณ ยิ้มจันทร์ ครู กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรยี นศกึ ษานารวี ทิ ยา

ไตรภูมพิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภูมิ ประกอบดว้ ยเนื้อหา ดงั นี้  ผปู้ ระพันธ์  ที่มาของเรื่อง  ลักษณะคาประพนั ธ์  เนอื้ เรื่อง  คณุ คา่ งานประพันธ์และขอ้ คิดทไ่ี ดร้ บั

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนสุ สภูมิ ผูป้ ระพันธ์

ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ คณะกรรมการวรรณคดแี หง่ ชาติ พิจารณาใหเ้ ปน็ ยอดของ วรรณคดีสมยั สุโขทยั เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๕๓ พจนานุกรมศพั ทว์ รรณคดไี ทย สมัยสโุ ขทัยไตรภูมิกถา (ที่มา: กองศิลปกรรม, ๒๕๕๔)

ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ผูป้ ระพนั ธ์ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไทย หรือ พญาลือไทย พญาศรสี ุรยิ พงศร์ ามมหาธรรมราชาธริ าช) พระมหากษตั รยิ อ์ งคท์ ่ี ๕ แหง่ ราชวงศพ์ ระร่วง กรุงสโุ ขทัย  พระราชโอรสของพระยาเลอไท  พระราชนัดดา (หลานปู่) ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช  พ.ศ. ๑๘๙๐ เสวยราชย์เปน็ กษตั รยิ ์ครองกรงุ สุโขทัย

ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ ผปู้ ระพันธ์ พระมหาธรรมราชาที่ ๑  เหตุการณ์สาคญั - สง่ คนไปจาลองรอยพระพุทธบาท จากเมอื งลงั กา - ขอเมืองชัยนาท (ปัจจบุ ัน คอื เมืองพษิ ณุโลก) คืนจากกรุงศรอี ยธุ ยาได้สาเรจ็ - ประพนั ธ์วรรณคดเี รอื่ ง ไตรภมู ิพระร่วง ในขณะที่เป็นพระมหาอุปราช

ไตรภมู ิพระร่วง ตอน มนสุ สภูมิ ทีม่ าของเรือ่ ง

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ มูลเหตสุ าคัญ • พญาลไิ ทยทรงคน้ ควา้ รวบรวมจากคมั ภีรพ์ ทุ ธศาสนา (พระไตรปฎิ ก อรรถกถา ฎกี า และปกรณ์พิเศษตา่ ง ๆ) • ช้ีนาใหม้ นุษยห์ าทางหลดุ พน้ ไปจากโลกท้งั สาม และไปอยใู่ นภพภูมทิ ม่ี ีความสุขนิรนั ดร (นพิ พาน)

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ วรรณคดีเรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง ไตรภูมพิ ระรว่ ง ไตรภูมกิ ถา หรือ เตภูมกิ ถา

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ วรรณคดเี ร่อื ง ไตรภมู ิพระรว่ ง ไตร + ภมู ิ + พระรว่ ง สาม ผืนดนิ คาเรียกพระมหากษัตริย์ แผ่นดิน ในราชวงศ์สโุ ขทยั พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลไิ ทย)

ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ อรปู ภมู ิ รปู ภูมิ กามภูมิ ผังจักรวาล พจนานกุ รมศัพทว์ รรณคดีไทย สมยั สโุ ขทยั ไตรภมู ิกถา (ท่ีมา: กองศิลปกรรม, ๒๕๕๔)

ไตรภูมิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ ไตรภมู ิ หมายถงึ เรอ่ื งราวของโลกทง้ั ๓ อรปู ภูมิ ดนิ แดนของพรหมทไี่ มม่ ีรปู มี ๔ ช้ัน รปู ภูมิ มีแต่จิตหรอื วญิ ญาณ ดินแดนของพรหมทมี่ รี ปู มี ๑๖ ช้นั (โสฬสพรหม) ผมู้ าเกดิ ตอ้ งบาเพญ็ สมาธิจนไดฌ้ านสมาบตั ิ ไมม่ กี ารเคล่ือนไหว กามภูมิ โลกของผู้ทยี่ ังตดิ อยใู่ นกามกเิ ลส

ไตรภูมิพระรว่ ง ตอน มนุสสภมู ิ ไตรภูมพิ ระร่วง อรปู ภมู ิ หมายถงึ ดนิ แดนของพรหมท่ีไม่มีรปู มี ๔ ชั้น มแี ต่จิตหรือวญิ ญาณ พรหม ๔ ชนั้ ๑. อากาสานญั จายตนภูมิ ๒. วิญญาณญั จายตนภูมิ ๓. อากญิ จัญญายตนภมู ิ ๔. เนวสญั ญานาสัญญายตนภมู ิ

ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน มนุสสภูมิ ไตรภมู พิ ระร่วง รปู ภมู ิ หมายถึง ดนิ แดนของพรหมทีม่ รี ูป มี ๑๖ ชัน้ (โสฬสพรหม) ผู้มาเกดิ ต้องบาเพ็ญสมาธจิ นได้ฌานสมาบัติ ไม่มีการเคลอื่ นไหว ๑. พรหมปาริสัชชาภมู ิ ๒. พรหมปุโรหติ าภูมิ ๓. มหาพรหมาภมู ิ ๔. ปรติ รตาภาภูมิ พรหม ๑๖ ชัน้ ๕. อปั ปมาณาภาภูมิ ๖. อาภัสสราภมู ิ ๗. ปริตตสภุ าภูมิ ๘. อัปปมาณสภุ าภมู ิ ๙. สภุ กิณหาภูมิ ๑๐. เวหปั ปผลาภูมิ ๑๑. อสญั ญสี ัตตาภมู ิ ๑๒. อวิหาภมู ิ ๑๓. อตปั ปาภมู ิ ๑๔. สทุ ัสสาภูมิ ๑๕. สทุ สั สีภมู ิ ๑๖. อกนิฎฐาภมู ิ พรหมชน้ั ท่ี ๑๒ - ๑๖ เรียกวา่ ปัญจสทุ ธาวาส (ทเี่ กดิ ของพระอนาคามี ผูท้ ี่จะไม่มาสู่กามภมู ิอกี )

ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน มนุสสภูมิ ไตรภมู ิ = เรือ่ งราวของโลกทง้ั ๓ กามภูมิ หมายถึง โลกของผทู้ ่ียงั ติดอยใู่ นกามกเิ ลส สคุ ตภิ ูมิ หมายถึง ดนิ แดนฝา่ ยดี หรอื ฝ่ายเจริญ ๑. จาตมุ หาราชิกา อบายภูมิ ๒. ดาวดึงส์ ไดแ้ ก่ มนสุ สภมู ิ ๑ (โลกมนษุ ย)์ และ สวรรคภูมิ ๖ ๓. ยามา ๔. ดุสิตา (ฉกามาพจรภูมิ) ๕. นมิ มานรดี หมายถงึ ดนิ แดนฝา่ ยไม่ดี หรอื ฝา่ ยเสือ่ ม ๖. ปรนมิ มติ วสวตั ดี ไดแ้ ก่ นรกภูมิ ๑ ดริ ัจฉานภมู ิ ๑ เปรตภูมิ ๑ อสรุ กายภมู ิ ๑

ไตรภูมพิ ระรว่ ง ตอน มนุสสภมู ิ มนุสสภูมิ อมรโคยานทวีป (ทิศตะวันตก) อุตรกุรทุ วปี (ทศิ เหนือ) อายยุ นื ๕๐๐ ปี เหนือ อายยุ ืน ๑,๐๐๐ ปี ตก เขา ออก บูรพวเิ ทหทวปี (ทศิ ตะวนั ออก) พระสุเมรุ อายยุ นื ๗๐๐ ปี ชมพูทวปี (ทศิ ใต้) ใต้ อายุไมแ่ น่นอน

ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ ไตรภมู ิพระรว่ ง ไตรภูมิกถา เตภูมกิ ถา อรูปภมู ิ รปู ภูมิ เหนือ กามภมู ิ ตก ออก เขา พระสุเมรุ ใต้

ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน มนุสสภูมิ ลกั ษณะคาประพันธ์

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ ลกั ษณะคาประพันธ์  ลกั ษณะคาประพนั ธ์ รอ้ ยแกว้

ไตรภูมพิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภูมิ ลกั ษณะคาประพนั ธ์  ตวั อยา่ งคาประพันธ์ ผิรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนั้นโดยใหญ่ แต่ละวันแลน้อย ครั้นถึง ๗ วัน เป็นดั่งน้าล้างเนื้อเรียกว่าอัมพุทะ อัมพุทะน้ันโดยใหญ่ ไปทุกวารไสร้ คร้ันได้ถึง ๗ วาร ข้นเป็นด่ังตะกั่วอันเช่ือมอยู่ในหม้อเรียกชื่อว่าเปสิ เปสนิ ั้นคอ่ ยใหญไ่ ปทกุ วนั คร้นั ถงึ ๗ วัน แขง็ เป็นกอ้ นด่งั ไข่ไก่เรยี กว่าฆนะ รอ้ ยแกว้

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ เนอ้ื เรอ่ื ง

ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี ทารกทอี่ ยู่ในท้องแม่จะมีพัฒนาการอยา่ งไร

ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี ผิรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิ กลละ (๑ ใน ๒๕๖ ของเส้นผม) (นา้ ลา้ งเน้อื ) แต่เกิดเปน็ กลละนั้นโดยใหญแ่ ตล่ ะวนั แลน้อย (๗ วนั ) คร้ันถึง ๗ วัน เป็นดั่งน้าล้างเน้ือเรียกว่าอัมพุทะ อัมพทุ ะ อัมพทุ ะนั้นโดยใหญไ่ ปทุกวารไสร้

สาระจากวรรณคดี กลละ ไตรภมู พิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ (๗ วนั ) อมั พุทะนน้ั โดยใหญไ่ ปทกุ วารไสร้ ครน้ั ไดถ้ งึ ๗ วาร (๑ ใน ๒๕๖ ของเส้นผม) อัมพทุ ะ (นา้ ล้างเนื้อ) ขน้ เปน็ ดัง่ ตะก่วั อนั เชื่อมอยู่ในหม้อเรียกชอื่ ว่าเปสิ (๑๔ วนั ) (ขน้ ดง่ั ตะกว่ั ) เปสินั้นค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครั้นถึง ๗ วัน แข็งเป็น เปสิ (กอ้ นด่งั ไขไ่ ก่) กอ้ นด่ังไขไ่ ก่เรียกว่าฆนะ ฆนะนนั้ คอ่ ยใหญไ่ ปทุกวัน (๒๑ วนั ) ฆนะ

ไตรภูมิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี (๗ วัน) กลละ (๑ ใน ๒๕๖ ของเส้นผม) (๑๔ วัน) อมั พุทะ (นา้ ล้างเนื้อ) ฆนะนั้นค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครั้นถึง ๗ วันเป็น (๒๑ วัน) (ข้นด่ังตะก่วั ) เปสิ (กอ้ นดง่ั ไขไ่ ก)่ ตุ่มออกได้ ๕ แห่งด่ังหูดน้ัน เรียกว่าเบญจสาขาหูด ฆนะ เบญจสาขาหูดนนั้ เป็นมือ ๒ อัน เป็นตีน ๒ อัน หูดเป็น (๒๘ วัน) หัวนั้นอนั หนึ่ง แลแตน่ นั้ คอ่ ยไปเบอื้ งหนา้ ทกุ วัน เบญจสาขาหดู (หวั ๑ แขน ๒ ขา ๒)

ไตรภูมพิ ระรว่ ง ตอน มนุสสภมู ิ สาระจากวรรณคดี ปฎสิ นธิ กลละ (๑ ใน ๒๕๖ ของเสน้ ผม) (๗ วัน) อมั พทุ ะ (นา้ ล้างเนื้อ) (๑๔ วัน) เปสิ (ขน้ ด่ังตะกว่ั ) (๒๑ วัน) ฆนะ (ก้อนด่งั ไขไ่ ก่) (๒๘ วัน) เบญจสาขาหูด (หัว ๑ แขน ๒ ขา ๒)

สาระจากวรรณคดี (๒๘ วนั ) ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภูมิ คร้ันถึง ๗ วันเป็นฝ่ามือ เป็นน้ิวมือ แต่น้ัน (๓๕ วนั ) เบญจสาขาหดู ไปถึง ๗ วัน คารบ ๔๒ จึงเป็นขน เป็นเล็บตีน ฝ่ามือ น้ิวมือ ลายนิ้วมอื เลบ็ มือ เปน็ เครื่องสาหรบั เป็นมนษุ ย์ถว้ นทกุ อันแล (๔๒ วัน) ขน เล็บมอื เล็บเท้า

สาระจากวรรณคดี ไตรภมู พิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ แต่รูปอันมีกลางคนไสร้ ๕๐ แต่รูปอันมีหัว (๓๕ วัน) ได้ ๘๔ แต่รปู อันมีเบ้อื งต่าได้ ๕๐ ผสมรูปทง้ั หลาย อันเกิดเป็นสัตว์อันอยู่ในท้องแม่ได้ ๑๘๔ แลกุมาร ฝ่ามอื นว้ิ มอื ลายนว้ิ มอื นั้นนั่งกลางท้องแม่ แลเอาหลังมาต่อหนังท้องแม่ (๔๒ วัน) ขน เลบ็ มอื เล็บเทา้ (๕๐ วนั ) ท่อนลา่ งสมบรู ณ์ (๘๔ วนั ) ท่อนบนสมบรู ณ์ (๑๘๔ วนั ) เดก็ สมบูรณ์ นั่งกลางทอ้ งแม่

ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนุสสภูมิ สาระจากวรรณคดี สภาพความเป็นอยู่ในท้องแม่ เปน็ อยา่ งไร

ไตรภูมิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี ตืด หมายถึง พยาธิ เมื่อกุมารอยู่ในท้องแม่น้ันลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่าย เอือน หมายถงึ พ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็นกล่ินตืดแลเอือนอันได้ ๘๐ ครอก ซึ่งอยู่ พยาธใิ นท้องชนดิ หนง่ึ ในท้องแม่อันเป็นท่ีเหม็นแลท่ีออกลูกออกเต้า ที่เถ้า ที่ตายที่เร่ว ฝูงตืด แลเออื นท้ังหลายนัน้ คนกันอยใู่ นท้องแม่ คนกัน หมายถงึ ปนกัน ระคนกนั ทเ่ี ร่ว หมายถงึ ปา่ ช้า

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ สาระจากวรรณคดี ตดื แลเอือนฝงู นัน้ เรมิ ตวั กุมารน้ันไสร้ ดุจดั่งหนอนอันอยู่ในปลาเน่า แลหนอนอนั อยู่ในลามกอาจมนัน้ แล เริม หมายถงึ ไชชอน ดุน (ภาษาอีสาน เริม, เลิม แปลว่า ออ, คัง่ กนั อยู่)

ไตรภมู พิ ระรว่ ง ตอน มนุสสภมู ิ สาระจากวรรณคดี กมุ ารในท้องแมก่ นิ อาหาร ด้วยวธิ ีการใด

ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ สาระจากวรรณคดี อันว่าสายสะดือแห่งกุมารน้ันกลวงดั่งสายก้านบัวอันมีชื่อว่าอุบล จะงอยไส้ดือน้ันกลวงข้ึนไปเบ้ืองบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน้าอาหาร จะงอยไส้ดอื อันใดแม่กินไสร้ แลโอชารสนั้นก็เป็นน้าชุ่มเข้าไปในไส้ดือน้ัน แลเข้าไป หมายถงึ ปลายสายสะดอื ในท้องกุมารนน้ั แล สะหน่อย ๆ แลผูน้ อ้ ยน้นั กไ็ ดก้ นิ ทุกคา่ เชา้ ทุกวนั สะหนอ่ ย แม่จะพึงกินเข้าไปอยู่เหนือกระหม่อมทับหัวกุมารอยู่นั้นแล หมายถงึ สกั หน่อย สกั เลก็ นอ้ ย แลลาบากหนักหนา แต่อาหารอันแม่กินก่อนไสร้ แลกุมารน้ันอยู่เหนือ อาหารน้นั

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ สาระจากวรรณคดี เบื้องหลังกุมารน้ันต่อหลังท้องแม่ แลนั่งยองอยู่ในท้องแม่ แลกามือท้ังสอง คู้คอต่อหัวเข่าทั้งสอง เอาหัวไว้เหนือหัวเข่าเม่ือน่ัง อยู่น้ันดั่งนั้น เลือดแลน้าเหลืองย้อยลงเต็มตนยะหยดทุกเม่ือแล ดุจด่ัง ลิงเมอื่ ฝนตก แลนงั่ กามอื เซาเจ่าอยู่ในโพรงไม้นัน้ แล เซา หมายถึง เหงาหงอย

ไตรภูมิพระรว่ ง ตอน มนุสสภูมิ สาระจากวรรณคดี สิ่งอาหารอันแม่กินเข้าไปในท้องนั้นไหม้และย่อยลง ด้วยอานาจแห่ง ไฟธาตุอันร้อนน้ัน ส่วนตัวกุมารน้ันบมิไหม้ เพราะว่าเป็นธรรมดา ด้วยบุญกุมารนน้ั จะเปน็ คนแลจงึ ใหบ้ มิไหม้บมิตายเพอ่ื ดั่งนัน้ แล

ไตรภูมพิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี แต่กุมารน้ันอยู่ในท้องแม่ บ่ห่อนได้หายใจเข้าออกเสียเลย บ่ห่อนได้ เหยียดตีนมือออกด่ังเราท่านทั้งหลายน้ีสักคาบหน่ึงเลย แลกุมารน้ัน เจ็บเนื้อเจ็บตนด่ังคนอันท่านขังไว้ ในไหอันคับแคบนักหนา แค้นเนื้อ แค้นใจ แลเดือดเนื้อเดือดใจนักหนา เหยียดตีนมือบ่มิได้ ด่ังท่านเอาใส่ ไว้ในทค่ี ับ

ไตรภูมิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภูมิ สาระจากวรรณคดี “ผิแลว่าเมื่อแม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟ้ืนตนก็ดี กุมารอยู่ในท้องแม่น้ันให้เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดั่งลูกทรายอันพ่ึงออกแล อยู่ธรห้อย” ผิบ่มิดุจด่ังคนอันเมาเหล้า ผิบ่มิดุจด่ังลูกงูอันหมองู เอาไปเล่นน้นั แล อยธู่ รห้อย หมายถึง โคลงเคลงไปมา ทรงตัวไมไ่ ด้ อันอย่ลู าบากยากใจดุจดง่ั นั้น บม่ ไิ ดล้ าบากแต่ ๒ วาร ๓ วารแลจะพน้ ไดเ้ ลย อยยู่ ากแล ๗ เดอื น ลางคาบ ๘ เดอื น ลางคน ๙ เดือน ลางคน ๑๐ เดือน ลางคน ๑๑ เดอื น

ไตรภมู พิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ เพราะเหตใุ ด จงึ กลา่ ววา่ อนั อยู่ลาบากยากใจดจุ ดงั่ น้นั บม่ ิได้ลาบากแต่ ๒ วาร ๓ วารแลจะพ้นไดเ้ ลย อยู่ยากแล ๗ เดอื น ลางคาบ ๘ เดอื น ลางคน ๙ เดอื น ลางคน ๑๐ เดือน ลางคน ๑๑ เดอื น

ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ สาระจากวรรณคดี บ่มิได้ลาบากแต่ ๒ วาร ๓ วารแลจะพ้นได้เลย อยู่ยากแล ๗ เดือน ลางคาบ ๘ เดือน ลางคน ๙ เดอื น ลางคน ๑๐ เดอื น ลางคน ๑๑ เดอื น ลางคนคารบปหี นงึ่ จึงคลอดกม็ ีแล  คนผู้ใดอยู่ในทอ้ งแม่ ๖ เดอื นแลคลอดนัน้ บห่ ่อนจะได้สกั คาบ  คนผใู้ ดอยู่ในท้องแม่ ๗ เดือนแลคลอดนั้น แมเ้ ลีย้ งเปน็ คนก็ดี บม่ ิไดก้ ล้าแข็ง บม่ ทิ นแดดทนฝนไดแ้ ล

ไตรภมู ิพระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ สาระจากวรรณคดี กระหนกระหาย หมายถึง ทุรนทุราย กระสบั กระสา่ ย คนผ้ใู ดจากแต่นรกมาเกดิ น้นั เม่ือคลอดออกตนกุมารน้นั ร้อน เมื่อมันอย่ใู นทอ้ งแม่นนั้ ย่อมเดอื ดเนอื้ รอ้ นใจแลกระหนกระหาย อกี เน้อื แม่น้ันก็พลอยร้อนดว้ ยโสด โสด หมายถงึ อกี สว่ นหน่งึ

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภมู ิ สาระจากวรรณคดี คนผ้จู ากแต่สวรรค์ลงมาเกิดน้ัน เม่อื จะคลอดออก ตนกุมารน้ันเยน็ เยน็ เน้อื เยน็ ใจ เมื่อยงั อยู่ในท้องแม่นั้น อยู่เย็นเปน็ สุขสาราญบานใจ แลเนื้อแม่นนั้ กเ็ ย็นด้วยโสด

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี คนเมื่ออยู่ในท้องแม่ก็ดี เม่ือถึงจักคลอดน้ันก็ดี เม่ือกรรมนั้นกลายเป็นลม ในท้องแม่สิ่งหน่ึง พัดให้ตัวกุมารนั้นข้ึนหนบน ให้หัวลงมาสู่ท่ีจะออกนั้นดุจด่ัง ฝงู นรกอันยมบาลกุมตนี แลหยอ่ นหวั ลงในขุมนรกน้นั อันลึกไดแ้ ลร้อยวาน้นั

ไตรภูมพิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภูมิ สาระจากวรรณคดี เม่ือกุมารนั้นคลอดออกจากท้องแม่ ออกแลไปบ่มิพ้นตน ตนเย็นน้ันแลเจ็บเนื้อ เจ็บตนนักหนา ดั่งช้างสารอันท่านชักท่านเข็นออกจากประตูลักษอันน้อยนั้น แลคับ ตัวออกยากลาบากนั้น ผิบ่มิดั่งนั้น ด่ังคนผู้อยู่ในนรกแล แลภูเขาอันช่ือ คังไคยบรรพตหบี แลเหงแลบดบนี้ นั้ แล หีบ หมายถงึ หนีบ เหง หมายถึง ทบั ประตลู ักษ หมายถงึ ช่องดาลซงึ่ เปน็ รูสาหรับสอดลกู ดาล เขา้ ไปเขี่ยดาล (กลอน) ทีข่ ัดบานประตู ชอ่ งดาลเทยี บได้กบั รกู ุญแจ

ไตรภูมิพระรว่ ง ตอน มนุสสภูมิ สาระจากวรรณคดี ผิแลคนอันมาแตน่ รกก็ดี แลมาแตเ่ ปรตก็ดี มนั คานงึ ถึงความอนั ลาบากนน้ั ครัน้ วา่ ออกมากร็ อ้ งไห้แล ผิแลคนผมู้ าแตส่ วรรค์ แลคานงึ ถึงความสุขแต่ก่อนนั้น ครั้นวา่ ออกมาไสร้ ก็ยอ่ มหวั ร่อกอ่ นแล

ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี กาลทง้ั ๓ เม่อื แรกมาเกดิ ในท้องแม่ก็ดี เมื่ออยูใ่ นทอ้ งแมก่ ็ดี เมือ่ ออกจากท้องแม่กด็ ี ในกาลทงั้ ๓ นัน้ ย่อมหลงบม่ ไิ ด้คานึงรู้อันใดสกั สิง่

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนสุ สภูมิ สาระจากวรรณคดี กาลทัง้ ๓ ฝูงอันมาเกิดเป็นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี แลเป็นพระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ดี แลมาเป็นพระองค์อัครสาวกเจ้าก็ดี เม่ือ ธ แรกมาเอาปฏิสนธินั้นก็ดี เม่ือ ธ อยู่ใน ทอ้ งแม่นัน้ ก็ดี แลสองส่ิงนี้เมือ่ อยใู่ นทอ้ งแม่นนั้ บห่ อ่ นจะรู้หลง แลยังคานงึ รอู้ ยู่ทกุ อนั

ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภูมิ สาระจากวรรณคดี เม่อื ออกจากท้องแม่ ลมกรรมชวาต หมายถึง ลมเกิดแตก่ รรม (ลมทเ่ี กิดในเวลามารดาจะคลอดบุตร) เม่ือออกจากท้องแม่น้ันไสร้ จึงลมกรรมชวาตก็พัดให้หัวผู้น้อยน้ันลงมาสู่ ที่จะออก แลคับแคบแอ่นยันนักหนา เจ็บเน้ือเจ็บตนลาบากนักดั่งกล่าวมาแต่ก่อน แลพลกิ หวั ลงบม่ ิได้รูส้ กึ สักอัน

ไตรภมู พิ ระร่วง ตอน มนสุ สภมู ิ สาระจากวรรณคดี เม่อื ออกจากท้องแม่ บ่เร่ิม หมายถึง แม้แต่ บ่เริ่มดั่งท่านผู้จะออกมาเป็นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี ผู้จะมาเกิดเป็น ลูกพระพทุ ธเจ้าก็ดี คานงึ รสู้ ึกตนแลบ่มิหลงแต่สองส่ิงน้คี ือ เมือ่ จะเอาปฏสิ นธแิ ลอยู่ในท้องแม่นั้นได้แล เมอื่ จะออกจากท้องแมน่ ้ันยอ่ มหลงดจุ คนท้ังหลายนี้แล สว่ นวา่ คนทั้งหลายนไี้ สร้ยอ่ มหลงทั้ง ๓ เม่อื ควรอม่ิ สงสารแล

ไตรภูมพิ ระรว่ ง ตอน มนสุ สภมู ิ คณุ คา่ งานประพนั ธแ์ ละข้อคิดทไ่ี ดร้ บั

ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน มนสุ สภูมิ  คุณค่าด้านวรรณศลิ ป์ ๑. การใช้คาท่เี ปน็ จังหวะน่าฟัง ๒. การใช้คาสมั ผัสคลอ้ งจอง ๓. การใชภ้ าพพจน์