Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานอีบุ๊คสังคม

งานอีบุ๊คสังคม

Published by NitroNeet 1973, 2021-01-30 16:39:07

Description: เศรษฐศาสตร์

Search

Read the Text Version

หน่วยการ การเงินและการคลงั เรียนรูท้ ่ี4

คำนำ สำรบัญ 1 6 ในชีวิตประจาวนั เราทุกคนจาเป็นตอ้ งเกยี่ วขอ้ ง ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกบั เงิน 13 กบั เรื่องการเงนิ อยา่ งหลกี เลี่ยงไมไ่ ด้ เพราะเงินเป็นปัจจัย เงินเฟอ้ และเงินฝืด 22 หน่ึงทสี่ าคัญ ท้งั ตอ่ ตวั เอง สงั คมและ ประเทศชาติ คณะ นโยบายการเงิ น 25 ผูจ้ ัดทาได้เหน็ ความสาคญั ของเร่ืองดงั กลา่ ว จึงไดห้ ยบิ ยก งบประมาณแผน่ ดิน 28 หน่งึ ในเรื่องท่ีสาคัญ คือ เร่ืองการเงินและการคลงั ซ่ึง อตั ราภาษี ประกอบไปด้วย นโยบายการเงินอตั ราภาษี และ อ่ืนๆ โดย นโยบายการคลัง นามาจดั ทาเป็นE-Book เพื่อให้ความรูแ้ กผ่ ู้ท่สี นใจและ ต้องการศึกษา นาไปปรับใชแ้ ละเป็นความรูใ้ นการกระทาสิ่ง ต่างๆไมว่ ่าจะเป็นในการประกอบอาชีพหรือ ในการเรียน คณะผู้จดั ทาหวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ ผูอ้ า่ นจะได้ ประโยชนจ์ าก E-Book เลม่ น้ีไมม่ ากกน็ อ้ ย คณะผู้จดั ทา 29/01/2564

เงนิ 1 ความหมายและบทบาทหนา้ ท่ีของเงิน เงินคือ ส่ิงทคี่ นในสงั คมได้สมมุติข้ึนและเป็นทย่ี อมรบั กนั โดยทว่ั ไปของสงั คมขณะน้นั เพื่อใชเ้ ป็นสื่อกลางในการ แลกเปล่ียนสินคา้ และบริการใช้ในการชาระหน้ี และอ่ืนๆ ตามต้องการ ค่ำของเงิน ค่าของเงินคือ ความสามารถ หรืออานาจซือ้ ถ้าเงินมีอานาจซ้ือสูงกจ็ ะทาให้ผู้บริโภคสามารถซื้อสนิ ค้าและ บริการได้มาก แตถ่ ้ามอี านาจซื้อต่าผลกจ็ ะตรงขา้ มกนั

2 เราสามารถที่จะแบ่งค่ำของเงินได้เป็นสองชนิด คือ ระบบตะกร้ำเงนิ 3 1.ค่าของเงินภายในหมายถึง อานาจในการซ้ือของ ระบบตะกรา้ เงินกค็ ือ การเปรียบเทียบคา่ เงินของ เงินทม่ี ีตอ่ สินคา้ และบริการภายในประเทศเชน่ คา่ ภายในของเงินดอลลาร์สหรฐั อเมริกา หรือ คา่ ภายใน ประเทศน้นั ๆ กบั เงินสกุลตา่ งๆเชน่ คา่ เงนิ บาทกบั ของเงินบาท เป็นต้นซ่ึงในการวดั คา่ ของเงินภายในน้ี ค่าเงินเยนโดยทว่ั ไปแลว้ จะเหน็ ไดต้ ามสถานทที่ รี่ บั เราจะตอ้ งเปรียบเทยี บกบั ระดบั ราคาสินคา้ แลกเปล่ียนเงินตราตา่ งประเทศเชน่ ธนาคารพาณิชยเ์ป็น โดยทวั่ ไป ต้น 2.ค่าของเงินภายนอก คือ อานาจการซ้ือของเงินใน การซื้อสินค้า และบริการจากตา่ งประเทศ ดงั น้นั ค่า อตั รำแลกเปลย่ี นแบบลอยตัว ของเงินภายนอกจงึ มกั จะถูกกาหนดไปดว้ ยอัตราการ แลกเปล่ียน อตั ราแลกเปล่ียนแบบลอยตวั คือ การปล่อยให้ค่า ของเงินน้นั มกี ารเคลอ่ื นไหวไปตามกลไกของตลาดที่ กาหนด โดยจะถูกกาหนดโดยความต้องการถือเงนิ คือ Demand for Money และ Supply for Money โดยที่ธนาคารกลางน้นั จะไมม่ ีการประการ อตั รากลาง ในตอนเช้าของทกุ ๆวนั

4 3. เป็นมาตรฐานการชาระหน้ีในอนาคต 5 หน้ำท่ีของเงิน เนอื่ งจากการขยายตวั ในระบบเศรษฐกิจมกี ารผลัดเวลา เงินน้นั ทาหนา้ ทเ่ี ป็นส่ือกลางในการแลกเปลยี่ นซ่ึงเรา การชาระเงินทนุ ดอกเบ้ีย และหน้ีสินตา่ งๆเงินจึงเขา้ มา สามารถท่จี ะจาแนกหนา้ ท่ขี องเงินออกได้หลกั ๆดงั น้ี เป็นเครื่องมอื ทีใ่ ชเ้ ป็นมาตรฐานในการชาระหน้ใี น 1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลย่ี น อนาคต ผู้บริโภคมีอิสระเลือกซื้อสินคา้ ชนิดใดๆกไ็ ด้ ไมว่ ่าจะ เป็นเวลาใด หรือ ณ ทีใ่ ด โดยมลู ค่าของเงนิ จะตอ้ งไมเ่ ปลยี่ นแปลงไปมากเกนิ ไป 2. เป็นเคร่ืองวัดมลู คา่ ใช้วัดมลู คา่ ของสินคา้ และบริการ และ สามารถ 4. เป็นเครื่องรักษามลู คา่ เปรียบเทยี บได้โดยสะดวก แต่เงินน้นั ตอ้ งมีมลู คา่ หรือมี อานาจซ้ือค่อนขา้ งลงตวั ซ่ึงเปล่ยี นแปลงไดต้ ามสภาพ สินทรัพยบ์ างชนดิ ไมถ่ าวร ดงั น้นั การเลือกเกบ็ สินทรพั ย์ เศรษฐกจิ ต้องเลือกเกบ็ ให้เกดิ ประโยชนม์ ากทสี่ ุด เช่นทดี่ ิน (แตต่ ้องไมม่ ากนกั มิเช่นน้นั จะเป็นการลดความนา่ เชื่อถือ) บา้ นเรือน หุน้ พันธบตั ร แต่สิ่งดังกลา่ วยอ่ มมกี าร เปล่ียนแปลง การแลกส่ิงดังกลา่ วมาเกบ็ ไว้เป็นตวั เงิน ด้วยเหตุทว่ี ่าเงนิ ทีด่ ียอ่ มมมี ูลคา่ คงตัวและเป็นของท่มี ี อานาจซ้ือทวั่ ไป การเกบ็ เงนิ ไว้ในสถาบนั การเงินกย็ งั สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ ดอกผลได้อีกทาง

6 สาเหตุทีท่ าให้เกดิ เงินเฟอ้ ท่สี าคญั มี 2 ประการ คือ 7 เงนิ เฟ้อ 1)สาเหตุท่ีเกดิ จากแรงดึงของอปุ สงค์ เงินเฟ้อ หมายถึง ภาวะทีร่ ะดับราคาสินค้า ได้แก่ การทอ่ี ุปสงค์มวลรวมสาหรับสินค้าและบริการมี โดยทว่ั ๆไปเพ่ิมสูงเรื่อยๆอยา่ งตอ่ เน่อื ง มากกว่าอุปทานมวลรวมของสินค้าและบริการ เงินเฟ้อที่มี หากสินคา้ มรี ะดบั ราคาสินคา้ สูง ณเวลาใดเวลาหน่งึ สาเหตุมาจากดา้ นอุปสงคส์ าหรับสินคา้ กย็ งั ไมถ่ ือว่าเกดิ เงนิ เฟอ้ จาเป็นต้องสูงข้ึนเรื่อยๆโดย อาจมีสินค้าบางชนดิ ราคาสูงข้ึนขณะท่ีราคาสินคา้ บางคร้งั เรียกว่า เงินเฟอ้ ท่เี กิดจากแรงดึงของอุปสงค์ บางชนิดคงทห่ี รือลดต่าลง แตเ่ มื่อรวมราคาสินค้า 2)สาเหตุท่ีเกดิ จากแรงผลกั ดนั ทางดา้ นอุปทาน ท้งั หมดโดยเฉลี่ยแลว้ สูงข้ึน ได้แก่ การท่ีอุปทานมวลรวมสาหรับสนิ คา้ และบริการ ลดลง เน่ืองจากแรงงานเรียกรอ้ งเอาค่าแรงสูงข้ึนทาให้ ตน้ ทนุ การผลิตเพ่ิมข้ึนเมือ่ ตน้ ทนุ การผลติ เพม่ิ ข้ึนผู้ผลิตจะ ลดปริมาณการผลิตลงหรือผู้ผลิตตอ้ งการกาไรสูงข้ึนจึง บวกกาไรเข้าไวเ้ ป็นส่วนหน่งึ ของตน้ ทุนการผลิต ซ่ึงทาให้ ต้นทุนการผลิตเพ่ิมสูงข้ึนและผู้ผลติ จะลดปริมาณการผลิต ลง เงินเฟ้อท่มี สี าเหตุจากดา้ นอุปทานบางคร้งั เรียกว่า “เงินเฟ้อจากแรงดันของต้นทนุ ”

8 9 ผลกระทบของเงินเฟ้อ กำรแก้ไขปญั หำเงนิ เฟ้อ เมอื่ เกดิ ภาวะเงินเฟ้อ จะมีผลกระทบตอ่ หนว่ ยเศรษฐกจิ เมือ่ เกดิ เงินเฟ้อโดยมสี าเหตมุ าจาก ในลกั ษณะต่างๆถา้ การคาดคะเนเงนิ เฟ้อของหนว่ ยเศรษฐกจิ อุปสงค์มวลรวมเพม่ิ ข้ึนรัฐบาลหรือธนาคารกลาง ผิดพลาด ผลกระทบของเงนิ เฟ้อจะมีมากจนเกดิ การ อาจแกไ้ ขโดยการใชว้ ิธีทางการเงินต่างๆ ดงั น้ ไดเ้ ปรียบเสียเปรียบข้ึนดังน้นั ผลกระทบของเงินเฟ้ออาจจะ เป็นไปไดใ้ นลักษณะต่างๆดงั น้ี 1. การใชม้ าตรการของนโยบายการเงิน 1. อานาจซื้อของเงินลดลง 2. การควบคุมโดยตรง 2. การกระจายรายไดเ้ หล่ือมล้า 3. การใชอ้ ตั ราดอกเบ้ียเงินฝากและเงินกูข้ องสถาบนั 3. อัตราดอกเบ้ียทเี่ ป็นตวั เงินสูงข้ึน การเงิน 4. ผลที่มีต่อการคลังของรฐั บาล 5. ผลทม่ี ีต่อดุลการชาระเงนิ ของประเทศ 6. ผลทม่ี ีต่อเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ

10 สำเหตุ 11 เงนิ ฝื ด สาเหตุที่ทาใหเ้ กดิ เงินฝื ด คือ ความตอ้ งการซ้ือสินค้าและ บริการมีนอ้ ยกว่าปริมาณสินคา้ และบริการทีผ่ ลติ ได้หรืออุป เงินฝื ด หมายถึง ภาวะท่ีระดับราคาสนิ คา้ และบริการโดย สงคม์ วลรวมนอ้ ยกวา่ อุปทานมวลรวมซ่ึงทาใหเ้ กดิ อุปทาน ทว่ั ๆ ไปลดลงเรื่อยๆและต่อเนอ่ื งผลของภาวะเงนิ ฝื ดจะ ส่วนเกนิ หรือสินคา้ ขายไมอ่ อก นอกจากน้ยี งั ส่งผลให้ธุรกจิ ตรงขา้ มกบั ภาวะเงินเฟ้อ ลดปริมาณการผลิต เกดิ ปัญหาการวา่ งงานและทาใหร้ ายได้ ผูม้ ีรายได้ประจาและเจา้ หน้ี จะได้รบั ประโยชนส์ ว่ นพอ่ คา้ ประชาชาติลดลงในทีส่ ุด นกั ธุรกิจ และผู้ถือหุ้นจะเสียเปรียบ ในภาวะเช่นน้ที าใหผ้ ูผ้ ลิตขายสินค้าไมอ่ อก การผลิต การ ผลกระทบ ลงทุนและการจา้ งงานลดลง ทาใหเ้ กดิ การวา่ งงานเพิ่มข้ึน ประชาชนผูผ้ ลิตจะตอ้ งลดราคาสินค้าและบริการจนขาดทุน หรือได้รับกาไรนอ้ ยลงไมค่ ุ้มกบั ทุนผู้ผลิตบางสว่ นอาจเลกิ การผลิตหรือลดปริมาณการผลิตลง จนเกดิ ปัญหาการว่างงาน จานวนมาก และเมือ่ มคี นวา่ งงานจานวนมาก คนเหลา่ น้นั ไม่ มรี ายได้พอที่จะจับจ่ายใช้สอยตามปกติได้ สินคา้ และบริการ ที่ผลิตได้กข็ ายไมอ่ อก ทาใหร้ ะดบั การผลิตและการจา้ งงาน ลดต่าลงไปอีกในภาวะเชน่ น้ี

12 นโยบำยกำรเงิน 13 กำรแก้ไขภำวะเงนิ ฝื ด หนา้ ท่สี าคัญของธนาคารกลางทุกแหง่ คือ เม่ือเกิดภาวะเงินฝื ดสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยนโยบาย การกาหนดนโยบายการเงินโดยมเี ป้าหมายสูงสุดเพอื่ การเงินและนโยบายการคลงั เชน่ กนั เพราะนโยบายท้งั สองน้ี นอกจากจะมีมาตรการในการลดการใช้จา่ ยมวล สนบั สนุนใหเ้ ศรษฐกจิ สามารถขยายตวั ได้อยา่ งยงั่ ยืนใน รวมแล้ว ระยะยาว ในกรณีของไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย ในกรณีแกไ้ ขภาวะเงินเฟอ้ กย็ งั มีมาตรการในการชว่ ยให้ การใช้จ่ายมวลรวมเพมิ่ ข้ึนซ่ึงสามารถจดั อุปทาน ธปท. ดาเนินนโยบายการเงินภายใต้กรอบเป้าหมายเงิน สว่ นเกินให้หมดไปได้ภาวะเงินฝื ดกจ็ ะสินสุดลง มาตรการทแ่ี กไ้ ขภาวะเงินฝื ด เฟ้อแบบยืดหยนุ่ โดยให้ความสาคัญกบั การรกั ษา เสถียรภาพด้านราคา ควบคูไ่ ปกบั การดูแลการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ และรักษาเสถียรภาพของ ระบบการเงิน

14 ประโยชน์ ของกำรรักษำเสถียรภำพด้ำนรำคำ กรอบเป้ำหมำยเงนิ เฟ้อแบบยดื หย่นุ 15 ธปท. เนน้ ดูแลให้อตั ราเงินเฟ้ออยใู่ นระดบั ตา่ และไมผ่ นั ผวน ธปท. ดาเนินนโยบายการเงินภายใตก้ รอบเป้าหมายเงินเฟ้อ เนื่องจากเงินเฟอ้ ทาใหค้ ่าของเงินหรืออานาจซ้ือของ ประชาชนลดลง โดยเมอ่ื อตั ราเงินเฟ้อเรง่ ข้ึนหรือสินคา้ มี แบบยืดหยุน่ มาต้ังแต่ปี 2543 ซ่ึงเป็นแนวทางเดียวกบั ท่ี ราคาแพงข้ึนเงินทีอ่ ยูใ่ นมอื ของประชาชนจะซื้อสินคา้ ไดใ้ น ธนาคารกลางทว่ั โลกใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายอยูใ่ นปัจจุบนั ปริมาณนอ้ ยลง ซ่ึงเมอ่ื มองในแง่น้ี เงินเฟ้อจึงเป็นเหมอื นสิ่งท่ี เนอื่ งจากเป็นกรอบนโยบายทีเ่ อื้อใหเ้ กดิ วินยั ในการดูแล ฉุดใหป้ ระชาชนท้งั ประเทศยากจนลง นอกจากน้ี อัตราเงิน เสถียรภาพราคา ผ่านการประกาศเป้าหมายเงินเฟอ้ ที่ชดั เจน เฟ้อท่ีสูงหรือผันผวนจนเกนิ ไปยงั เป็นอุปสรรคตอ่ การดาเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกจิ อกี ดว้ ย เพราะสง่ ผลใหก้ ารคาดการณ์ ตลอดจนใหค้ วามยดื หยนุ่ ตอ่ การดาเนนิ นโยบายการเงินใน ราคาสินคา้ ในอนาคตเพื่อประโยชนใ์ นการวางแผนธุรกิจ ตลอดจนวางแผนการบริโภคและการออมของประชาชนทา การสนบั สนนุ ให้เศรษฐกิจขยายตวั ไดอ้ ยา่ งเต็มศกั ยภาพและ ไดย้ าก ในทางกลบั กนั อัตราเงินเฟ้อที่ตา่ เกินไปจนติดลบ หรอื ที่เรียกวา่ ภาวะเงินฝื ด กไ็ มเ่ ป็นผลดีต่อกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ยง่ั ยืน รวมถึงจัดการกบั ความเส่ียงตา่ งๆตอ่ เสถียรภาพของ เช่นเดียวกนั เพราะเม่ือเกิดภาวะเงินฝื ด ประชาชนและธุรกิจ ระบบการเงินท้งั น้ี การกาหนดเป้าหมายเงนิ เฟ้อท่ีนโยบาย จะคาดวา่ ราคาสินค้ามโี อกาสปรบั ลดลงอีกในระยะตอ่ ไปจึง การเงินต้องพยายามบรรลุเป็นคุณลักษณะสาคัญทที่ าให้ ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดแรงจูงใจบริโภคและลงทุนในปัจจุบนั นโยบายการเงินมคี วามชัดเจนโปรง่ ใส และสามารถ ตรวจสอบได้ ซ่ึงเป็นส่ิงสาคัญท่ที าใหน้ โยบายมีความนา่ เช่ือถือ และชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ นโยบายการเงินมีประสทิ ธิผลดียิ่งข้ึน

16 กำรตดั สินนโยบำยกำรเงิน 17 คณะกรรมการนโยบายการเงินกนง.มีหนา้ ทีก่ าหนด กำรสื่อสำรผลกำ​รตัดสินนโยบำยกำรเงนิ นโยบายการเงินเพ่ือควบคุมอัตราเงนิ เฟ้อและสนบั สนนุ ให้ เศรษฐกิจของประเทศเติบโตไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพและยงั่ ยนื เพ่ือให้สาธารณชนเขา้ ใจแนวคิดและมมุ มองของ กนง. กนง. ซ่ึงประกอบดว้ ยผบู้ ริหารระดับสูงของ ธปท.3 ทา่ น เกยี่ วกบั ภาวะและแนวโนม้ ของเศรษฐกจิ และอตั ราเงินเฟ้อ และผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภายนอก 4 ทา่ น ท่ผี ่านกระบวนการ รวมถึงเหตุผลของการตัดสินนโยบายการเงนิ อยา่ งละเอยี ด คัดเลือกตามทกี่ ฎหมายกาหนด จะประชุมกนั ปี ละ 8 คร้งั ธปท. จึงไดจ้ ดั ทาและเผยแพร่รายงานการประชุม กนง.หลัง โดยมกี ารวางกาหนดการประชมุ ลว่ งหนา้ หน่งึ ปี ในการ การประชุมผา่ นไปแลว้ สองสปั ดาห์ รวมถึงจดั ทาและเผยแพร่ ประชุมแตล่ ะนดั กนง.จะประเมินภาวะเศรษฐกจิ การเงิน รายงานนโยบายการเงินเป็นประจาทุกไตรมาสอีกดว้ ย ปัจจัยเสี่ยงตา่ งๆท้งั ภายในและภายนอกประเทศ พรอ้ มท้งั พิจารณาประมาณการแนวโนม้ ภาวะเศรษฐกจิ และอตั รา เงินเฟ้อในระยะขา้ งหนา้ ตลอดจนความเสี่ยงตอ่ เสถยี รภาพ ระบบการเงินเพื่อตัดสินใจข้ึน/คง/ลด อตั ราดอกเบ้ีย นโยบาย และแจ้งผลการประชุมกนง.ให้สาธารณชน ทราบในช่วงบา่ ยของวันทม่ี กี ารประชุม

18ควำมหมำยของกำรปรับอตั รำดอกเบยี้ นโยบำย ในการพิจารณาการดาเนินนโยบายการเงิน กนง. 19 กนง. ใชอ้ ัตราดอกเบ้ยี นโยบาย ในปัจจุบนั คืออตั รา จะให้ความสาคัญตอ่ เป้าหมายอตั ราเงนิ เฟ้อทว่ั ไปทไ่ี ด้ ดอกเบ้ียธุรกรรมซ้ือคืนพันธบตั รแบบทวิภาคีระยะ 1 วนั กาหนดไว้ พรอ้ มท้งั ช่งั น้าหนกั ขอ้ ดี ข้อเสียของการ เป็นเครื่องมือในการส่งสัญญาณการดาเนนิ นโยบาย ดาเนนิ นโยบายการเงินแต่ละทางเลือก เพ่ือรักษาความ การเงินตามปกติแล้ว การปรบั ข้ึนอัตราดอกเบ้ียนโยบาย สมดุลระหวา่ งเป้าหมายด้านเสถียรภาพราคา การ เป็นการส่งสญั ญาณของ กนง.วา่ มคี วามเส่ียงท่ีอตั ราเงนิ เติบโตทางเศรษฐกจิ และเสถียรภาพระบบการเงนิ เฟ้อในระยะตอ่ ไปจะเรง่ ตัวข้นึ สูงกวา่ เป้าหมายเงินเฟอ้ ที่ อยา่ งเหมาะสมโดยอัตราดอกเบ้ียนโยบายไมค่ วรอยูต่ ่า กาหนดไว้ และ/หรือ เศรษฐกิจเติบโตเกินกวา่ ศกั ยภาพ เกินไปจนนาไปสูก่ ารสะสมความเส่ียงในภาคการเงิน ดังน้นั จึงปรับข้ึนดอกเบ้ียเพื่อลดความร้อนแรงของ ซ่ึงอาจเป็นตน้ ตอใหเ้ กดิ วกิ ฤตการเงนิ ได้ ใน เศรษฐกิจและฉุดเงินเฟ้อใหช้ ะลอลงในทางตรงกนั ข้าม ขณะเดียวกนั หากภาคการเงนิ ประสบปัญหา เช่นการ การปรับลดอัตราดอกเบ้ียนโยบายเป็นการส่งสญั ญาณ ขยายตวั ของสินเช่ือชะลอลงรุนแรง กนง.อาจพิจารณา ของ กนง. วา่ มีความเส่ียงทเ่ี ศรษฐกจิ จะขยายตวั ต่ากวา่ ปรับลดอัตราดอกเบ้ยี นโยบายเพื่อให้ภาคการเงิน ศกั ยภาพ และ/หรือ อัตราเงนิ เฟ้อในระยะตอ่ ไปอาจอยูต่ ่า กลบั มาทาหนา้ ท่ีปล่อยสินเชื่อไดต้ ามปกติ กวา่ เป้าหมาย ดังน้นั จึงปรับดอกเบ้ยี ลงเพ่ือกระตุน้ การ เติบโตทางเศรษฐกจิ และเงินเฟ้อ

20 ในการกาหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจาปี 21 กนง.จะต้องทาความตกลงร่วมกบั รัฐมนตรีว่าการ กำรกำหนดเป้ำหมำ​ยของนโยบำยกำรเงนิ กระทรวงการคลังกอ่ นทร่ี ฐั มนตรีจะนาเสนอเป้าหมายทีต่ ก ลงรว่ มกนั ตอ่ คณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมตั ิ โดยใน การดาเนนิ นโยบายการเงินของ กนง.ภายใตก้ รอบ ปัจจุบนั คณะรฐั มนตรีได้อนุมตั ิให้ใช้อตั ราเงินเฟ้อทวั่ ไป เป้าหมายเงินเฟ้อแบบยืดหยนุ่ ให้ความสาคญั กบั การ ในช่วงร้อยละ 1-3 เป็นเป้าหมายนโยบายการเงินสาหรับ รกั ษาเสถียรภาพราคา ควบคกู่ บั การดูแลการเติบโตทาง ระยะปานกลาง และสาหรับปี 2564 โดยอตั ราเงินเฟ้อในชว่ ง เศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพระบบการเงนิ โดย ดังกลา่ วเป็นระดบั ทีเ่ หมาะสมกบั พลวตั เงินเฟอ้ ท่ีเปลี่ยนไป กนง. จะพิจารณารกั ษาความสมดุลของเป้าหมายด้าน โดยเฉพาะจากการเปล่ยี นแปลงดา้ นเทคโนโลยีและการเขา้ สู่ ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมและมีความพร้อมท่ีจะใช้ สงั คมผู้สูงอายุ และเอ้ือใหก้ ารเติบโตทางเศรษฐกจิ เคร่ืองมอื ในการดาเนินนโยบายการเงินท่ีมีอยูส่ นบั สนุน สอดคล้องกบั ศกั ยภาพของระบบเศรษฐกจิ ไทย นอกจากน้ี ให้ระดบั ราคามเี สถียรภาพและเป็นไปตามเป้าหมายและ เป้าหมายแบบชว่ งช่วยเพ่ิมความยืดหยนุ่ ในการดาเนิน เศรษฐกจิ ของประเทศเติบโตเต็มศกั ยภาพและยง่ั ยนื นโยบายการเงินภายใตโ้ ลกที่ผันผวนและมีความไมแ่ นน่ อน โดยไมก่ อ่ ให้เกิดความเปราะบางต่อเสถียรภาพระบบ การเงิน สูงหลงั การแพรร่ ะบาดของ COVID-19 ประกอบกบั สามารถดูแลเป้าหมายด้านการเติบโตทางเศรษฐกจิ และ เสถียรภาพระบบการเงินไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้ึน

22งบประมำณแผ่นดิน กำรควบคมุ งบประมำณ 23 เงินของแผน่ ดินท่ีกฎหมายอนุญาตใหร้ ฐั บาลนาไปใช้ 1. กาหนดใหร้ ฐั มนตรีมอี านาจเรียกให้สว่ นราชการเสนอ จ่ายในการบริหารราชการแผ่นดิน งบประมาณรายจา่ ย ของแผ่นดินน้ไี ดม้ าจากภาษอี ากรของประชาชน ข้อเทจ็ จริงตามทเ่ี ห็นสมควร และใหม้ ีอานาจมอบหมายให้ ตามพระราชบญั ญตั ิวิธีการงบประมาณพ.ศ.2502 กาหนดในมาตรา 5 ใหน้ ายกรฐั มนตรีและรฐั มนตรีว่าการ พนกั งานเจ้าหนา้ ทเ่ี ข้าตรวจสรรพสมดุ บญั ชี เอกสาร และ กระทรวงการคลงั รักษาการตามพระราชบญั ญตั แิ ละให้มี อานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบตั กิ ารใหเ้ ป็นไปตาม หลักฐานตา่ ง ๆของส่วนราชการ นอกจากน้นั ในกรณีมคี วาม พระราชบญั ญตั ิ ท้งั น้ตี ามอานาจหนา้ ท่ที เ่ี ก่ียวกบั สานกั จาเป็นและเรง่ ดว่ น นายกรฐั มนตรี หรือกระทรวงการคลงั แลว้ แตก่ รณี 2.เงินทม่ี ผี ูม้ อบให้โดยมวี ตั ถุประสงคใ์ หส้ ว่ นราชการใชจ้ า่ ย งบประมาณของส่วนราชการ 1.โอนสว่ นราชการเข้าด้วยกัน ในกจิ การของสว่ นราชการ ให้สว่ นราชการจา่ ยเงนิ หรือกอ่ หน้ี ผูกพันภายในวงเงินทไ่ี ด้รบั น้นั ได้ โดยไมต่ อ้ งนาส่งคลงั 2.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี ลกั ษณะของงบประมาณประมาณและความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 3.รายจา่ ยประเภทเงนิ ราชการลบั หรือเป็นงานหรือ รายรับและงบประมาณรายจ่ายทข่ี อต้งั รายรบั รายจา่ ย เปรียบเทยี บ คาอธิบายเกยี่ วกบั ประมาณการรายรับ คาช้ีแจง โครงการใหม่ เกยี่ วกบั งบประมาณรายจ่ายทข่ี อต้งั รายงานการรบั จา่ ยเงิน หรือทรพั ยส์ ินทีม่ ผี ูม้ อบใหเ้ พื่อชว่ ยราชการ

24 25 ควำมสำคญั ของงบประมำณแผ่นดนิ ​​ ฐำนภำษี​​คือ สิ่งที่เป็นเงื่อนไขหรือมูลเหตุข้นั ตน้ ทท่ี า 1. ส่งเสริมพัฒนาประเทศ ใหเ้ กดิ บคุ คลที่จะตอ้ งเสียภาษี หรือ ส่ิงท่จี ะใช้เป็นฐานใน โอนเงินจากภาครฐั สู่เอกชนผ่านการจดั สรรตาม การประเมนิ ภาษอี ากร โครงการตา่ งๆ ฐานภาษี มี 3 ประเภท คือ 2. รักษาเสถียรภาพ 1. ฐานรายได้ เป็นฐานภาษที ใ่ี ช้กนั อยา่ งแพร่หลายมาก กระตุ้นเศรษฐกิจ ทสี่ ุดฐานหน่งึ เกบ็ จากฐานรายได้มที ้งั ท่เี รียกเกบ็ จาก รายไดข้ องบุคคลธรรมดา และภาษเี งินไดน้ ติ ิบคุ คล ลกั ษณะของงบประมำณ 2. ฐานการบริโภค หมายถึง การนาค่าใชจ้ า่ ยในการ บริโภคสินคา้ หรือบริการมาเป็นฐานในการเรียกเกบ็ ภาษี 1 สมดุล รายรบั และรายจ่ายเทา่ กนั เศรษฐกจิ ไม่ อากร เชน่ ภาษกี ารขายทว่ั ไป ภาษมี ลู ค่าเพิ่ม ภาษี ขยายตัว สรรพสามติ เป็นต้น 2. ขาดดุล รายไดน้ อ้ ยกวา่ รายจา่ ย รฐั ตอ้ งกูเ้ งินเพอื่ การ กูส้ ถานการณท์ างเศรษฐกจิ ทชี่ ะลอตวั ใหด้ ีข้ึน 3. เกนิ ดุล ขาดได้สูงกวา่ รายจา่ ย เศรษฐกิจขยายตวั สูง

26 3. ฐานทรพั ย์สิน เป็นภาษีท่ีเก็บจาก ประเภทของอัตรำภำษี 27 3.1. ทรพั ย์สินเฉพาะอย่าง 1) อตั ราภาษแี บบคงที่ คือ ฐานภาษเี ปล่ียนแปลง แตอ่ ตั รา นิยมจดั เก็บจากทรพั ย์สินที่เป็นอสงั หาริมทรัพย์ หรือ สงั หาริมทรัพย์ประเภทท่ีระบหุ รือกาหนดมลู คา่ ได้งา่ ย ภาษี เชน่ - ภาษีรถยนต์เก็บจากรถยนต์ คงท่ีเทา่ เดิมเช่น - ภาษีบารงุ ท้องท่ีเก็บจากสงิ่ ปลกู สร้างบนที่ดนิ หรือที่ดิน - ภาษีเงินได้นิติบคุ คล อตั รารัอยละ 20 จากฐานกาไรสุทธิ 3.2. ทรพั ย์สนิ โดยรวม ไมใ่ ชอ้ ัตราลด จะต้องนามูลคา่ ของทรัพย์สินทงั ้ หมดมารวมกัน เพ่ือเป็น ฐานในการประเมินภาษี - ภาษมี ลู ค่าเพิ่มอตั รารอ้ ยละ 7 ของมูลคา่ การบริโภค 2) อตั ราภาษแี บบกา้ วหนา้ คือ ฐานภาษีเพ่ิม อตั ราภาษอี ากร ร้อยละท่ีจดั เก็บภาษี ข้ึนอตั ราภาษีกจ็ ะเพิ่มข้ึนเซน่ ภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดา ฐานภาษคี ือเงินไดส้ ุทธิ แบง่ เป็น 3 ประเภท คอื แบบคงที่ แบบก้าวหน้า และแบบถดถอย 3) อตั ราภาษแี บบถดถอย คือ ฐานภาษีเพิ่มข้ึนแต่อตั ราภาษี โดยพิจารณาจากการเปลีย่ นแปลงของฐานภาษี กลับลดลง เชน่ ภาษบี ารุงทอ้ งท่ี ซ่ึงจดั เกบ็ เป็นภาษที ่ีดินอตั รา ขนี ้ อยกู่ ับกฎหมายกาหนดไว้ ภาษแี บบน้ีไมเ่ ป็นทน่ี ยิ มใช้ เพราะไมส่ อดคลอ้ งกบั ความเป็น ธรรมทางภาษี เนือ่ งจากเมือ่ ฐานภาษเี พิ่มข้ึนควรทาใหเ้ สีย ภาษีสูงข้ึนแตก่ ลบั เสียลดลงทาใหร้ ฐั บาลมรี ายไดล้ ดลง

28 นโยบำยกำรคลัง​ 29 นโยบำยกำรคลงั หมายถงึ นโยบายท่ีจะเกี่ยวข้องกบั การตดั สินใจของรฐั บาล หลงั จากวิกฤตเศรษฐกจิ ในชว่ งปี 2540 ผ่านพน้ ไป ทางด้านการใช้จา่ ยเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เชน่ การ ประเทศไทยโดยการบริหารประเทศโดยรฐั บาล กลับตอ้ งมี ภาระหนกั ในการกระตุน้ เศรษฐกจิ ทีซ่ บเซาลง ให้กลบั ฟ้ื นมา เพิ่มหรือลดภาษี และ หนีส้ ิน การตดั สินใจของรฐั เกี่ยวกับ เป็นเศรษฐกิจที่เข้มแข็งวิธีการในการกระตุน้ เศรษฐกิจ สามารถกระทาได้ 3 แนวทางด้วยกนั เรื่องตา่ งๆ ดงั กลา่ ว จะกอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ ระดบั อุปสงค์ 1.ผ่านการกระตุน้ เศรษฐกจิ ทางดา้ นอุปสงค์และอปุ ทาน 2.การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการใชน้ โยบายการเงินและ รวม เชน่ ระดบั ราคาสนิ ค้า อัตราดอกเบยี ้ ระดบั รายได้ การคลงั 3.การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการดาเนนิ นโยบายของรัฐบาล ประชาชาติ สว่ นประกอบของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ โดยตรง ดลุ การชาระเงนิ และอัตราแลกเปล่ียน

30 บทบำทของนโยบำยกำรคลงั 3. บทบาททางดา้ นการรักษาเสถยี รภาพ การดาเนิน 31 นโยบายการคลังเพื่อรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ ควร 1. บทบาททางด้านการจดั สรร จะเกีย่ วขอ้ งกบั การตัดสินใจ จดั สรรทรัพยากรของรัฐบาล เพื่อใช้ผลิตสินคา้ สาธารณะ และ เป็นนโยบายท่ผี ูว้ างนโยบายได้กาหนดไว้อยา่ งเหมาะสม สินค้าเอกชน (เนอ่ื งจากประเทศมีทรัพยากรในการผลิตและ ในการกระตุ้นอุปสงค์รวมในเวลาทอี่ ุปสงค์รวมของ บริการท่จี ากดั เพราะฉะน้นั รฐั จึงตอ้ งจัดสรรทรัพยากรเพ่อื ประเทศมีต่าเกนิ ไป หรือลดอุปสงคร์ วมของประเทศใน การผลิตสินค้าเหล่าน้ีอยา่ งเหมาะสมนโยบายการคลังยงั มี ยามทอี่ ุปสงค์รวมมมี ากเกนิ ไป บทบาทในการจดั สรรทรพั ยากรในเร่ืองของการจดั สรร ทรพั ยากรเพื่อสนบั สนุนการผลิตสนิ คา้ ทกี่ อ่ ให้เกิดผลกระทบ ภายนอก ซ่ึงกค็ ือ ผลประโยชนท์ ี่ตกแกส่ ังคมนน่ั เอง 2.บทบาททางดา้ นการกระจาย การตัดสินใจของรัฐบาลใน เรื่องของการจดั เกบ็ ภาษี และนามาใช้จ่ายเป็นเงินโอนเพื่อ ช่วยเหลือประชาชนผู้ด้อยโอกาส เช่นผู้พิการ เดก็ และคน สูงอายุ ใหม้ ีระดบั ความเป็นอยูท่ ่ดี ีข้ึนจึงเทา่ กบั เป็นการโอน อานาจซ้ือจากประชาชนผูม้ คี วามสามารถเสยี ภาษีไปให้แก่ ประชาชนผู้ยากจนตา่ งๆซ่ึงช่วยใหเ้ กดิ การกระจายรายไดข้ อง บคุ คลต่างๆในสังคมให้มคี วามเทา่ เทยี มกนั

บรรณานุกรม จดั ทำโดย ความรูเ้ บื้องตน้ เกย่ี วกบั เงนิ น.ส.พิยดา คามง่ิ https://bit.ly/2MIzaPa เลขที่12 เงินเฟ้อและเงนิ ฝื ด https://bit.ly/3t87oMt นาย คตศิ กั ด์ิ บญุ เตมิ น.ส.จีรดา ไวทยะเสวี นโยบายการเงิน เลขท่ี5 เลขท่ี14 https://bit.ly/3ah3JDA งบประมาณแผ่นดิน น.ส.ญาดา ศรจี ันทร์ เลขที่15 https://bit.ly/3owQzrb อัตราภาษี น.ส.ปณั ฑารยี ์ เจิงกลนิ่ จันทน์ นางสาวปิยเนตร แซโ่ คว้ https://bit.ly/3ahDpZZ เลขที่16 เลขที่37 นโยบายการคลงั https://bit.ly/2L1EUTp น.ส.ญาณิกา สรอ้ ยสหี ราช เลขท่ี31 กลับไปหน้าปก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook