Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยr2rppท่าสะท้อนt

วิจัยr2rppท่าสะท้อนt

Published by supattraj, 2018-03-15 03:29:30

Description: วิจัยr2r การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส

Keywords: 3อ 2ส

Search

Read the Text Version

ผลการใชโ้ ปรแกรมการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพผปู้ ่ วยเบาหวานชนิดที่ 2 ดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทย 3 อ 2 ส น.ส.สุพตั รา ใจเหมาะ แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลท่าสะท้อน อาเภอพุนพนิ จังหวดั สุราษฎร์ธานี

หลกั การและเหตุผล สถิตสิ าธารณสุขโรคเบาหวาน เพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 51 ประชาชนขาดความตระหนักในการดูแล สุขภาพการนาความรู้ทางแพทย์แผนไทยมาประยุกต์ใช้การดูแล สุขภาพด้วยตนเอง ผลการใชโ้ ปรแกรมการปรับเปลี่ยน งานแพทย์แผนไทยพฤติกรรมสุขภาพผปู้ ่ วยเบาหวานชนิดท่ี 2 ดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทย 3 อ 2 ส อาหาร ออกกาลงั อารมณ์ กาย บุหร่ี

คาถามการวจิ ัย วตั ถุประสงค์โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพือ่ ศึกษาขอ้ มูลทว่ั ไปของผปู้ ่ วย เบาหวานชนิดที่ 2 ในคลินิกโรคเร้ือรังผปู้ ่ วยเบาหวานชนิดที่ 2ดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ3อ2ส ตาบลท่าสะทอ้ นมีผลต่อผปู้ ่ วยเบาหวาน หรือไม่ เพ่ือศึกษาผลของการใชโ้ ปรแกรมอยา่ งไร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยผปู้ ่ วย เบาหวานชนิดที่ 2 ดว้ ยศาสตร์ การแพทยแ์ ผนไทย 3 อ 2 ส. ในผปู้ ่ วย เบาหวานชนิดท่ี 2

ผปู้ ่ วยเบาหวานที่เขา้ อบรมโปรแกรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมผปู้ ่ วยเบาหวานชนิดท่ี 2 ดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทย 3 อ 2 ส. สามารถลดระดบั น้าตาลในเลือด โดยการตรวจระดบั น้าตาลในเลือดก่อนอาหารเชา้ ( FPG ) และน้าตาลในเลือด ( HBA1C )ไดด้ ีกวา่ ก่อนเขา้ โครงการ ศึกษาผปู้ ่ วยผปู้ ่ วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับยาต่อท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลท่าสะทอ้ นซ่ึงมีระดบั น้าตาลในเลือด 120 mg/dl - 200 mg/dl จานวน 30 คน

ผู้ป่ วยเบาหวานหมายถงึ ผู้ป่ วยเบาหวานชนิดท่ี 2 (Type 2 Diabetes) เกิดจากการที่ตบั ออ่ นยงัสามารถสร้างอินซูลินไดแ้ ต่ไม่เพยี งพอต่อความตอ้ งการ ของร่างกาย หรือเกิดภาวะด้ือต่ออินซูลิน ผปู้ ่ วยตอ้ งมีการควบคุมอาหาร การใชย้ าชนิดกินหรือใชอ้ ินซูลินชนิดฉีดและเป็นเบาหวานท่ีพบเป็นส่วนใหญ่ ศาสตร์การแพทย์แผนไทย 3 อ 2 ส.หมายถึง กระบวนการทางการแพทยไ์ ทยเก่ียวกบั ตรวจวนิ ิจฉยั บาบดัรักษา ป้องกนั โรค หรือการส่งเสริมฟ้ื นฟสู ุขภาพท่ีสืบทอดความรู้ตามความเช่ือและภูมิปัญญาสืบต่อๆกนัมา โดยมีกลวธิ ีการดูแลผปู้ ่ วยสนั นิบาต(โรคเร้ือรัง)โดยใชห้ ลกั การดูแล 3 อ. 2 สโปรแกรมควบคุมเบาหวาน หมายถึง ชุดคาส่ังที่จดั ทาข้ึนมาเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยผูป้ ่ วยในการควบคุมเบาหวาน โปรแกรมน้ี ประกอบไปดว้ ยการดูแลในเร่ืองอาหารการกิน กิจกรรมในแต่ละวนั และแนวทางในการใชช้ ีวติ ของผปู้ ่ วยเบาหวานที่ตอ้ งการควบคุม อาการเบาหวาน ดว้ ยการใช้ชีวติ อยา่ งคนสุขภาพดีทวั่ ไป

การทบทวนองค์ความรู้ องค์ความรู้ โรคเบาหวาน โปรแกรมการควบคุมโรคเบาหวาน การดูแลผู้ป่ วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การลดเส่ียงลดโรคด้วย 3 อ 2ส

การทบทวนองค์ความรู้ (ต่อ) งานวจิ ยั แพทย์แผนไทย ที่เกยี่ วข้อง บลั วี (2548 ) งานวิจยั ผลของการใชพ้ ุทธสมาธิในการลดน้าตาลในเลือดผูป้ ่ วย เบาหวาน ผลพระพุทธยาเยียวโรค 2 ประกอบด้วยเทคนิค 3 ข้นั ตอน ข้นั ที่ 1 นงั่ ผ่อนคลายหายใจเยียวยา 3 คร้ัง ข้นั ที่ 2 ยืนพิจารณาเยียวยาระบบ 180 คร้ัง ข้นั ที่ 3 เดินจงกรม กระบวนท่าเยียวยาปราณ ระบบน้า ระบบไฟ ผลการศึกษา ผปู้ ่ วยเบาหวาน 30 ราย ในคลินิกเอกชนแห่งหน่ึง พบวา่ พุทธเยยี วยาโรค 3 ข้นั ตอน สามารถลดน้าตาลในเลือดของผปู้ ่ วยเบาหวานประเภทที่ 2 ไดร้ ้อยละ 100

การทบทวนองค์ความรู้ (ต่อ) งานวจิ ยั แพทย์แผนไทย ที่เกย่ี วข้อง ศศิธร เขมารัตน์ (2554) การศึกษาเปรียบเทียบพุทธวธิ ีในการดูแลสุขภาพแบบองค์ รวมกบั การแพทยแ์ ผนไทยวตั ถุประสงค์ เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบพุทธวิธีการดูแล สุ ขภาพแบบองค์รวมกับการแพทย์แผนไทยจากการศึกษาวิจัยพบว่า พระพุทธศาสนาแบ่งโรคเป็ น 2 ประเภท คือ โรคทางกายและโรคทางใจ การ แกป้ ัญหาสุขภาพและความเจ็บป่ วยมี 2 แนวทาง คือ การป้องกนั และ การรักษา จากการเปรียบเทียบพบว่าพุทธวิธีกบั การแพทยแ์ ผนไทยมีความเหมือนกนั คือ ร่างกายมีสมดุลธาตุท้งั 4 มีการตรวจวินิจฉัยโรค ใช้ยาสร้างภูมิคุ้มกนั โรคและ ความต่างกนั คือ สาเหตุการเกิดโรค และกรรมจากอดีตชาติ

ตวั แปรต้น กรอบแนวคดิ การวจิ ัยข้อมูลทวั่ ไป ตัวแปรตาม - เพศ - อายุ การลดของระดับ - การศึกษา นา้ ตาลในเลือด - อาชีพโปรแกรมการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมสุขภาพผ้ปู ่ วยเบาหวานชนิดที่ 2ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 3 อ 2 ส

รูปแบบการวจิ ัย เป็ นการการวจิ ัยกง่ึ ทดลอง (Quasi-Experimental Design)ประชากร และกลุ่มตวั อย่าง ใช้วธิ ีเลือกกลุ่มตวั อย่างด้วยวธิ ี กาหนดกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผปู้ ่ วยเบาหวานที่ไดร้ ับการส่ง ต่อมารับยา ท่ีรพ.สต.ท่าสะทอ้ น ต้งั แต่ 1 มิถุนายน 2557 – 30 กนั ยายน 2557 จานวน 30 คน

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ใชโ้ ปรแกรมการใหค้ วามรู้การดูผปู้ ่ วยเบาหวานดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยโดย ป ร ะ ยุ ก ต์ ม า จ า ก แ ผ น ก า ร ส อ น เ รื่ อ ง โ ร ค เ บ า ห ว า น สุ ข ศึ ก ษ า ร า ย ก ลุ่ ม (สมควร ชานิงาน ; 2552 )และยงั ประยุกต์ใช้ตามแผนความเชื่อด้านสุขภาพเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป ( , , , ...) ส่วนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ ค่าเฉล่ียของระดบั น้าตาลในเลือด FPG และ HbA1C ก่อนและ หลงั เขา้ ร่วมอบรม ,ตรวจระดบั น้าตาลในเลือด FPG ทุก 1 เดือน จานวน 4 เดือน

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1.ประชุมชี้แจงผู้ป่ วยเบาหวานทเ่ี ข้าร่วมโครงการ ชี้แจงจุดประสงค์ของการวจิ ัย วธิ ีการวจิ ัย 2.ผ้วู จิ ัยดาเนินการเกบ็ ข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการโดยการเจาะหาระดบั นา้ ตาล ในเลือดก่อนเข้าร่วมอบรม3.อบรมให้ความรู้เกย่ี วกบั การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 3 อ2 ส และการใช้โปรแกรมปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมสุขภาพ ซึ่งผ้เู ข้าร่วมโครงการ จะต้องปฏิบัตติ ามโปรแกรมตลอดระยะ 4 เดือน ต้งั แต่วนั ที่ 1 มถิ ุนายน – 30 กนั ยายน 2557

ศาสตร์การแพทย์ หลกั 3 อ โปรแกรมแผนไทย (ยาไทย) 2 สมะระข้ีนก ตาลึง เตย อาหาร \"กินปลาเป็นหลกั กินผกั เป็นพ้ืน\" รับประทานผกั ผลไมท้ ่ีหอม กระเพรา มีรสไม่หวานตามแต่ละธาตุและรับประทานโปรตีนจากชะพลู และวา่ นหาง ธญั พชื หรือปลาทะเลอาจมีเน้ือสตั วใ์ นบางม้ือ ปรุงอาหาร ดว้ ยรสชาติปานกลางจระเข้ -ก่อนนอนในทุกคืนรับประทานน้าสมุนไพร โดยปรับเปลี่ยนการดื่มตามความสะดวกกายบริหารฤาษีดดั ตน ออกกาลงั -ออกกาลงั กายดว้ ยกายบริหารฤาษีดดั ตนทุกวนั ๆละไม่จานวน 15 ท่า กาย นอ้ ยกวา่ 5 ท่า -ออกกาลงั กายดว้ ยกายบริหารฤาษีดดั ตนดว้ ยท่า 2 มือ 2 เทา้ ในผปู้ ่ วยที่มีอาการชามือและเทา้ วนั ละ 45 นาที

ศาสตร์การแพทย์ หลัก 3 อ โปรแกรมแผนไทย (ยาไทย) 2 สการฝึกอารมณ์ 3 วธิ ี อารมณ์ สมาธิบาบดั SKT 1 –SKT3 ท่ีบาบดั อารมณ์ จิตใจ อีก ทงั้ มีผลการวิจยั ในการลดระดบั นา้ ตาลในเลอื ด -การพดู หน้ากระจก ด้วยคาวา่ อะอา ออิ ี โอะโอ ออึ ือ อุ อู ทงั้ นี ้เพื่อฝึกสมาธิและเป็นการบริหารใบหน้า -การแชเ่ ท้าด้วยนา้ สมนุ ไพร วนั ละ 5 – 10 นาที

ศาสตร์การแพทย์ หลกั 3อ 2ส โปรแกรมแผนไทย (ยาไทย)สมุนไพรช่วยลดการ ไม่ด่ืมสุรา -ผปู้ ่ วยที่ติดสุราและยงั เลิกไม่ได้ ใชร้ ากมะยมจานวน 10อยากสุรา 1 ชนิด: แวน่ นาไปปิ้ งไฟและตากแหง้ 3 แดด ดองกบั เหลา้ ขาว 35 ดีกรี จานวน 3 - 5 วนั ด่ืมในช่วงท่ีอยากเหลา้ ใน รากมะยมตวั ผู้ รากมะยมตวั ผู้ รสขมปร่า แก้พิษไข้ทุกชนิด ดับพิษร้อน กระต้นุ ประสาทสมุนไพรช่วยเลิกบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ -ผปู้ ่ วยท่ีสูบบุหรี่ ใชช้ าชงหญา้ ดอกขาวชงดื่มก่อนนอน 1 แกว้ เพื่อลดการอยากบุหรี่1 ชนิด:หญา้ ดอกขาว

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล (ต่อ) 4.ผ้วู จิ ยั ดาเนินการเกบ็ ข้อมูลผ้เู ข้าร่วมโครงการโดยการเจาะหาระดบั นา้ ตาลในเลือดหลงั เข้าร่วมอบรม จานวน 4 คร้ังการตดิ ตามผล เจาะหาระดบั นา้ ตาลในเลือดก่อนอาหารเช้า ( FPG ) และนา้ ตาลใน เลือด ( HBA1 C )ก่อนและหลงั เข้าร่วมโครงการ

สถิติ และการวเิ คราะห์ข้อมูล - สถิติพรรณนา ใชจ้ านวน ร้อยละ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน - สถิติวิเคราะห์ ANOVA และ สถิติ Paired – Samples T-Test

ผลการวจิ ัย ตอนท่ี 1ข้อมูลทวั่ ไป เพศ

้รอยละผลการวเิ คราะห์ข้อมูล (ต่อ) ข้อมูลทวั่ ไป อายุ 60 43.3% 26.7% 40 16.5% 13.3% 20 0 - ป - ป - ป ปขึน้ ไป

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล (ต่อ) ข้อมูลทวั่ ไป ระดบั การศึกษา 80 66.7%้รอยละ 60 40 20 3.3% 0% 0 มธั ยมศึกษา ปริ าตรี ประถมศกึ ษา

้รอยละผลการวเิ คราะห์ข้อมูล (ต่อ) ข้อมูลทว่ั ไป อาชีพ 36.7% 40 30 20 12% 10% 10 3.3% 0

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตอนท่ี 2ผลการวเิ คราะห์ ค่าเฉลี่ยของระดบั น้าตาลในเลือด FPG และ HbA1C ก่อนและเขา้ร่วมอบรม และตรวจระดบั น้าตาลในเลือด FPG ทุก 1 เดือน จานวน 4 เดือน แสดง ในตารางที่ 1 , 2

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ( ต่อ) ตอนที่ 2ตารางท่ี 1 แสดงระดบั น้าตาลในเลือด FPG และ HbA1C ก่อนเขา้ ร่วมอบรมและเมื่อมา ตรวจรักษา 4 คร้ัง ในช่วง 4 เดือน ภายหลงั เขา้ ร่วมโปรแกรม ( N=30 )ข้อมลู ก่อนการอบรม เม่ือมาตรวจรักษาในช่วง 4 เดือนหลงั เข้าร่วมอบรมFPG ( มก./ดล.) n=30 ครัง้ ท่ี 1 ครัง้ ท่ี 2 ครัง้ ท่ี 3 ครัง้ ท่ี 4 พิสยั คา่ เฉล่ีย 137 – 195 n=30 n=30 n=30 n=30 192.16 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน 61.57 112– 190 100 – 182 90 – 169 74 - 154HbA1C ( มก./ดล.) n=30 164 152.21 150.25 138.00 พิสยั ค่าเฉล่ีย 6.10 – 12.20 72.18 50.08 67.63 68.63 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน 9.46 2. 46 n=30 n=30 n=30 n=30 - - - 5.60 – 10.20 - - - - - 7.13 - 1.64

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ( ต่อ) ตอนท่ี 2ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบความแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ยของระดบั น้าตาลในเลือด FPG และ HbA1C ก่อนเขา้ รับการเขา้ ร่วมโปรแกรมและหลงั จากเขา้ ร่วมโปรแกรมดว้ ยสถิติ Paired – Samples T-Test ( N=30 )

สรุปผลและอภปิ ลายผลระดบั น้าตาลในเลือด FPG และ HbA1C ก่อนเขา้ รับการเขา้ ร่วมโปรแกรม และหลงั จากเขา้ ร่วมโปรแกรมต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ ( p < .05 )

ข้อเสนอแนะ ผปู้ ่ วยเบาหวานร้อยละ 20 ยงั ใชโ้ ปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดว้ ย ศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยไม่ถูกตอ้ ง เม่ือสุ่มเจาะระดบั น้าตาลในเลือด FPG ในเดือนที่ 5 ระดบั นา้ ตาลใน เลอื ดเริ่มสงู ขนึ ้ควรมีการจดั การอบรมใหแ้ ก่ผปู้ ่ วยเบาหวานที่เขา้ โครงการซ้าและเพมิ่ จานวนเดือนท่ีเขา้ ร่วมโปรแกรมเพ่อื สนบั สนุนและทบทวน ความรู้และการปฏิบตั ิตวั ที่ถูกตอ้ ง

ขอขอบคุณ นางจุฑารัตน์ บุ พา ผู้อานวยการโรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบลท่าสะท้อน นายกฤษณ์ ศิกษมตั สาธารณสุขอาเภอพนุ พนิดร.ปิ ยนาถ รักษาพราหมณ์ ทเี่ ป็ นทปี่ รึกษาชี้แนะการทาวจิ ยั ในคร้ัง สปสช.เขต 11 สนับสนุนงบบริการเพม่ิ เติมแพทย์แผนไทย 2557

If you know whatit have you rdeosneeaขอ,rบcคุณhค.่ะ doesn’t a ...สวสั ดคี ่ะ...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook