Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนศึกษานารีวิทยา

คู่มือการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนศึกษานารีวิทยา

Published by krumayy16, 2021-11-01 06:00:00

Description: คู่มือการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนศึกษานารีวิทยา
ออกแบบโดย นางสาวกรรณิกา ปิงชัย

Search

Read the Text Version

1

คำนำ คู่มือการจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มนี้ กลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรียนศึกษานารีวิทยา จัดทำขึ้นเพื่อให้ ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรียมความพร้อมก่อน เปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปวา่ โรงเรียนศึกษานารีวิทยามีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวง สาธารณสุข และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด โรงเรยี นศกึ ษานารีวทิ ยา หวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่า คู่มอื การจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูและบุคลากรทางการ ศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการเปิดเรียนภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทำ คู่มือการจัดการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เลม่ นี้ จนสำเร็จดว้ ยดี กลุ่มบริหารวชิ าการ โรงเรยี นศกึ ษานารีวิทยา ก

สารบญั คำนำ หนา้ สารบญั ก สว่ นที่ 1 แนวปฏิบตั กิ ารเตรียมการก่อนเปิดภาคเรยี น ข การประเมินความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น 2 การเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรียน 3 สว่ นท่ี 2 แนวปฏิบตั ิระหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น กรณีเปิดเรียนไดต้ ามปกติ (Onsite) 9 กรณีโรงเรยี นไม่สามารถเปดิ เรียนได้ตามปกติ 13 ส่วนท่ี 3 แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) 16 รูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบชั้นเรียน (Onsite) ลกั ษณะแบบผสมผสาน (Blended Learning) 17 รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) 17 คลงั ความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนนุ การเรยี นการสอนดว้ ยระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Learning Platform) 20 แอปพลิเคชนั (Applications) สนบั สนนุ การเรียนการสอนทางไกล ส่วนท่ี 4 บทบาทนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู 25 บทบาทนกั เรียน 26 บทบาทผู้ปกครอง 26 บทบาทครู ภาคผนวก 29 กำหนดการ (Timeline) ภาคเรยี นที่ 2/2564 31 ปฏิทินปฏิบตั ิงานโครงการ/กิจกรรม 36 ภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ 37 ภาพนักเรียนเขา้ รับการฉดี วัคซีน 38 ภาพการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 39 ภาพการประชุมครูออนไลนผ์ า่ น Microsoft Teams ข

สว่ นที่ 1 แนวปฏิบัติการเตรยี มการ กอ่ นเปดิ ภาคเรียน 1

สว่ นท่ี 1 แนวปฏิบัติการเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตน ของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกีย่ วขอ้ งทุกคนในสถานศึกษา เพอ่ื ปอ้ งกันไม่ใหม้ ีการตดิ เชือ้ โรคโควิด ๑๙ ตัด ความเสี่ยง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน โรงเรียนศึกษานารีวิทยาจึงปฏิบัติตามแนว ปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มการกอ่ นเปิดภาคเรยี น ๖ ข้ันตอน ดังนี้ ๑. สถานศึกษาต้องประเมินความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน โดยใช้แบบประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถ้าผลการประเมินเป็น สีเขียวให้เปิด เรียนได้สีเหลืองให้ประเมินซ้ำ ถ้าผ่านให้เปิดเรียนได้ ถ้าผลการประเมินเป็นสีแดง จะต้องเตรียมสถานศึกษา จนกว่าผลการประเมินจะเป็นสีเขียวหรือสีเหลือง หากยังคงมีผลการประเมินเป็นสีแดง ให้รายงานต่อ ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น เพื่อจะได้ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมก่อนเปิดภาค เรยี น ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องได้รับการฉีดวัคซีนครบโดส ร้อยละ ๘๕ ขึ้นไป ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ าร ลงวนั ที่ ๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๔ ๓. นักเรียนและผู้ปกครองควรได้รับการฉีดวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะ สถานศกึ ษาทีอ่ ยู่ในพ้ืนท่คี วบคมุ สงู สดุ (พืน้ ท่สี แี ดง) และพืน้ ท่ีควบคุมสงู สดุ และเข้มงวด (พ้นื ท่สี แี ดงเข้ม) ๔. สถานศึกษานำผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือพจิ ารณาให้ความเห็นชอบให้เปิดภาคเรียน และนำผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่ผ่าน ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รายงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประสานสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเพื่อนำเรื่องเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด เพือ่ พจิ ารณาอนมุ ตั ใิ หเ้ ปดิ เรยี นได้ ๕. สถานศึกษาท่ีได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการโรคตติ ต่อจังหวัดให้เปิดเรยี นได้ ให้สถานศึกษาปฏิบัติ ตามมาตรการที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยเน้น ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ งวด อยา่ งเคร่งครัด ๖. สถานศึกษารายงานผลการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น ภายในวันที่ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ๑. การประเมินความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี น กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้สร้างเครื่องมือสำหรับสถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพื่อให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมินตนเอง ดงั กล่าว ประกอบด้วย ๖ มติ ิ ๔๔ ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมนิ ทั้ง ๔๔ ข้อ ตามข้นั ตอนการประเมิน ตนเอง ดงั ภาพ 2

๒. การเตรยี มการก่อนเปดิ ภาคเรียน สถานศึกษาดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียน หรือ สถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School โดยโรงเรียนศึกษานารีวิทยาใช้มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป-กลับ สำหรับโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาประเภทไป-กลับ ที่มีความพร้อมและผ่านเกณฑ์การประเมิน มีหลักเกณฑท์ ตี่ ้องปฏิบตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั ๔ องค์ประกอบ ดังน้ี ๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพื้นที่โดยรอบอาคารของโรงเรียน หรือ สถาบนั การศึกษา ประกอบดว้ ย ๑.๑ พื้นที่/อาคารสนบั สนุนการบริการ ๑.๒ พนื้ ที่/อาคารเพ่ือจัดการเรยี นการสอน โดยจัดอาคารและพ้นื ทีโ่ ดยรอบใหเ้ ป็นพน้ื ทีป่ ฏบิ ตั ิงานท่ปี ลอดภยั และมีพืน้ ที่ทีเ่ ป็น Covid free Zone ๒. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียนหรือ สถานศึกษาที่ประสงค์จะดำเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้มีการประชุม หารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบ รว่ มกันในการจดั พ้ืนท่ีการเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนำเสนอโครงการผ่านต้นสังกัดในพื้นที่ แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานคร หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวัด ๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้องเตรียมการ ประเมนิ ความพร้อม ดงั นี้ ๓.๑ โรงเรยี น หรอื สถานศึกษา ตอ้ งดำเนินการ ๑) ตอ้ งผ่านการประเมนิ ความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผล ผ่าน MOECOVID ๒) ต้องจัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกักตัว ชั่วคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากร ใน 3

สถานศึกษากรณีมกี ารติดเชื้อโควดิ ๑๙ หรือผลตรวจคดั กรองหาเชื้อเป็นบวก โดยมีการซักซ้อมอยา่ งเครง่ ครัด โดยมีความรว่ มมือกบั สถานพยาบาลเครอื ข่ายในพน้ื ที่ท่ีดูแลอยา่ งใกล้ชดิ ๓) ต้องควบคุมดแู ลการเดนิ ทางระหวา่ งบา้ นกับโรงเรียนอย่างเข้มขน้ โดยหลีกเลีย่ งการเข้าไป สัมผัสในพืน้ ท่ตี ่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง ๔) ต้องจัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ที่เหมาะสม จัดจุดรับ-ส่ง สิ่งของ จดุ รับ-ส่งอาหาร หรือจดุ เสยี่ งอื่น เปน็ การจำแนกนักเรยี น ครู บุคลากร ผ้ปู กครอง และผู้มาติดต่อที่เข้า มาในโรงเรยี น ๕) ต้องมีระบบ และแผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการบูรณาการ ร่วมกันระหว่างกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกระทรวงสาธารณสขุ ทั้งช่วงก่อน และระหว่างดำเนินการสำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓.๒ นกั เรยี น ครู และบุคลากร ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ๑) ครู และบุคลากร ต้องได้รับการฉีดวัคซีนครบโดส ตั้งแต่ร้อยละ ๘๕ ขึ้นไป ส่วนนักเรียน และผู้ปกครองควรได้รับวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขโดยเฉพาะสถานศึกษาที่อยู่ในพื้นท่ี ควบคมุ สูงสุด (พน้ื ทส่ี แี ดง) และพื้นทคี่ วบคุมสูงสุดและเขม้ งวด (พนื้ ทีส่ ีแดงเข้ม) ๒) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามีการทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble และหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมข้ามกลุ่มกัน โดยเฉพาะพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นที่ ควบคมุ สูงสุดและเข้มงวด (พนื้ ท่ีสแี ดงเขม้ ) ๓) ถ้านักเรียน ครู และบุคลากรมีอาการเข้าข่าย (Inclusion Criteria) กับการติดเชื้อ โควิด ๑๙ หรือสัมผัสกลุม่ เสี่ยงสูงให้ดำเนินการตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวิธีที่เหมาะสม โดยเฉพาะกลุ่มที่ไม่ได้ รับวัคซีนตามเกณฑ์พร้อมทั้งรายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ทันทีและปฏิบัติตามแผ น เผชญิ เหตกุ รณีมผี ลตรวจเป็นบวก ๔. องค์ประกอบด้านการดำเนินการของโรงเรียน หรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา ตอ้ งดำเนนิ การ ดังนี้ ๔.๑ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ทั้งรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) ๔.๒ นักเรียน ครู และบุคลากรที่อยู่ในพื้นที่ต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) อย่างต่อเนื่อง ตามเกณฑจ์ ำแนกตามเขตพื้นทกี่ ารแพรร่ ะบาด ๔.๓ นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษามีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเช้ือเป็นระยะตามแนวทาง ของคณะกรรมกรรมการควบคุมโรคระดบั จงั หวัดกำหนด ๔.๔ ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ๔.๕ นักเรียน ครู และบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เขียนบันทึก Timeline กิจกรรม ประจำวนั และการเดินทางเขา้ ไปในสถานท่ีต่าง ๆ แตล่ ะวนั อย่างสม่ำเสมอ ๔.๖ ปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง ๗ มาตรการเข้มงวดสำหรบั สถานศึกษาประเภทไป-กลบั อย่างเคร่งครัด ๔.๖.๑ สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID โดยถือปฏิบตั อิ ยา่ งเขม้ ข้น ต่อเน่ือง 4

๔.๖.๒ ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมข้ามกลุ่มกัน และจดั นกั เรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกนิ ๒๕ คน หรือจดั ให้เวน้ ระยะห่างระหว่างนักเรียน ในห้องเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั ๔.๖.๓ จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาตาม หลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร และหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การ ปรุงประกอบอาหาร หรอื การสั่งซือ้ อาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ทีถ่ ูกสขุ ลกั ษณะ และต้องมีระบบ ตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบริโภค ๔.๖.๔ จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการ ป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำ อุปโภคบริโภค และการจดั การขยะ ๔.๖.๕ จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกักชั่วคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามี การตดิ เช้ือโควดิ ๑๙ หรอื ผลตรวจคัดกรองหาเชอ้ื เปน็ บวก โดยมกี ารซักซอ้ มอย่างเคร่งครัด โดยมีความร่วมมือ กบั สถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพ้ืนทที่ ี่ดูแลอย่างใกล้ชดิ ๔.๖.๖ ควบคุมดูแลการเดินทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเขม้ ขน้ โดย หลีกเล่ยี งการเข้าไปสัมผสั ในพ้ืนท่ีต่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทางจากบ้านไป-กลบั โรงเรียน ท้ังกรณีรถรับ-ส่ง นักเรียน รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ ๔.๖.๗ ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซึ่ง ประกอบด้วยข้อมูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจคัดกรองหาเชื้อ ตามแนวทางคณะกรรมการควบคุมโรค ระดับพื้นที่ และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สแี ดง) และพ้ืนทคี่ วบคมุ สงู สุดและเข้มงวด (พ้ืนทีส่ แี ดงเขม้ ) ๔.๗ กรณสี ถานศกึ ษาต้ังอยู่ในพ้นื ท่ีควบคุมสูงสดุ (พืน้ ที่สแี ดง) และพน้ื ทค่ี วบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พื้นที่สีแดงเข้ม) กำหนดให้สถานประกอบกิจการ กิจกรรม ที่อยู่รอบรั้วสถานศึกษาให้ผ่านการประเมิน Thai Stop Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting โดยให้มีการกำกับร่วมกับคณะกรรมการโรคติดต่อระดับ พื้นท่ี 5

ตารางมาตรการในโรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษา จำแนกตามเขตพืน้ ท่กี ารแพรร่ ะบาด สรปุ มาตรการ ๖ หลกั ๖ เสรมิ ๗ เข้มงวด ๖ มาตรการเสริม** (SSET-CQ) ๖ มาตรการหลกั * (DMHT-RC) ๑. Self-care ดแู ลตนเอง ๒. Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตวั ๑. Distancing เวน้ ระยะหา่ ง ๓. Eating กินอาหารปรุงสุกใหม่ ๒. Mask wearing สวมหน้ากาก ๔. Track ลงทะเบียนเข้าออกโรงเรยี น ๓. Hand washing ลา้ งมือ ๕. Check สำรวจตรวจสอบ ๔.Testing คัดกรองวัดใช้ ๖. Quarantine กักกันตวั เอง ๕. Reducing ลดการแออัด ๖. Cleaning ทำความสะอาด 6

๗ มาตรการเข้มงวดสำหรับสถานศึกษา** ๑. สถานศึกษาประเมนิ ความพรอ้ มเปิดเรยี นผ่าน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล ผ่าน MOECOVID โดยถือปฏิบตั อิ ยา่ งเข้มข้น ต่อเนื่อง ๒. ทำกิจกรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Bubble หลกี เลย่ี งการทำกจิ กรรมขา้ มกลุม่ ๓. จัดระบบการให้บริการอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ ๔. จัดการดา้ นอนามัยส่งิ แวดล้อมให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำ ความสะอาด คณุ ภาพนำ้ อปุ โภคบรโิ ภค และ การจดั การขยะ ๕. จัดให้มี School Isolation มแี ผนเผชญิ เหตุ และมีการชกั ซอ้ มอย่างเครง่ ครัด ๖. ควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางจากบ้านไปโรงเรียน (Seal Route) กรณรี ถรับ-สง่ นักเรียน รถส่วนบุคคล และ พาหนะโดยสารสาธารณะ ๗. จัดใหม้ ี School Pass สำหรับนักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา 7

สว่ นที่ 2 แนวปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งเปิดภาคเรยี น 8

สว่ นที่ 2 แนวปฏบิ ัติระหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น ในระหว่างเปิดเรียนสถานศึกษาต้องปฏิบัติตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขแล ะ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอยา่ งเคร่งครัด เพื่อป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา เป็นสำคัญ เปน็ ๒ กรณี ดงั น้ี ๑. กรณีเปิดเรยี นได้ตามปกติ (Onsite) สถานศึกษาตอ้ งปฏบิ ัตดิ งั น้ี 9

10

11

12

๒. กรณีโรงเรียนไมส่ ามารถเปดิ เรียนได้ตามปกติ การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ซึ่งสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โรงเรียนศึกษานารีวิทยา จึงมีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่าน อนิ เทอรเ์ น็ตและแอปพลเิ คชัน โดยมีการจัดการเรยี นการสอนผา่ น Google Classroom, Google meet 13

แผนภาพแนวปฏิบตั ริ ะหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น 1. การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) 14

ส่วนท่ี 3 แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) 15

ส่วนท่ี 3 แนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กลุ่มบริหารวิชาการพิจารณาเลือกจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณารูปแบบให้มีความ เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคลากรเป็นสำคัญ โดยโรงเรียนศึกษานารีวิทยา มี ๒ รูปแบบ หลัก 1.รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบชั้นเรียน (Onsite) ลักษณะแบบผสมผสาน (Blended Learning) โรงเรียนศกึ ษานารีวิทยา กำหนดให้มีการจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ระหว่างการเรียนรู้ในชั้นเรียนปกติ (On-site) และการเรียนรู้ ผ่านระบบออนไลน์ (Online learning) ผ่านระบบ Google Classroom และ Google Meet เมื่อเข้าสูช่ ว่ งของการเปิดภาคเรยี นที่ 2 โดยใช้รูปแบบท่ี 4 การสลับกลุม่ นักเรยี นแบบแบ่งนกั เรียนในห้องเรยี นเป็น 2 กลมุ่ (กลุม่ A และกลุ่ม B) ไม่เกิน 25 คน/กลมุ่ 1.1 รปู แบบของการเรียนรใู้ นชั้นเรียนปกติ (On-site) แบ่งนกั เรียนสลับกลุ่มมาเรียนในห้องเรียน ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม A และกลุ่ม B โดยจำกัดให้มีจำนวนนักเรียน 20 – 25 คนต่อห้องเรียน สลับ กลุ่มกันมาเรียน เป็นสัปดาห์เว้นสัปดาห์ (ดังตารางการมาโรงเรียนรายสัปดาห์ที่แนบมาด้วย) โดยนักเรียน ท่มี าเรยี นที่โรงเรยี นและนกั เรียนท่ีเรียนทบ่ี า้ น ตอ้ งมีโอกาสในการเรยี นรู้ท่ีไม่แตกต่างกนั ตารางแสดงการแบง่ กลมุ่ A และกลุ่ม B ของนักเรยี น สัปดาห์ กลุ่มเรียน On-site กลุ่มเรยี น On-Line หมายเหตุ กลุ่ม B (เลขคู)่ ทกุ ระดบั ชนั้ 1 กลุม่ A (เลขค่)ี กลมุ่ A (เลขคี่) 2 กลมุ่ B (เลขค)ู่ กลมุ่ B (เลขค่)ู 3 กลุม่ A (เลขค่ี) กลุ่ม A (เลขคี)่ 4 กลุ่ม B (เลขค)ู่ 1.2. การเรยี นสด (Live streaming) ผ่าน Google meet ของ Google Classroom ตามรายวิชา ซึ่งนักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงได้จาก รหัส Google meet ตามรหัสที่ใช้ในภาคเรียนที่ 1/2564 (หรือ เขา้ รหสั Google Classroom ทห่ี น้าเว็บไซตข์ องโรงเรยี น www.snws.ac.th) 1.3. การนับเวลาเรียน ให้นับจากจำนวนช่ัวโมงที่เรียนจริงตามตารางสอนตามที่มีการเรียนร้ผู ่าน ระบบออนไลน์ และกจิ กรรมหรอื งานใด ๆ ทม่ี อบหมาย ภาระงานหรือกิจกรรมนั้นมีการระบุไว้อย่างชัดเจนใน กำหนดการสอนของแตล่ ะรายวิชา 1.4. การเก็บคะแนน ให้ครูผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนระหว่างที่มีการเรียน การสอน (Formative Assessment) ผ่านการมีส่วนร่วมในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ (Online Learning) หรือเมื่อนักเรยี นสง่ ภาระงานทีม่ อบหมาย 16

๒. รูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning) ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) เป็นรูปแบบการเรียนการสอนผา่ นอินเทอร์เน็ต และแอปพลิเคชนั ในการจัดการเรยี นการสอน ผ่าน Google Classroom, Google Meet คลงั ความรู้ (Knowledge Bank) ทสี่ นับสนนุ การเรยี นการสอนด้วยระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ( Digital Learning Platform) คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนุนการเรยี นการสอน ดว้ ยระบบเทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Learning Platform) ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทำให้ นกั เรียนไมส่ ามารถกลับไปเรียนแบบ Onsite ทสี่ ถานศึกษาได้ แตก่ ารเรยี นของนกั เรียนยังคงต้องดำเนินต่อไป ไม่หยุดยั้ง ดังนั้น คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้ในระบบเทคโนโลยีดิจิทัล(Digital Learning Platform) สนบั สนุนการจัดการเรียนการสอนให้กับครู บคุ ลากรทางการศึกษา และนกั เรียน เลือก นำไปใชใ้ นการนำไปจัดการเรยี นการสอนให้เหมาะสม ดังน้ี 1. SNWS Digital Library เป็นเครื่องมือสำหรับจัดทำหนังสือให้อยู่ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (eBook หรือ e-Magazine) สามารถประยุกต์การใช้งานได้หลายรูปแบบ เช่น หนังสือผลงานทางวิชาการ เอกสารการอบรม หรือทำ รายงานการประชุมและอื่นๆ เพือ่ สร้างแหล่งข้อมูล e-Library หรอื Digital Library เพมิ่ โอกาสการเรียนรู้ของ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน เป็นการเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์หนังสือและส่ือ ตา่ งๆ ของโรงเรยี น ในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ส่ผู สู้ นใจ โดยผ่านเครอื ข่าย Internet หรือ Intranet โดยการเผยแพรผ่ ่านห้องสมดุ อเิ ล็กทรอนกิ สบ์ นเวบ็ ไซต์ 2. Distance Learning Information Technology : DLIT เว็บไซต์ http://www.dlit.ac.th/ DLIT เป็นการจัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มุ่งแก้ปัญหาการขาดแคลนครูของโรงเรียน ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ จำนวน ๑๕,๕๕๓ โรงเรียนครอบคลุมโรงเรียนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหา การศึกษาโดยรวมอย่างยั่งยืน ซึ่งการพัฒนาคุณภาพศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( Distance lerning information technology : DLIT ) มี ๕ รปู แบบ 17

3. DLTV เว็บไซต์ www.dltv.ac.th/ แอปพลิเคชัน DLTV และช่องยูทูป DLTV 1Channel - DLTV 12 Channel และ DLTV 15 Channel Distance Learning Television (DLTV) คือ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เกิดจากพระราชดำริ ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงมีพระราชปณิธาน ในการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดใน ขณะนั้น เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แก้ปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น และครูสอนไม่ตรง สาขาวิชาเอก โดยเฉพาะโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล ปัจจุบันโครงการนี้อยู่ในความดูแลของมูลนิธิศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยจะถ่ายทอดการเรียนการสอนจาก โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรม ราชูปถัมภ์ อำเภอหวั หิน จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ และเผยแพร่ภาพไป ทัว่ ประเทศ 4. สสวท Project 14 เว็บไซต์ https://proj14.ipst.ac.th/ Project 14เป็นโครงการนำสู่ความปกติใหม่ทางการศึกษาของ สสวท. (New Normal Education) ที่ การเรียนรู้ไม่ได้จำเป็นเพียงแค่ในห้องเรียน แต่สามารถเกิดได้ทุกที่ทุกเวลาตามที่ผู้เรียนเลือกหรือกำหนด Project 14 เป็นบทเรียนออนไลน์ซึ่งประกอบด้วยวีดิทัศน์การสอนเพื่อส่งเสริมวิถีการเรียนรู้ใหม่ที่ผู้เรียนมี แหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ตรงตามหลักสูตร เพื่อใช้ในการศึกษาค้นคว้า เรียนรู้ หรือทบทวนบทเรียน นอกจากนี้ ครูผู้สอนยังสามารถใช้แหล่งเรียนรู้นี้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ตามปกตใิ นห้องเรียน เพ่อื ส่งเสริมคุณภาพการเรียนรูข้ องผูเ้ รยี น 5. DEEP เวบ็ ไซต์ https://openapi.deep.go.th/opendata/ ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้แห่งชาติ (National Digital Learning Platform) เพื่อเป็นช่อง ทางการเรียนออนไลน์ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับ มัธยมศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพถึงประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สงู การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย รวมถึง การฝึกอบรม เพื่อพัฒนาทักษะของครู และบุคลากรทางการศึกษาในกำกับ กระทรวงศึกษาธิการ และขยายไปถึงประชาชนทุกช่วงอายุทั่วประเทศ ที่จะได้มีโอกาส สามารถเข้าถึงเนื้อหา ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ อันจะนำไปสู่การเกิดผลสัมฤทธิ์ทางด้านการศึกษา คุณภาพของการศึกษาใน ภาพรวมของประเทศ 18

6. true ปลกู ปัญญา เวบ็ ไซต์ https://www.trueplookpanya.com/ ทรูปลูกปัญญาดอทคอม เว็บไซต์คลังความรู้คู่คุณธรรมที่ใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย อัดแน่นด้วยสาระ ความรู้ ทุกวิชาทกุ ระดับชั้น นำเสนออย่างสร้างสรรค์ในรูปแบบมัลติมีเดีย สนุกกับการเรียนรู้ดว้ ยตัวเอง ทั้งยัง เปิดโอกาสให้ทุกคนสร้างคอนเทนต์ แลกเปลี่ยนความรู้ แบ่งปัน ประสบการณ์ร่วมกัน เว็บไซต์ทรูปลูกปัญญา เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้แบบมลั ติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ด้วยคอนเทนต์กว่าล้าน คอนเทนต์ ในรปู แบบคลิปวิดีโอ ไฟล์เสยี ง ไฟลภ์ าพ และเอกสาร 7. Scimath เว็บไซต์ https://www.scimath.org/index.php Scimath คลังความรู้สู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทำโดยสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสื่อการเรียนการสอน โครงงาน บทความ ขอ้ สอบ และรายการโทรทัศนแ์ ละวิทยทุ ี่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. ศนู ย์เรยี นรู้ดิจิทลั ระดบั ชาติด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท. เว็บไซต์ https://learningspace.ipst.ac.th/ ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลฯ คือ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน เป็นศูนย์การ เรยี นร้แู ละตอ่ ยอดเทคโนโลยีดา้ นดจิ ทิ ลั ใหก้ ับเดก็ เยาวชน และประชาชนในชุมชนท่ัวประเทศให้สามารถค้นหา ข้อมลู เรียนรูไ้ ด้ด้วยตนเอง ผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต เป็นการลดความเหล่ือมล้ำในการเขา้ ถึงเทคโนโลยีดิจิทัล ใหค้ นไทยทกุ คนได้ใช้บริการอยา่ งทวั่ ถงึ และเท่าเทียมกนั 9. สะเต็มศึกษา (STEM Education Thailand) เวบ็ ไซต์ http://www.stemedthailand.org/ สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน ๔ สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา กระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสร้างความ เชื่อมโยงระหว่าง ๔ สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทำงาน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เป็นการ จัดการเรยี นรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจำทฤษฎีหรือกฎทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แตเ่ ป็นการสร้างความ เข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่านั้นผา่ นการปฏิบัตใิ ห้เห็นจริงควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคำถาม แก้ปัญหา และการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ ๆ พร้อมทั้งสามารถนำข้อค้นพบนั้นไปใช้หรือบูรณาการกับ ชวี ติ ประจำวนั ได้ 19

8. ระบบออนไลน์ขอ้ สอบ PISA เวบ็ ไซต์ https://pisaitems.ipst.ac.th/ ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เป็นระบบสารสนเทศที่เผยแพร่ข้อสอบที่ OECD อนุญาตให้เผยแพร่ และ ข้อสอบที่พัฒนาโดย สสวท. การลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA ที่ OECD อนุญาตให้ เผยแพร่ และขอ้ สอบทีพ่ ฒั นาโดย สสวท. สามารถใช้ช่อื ผใู้ ช้ (User Name) เดยี วกันได้ แอปพลิเคชนั (Applications) สนับสนนุ การเรยี นการสอนทางไกล 1. Google App Google Apps คือ แอปพลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย Google เพื่อให้บริการทางด้านการบริหาร จดั การภายในองค์กร และใช้ในการจดั การเรยี นการสอนซ่งึ ได้มีการรวมแอปพลิเคชัน ต่างๆ ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี 1.1 Gmail เป็นการใหบ้ รกิ ารสง่ จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ 1.2 Google Classroom Classroom เป็นห้องเรียนท่ีออกแบบมาเพื่อช่วยเป็นช่องทางให้ครู สามารถสร้าง เนื้อหา งาน แบบฝึกหดั ส่งใหน้ กั เรียนไดโ้ ดยสามารถทำสำเนาเอกสารส่งใหน้ ักเรียนแต่ละคนได้ โดยอัตโนมัติ โดยระบบจะสร้างโฟลเดอร์ของไดรฟ์สำหรับแต่ละงานไว้ เมื่อครูโพสต์งาน หรือ เนื้อหา ระบบ จะแจ้งเตือนไปยังอีเมลของนักเรียนในชั้นเรียน นักเรียนสามารถเข้ามาตรวจสอบของที่ต้องทำได้ผ่านอีเมล หรือ Classroom เมื่อนักเรียนส่งงานครูสามารถตรวจ แล้วส่งคะแนนคืนให้กับนักเรียน และสามารถดาวน์ โหลดคะแนนของชั้นเรียนเป็นไฟล์ Google Sheet และนักเรียนสามารถติดตามงานค้าง หรือตรวจสอบผล คะแนนงานที่ส่ง ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นแบบสาธารณะใน Classroom และแสดงความคิดเห็น ส่วนตวั ต่องานนัน้ ๆ ได้ 1.3 Google Meet โปรแกรมสำหรับการประชุมทางวิดีโอแบบออนไลน์ โดยผู้สอนที่มีบัญชี Google จะสามารถสร้างห้องเรียนออนไลน์ที่รองรับนักเรียนได้สูงสุด ๑๐๐ คน และใช้สอนได้สูงสุด ๖๐ นาทีต่อการ สร้างห้อง ๑ ครั้ง นอกจากนี้ก็ยังมีฟีเจอร์ขั้นสูงที่รองรับนักเรียนภายในหรือภายนอกชั้นเรียนสูงสุด ๒๕๐ คน และสตรมี มิง่ แบบสดสำหรบั ให้คนเข้ามาดูพร้อมกันไดส้ ูงสุดถงึ ๑๐๐,๐๐๐ คน 20

1.4 Google Site เป็นบริการสร้างหน้าเว็บไซต์ออนไลน์ ผู้ใช้งานสามารถสร้างเว็บไซต์ของตัวเอง ขึน้ มาใช้งานได้ ซงึ่ จะมี Template ตา่ งๆ ให้เราได้เลอื กการใช้งานเหมอื นกับการสร้างเวบ็ บล็อกท่วั ไป 1.5 Google Doc เป็นบรกิ ารทส่ี ามารถจัดการเอกสารแบบออนไลนโ์ ดยไมต่ ้องติดต้ังโปรแกรม 1.6 Google Slide เปน็ บรกิ ารท่ีสามารถจดั การงานนำเสนอแบบออนไลนโ์ ดยไม่ตอ้ งติดตง้ั โปรแกรม 1.7 Google Sheet เป็นบริการที่สามารถจัดการตารางคำนวณแบบออนไลน์โดยไม่ต้องติดตั้ง โปรแกรม 1.8 Google Form เปน็ บรกิ ารที่สามารถจดั การแบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบออนไลน์ 1.9 Google Drive เป็นบริการทีท่ ำให้เราสามารถนำไฟล์ตา่ ง ๆ ไปฝากไว้กับ Google ผ่าน พื้นที่เก็บ ขอ้ มลู ระบบคลาวด์และการสำรองขอ้มลู ไฟล์ท่ีมีความปลอดภัย 1.10 Jamboard จอแสดงผลอัจฉริยะซึ่งจะดึงรูปภาพจากการค้นหาใน Google ได้อย่างรวดเร็ว บันทึกงานในระบบคลาวด์โดยอัตโนมัติ ใช้เครื่องมือการเขียนด้วยลายมือที่อ่านง่ายและการจดจำรูปร่าง ผู้ใช้ จะวาดเขยี นดว้ ย Stylus แตล่ บไดด้ ว้ ยน้ิวมอื แบบเดยี วกบั Whiteboard 1.11 Youtube YouTube เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่สามารถใช้ถ่ายทอดสดการสอน และเป็นเว็บไซต์ คลังคลิปวิดีโอที่มีจำนวนมากกว่าล้านคลิปจากผู้ใช้งานที่อัปโหลดทั่วโลก ภายใต้การให้บริการฟรีและมี หลากหลายหมวดหมวดใหเ้ ลอื กชม 21

2. Padlet เว็บไซต์ที่ให้บริการกระดานแสดงความคิดเห็นออนไลน์ รองรับผู้ใช้หลายคน ผู้ใช้สามารถเข้ามา อภิปรายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เขียนคำถาม คำตอบ หรือสรุปเนื้อหาเป็นช่องทางแสดงความคิดเห็นของ นกั เรยี นและครหู รอื เพือ่ น ๆ ในชัน้ เรียน 3. Wordwall เป็นเว็บไซต์ที่ครูสามารถใช้ในการสร้างสื่อการสอนประเภทเกมออนไลน์ หรือสามารถพิมพ์เป็นใบงาน ให้นักเรียนทำ 4. Kahoot เป็นโปรแกรม เกมที่ตอบสนองต่อการเรียนการสอน ช่วยให้นักเรียนสนุกกับการเรียนโดยเปน็ เครือ่ งมือ ช่วยในการประเมินผล โดยผ่านการตอบคำถาม การอภิปราย หรือการสำรวจความคิดเห็นKahoot เป็นเกม การเรยี นรู้ ซึง่ ประกอบด้วย คำถามปรนัย เช่นการตอบคำถาม การอภิปราย หรอื การสำรวจ คำถามจะแสดงที่ จอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนตอบคำถามบนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของตนเอง เช่น คอมพิวเตอร์ Smartphone หรอื 5. Live Worksheet เว็บไซต์ที่ให้คุณครูหรือบุคคลที่สนใจสามารถสร้างใบงานแบบฝึกหัดออนไลน์ และให้นักเรียนเข้ามาทำ ใบงานออนไลน์ได้โดย ไมต่ ้องพมิ พเ์ ปน็ กระดาษออกมา อกี ทั้งยงั สามารถตรวจคะแนนหรือส่งคำตอบให้ครูผ่าน ทางอีเมล 6. Canva Canva เป็นแอปพลิเคชันสำหรบั สร้างสื่อการนำเสนอหลากหลายรปู แบบ เช่น Presentation, Poster, Card, Resume, Certificate, Infographic เป็นต้น ซึ่ง Canva นั้นจะมีขนาดมาตรฐานให้เลือกหรือผู้ใช้ สามารถกำหนดขนาดเองได้ Canva ใชง้ านง่าย สวยงาม สามารถแบง่ ปันใหแ้ กผ่ ู้อ่ืนได้ 22

7. Virtual School เป็นระบบการเรียนการสอนโดยระบบออนไลน์ดว้ ยเทคโนโลยี AI ท่สี ามารถเรยี นคูข่ นานไปกับการเรียน ปกติ โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 เป็นระบบที่ผู้เรียนจะต้องเรียนและทำแบบทดสอบให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดในแต่ละวิชา และสามารถออกใบ ประกาศนียบัตรรับรองความรู้ให้กับผู้เรียนด้วยระบบ AI ท่านผู้ปกครอง ครูผู้สอนติดตามผลการเรียนแบบ Real Time ได้จาก Application ระบบนรี้ องรบั การใชง้ านทุกอุปกรณ์ และทกุ ระบบปฏบิ ัตกิ าร 8. Student Care Student Care คือ \"ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น\" ที่ทำงานบนคลาวน์คอมพวิ ติง (Cloud Computing) และให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Software as a Service) โดยระบบเน้นในเรื่องการ ติดต่อสื่อสารระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองเป็นหลัก ผ่านทางโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ ( Mobile Application) โปรแกรมไลน์ ( LINE Application ) และทางข้อความสั้น (SMS) และระบบนี้ยังช่วยเพิ่ม ความสัมพันธ์ที่ดีและความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองในการช่วยกนั ดูแลช่วยเหลือนักเรยี นผ่านช่อง ทางการติดต่อสื่อสารที่มีให้เลือกใช้งานมากถึง 5 ช่องทาง ดังนี้ Mobile Application, LINE Application, Web Application, SMS (ทุกเครอื ข่าย), E-mail 23

สว่ นท่ี 4 บทบาทนักเรยี น ครู และผ้ปู กครอง 24

สว่ นที่ 4 บทบาทนกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังคงมีการแพร่ระบาด อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โรงเรยี นศึกษานารีวิทยา จงึ กำหนดบทบาทของนกั เรยี น ผูป้ กครอง และครดู งั น้ี --------------------- สำหรบั นกั เรยี น --------------------- นักเรียนเปน็ หัวใจสำคัญท่ตี ้องได้รับความคมุ้ ครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภยั อยา่ งสงู สุด ทงั้ น้ี นักเรียน จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการอย่าง เครง่ ครดั ตัง้ แตก่ ารเดนิ ทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยใู่ นโรงเรยี น จนถึงการกลับบา้ น บทบาทของนักเรียน ควรมดี ังนี้ ๑) เตรยี มความพรอ้ มในเรอื่ งอุปกรณก์ ารเรียน เครอ่ื งใชส้ ่วนตัว และอ่ืน ๆ ทจ่ี ำเปน็ สำหรับการเรยี น ๒) ปฏบิ ตั ิตาม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสขุ กำหนดอย่างเคร่งครดั ๓) ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของ โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลง่ ขอ้ มลู ที่เชอื่ ถอื ได้ ๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ และ สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไ่ ด้กล่ิน ไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง และอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อยา่ งเคร่งครัด ๕) ขอคำปรกึ ษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกบั การเรยี น อุปกรณก์ ารเรียนเรียน เคร่ืองใช้ส่วนตัว หรือพบความผิดปกติของร่างกายที่อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทันที 6) ในกรณเี รียน On-Line หรือ On-Site (กล่มุ ของนักเรียนทเ่ี รียนออนไลน์ในแต่ละสัปดาห์) นักเรียน เข้าเรียนผ่านระบบออนไลน์ (Online learning) โดยการเรียนสด (On Air) หรือผ่านระบบ Google meet ใน Classroom ตามตารางเรียนภาคเรียนท่ี 2/2564 7) นกั เรยี นทำแบบทดสอบภาระงาน หรอื กจิ กรรมหรืองานใด ๆ ทม่ี อบหมาย ผา่ นภาระงานที่ครูแจ้ง ใน Google Classroom รายวชิ า และส่งงานภายในระยะเวลาทก่ี ำหนดเพ่อื เปน็ การนับเวลาเรียน 8) เตรียมพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในแต่ละวัน เตรียมอุปกรณ์การเรียน เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตและคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต และอื่น ๆ บริหารเวลาใน การเข้าเรียน/ส่ง งานตามทแ่ี ตล่ ะวิชาวางกำหนดการเรียนหรือส่งงาน (ตรวจสอบไดท้ าง Google Classroom ของครแู ต่ละท่าน) 9) นักเรียนที่ต้องมีการฝึกซ้อมเพื่อการแข่งขัน โรงเรียนขอให้นักเรียนประสานงานกับครูผู้ฝึกซ้อม ในการปรับรูปแบบการฝึกซ้อมโดยไม่ให้กระทบกับเวลาเรียนตามตารางเรียนภาคเรียนที่ 2/2564 หรือตาม 25

เวลาที่ครูประจำวิชานัดหมายในกรณีที่มีความจำเป็นต้องฝึกซ้อมโดยใช้สถานที่ภายในโรงเรียนต้องให้ครูผู้ ฝกึ ซ้อม ขออนญุ าตเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรกับกลุ่มบริการวชิ าการและผู้ปกครองของนกั เรยี นกอ่ นการฝึกซอ้ มทุกคร้ัง --------------------- สำหรับผ้ปู กครอง --------------------- 1) นักเรียนทีไ่ ม่มีอุปกรณ์ในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ ในกรณีที่นักเรียนไม่มีอุปกรณ์ (คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถอื หรือแทบ็ เล็ต) หรือชัว่ โมงอนิ เทอร์เนต็ สำหรับใชใ้ นการเรียนผ่านระบบออนไลน์ นักเรียนประสานงานกับครูที่ปรึกษาผ่านช่องทางการติดต่อได้ทั้งเบอร์โทรศัพท์ /ไลน์กลุ่มของห้องเรียน เพื่อหา แนวทางในการแก้ไขและดแู ลชว่ ยเหลอื เป็นรายกรณี 2) ผูป้ กครองทุกท่านมีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือนักเรียน และประสานงานกับครูที่ปรึกษา ในการ กำกับ ติดตาม และสนับสนุนนักเรียน ในด้านอุปกรณ์ วิธีการและกำลังใจ ในการเรียนผ่าน On-Site และ ระบบออนไลน์ ดงั นี้ 2.1 ให้ความสำคัญกับเวลาเรียนของนักเรียนในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 08.30–16.00 น. โดยระวงั งานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ทอ่ี าจสง่ ผลกระทบต่อเวลาและบรรยากาศในการเรียน ของนกั เรยี น 2.2 จัดเตรียมอุปกรณ์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต และสภาพแวดล้อม ให้พร้อมสำหรับ การเรียนรู้และการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ระหวา่ งภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ของนกั เรยี น 2.3 กำกับ ติดตาม การเข้าเรียนของนักเรียน ให้เข้าเรียน ผ่านการเรียนสด (Live streaming), การเรยี นผา่ นคลปิ (Clip video) และการศกึ ษาดว้ ยตนเอง (Self-study) 2.4 กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการเข้าเรียน ภาระงาน หรือกิจกรรมหรืองานใด ๆ ทีม่ อบหมาย (ตรวจสอบได้ทางหนา้ เวบ็ ไซตข์ องโรงเรยี น www.snws.ac.th) 2.5 ตดิ ตามประกาศ ข่าวสารต่าง ๆ ของโรงเรยี น ผา่ นช่องทางต่าง ๆ เช่น Line กล่มุ ผปู้ กครอง, เวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน www.snws.ac.th, เพจประชาสมั พนั ธ์ โรงเรยี นศึกษานารีวทิ ยา 2.6 ประสานงานกบั คุณครทู ีป่ รึกษาในกรณีท่นี ักเรียนพบปญั หาในการเรียน --------------------- สำหรับครูผู้สอน --------------------- 1) จดั การเรียนร้ผู า่ น On-Site และระบบออนไลน์ (Online Learning) บนระบบ Google Classroomตามตารางเรียนภาคเรียนท่ี 2/2564 หรอื ตามเวลาที่ครปู ระจำวชิ านดั หมาย โดยมวี ธิ ีการเรียนรู้ 3 รูปแบบดงั น้ี 1.1 การเรียนสด ผา่ น Google meet (ชอ่ งทางหลัก), Zoom, Discord, Line หรอื ช่องทางอน่ื ๆ 1.2 การเรยี นผา่ นคลปิ (Clip Video) การอัปโหลดคลิปและเนื้อหาใน Google Classroom 1.3 การศึกษาด้วยตนเอง (Self-Study) ผ่านเนื้อหาที่ครูได้อัปโหลดใบความรู้ หรือลิงก์แหล่ง เรียนรู้ ขอให้คุณครูนัดหมายการเรียน หรือเน้ือหาการเรียน และภาระงานให้ตรงกับตารางเรียนภาคเรียนที่ 2/2564 รวมถงึ กำหนดระยะเวลาในการสง่ งานใหช้ ัดเจนและเหมาะสม 2) ครูผูส้ อนออกแบบการเรียนรู้ เพ่อื ให้ผเู้ รียนได้เรียนรใู้ นสง่ิ ท่ีจำเป็นและเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยมี 2 ลกั ษณะ ได้แก่ 26

2.1 เน้นตัวชี้วัดที่ต้องรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ฯลฯ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) 2.2 บรู ณาการตัวช้วี ดั ควรรู้ กับกจิ กรรมภาคปฏิบัตหิ รือภาระงานของนกั เรียน 3) ครูผู้สอนปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผลให้เหมาะสมกับสถานการณ์แพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น การใช้ส่อื การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ การ มอบหมายงาน การทำรายงาน รวมถึงมีการวัดและประเมินผลระหว่างที่มีการเรียนการสอน (Formative Assessment) เป็นต้น 4) ครูผู้สอนพิจารณาปริมาณของภาระงาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 โดยคำนึงถึงว่า นักเรียนแต่ละคนมีวิชาเรียนมากถึง 12 – 15 รายวิชาต่อสัปดาห์ มีภาระงานราย สัปดาห์ที่มากและอาจไม่พรอ้ มในการเรยี นร้อู ย่างเตม็ ที่ 5) ครูผู้สอนเช็กเวลาเรียนของนกั เรียน เมื่อนักเรียนเข้าเรียน On-Site หรือ On-Line หรือการเขา้ ชน้ั เรยี นของ Google Classroom 6) ครูผู้สอนรายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ประจำวัน โดยรายงานสรุปผลการสอนรายคาบ ก่อนเวลา 18.00น. ของทกุ วัน 7) การวดั และประเมินผลการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กิจกรรม พัฒนาผู้เรียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ต้องครอบคลุมและเป็นไปตามมาตรฐานตัวช้ีวัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด ฯลฯ (ฉบับปรบั ปรุงพุทธศักราช 2560) ของรายวชิ านั้น ๆ ท้ังนี้ ให้ครผู ูส้ อน ปฏิบัตติ ามแนวทางการวัดและประเมินผลตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 8) กิจกรรม Homeroom ให้ครูที่ปรึกษา สื่อสาร ช้แี จงและทำความเข้าใจกับนักเรียนถึงความ จำเป็น ในการปรับวิธีการจัดการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ดังกล่าวให้ชัดเจนอาจมีการ ปรับเปลย่ี นวธิ ีการหรือ 27

ภาคผนวก 28

แนวทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนศกึ ษานารีวิทยา ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ---------------------------------------------------------------------------------------------- กำหนดการ (Timeline) ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนศึกษานารวี ทิ ยา วนั ท่ี การดำเนนิ งาน/กิจกรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ /หน่วยงานท่เี ก่ียวชอ้ ง 29 ก.ย. 2564 นักเรยี นฉดี วคั ซนี ซโิ นฟารม์ เข็มท่ี 1 งานพยาบาล 8 ต.ค. 2564 นักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 ฉีดวัคซนี ไฟเซอร์ เข็มท่ี 1 งานพยาบาล 14 ต.ค. 2564 กิจกรรม Clear & Clean กลมุ่ บริหารทวั่ ไป 15 ต.ค. 2564 นกั เรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ฉีดวคั ซนี ไฟเซอร์ เขม็ ที่ 1 งานพยาบาล 20 ต.ค. 2564 นกั เรยี นฉดี วัคซีนซโิ นฟารม์ เข็มที่ 2 งานพยาบาล 21 ต.ค. 2564 ประชมุ ฝ่ายบริหาร วางกำหนดการและแนวปฏิบตั ิ เพื่อ ฝ่ายบริหาร เตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นที่ 2/2564 และกล่มุ บรหิ ารฯ 27 ต.ค. 2564 ประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา องคก์ รภายนอก และผแู้ ทน ฝา่ ยบรหิ าร และกลุ่ม ชมุ ชนโดยรอบสถานศึกษาเพ่ือชี้แจงและรบั ทราบ ข้อเสนอแนะ บรหิ ารฯ คณะกรรมการ 28 ต.ค. 2564 สำหรับแนวทางในการเปิดภาคเรียนที่2/2564 สถานศกึ ษา 29 ต.ค. 2564 ขฝ้นัา่ ยพบนื้ รฐหิ าานร งานโสตฯ 1 พ.ย. 2564 ประชมุ ครูและบุคลากร ผา่ นระบบออนไลน์ เพือ่ ชแ้ี จงแนวทางใน ครแู ละบคุ ลากรทุกคน การเปิดภาคเรียนท่ี 2/2564 งานพยาบาล นักเรยี นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 ฉดี วคั ซีนไฟเซอร์ เขม็ ท่ี 2 เปดิ ภาคเรียนท่ี 2/2564 ทกุ ระดับชน้ั ในรปู แบบออนไลน์ ครู บุคลากร และนกั เรียนทกุ คน 5 พ.ย. 2564 นักเรียนมธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 ฉีดวคั ซนี ไฟเซอร์ เขม็ ท่ี 2 งานพยาบาล 22 พ.ย. 2564 ประชุมผู้ปกครอง ผ่านระบบออนไลน์ ฝ่ายบรหิ าร งานระบบดูแล เพอ่ื เตรยี มเปดิ ในรปู แบบ On-site ช่วยเหลือนักเรียน งานโสต และ ครู บคุ ลากรทกุ คน 29

วันท่ี การดำเนนิ งาน/กิจกรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ /หน่วยงานท่ีเกี่ยวช้อง 29 พ.ย. 2564 กรณที ่ีสามารถ On-site จดั การเรยี นร้ใู นรูปแบบ On-Site ครู บคุ ลากร และนกั เรยี นทกุ เป็นต้นไป (ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6) โดยใชร้ ูปแบบท่ี 5 การสลับ คน กลุ่มนกั เรยี น แบบแบ่งนักเรียน ในหอ้ งเรียนเป็น 2 กลุ่ม (กลุ่ม A และกลมุ่ B) ไมเ่ กิน 25 คน/กลุม่ งานพยาบาล รว่ มกับ กรณีไมส่ ามารถ On-site จัดการเรยี นรใู้ นรปู แบบออนไลน์ โรงพยาบาลบางปะกอก 8 ครู บคุ ลากร และนักเรยี นทกุ 29 พ.ย. , 7, 13 ตรวจ ATK นักเรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา คน ธ.ค. 2564 7 ธ.ค. 2564 กรณที ่ีสามารถ On-site จดั การเรยี นรใู้ นรูปแบบ On-Site เป็นต้นไป (ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3) โดยใช้รูปแบบท่ี 5 การสลับ กลมุ่ นักเรยี น แบบแบ่งนักเรยี น ในห้องเรียนเปน็ 2 กลุ่ม (กลมุ่ A และกลมุ่ B) ไม่เกนิ 25 คน/กลมุ่ กรณไี มส่ ามารถ On-site จัดการเรยี นรใู้ นรูปแบบออนไลน์ 30

ปฏิทินปฏบิ ตั งิ านโครงการ/กจิ กรรม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มบริหารวชิ าการ โรงเรยี นศึกษานารีวิทยา วนั เดอื น ปี กจิ กรรม หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ 19 ต.ค. 64 26 ต.ค. 64 กจิ กรรมอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “สอนออนไลน์ ยุคโควดิ ดว้ ย Vonder Go” กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์ 27 ต.ค. 64 27 ต.ค. 64 อบรมระบบหอ้ งสมดุ ดิจิทลั SNWS Digital Library บคุ ลากรทกุ คน 1 พ.ย. 64 เปิดภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 สำหรบั ครู บุคลากรทุกคน 1 – 10 พ.ย. 64 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิ เรอื่ ง Wordwall เปล่ียนหอ้ งเรยี นให้เปน็ เกมโชวแ์ ละการ บคุ ลากรทุกคน 8 พ.ย. 64 11 พ.ย. 64 อัดคลิปการสอนแบบงา่ ยๆ 22 พ.ย. 64 22 พ.ย. 64 เปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ทุกระดับชัน้ ในรูปแบบ online บุคลากรทุกคน 23 พ.ย. 64 สอบแกต้ วั คร้งั ที่ 2 ครูประจำวิชา 24-26 พ.ย. 64 ตรวจสมุดบนั ทกึ คะแนนรายวชิ า ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 คร้ังที่ 1 งานวัดผล 27 พ.ย. 64 ส่งผลการสอบแก้ตวั ครง้ั ท่ี 2 ครูประจำวชิ า 27 พ.ย. 64 ประกาศผลการเรียนของนักเรยี นช้นั ม.3 ทใ่ี ชใ้ นการสมคั รเรยี นต่อชั้น ม.4 กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ 29 พ.ย. 64 ประชุมผปู้ กครอง ผา่ นระบบออนไลน์ เพ่ือเตรยี มเปดิ ในรปู แบบ On-Site ฝา่ ยบริหาร งานระบบดแู ล 29 พ.ย. , 7, 13, ธ.ค. 64 และช่วยเหลือนักเรียน ครู 29 พ.ย. 64 บคุ ลากรทุกคน 1 –30 ธ.ค. 64 วนั วชริ าวุธ งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น นักเรยี น ชั้น ม.3 ของโรงเรยี นเดิม ยื่นใบสมัครเข้าเรียนต่อชน้ั ม.4 ประเภท กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ ห้องเรียนพิเศษ กจิ กรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ \"การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูเ้ ชงิ สรา้ งสรรค์ งานส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ด้าน by Kruator card\" เทคโนโลยี กิจกรรมสอนเสรมิ ศักยภาพวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ม.1-6 งานส่งเสริมความเปน็ เลศิ ดา้ น วิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ กรณสี ามารถเปดิ เรยี น On-Site จัดการเรยี นรู้ในรปู แบบ On-Site ครู บุคลากร และนักเรียนทกุ (ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) โดยใช้รปู แบบท่ี 4 การสลบั กลมุ่ นักเรียน คน แบบแบ่งนกั เรียนในห้องเรียนเปน็ 2 กลุ่ม (กลมุ่ A และ กลุ่มB) ไมเ่ กนิ 25 คน/กลุ่ม กรณีไม่สามารถเปิดเรยี น On-Site จัดการเรียนรูใ้ นรปู แบบออนไลน์ ตรวจ ATK นักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา งานพยาบาล ร่วมกับ โรงพยาบาลบางปะกอก 8 กจิ กรรมสอบธรรมมะศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คม ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รับสมคั รสอบ Pre ม.1 กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 31

วนั เดอื น ปี กจิ กรรม หนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ 2 ธ.ค. 64 ประกาศผลการคัดเลือก นกั เรียน ชั้น ม.3 ของโรงเรยี นเดิม ใหเ้ ขา้ เรียนต่อ กลุ่มบริหารวิชาการ ช้นั ม.4 ประเภทหอ้ งเรยี นพิเศษ 7 ธ.ค. 64 กรณีสามารถเปิดเรียน On-Site จัดการเรยี นรู้ในรูปแบบ On-Site บุคลากรทกุ คน (ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3) โดยใช้รปู แบบที่ 4 การสลับกลมุ่ นกั เรียน 7 – 9 ธ.ค. 64 แบบแบง่ นกั เรียนในหอ้ งเรยี นเปน็ 2 กลุ่ม (กลุ่ม A และ กล่มุ B) กลุ่มสาระฯภาษาตา่ งประเทศ 7-13 ธ.ค. 64 ไมเ่ กนิ 25 คน/กลมุ่ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กรณไี มส่ ามารถเปดิ เรยี น On-Site จดั การเรยี นรู้ในรปู แบบออนไลน์ 9-10 ธ.ค. 64 แขง่ ขนั ร้องเพลงจนี กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษา 13-15 ธ.ค. 64 นักเรียน ชั้น ม.3 ของโรงเรยี นเดมิ ยน่ื ใบสมัครเขา้ เรยี นต่อชน้ั ม.4 ประเภท และพลศกึ ษา 22 ธ.ค. 64 ห้องเรียนปกติ งานวดั ผล คณะกรรมการ 20 – 24 ธ.ค. 64 อนิ ทนลิ เกมส์ 23-24, กลุ่มสาระฯภาษาตา่ งประเทศ ครูประจำวชิ าสง่ ขอ้ สอบกลางภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 งานวดั ผล 27-29 ธ.ค. 64 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาคดั เลอื กนักเรยี นชน้ั ม.3 ของโรงเรยี นเดิม เขา้ เรยี นต่อชัน้ ม.4 ประเภทหอ้ งเรยี นปกติ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 28 ธ.ค. 64 สปั ดาห์การจดั กจิ กรรมวนั ครสิ ตม์ าส สอบกลางภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ครปู ระจำวชิ า 3-14 ม.ค. 65 ม.1, ม.2 และ ม.3 สอบวนั ที่ 24, 28 ธ.ค. 64 กลมุ่ สาระฯศิฺลปะ 9 ม.ค. 65 ม.4, ม.5 และ ม.6 สอบวนั ท่ี 23, 27 และ 29 ธ.ค. 64 กลุ่มบรหิ ารวิชาการ/ 10 ม.ค. 65 ประกาศผลการคัดเลือกนกั เรียนชั้น ม.3 ของโรงเรยี นเดิม เข้าเรียนต่อช้ัน ม. คณะกรรมการ 4 ประเภทหอ้ งเรยี นปกติ 15 ม.ค. 65 ครูประจำวิชากรอกคะแนนกอ่ นกลางภาคและกลางภาคเรยี นท่ี 2 งานสง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ปีการศึกษา 2564 ในโปรแกรม SGS ดา้ นเทคโนโลยี 16 ม.ค. 65 ทศั นศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพทางทศั นศลิ ป์ กลุม่ บรหิ ารวชิ าการ 16 ม.ค. 65 รับรายงานตวั นกั เรยี นชั้น ม.3 ของโรงเรยี นเดมิ เข้าเรยี นตอ่ ช้ัน ม.4 งานส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศด้าน ประเภทหอ้ งเรียนปกติ และห้องเรียนพเิ ศษ วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 17 ม.ค. 65 กจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์หลักสูตร SMART GEN ครูประจำวชิ า 17 ม.ค. 65 กลุ่มบริหารงานบคุ คล/ สอบ Pre ม.1 วิชาการ ทศั นศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ ม.1-3 ตรวจสมุดบนั ทกึ คะแนนรายวชิ าภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ครัง้ ท่ี 2 ประกาศผลการสอบกลางภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 (ทางสื่อออนไลน)์ 32

วัน เดอื น ปี กจิ กรรม หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ 20 ม.ค. 65 ประกาศผลการสอบ Pre ม.1 กลมุ่ บริหารวิชาการ 25 ม.ค.65 กจิ กรรมวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินแผ่นดนิ สยาม กลุม่ สาระฯภาษาไทย 25 ม.ค.65 วันคลายวันสถาปนายวุ กาชาดไทย 27 ม.ค. งานกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 29 ม.ค. 65 ทศั นศึกษาแหล่งเรียนรู้ ม.1-4 งานส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศดา้ น เทคโนโลยี 30-31 ม.ค. 65 คา่ ยบรู ณาการโครงงานสะเต็มศึกษา ม.4-5 งานส่งเสริมความเปน็ เลศิ ดา้ น วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 1 – 4 ก.พ. 65 วนั ตรุษจนี กลมุ่ สาระฯภาษาตา่ งประเทศ 5 ก.พ. 65 ค่ายตน้ กลา้ ภาษาไทย กลมุ่ สาระฯภาษาไทย 5-6 ก.พ. 65 คา่ บูรณาการศักยภาพวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ม.6 งานสง่ เสริมความเปน็ เลศิ ดา้ น วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ก.พ. 65 งานเปดิ โลกการเรยี นรู้สู่ ศ.ว. 64 และมอบเกียรติบัตร Pre ม.1 กลมุ่ บริหารวชิ าการ 7-9 ก.พ. 65 ครูประจำวิชา สง่ ขอ้ สอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ครูประจำวชิ า 13 ก.พ. 65 ทัศนศึกษาแหลง่ เรียนรู้ ม.4-6 งานสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศด้าน วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 13 ก.พ. 65 นักเรยี นชัน้ ม.3 สอบ O-NET งานวัดผล ก.พ. 65 ค่ายตน้ กลา้ ภาษาไทย กลมุ่ สาระฯภาษาไทย 16 ก.พ. 65 ครปู ระจำวชิ าสง่ รายช่อื นกั เรียนทีไ่ ม่มีสิทธสิ์ อบ ครูประจำวิชา 17 ก.พ. 65 ประกาศรายชอ่ื นกั เรียนที่ไม่มสี ทิ ธ์ิสอบปลายภาค งานวัดผล 21–25 ก.พ. 65 สอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 งานวัดผล ม.1, ม.2 และ ม.3 สอบวันท่ี 22, 24 ก.พ. 65 งานวัดผล ม.4, ม.5 และ ม.6 สอบวันท่ี 21, 23 และ 25 ก.พ. 65 กลุม่ บรหิ ารวชิ าการ 26–27 ก.พ. 65 นักเรียนช้นั ม.6 สอบ O-NET งานวัดผล * ก.พ. 65 รบั สมัครนักเรยี นห้องเรียนพิเศษ ชน้ั ม.1 และ ม.4 ปกี ารศึกษา 2565 ครูประจำวิชา/ 3 มี.ค. 65 ตรวจสมดุ บนั ทึกคะแนนรายวชิ า ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 คร้งั ที่ 3 กล่มุ สาระฯ 3 ม.ี ค. 65 สง่ แบบบันทึกผลการเรียนรายวชิ า(ป.พ.5) ทพ่ี ิมพจ์ ากโปรแกรม SGS และ คณะกรรมการวดั ผล (08.30-11.30น.) รายช่อื นกั เรียนทส่ี อบไมผ่ า่ น 3 มี.ค. 65 ตรวจสอบ ปพ.5 งานวัดผล (13.00-15.00น.) งานวดั ผล 4 มี.ค. 65 ประกาศผลการสอบภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 7-9 ม.ี ค. 65 สอบแก้ตวั ครงั้ ที่ 1 33

วนั เดอื น ปี กิจกรรม หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ ครปู ระจำวชิ า 9 มี.ค. 65 สง่ ผลการสอบแก้ตวั ครง้ั ท่ี 1 งานวดั ผล ครูประจำวิชา 10 ม.ี ค. 65 ประกาศผลการสอบแก้ตัวคร้ัง 1 ครูประจำวชิ า งานวดั ผล 10,11,14 ม.ี ค. 65 สอบแก้ตวั ครง้ั ท่ี 2 งานสง่ เสริมความเปน็ เลิศด้าน วิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 14 ม.ี ค. 65 สง่ ผลการสอบแกต้ ัวครัง้ ท่ี 2 งานส่งเสริมความเปน็ เลิศดา้ น เทคโนโลยี 15 มี.ค. 65 ประกาศผลการสอบแก้ตวั คร้งั ท่ี 2 ครูประจำวชิ า ครูประจำวชิ า 15-17 มี.ค. 65 คา่ ยบรู ณาการวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ม.1-3 ผอ./งานทะเบียน กลมุ่ บริหารวิชาการ 20-22 มี.ค. 65 ทัศนศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ (ม.3) กลุ่มบริหารวชิ าการ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 16-25 มี.ค. 65 เรยี นซำ้ รายวชิ า กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 25 มี.ค. 65 ครปู ระจำวชิ าสง่ ผลการเรยี นซำ้ รายวิชา 31 มี.ค. 65 อนุมัติการจบหลักสูตร ชนั้ ม.3 และ ม.6 ปีการศกึ ษา 2564 กล่มุ บริหารวชิ าการ * ก.พ. 65 รบั สมัครนกั เรียนห้องเรยี นพเิ ศษ ชั้น ม.1 และ ม.4 ปีการศกึ ษา 2565 กลุ่มบริหารวชิ าการ * ม.ี ค. 65 สอบคัดเลอื กนกั เรียนหอ้ งเรยี นพเิ ศษ ชัน้ ม.1 ปกี ารศึกษา 2565 กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ * มี.ค. 65 สอบคดั เลือกนักเรยี นห้องเรียนพเิ ศษ ชั้น ม.4 ปกี ารศกึ ษา 2565 * ม.ี ค. 65 ประกาศผลการสอบคัดเลอื กนักเรยี นห้องเรยี นพเิ ศษ ชัน้ ม.1 กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กลมุ่ บริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา 2565 * มี.ค. 65 ประกาศผลการสอบคดั เลอื กนกั เรียนหอ้ งเรียนพิเศษ ช้ัน ม.4 กลุ่มบริหารวชิ าการ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา 2565 กลุ่มบรหิ ารวิชาการ * มี.ค. 65 รายงานตวั นักเรยี นห้องเรยี นพิเศษ ชั้น ม.1 ปกี ารศึกษา 2565 กลุ่มบรหิ ารวิชาการ * ม.ี ค. 65 รายงานตัวนกั เรียนห้องเรยี นพิเศษ ช้นั ม.4 ปกี ารศกึ ษา 2565 (เฉพาะ กลุ่มบริหารวิชาการ ประเภทสอบคดั เลอื ก) กลุ่มบริหารวิชาการ * ม.ี ค. 65 รับมอบตวั นกั เรยี นห้องเรยี นพเิ ศษ ชนั้ ม.1 ปีการศกึ ษา 2565 กลุ่มบริหารวิชาการ * มี.ค. 65 รบั มอบตัวนักเรียนห้องเรียนพิเศษ ช้นั ม.4 ปีการศกึ ษา 2565 (ท้งั นกั เรียน ม.3 เดิม และสอบคัดเลือก) * มี.ค. 65 รับสมคั รนักเรยี นชั้น ม.1 และ ม.4 ปีการศกึ ษา 2565 * มี.ค. 65 รับสมคั รนักเรยี นชน้ั ม.1 ความสามารถพิเศษ ปกี ารศกึ ษา 2565 * มี.ค. 65 สอบคัดเลือกนกั เรยี นช้ัน ม.1 ความสามารถพิเศษ ปกี ารศึกษา 2565 * มี.ค. 65 ประกาศผลและรายงานตัว นกั เรียนช้นั ม.1 ความสามารถพิเศษ * เม.ย. 65 สอบคัดเลอื กนักเรยี นชนั้ ม.1 ปกี ารศึกษา 2565 (หอ้ งเรยี นปกติ ทกุ ประเภท) * เม.ย. 65 สอบคดั เลอื กนักเรียนชั้น ม.4 ปกี ารศกึ ษา 2565 * เม.ย. 65 ประกาศผลและรายงานตัวนักเรยี นชนั้ ม.1 ปกี รศึกษา 2565 34

วัน เดอื น ปี กจิ กรรม หนว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบ * เม.ย. 65 ประกาศผลและรายงานตัวนกั เรยี นชนั้ ม.4 ปีกรศกึ ษา 2565 กลุ่มบริหารวิชาการ * เม.ย. 65 รับมอบตัวนักเรียนชนั้ ม.1 ปกี รศึกษา 2565 กลุม่ บรหิ ารวิชาการ * เม.ย. 65 รับมอบตัวนกั เรียนชนั้ ม.4 ปีกรศกึ ษา 2565 กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 13 พ.ค. 65 อนุมตั กิ ารจบหลกั สูตรไมพ่ รอ้ มรนุ่ ครง้ั ที่ 1 ผอ./งานทะเบียน 16 พ.ค. 65 เปิดภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 บุคลากรทุกคน หมายเหตุ * ปฏิทนิ เกย่ี วกบั การรบั นกั เรยี นจะตอ้ งรอประกาศของ สพฐ. จึงจะกำหนดวนั ที่ ได้ 35

ภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนออนไลน์ 36

ภาพนักเรียนเขา้ รบั การฉีดวคั ซนี 37

ภาพการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 38

ภาพการประชมุ ครูออนไลนผ์ ่าน Microsoft Teams 39

40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook