Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลสำคัญในจังหวัดพิจิตร

บุคคลสำคัญในจังหวัดพิจิตร

Published by chalermrajakumarithapkhlo, 2021-05-21 03:42:28

Description: บุคคลสำคัญในจังหวัดพิจิตร

Keywords: Phichit,พิจิตร,ประวัติ

Search

Read the Text Version

บุคคลสำคญั ในจังหวัดพจิ ติ ร ได้แก่ 1. พระธรรมยา 2. จ่านายสิบเจรญิ พริ อด 3. ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ นายแพทยเ์ กษม วัฒนชยั 4. นายประดิษฐ์ ภทั รประสิทธิ์ 5. พลตรสี นัน่ ขจรประศาสน์ 6. นายโกเมศ แดงทองดี 7. นายนิคม เกดิ ขนั หมาก 8. นายปรชี า เรอื งจนั ทร์ 9. นายไพฑูรย์ แกว้ ทอง 10. นายวีระ โรจนพ์ จนรัตน์ 11. นายบรรพต หงษท์ อง

พระธรรมยำ พระธรรมยา เปน็ เจา้ เมืองภมู ิคนแรก เดิมชื่อ “ยา” เกิดทีบ่ ้านหนองบวั (อาเภอหนองบวั จังหวัด นครสวรรค์) นายยาเป็นคนมีวิชาความรู้ทางด้านไสยศาสตร์และว่านยา ประกอบอาชีพ เป็นพรานล่า สตั ว์ป่า มีความชานาญป่าในท้องถิน่ หาใครเทยี บยาก นอกจากนย้ี ังมีวิชาบังไพร ทสี่ ามารถเข้าไปยิงสตั ว์ ในระยะใกล้ได้โดยสตั ว์ไมเ่ ห็น ทา่ นมีชอื่ เสียงเป็นท่รี ู้จักอย่างกว้างขวางของผู้คนในทอ้ งถิน่ เป็นอย่างดี ในช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พระมหากษัตริย์ได้ออกไปคล้องช้างและติดตามช้างสาคัญ ตัวหน่ึง เป็นช้างเผือกงาเนียม โดยเดินทางผ่านเมืองนครสวรรค์ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา มาถึงเขตอาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ซ่ึงสภาพพ้ืนท่ีในสมยั น้ันเป็น ป่าดง มีบา้ นเรือนราษฎรต้ังอยู่ ริมคลองเป็นหย่อม ๆ ขบวนติดตามรู้แน่ชัดว่าช้างเผือกงาเนียมต้องอยู่ในป่าเขตนี้ แต่ไม่ชานาญป่า จึง ต้องการพรานท้องถิ่นเป็นผู้นาทาง “พรานยา” รับอาสาพาพวกควาญช้างติดตามชา้ งสาคัญซ่ึงชาวบ้าน แถวนนั้ เรียกกันว่า “อ้ายโพธ์หิ างกร่าง” เพราะเป็นช้างพลายที่มลี ักษณะงาม สูงใหญ่ หางยาวปลายหาง แข็งเป็นรูปใบโพธ์ิ เวลาเดินเข้าป่าหางจะแกว่งไปโดนใบไม้จนมีเสียงดังแกรกกรก จึงได้สมญานาม ดงั กลา่ ว ขบวนติดตามช้างใช้เวลารอนแรมในป่าหลายวัน จนกระท่ังถึงในบริเวณเมืองภูมิจึงจับช้างได้ เม่ือจับช้างได้พรานยาได้ตามไปส่งเสด็จที่บ้านหนองกลับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตอาเภอหนองบัว จังหวัด นครสวรรค์) เพ่ือนาช้างลงแพขนานขนาดใหญ่ล่องกลับไปยังกรุงศรีอยุธยา ก่อนเสด็จกลับ พระมหากษัตริย์ทรงถูกอัธยาศัยกับพรานยาโดยมิได้แสดงฐานะของพระองค์ ประกอบกับพอ พระราช หฤทัยในความอตุ สาหะติดตามช้าง จึงถอดพระธามรงค์ให้เป็นรางวัลพร้อมท้ังพระราชทานยศเป็นพระ ธรรมยา ตาแหน่งเจ้าเมืองภูมิพระราชทาน และมีรับสั่งให้พระธรรมยาไปเข้าเฝ้าพระองค์ ที่เมืองหลวง บ้าง เมืองภูมิพระราชทาน เม่ือสิ้นสมัยพระธรรมยาแล้วก็ไม่มีการเก็บภาษีท่ีดินหรือส่วยอากรใด ๆ เพราะเปน็ เมืองพระราชทานให้เป็นพิเศษ ปัจจุบันผเู้ ฒ่าผู้แกช่ าวตาบลภูมิก็เล่าสืบต่อถงึ ประวัติของทา่ น มิได้ขาด และได้ร่วมกันสร้างศาลและรูปปั้นประดิษฐานเป็นอนุสรณ์ไว้สักการบูชาใกล้ ๆ กับโบสถ์หลัง เก่าของวัดหนองเต่า ตาบลภูมิ อาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เรียกกันว่า “ศาลเจาพ่อตาพระธรรม ยา” และมีประเพณีบวงสรวง เป็นประจาทกุ ปีจนถึงปจั จุบนั

จ่ำนำยสบิ เจรญิ พิรอด จา่ นายสิบเจริญ พิรอด เกิดท่ีจังหวัดพิจิตร เป็นทหารอาสาในมหาสงครามโลกคร้ังท่ี ๑ ในเวลา น้ัน จา่ นายสิบเจรญิ พริ อด เป็นทหารท่ีมีตาแหนง่ แค่เพียงลูกแถว สังกัดกองทหารจังหวัดพิษณุโลก ได้ อาสาไปกับกองทัพ สังกัดกองรถยนต์ เข้าสู่สมรภูมิรบในประเทศฝรั่งเศสเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๕๗ มหา สงครามโลกครง้ั ที่ ๑ เกิดขึน้ ในทวีปยุโรปเม่ือวันท่ี ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๕๗ แรกเริ่มไทยเราประกาศ ตัวเปน็ กลาง แต่ก็ดารงความเป็นกลางอยูไ่ ดไ้ ม่นานต้องหันเข้าเป็นสมาชิกของฝ่ายสมั พนั ธมิตร เม่ือวันท่ี ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๐ รฐั บาลไทยไดป้ ระกาศสงครามกับประเทศเยอรมัน และสง่ ทหารอาสาสมคั ร ไปร่วมกบั ฝ่ายสัมพันธมติ ร เมื่อวนั ท่ี ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๑ จ่านายสบิ เจรญิ พิรอด คือ หน่ึงในกลุ่ม อาสาสมัครนั้น และได้นาธงชัยเฉลิมพลไปปรากฏในประเทศฝรั่งเศส ประเทศเบลเย่ียมและประเทศ อังกฤษ ทาให้ต่างชาติรู้จักประเทศไทยมากข้ึน สมเกียรติศักด์ินักรบไทย ต่อมาท่านได้เสียชีวิตกลาง สนามรบ ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวและรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจา้ อยู่หัว เป็นเวลาทป่ี ระเทศองั กฤษ และประเทศฝร่งั เศสเข้ามาล่าอาณานิคม ในดนิ แดนแหลมทอง ทา ให้ผืนแผ่นดินไทยบางส่วนตกไปเป็นของประเทศอังกฤษและประเทศฝรั่งเศสบ้างแล้ว ต่อมาในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ไทยเสียเปรียบเร่ืองดุลการค้าและเร่ืองสิทธิทางการศาลอย่าง มาก ตามสนธสิ ญั ญาเบาว์ริงและสัญญาอ่นื ๆ ที่ไทย ทาเอาไว้กบั นานาประเทศ หลังสงครามโลกคร้งั ที่ ๑ สิน้ สดุ ลงและในฐานะท่ีประเทศไทยเข้ารว่ มรบกับฝ่ายสัมพนั ธมิตร และเป็นฝา่ ยชนะสงครามจึงสามารถ เจรจาล้มเลิกสัญญาดังกล่าวได้ท้ังหมด นับว่าจ่านายสิบเจริญ พิรอด เป็นทหารกล้าที่มีส่วนทา คุณประโยชน์แก่ชาติไทยเป็นอย่างมาก หลังสงครามจ่านายสิบเจริญ พิรอดได้รับพระราชทานเล่ือนยศ เปน็ จา่ นายสิบ

ศำสตรำจำรยเ์ กยี รตคิ ณุ นำยแพทย์เกษม วฒั นชัย ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ นายแพทยเ์ กษม วัฒนชยั เกิดเมอื่ วนั ท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๔ ภูมิลาเนาเดิมจังหวัดพิจิตร เป็นบุตร ของนายประภาสน์ วัฒนชัยและนางพร วัฒนชัย มีพ่ี น้อง ๔ คน สมรสกับคุณหญิงรัชนีวรรณ วัฒนชัย มีบุตร ๒ คน คือนางกฤติกา โฆวาสินธุ์ และ นายแพทย์ณวตั น์ วัฒนชยั กำรศึกษำ พ.ศ.๒๕ ๑ ๐ แพ ท ยศาสตร์บั ญ ฑิ ต(เกี ยรตินิ ยมอั น ดับ ห น่ึ ง) คณ ะแ พ ท ย ศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ พ .ศ . ๒ ๕ ๑ ๕ วุฒิ บั ต รส าข าอ ายุ รศ าส ต ร์ ม ห าวิท ย าลั ย ชิ ค าโก ทุ น มู ล นิ ธิอ านั น ท มหิดล พ.ศ. ๒๕๑๗ วุฒิบัตรสาขาอายุรศาสตร์โรคหัวใจและหลอดเลือด มหาวิทยาลัยชิคาโก ทุน มูลนธิ ิอานันทมหดิ ล พ.ศ. ๒๕๓๗ ปรญิ ญาบัตรวทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร รนุ่ ท่ี ๓๖ พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๔๘ ไดร้ ับดษุ ฎบี ัณฑิตกิตติมศักดิห์ ลายสาขาจากหลายสถาบนั การศึกษา ประวัติกำรทำงำน ดารงตาแหน่งรองปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังดารงตาแหน่ง เป็นอธิการบดี กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒินายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการ อานวยการโครงการวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ของมหาวิทยาลัยช่ือดังหลายสถาบันกรรมการ และอนุกรรมการด้านการศึกษา นอกจากนี้ยังดารงตาแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิก วุฒิ สภา ปัจจุบั น ดารงตาแหน่ งองคมน ตรี พ .ศ. ๒ ๕ ๑ ๗ – ๒๕ ๔ ๖ ได้รับ พ ระราชท าน เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ ๑๓ ชน้ั ช้ันสงู สดุ คอื ทุตยิ จลุ จอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)

นำยประดษิ ฐ์ ภัทรประสทิ ธิ์ นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ เกิดเมื่อวันท่ี ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ที่จงั หวัด พิจิตร สมรสแล้วมีบุตร ๔ คน การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาบริหาร เศรษฐศาสตรจ์ าก Franklin Pierce College New Hampshire USA ประวัติกำรทำงำน พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๓ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัด พิจิตร เขต ๑ (สมัยที่ ๒) ดารงตาแหน่งประธานคณะกรรมาธิการการกีฬา และ ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่า การกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้รับ เลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร เขต ๑ (สมัยท่ี ๓) สังกัดพรรค ป ระช าธิปั ต ย์ พ .ศ . ๒ ๕ ๔ ๖ - ๒ ๕ ๔ ๙ ด ารงต าแ ห น่ งเล ข าธิก ารพ รรค ประชาธิปัตย์ นอกจากน้ียังดารงตาแหน่งในภาคเอกชน ดังน้ี คือ พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๕ ดารงตาแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัทภัทราเซรามิค จากัด (มหาชน) พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๘ ดารงตาแหน่ง ประธานกรรมการบริหารบริษัทภัทราพอร์ซเลน จากัด พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๘ กรรมการผู้จัดการบริษัท สยามเจ้าพระยาโฮล ด้ิงส์ จากัด ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการบริษัท สุรามหาราษฎร์ จากัด (มหาชน) กรมการบริหารธนาคารเอเชีย จากัด(มหาชน) และกลุ่มบริษัทสุราทิพย์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ดารงตาแหน่งกรรมการผู้จัดการกลุ่มบริษัทแสงโสม นับเป็นคนพิจิตร อีกคนหนึง่ ทน่ี ามาซึ่งชือ่ เสียงและความภมู ิใจของคนจงั หวัดพจิ ติ ร

พลตรสี นนั่ ขจรประศำสน์ พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ เกิดเม่ือวันท่ี ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๘ ท่ีจังหวัดพิจิตร เป็นบุตรของ ขุนขจรประศาสน์ และนางบ๊วย ขจรประศาสน์ มีพ่ีน้อง ๖ คน สมรสกับนางฉวีวรรณ ขจรประศาสน์ มีบุตร ๔ คน ประวัติกำรศกึ ษำ ประวัติการศกึ ษา สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจลุ จอมเกล้าและโรงเรียนเสนาธิ การทหารบก และศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีศิลปะศาสตร์บัณฑิต สาขารัฐศาสตร์การปกครอง มหาวิทยาลัยรามคาแหง ปริญญาโทศิลปศาสตร์มหาบัณฑิตรัฐศาสตร์สาขาบริหาร มหาวิทยาลัย รามคาแหง ปริญญาเอกศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันราชภัฎ จันทรเกษม ประวัติกำรทำงำน ทางาน พ.ศ. ๒๕๒๙ – ๒๕๓๑ ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๓๓ ดารงตาแหนง่ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๓ ดารงตาแหน่ง รองนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๓๗ ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม พงศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๓๘ ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๓ ดารง ตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๒๖ – ๒๕๔๓ ดารง ตาแหน่งกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เลขาธิการพรรค ประชาธิปัตย์ ดารงตาแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน ซึ่งก่อต้ัง เมื่อพ.ศ. ๒๕๔๙ และดารงตาแหน่งนายก สภามหาวิทยาลัย ราชภัฎจันทรเกษม ผลงานท่ีสาคัญ มีส่วนร่วมในการจัดตั้งสภากลาโหม ปรับป รุง แก้ไขพระราชบัญญัติสภากลาโหม ผลักดันโครงการก่อสร้างท่าเรือแหลมฉบัง ออกพระราชกาหนด ยกเลิกสัมปทานป่าไม้ทั่วประเทศ จนได้รับรางวัลแห่งเกียรติยศให้เป็นนักอนุรักษ์ดีเด่นของโลก ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และเม่ือพ.ศ. ๒๕๔๑ ก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติการยาเสพติดแห่งชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ปราบปรามและแกไ้ ขปญั หายาเสพติดไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและจริงจัง

นำยโกเมศ แดงทองดี นายโกเมศ แดงทองดี เกิดเม่ือวันท่ี ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ที่อาเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร เปน็ บตุ รของนายดุสติ นางมุ่ยคร้นื แดงทองดี มีพน่ี อ้ ง ๙ คน สมรสดับนางประพศิ แดงทองดี มบี ตุ ร ๒ คน ประวตั ิกำรศกึ ษำ การศกึ ษา เข้ารับการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาที่โรงเรยี นจนั ทรวิทยา โรงเรยี นประสิทธว์ิ ิทยา โรงเรียนพระวิสุทธิวงศ์ และโรงเรียนช่ืนนิยมวิทยา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนตะพานหิน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีโรงเรียนสันติราษฎร์บารุงระดับปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต จาก มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และระดบั ปริญญาโท รฐั ศาสตร์มหาบัณฑิต จากมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ประวัตกิ ำรทำงำน พ.ศ. ๒๕๑๔ – ๒๕๑๖ ตาแหน่งปลัดอาเภอตรี อาเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. ๒๔๑๖ – ๒๔๒๒ ตาแหน่งปลัดอาเภอโท อาเภอภูเรือ อาเภอเมือง จังหวัดเลย พ.ศ. ๒๕๒๒ – ๒๔๓๔ ตาแหน่งนายอาเภออีกหลายอาเภอ คือ นายอาเภอภูเรอื จังหวัดเลย นายอาเภอพยัคฆภมู ิพิสัย จังหวัด มหาสารคาม นายอาเภอกุศุมาลย์ จังหวัดสกลนคร นายอาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ นายอาเภอชน แดน จังหวัดเพชรบูรณ์ นายอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย พ.ศ. ๒๕๓๔ – ๒๕๓๗ ตาแหน่งปลัดจังหวัด ราชบุรี พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๑ ดารงตาแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พงศ. ๒๕๔๑ ดารงตาแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พ.ศ. ๒๕๔๒ ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี พ.ศ. ๒๕๔๖ ดารง ตาแหน่งผู้วา่ ราชการจังหวัดฉะเชิงเทราและเกษียณอายุราชการที่จังหวดั ฉะเชิงเทรา นอกจากน้ียงั ดารง ตาแหน่ง ทปี่ รึกษากฎหมาย มท.(ระดับ ๑๐) กระทรวงมหาดไทย (มท.๑๐/๒๕๓๙) พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้รับ รางวัลนายอาเภอดีเด่น พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้รับรางวัลเกียรติยศ ผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น “ครุฑ ทองคา” พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง และรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๔๓ รวม ๔ ช้นั ชั้นสูงสดุ คือ มหาวชริ มงกุฎ

นำยนิคม เกดิ ขนั หมำก นายนิคม เกิดขันหมาก เกดิ เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ท่ีตาบลวังสาโรง อาเภอ บางมูล นาก จังหวดั พจิ ิตร สมรสกบั นาง ประยูรศรี เกิดขันหมาก มีบตุ ร ๒ คน ประวัติกำรศึกษำ การศึกษา ระดับประถมศึกษาท่ีโรงเรียนวังสาโรง “ราษฎร์บารุงวิทย์ ตาบลวังสาโรง อาเภอ บางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นท่ีโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม อาเภอบางมูล นาก จังหวัดพิจิตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนอานวยศิลป์ กรุงเทพฯ โรงเรียนชลราษฎร อารุง จังหวัดชลบุรี และโรงเรียนศรีสวัสด์ิวิทยาคาร จังหวัดน่าน ระดับปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ระดบั ปริญญาโท รัฐศาสตรม์ หาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ประวตั ิกำรทำงำน พ.ศ. ๒๕๑๔ – ๒๕๒๒ ดารงตาแหน่งปลัดอาเภอ รวม ๔ อาเภอ คือ ปลัดอาเภอหล่มสัก จงั หวดั เพชรบูรณ์ ปลัดอาเภอเมือง จงั หวัดเลย ปลดั อาเภอผเู้ ปน็ หัวหน้าประจากิ่งอาเภอนาด้วง จงั หวัด เลย พ.ศ. ๒๕๒๓ – ๒๕๓๕ จากตาแหน่งนายอาเภอรวม ๖ อาเภอ คือ อาเภอภูเรือ อาเภอนาแห้ อาเภอท่าล่ี จังหวัดเลย อาเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร อาเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด และอาเภอบาง ระกา จังหวัดพิษณุโลก นอกจากนย้ี ังดารงตาแหน่งปลัดจงั หวัดลาพูน ปลัดจังหวดั ลพบุรี ดารงตาแหน่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจติ ร รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ รองผวู้ ่าราชการจงั หวดั สมุทรปราการ และ พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๙ ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม จนเกษียณอายุราชการ นาย นิคม เกิดขนั หมาก ได้รับพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ ท้ังหมด ๓ ชัน้ ชั้นสูงสุด คือมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)

นำยปรีชำ เรืองจันทร์ นายปรีชา เรืองจันทร์ เกิดที่บ้านหนองกอไผ่ หมู่ท่ี ๖ ตาบลวังสาโรง อาเภอบางมูลนาก จังหวัด พิจิตร เป็นบุตรของนายจวน และนางบุญมา เรืองจันทร์ มีพ่ีน้อง ๗ คน สมรสกับนางสาวปิยธิดา นรา รกั ษ์ มบี ุตร ๒ คน ประวัตกิ ำรศกึ ษำ เรียนระดับประถมศึกษา ๑ – ๔ ท่ีโรงเรียนวัดหนองกอไผ่ ตาบลวังสาโรง อาเภอบางมูล นาก จังหวัดพิจิตร และเรียนระดับประถมศึกษา ๕ – ๗ ท่ีโรงเรียนชุมแสงวิทยา อาเภอชุมแสง จังหวัด นครสวรรค์ ระดับมัธยมศึกษา ม.ศ. ๑ – ม.ศ. ๕ สอบเทียบกระทรวงศึกษาธิการ ระดับปริญญา ตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นิติศาสตร์บัณฑิตและรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช ระดับปรญิ ญาโท รัฐศาสตรม์ หาบณั ฑิต จากจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย และ ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า เ อ ก Doctor of Organization Development and Transformation (DODT) , CEBU DOCTORS, UNIVERSITY,PHILIPPINES ประวตั ิกำรทำงำน เริ่มทางานในตาแหน่งเจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์นโนบายและแผน และดารงตาแหน่งปลัดอาเภอหลาย อาเภอ ของจังหวัดนครสวรรค์ ดารงตาแหน่งนายอาเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร และนายอาเภอ เมือง จังหวัดพิจิตร ดารงตาแหน่งปลัดจังหวัดพิจิตร และตาแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี , จังหวัด เพชรบูรณ์ และจังหวัดสมุทรสงคราม และปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด พิจิตร นอกจากนี้ยังเดินทางไปศึกษาดูงานด้านการเมืองการปกครองในหลายประเทศได้รับพระราชทาน เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์และเหรียญสดุดี ๘ ช้ัน ช้ันสูงสุด เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๖ ประถมาภรณ์ช้างเผือก และ รางวัลเกยี รติคุณพิเศษ ๑๑ รายการ นอกจากงานทางราชการแล้ว นายปรีชา เรอื งจันทร์ ยังมีความสามารถ ทางดา้ นงานเขียนและสิ่งพิมพ์ มผี ลงานมากมาย เชน่ วิทยานพิ นธ์เรอ่ื ง “การบริหารงานสานกั งานจังหวัด : ศกึ ษาเฉพาะกรณีจังหวัดเพชรบูรณ์” , หนังสือเสริมการอา่ น “แมค่ ้าขายผัก”, เอกสารวจิ ารณ์หนังสือ “เล่นกับ คน : ศิลปะการบริหารแบบไทย ๆ” ของอาจารย์สุขุม นวลสกุล และ “เทคนิคการบริหารเวลาสาหรับนัก บริหาร” ของ ชัยรัตน์ บูรณะวิวัฒน์ เป็นต้น นอกจากน้ียังมีงานเขียนรวมเล่ม เช่น “ฉากชนบท” “คน กินอุดมการณ์” “ลูกล่อลูกชนคนทางาน” “กอ็ ดอาม่มี ณีลอยปลุกราชบุรีเขยา่ โลก” “ขวัญใจชาวบา้ น” “ น้าฝนน้าฟ้า น้าตาน้าก้อ “ และ “คนแบกเสบียง” เป็นต้น นามปากกาที่ใช้มี “รุ่งทิวา” “กระทิง ทงุ่ ” “กานันฉะ” “ ป ปิยธิดา” “ ป นนทนันทน์” “ ป ประภัสสนันท์” “ มหานายนนทนันทน์” นบั เป็น บคุ คลที่มีความสามารถอกี ทา่ นหนง่ึ ทีค่ วรยกยอ่ งใหเ้ ป็นบุคคลสาคัญของจังหวัดพิจิตร

นำยไพฑรู ย์ แก้วทอง นายไพฑูรย์ แก้วทอง เกิดเมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๙ ที่บ้านหนองปลาไหล หมู่ท่ี ๑ ตาบลหนองปลาไหล อาเภอวงั ทรายพูน จังหวัดพิจิตร เป็นบตุ รของ นายคา นางเหรียญ แก้วทอง สมรส กับนางอจั ฉราภรณ์ แก้วทอง มบี ตุ ร ๓ คน ประวตั กิ ำรศึกษำ นายไพฑูรย์ แก้วทอง เรียนจบช้ันประถมศึกษาท่ี โรงเรียนบ้านหนองปลาไหล ตาบลหนอง ปลาไหล อาเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร จบชั้นมัธยมศึกษาท่ีโรงเรียนพิจิตรพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพิจิตร จบระดบั ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์บณั ฑิต (โยธา) จากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประวัติกำรทำงำน ทางาน เคยรับราชการกรมทางหลวง และได้ประกอบธุรกิจส่วนตัวเป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท สระหลวงก่อสร้างจังหวัดพิจิตร ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร (สมัยท่ี ๑) ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร (สมัยท่ี ๒) ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร (สมัยที่ ๓) เร่ิมมีบทบาท ทางการเมือง เป็นผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รับพระมหา กรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้มาพัฒนาสาธารณูปโภค ของจังหวัดพิจติ ร เช่น การสรา้ งถนน ไฟฟ้า ประปาหมูบ่ ้าน การศึกษา สาธารณสุขและอืน่ ๆ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒๕๓๕ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร(สมัยท่ี ๕) และได้เป็นกรรมการบริหาร พรรคความหวังใหม่ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้เป็นรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่และได้รับพระมหากรุณา คุณโปรดเกล้าฯ ให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ต่อมาได้รับพระมหา กรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม นอกจากน้ียังดารงตาแหน่งทางสังคม คือ นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพิจิตรพิทยาคมและนายก สมาคมชาวพิจิตร เป็นต้น นายไพฑูรย์ แก้วทอง นับเป็นอีกความภาคภูมิใจหน่ึงของคนจังหวัดพิจิตร เปน็ บคุ คลตัวอย่าง ที่สมควรแก่การยกยอ่ งให้เปน็ บคุ คลสาคญั ของจังหวัด สมาคมศิษย์เกา่ โรงเรียนพจิ ิตร พทิ ยาคมไดม้ อบ โลเ่ กียรติยศให้ นายไพฑูรย์ แกว้ ทอง เป็นนกั การเมืองทม่ี คี ุณธรรม

นำยวีระ โรจนพ์ จนรัตน์ นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ เกิดท่ีอาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เข้ารับการศึกษาระดับ ประถมศึกษาที่โรงเรียนบางมูลนากราษฎร์อุทิศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นท่ี โรงเรียนบางมูลนากภูมิ วิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนอานวยวิทย์พระนคร และเข้าศึกษาต่อในสาขา สถาปัตยกรรมหลัก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อใน สาขาบรหิ ารรัฐกิจ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดว้ ยความสามารถ ทาให้ได้รับการคดั เลือก ใหเ้ ขา้ อบรมในหลกั สูตรการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม (Architectural Conservation) ทนุ ยูเนสโก ณ กรุง โรม ประเทศอติ าลี และหลกั สตู รวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการจัดการ ทุน LATSS ณ ประเทศญป่ี นุ่ ประวตั ิกำรทำงำน พ.ศ. ๒๕๒๑ เริ่มทางานในตาแหน่งสถาปนิก ๓ ประจาโครงการอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย กรมศิลปากร พ.ศ. ๒๕๓๕ ก้าวขึ้นเป็นผู้เช่ียวชาญด้านบูรณปฏิสังขรณ์(สถาปนิก ๘) พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๔๒ ดารงตาแหน่งเลขานุการกรมศิลปากร พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๖ ดารงตาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๙ ดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ดารงตาแหน่ง ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังดารงตาแหน่งกรรมการบรหิ ารสภาสถาปัตยกรรมพน้ื ถ่ินระหวา่ ง ประเทศ (ICOMOS-CIAV) และเป็นผู้มีสิทธิ์ออกเสียงในนามประเทศไทยรวมถึงเป็นผู้ริเริ่มและก่อตั้ง กองทุน “แด่เพ่ือนผู้พิการและด้อยโอกาส” เพื่อสนับสนุนการศึกษาและส่งเสริมศักยภาพด้าน ศลิ ปวัฒนธรรมสาหรับคนพิการและผ้ดู ้อยโอกาส การไดร้ ับยกยอ่ งในสงั คม พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับประกาศ เกียรติคุณจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะเป็นนิสิตเก่าท่ีอุทิศตน ทา ประโยชน์ และเป็นแบบอย่างที่ดีในวงวิชาชีพสถาปัตยกรรม และการอนุรกั ษ์สถาปัตยกรรม มีความคิด ริเร่ิม บุกเบกิ และสร้างสรรค์ผลงาน จนมีผลงานและเปน็ ที่ยอมรับในสังคม พ.ศ.๒๕๔๗ ได้รับเลือกเป็น บุคคลดีเด่นที่ได้รับเลือกเป็นบุคคลดีเด่น ท่ีสนับสนุนงานด้านคนพิการ จากกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย์

นำยบรรพต หงษท์ อง นายบรรพต หงษ์ทอง เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ ที่จังหวัดพิจิตร เข้ารับ การศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนซานตาครูสคอนแวนต์ ระดับประถมศึกษาจนถึงระดับ มัธยมศึกษ าท่ีกรุงเทพ คริสเตียนวิทยาลัย THE ARMIDALE SCHOOL, WOLLAROI COLLEGE ระดับอุดมศึกษา B.A (ECONOMICS) จาก NORTHEASTERN UNIVERSITY ประเทศสหรัฐอเมริกา และ M.A. (ECONOMIC DEVELOPMENT) จาก NORTHEASTERN UNIVERSITY ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวตั ิกำรทำงำน ได้เข้าสู่ตาแหน่งผู้บริหารระดับสูงเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ในตาแหน่งรองอธิบดีกรม พาณิชย์สัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๖ ดารงตาแหน่งรองอธิบดี (ฝ่ายการพัฒนาการส่งออก) กรม ส่งเสริมการส่งออก พ.ศ. ๒๕๓๗ ดารงตาแหน่งผ้ตู รวจราชการกระทรวง สานกั ปลัดกระทรวง พาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๓๘ ดารงตาแหน่งอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา พ.ศ. ๒๕๔๑ ดารง ตาแหน่งอธบิ ดีกรม การประกันภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ดารงตาแหน่งอธบิ ดีกรมส่งเสริมการส่งออก ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รับตาแหน่งปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นอกจากนี้ยังดารง ตาแหน่งกรรมการการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ประธานองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ประธานองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย รองประธานธนาคารเพ่ือการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร และกรรมการสานักงานบริหารการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์มหาวชิรมงกุฎ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้รับ พระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก และในวันท่ี ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ตติยจุลจอมเกลา้ วิเศษ



บคุ คลสำคัญในอำเภอทับคล้อ ไดแ้ ก่ 1, พระเทพญาณเวที อดีตเจา้ อาวาสวัดมงคลทบั คล้อ ( รองเจ้าคณะภาค 4 ) 2. พระครวู สิ ุทธภิ าวนาคณุ ( เจ้าอาวาสวดั ทบั คล้อ) 3. พระครูวสิ ุทธวิ ราภรณ์ ( เจา้ อาวาสวดั มงคลทับคลอ้ ) 4. กานนั อเนก สามเจริญ 5. นายประจวบ นิกรเกษตรกรดเี ดน่ แหง่ ชาติ สาขาอาชพี ปลูกสวนป่า

พระเทพญำณเวที อดีตเจำ้ อำวำสวัดมงคลทับคล้อ ( รองเจำ้ คณะภำค 4 ) เกิดที่บ้านป่าหวาย หมู่ท่ี 1 ตาบลทะเลชุบศร อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ท่านมีนามเดิมว่า บุญ มา สังเขป เกิดเม่ือวันท่ี 16 มกราคม พ.ศ. 2549 ตรงกับวันอังคารแรม 9 ค่า เดือนยี่ ปีมะโรง เวลา ประมาณ 02.00น. โยมบิดาชื่อ นายเนตร และโยมมารดาชอื่ นางพะวง นามสกลุ สังเขป พระเทพญาณ เวที เปน็ บตุ รคนทส่ี าม มีพน่ี ้องรว่ มบิดามารดาเดียวกัน 6 คน ประวตั ิกำรศกึ ษำ พ.ศ. 2468 เข้าเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ที่โรงเรยี นปราสาทวทิ ยา ถนนศรอี ยธุ ยา สเี่ สาเทเวศร์ พ.ศ. 2474 บรรพชาเปน็ สามเณรทวี่ ัดอินทรวิหาร พ.ศ. 2480 อุปสมบททว่ี ดั ราชบรู ณะ เม่อื วันท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 โดยมีพระเทพเวที (โสม ฉนนฺ มหาเถระ)เป็นพระอุปชั ฌาย์ พ.ศ. 2481- 2482 สอบไล่ได้นักธรรมโทและม.3 ไดใ้ นปเี ดียวกนั และปธ.4 พ.ศ. 2531 ปริญญาพทุ ธศาสตรด์ ุษฎบี ณั ฑิตกิตตมิ ศักดม์ิ หาจฬุ าลงกรณร์ าช วทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ไดร้ ับพระรำชทำนสมณศักดเ์ิ ปน็ พระรำชำคณะ พ.ศ. 2492-2495 ไดร้ บั พระราชทานเล่ือนสมณศกั ดเิ์ ป็นพระครชู ั้นเอกที่ พระครนู พิ ทั ธรรมโกศล พ.ศ. 2492-2495 ไดร้ บั พระราชทานเลื่อนสมณศกั ด์ิเปน็ พระราชาคณะช้ันสามญั ท่ี “ พระราชวมิ ลเมธี” พ.ศ. 2492-2495 ได้รับพระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ดิเ์ ปน็ พระราชาคณะช้ันสามัญท่ี “ พระเทพญาณเวที

กำรปกครอง พ.ศ. 2487 ไดร้ ับแตง่ ตงั้ ทาหนา้ ท่ีรกั ษาการเจ้าอาวาสวดั ทา่ มงคลหรอื วัดมงคลทบั คล้อ พ.ศ. 2506 ได้รบั แตง่ ต้ังเปน็ เจ้าอาวาสวดั มงคลทบั คล้อหลงั จากรกั ษาการณ์เจา้ อาวาส วดั มงคลทบั คลอ้ เปน็ เวลานานถึง 19 ปี พ.ศ. 2516 ได้รับแตง่ ตงั้ ให้เป็นรองเจา้ คณะจังหวัด พ.ศ. 2516 ได้รับแต่งตั้งให้พระราชวิมลเมธเี จ้าคณะจังหวัดพิจติ รเลอ่ื นขนึ้ ดารงตาแหนง่ รองเจ้าคณะภาค 4 ผลงำนสำคัญของพระเทพญำณเวที 1. พระเทพญาณเวทีและพระมหาแทนได้เปดิ สานักสอนพระปริยัติธรรมทัง้ แผนกธรรมและบาลี ให้แก่พระภิกษสุ ามเณร ตั้งแต่ พ.ศ. 2487 ช่ือโรงเรียนปริยตั ธิ รรมโพธิ์นคร โดยนายอา๋ นางก๋ิมหลั่น โพธ์ิ นคร ศาสตร์จารย์นายแพทย์ประเสริฐและคุณนายสมถวิล กังสดาลย์ บริจาคเงินค่าก่อสร้าง ต่อมาได้ สรา้ งศาลาการเปรียญ ในปี พ.ศ.2493 และสรา้ งพระอโุ บสถหลงั ใหม่ในปัจจุบัน เม่ือปี พ.ศ. 2502 2. ท่านเป็นพระนักเผยแพร่ เป็นพระธรรมทูตพระธรรมกถาท่ีมีโวหารไพเราะชวนฟัง เป็นพระ นักพัฒนาได้ก่อสร้างเสนาสนะในวัดมงคลทับคล้อ เป็นปรานในการสร้างวัด โรงเรียนอนุบาลทับคล้อ ที่ว่าการอาเภอทับคลอ้ และโรงพยาบาลทับคลอ้ ทา่ นละสังขารไปเม่ือวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2534

พระครูวิสุทธิภำวนำคณุ ( เจำ้ อำวำสวดั ทบั คล้อ) ประวตั ิ นามเดิม โกศล นามสกลุ จนั ทรศ์ รสี ุข เกดิ เมอ่ื วันท่ี 19 ตุลาคม 2475 ณ วัดบ้านปา่ หมู่1 อาเภอตะพาน หิน จังหวัดพิจิตร เป็นบุตรชายคนโตของคุณพ่อสิงห์และ คุณแม่ฉัตร จันทร์ศรีสุขมีน้องสาว 2 คน คือ คุณทองหล่อ จันทร์ศรีสุข และ คุณชอบ จันทร์ศรีสุขสาเร็จการศึกษาวุฒิ ป.ม. เคยรับราชการ ณ ท่ีว่า การอาเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร อุปสมบทเม่ือวันท่ี 11 มกราคม 2515 ที่ วัดมงคลทับคล้อ ตาบล ทบั คล้อ อาเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร โดยมีอปุ ัชฌายค์ ือ พระราชวิมลเมธี รองเจ้าคณะภาค 4 วัดมงคล ทับคล้อ ตาบลทับคล้อ อาเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร สาเร็จการศึกษานักธรรมช้ันเอกเปรียญธรรม 4 ประโยค และเรียนพระธรรมกรรมฐานจากหลวงพ่อเกตุมดีศรีวราราม พระครูภาวนาวรคุณ วัดเกตุมดี ศรวี ราราม จงั หวดั สมทุ รสาคร ด้ำนกำรพฒั นำวดั - ได้นาพระเณรวัดทบั คลอ้ อบุ าสก อบุ าสิกา ญาติโยม สรา้ งศาสนสถานและศาสนวัตถุภายในวัดทับคล้อ เพือ่ ถวายเปน็ พทุ ธบชู าแด่องค์สมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้า อาทิเช่น - สร้างพระรูปเปรียบพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามวา่ พระพุทธโลกนารทมนุ ี ต้ังอยบู่ รเิ วณทางเข้าหน้า วัดทับคล้อ รวมท้ังรูปเปรียบพระสัมมาสมั พุทธเจ้าทุกพระองค์ พระโพธิสตั ว์ทุกๆพระองค์ที่ประดิษฐาน ภายในวดั ทบั คล้อ - พระบรมจักรดุสิตบรมธาตุ (บรมจักร) เป็นพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นโดยทาเป็นเนินดินตรงกลาง ต้ังเสาธงมี ธงชาติคู่กับธงธรรมจักรอยู่บนยอดเสาธง ตรงยอดพระเจดีย์ได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ - พระอโุ บสถวัดทับคล้อ เปน็ ตน้ - เป็นประธานจดั สรา้ งห้องสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารี (ตัง้ อยู่ภายในวัดทบั คล้อ) เพ่อื ทูลเกลา้ ถวายแด่ องค์สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โดยได้รับความร่วมมือ ร่วมแรง รว่ มใจจาก พระเณรวดั ทบั คลอ้ อุบาสก อุบาสกิ า ญาติโยม

- เป็นผู้ให้อุปการะและได้สร้างอาคารเรียนให้แก่โรงเรียนนักธรรม-บาลี (ตั้งอยู่ภายในวัดทับคล้อ) เพ่ือ ส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม นักธรรมและบาลีแก่พระภิกษุ สามเณ รของวัดทับคล้อ - เม่ือวันท่ี ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๕ วัดทับคล้อ (สวนพระโพธิสัตว์) ได้รับการคัดเลือกจากมหาเถร ส ม า ค ม ป ร ะ ก า ศ ใ ห้ เ ป็ น ส า นั ก ป ฏิ บั ติ ธ ร ม ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด พิ จิ ต ร แ ห่ ง ที่ ๑ - เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๗ วัดทับคล้อ (สวนพระโพธิสัตว์) ได้รับการคัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ประจาปี ๒๕๔๗ - เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๘ วัดทบั คลอ้ (สวนพระโพธสิ ัตว์) ไดร้ ับการคัดเลือกให้เป็นวัดพฒั นาตวั อยา่ งที่มผี ลงาน ดเี ดน่ ประจาปี ๒๕๔๘ - การบารงุ รกั ษาซอ่ มแซมพัฒนาและก่อสรา้ งศาสนสถาน ศาสนวัตถุ อนรุ กั ษ์พันธุไ์ มแ้ ละพชื สมุนไพร เผยแผ่พระพทุ ธศำสนำ - จัดทาหนังสือสวดมนต์ของวัดทับคล้อ ใช้ในการสวดสรรเสริญคณุ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า - จัดให้มีการอยู่ปริวาสกรรมภายในของวัดทับคล้อเป็นระยะเวลาเก้าวัน เนื่องในเทศกาลวันวิสาขบูชา วันปีใหม่ เป็นประจาทุกปี - จัดให้มีกิจกรรมเกี่ยวกับการเผยแพร่ด้านศีลธรรม และการปฏิบัติธรรมกรรมฐานแด่พุทธบริษัทท่ัวไป และญาตโิ ยมทัง้ หลายทเ่ี ล่ือมใสศรทั ธาในพระพุทธศาสนา - ร่วมมือกับคณะสงฆ์และทางราชการในการเผยแผ่พระธรรมคาส่ังสอนของพระพุทธศาสนาให้แก่ ประชาชน - เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๖ พระครูวิสุทธิภาวนาคุณ เจ้าอาวาส วัดทับคล้อ(สวนพระโพธิสัตว์) ได้รับ พระราชทาน เสาเสมาธรรมจักร ผู้ทาคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ประเภทส่งเสริมปฏิบัติธรรม ปี ๒๕๔๖ * เสาเสมาธรรมจักร เป็นรางวัลเกียรติยศที่มอบให้แก่บุคคลหรือหน่วยงานท่ีทาคุณปร ะโยชน์ต่อ พระพุทธศาสนา อน่ึง \"พระธรรมจักร\" เป็นเคร่ืองหมายแห่งการประกาศพระพุทธศาสนา ซึ่งผู้ทา คุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาเป็นผู้มีบทบาทในการช่วยจรรโลงพระพุทธศาสนา และช่วยเผยแผ่ พระพุทธศาสนาให้ย่ิงข้ึนไป โดยจะมีพิธีมอบรางวัลแด่ผู้ทาคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ในงาน สัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาเนือ่ งในเทศกาลวิสาขบชู า - จัดกิจกรรมวันสาคัญทางพุทธศาสนา การปฏิบัติธรรมกรรมฐานวัดทับคล้อ (สวนพระโพธิสัตว์) และ สานักปฏิบัติธรรมสาขา สาขาการส่งเสริมพุทธศาสนิกชนรักษาศีลห้าตลอดชีวิต (ศีลปรมัตถ์) - เข้าค่ายอบรมการปฏิบตั ธิ รรมของนกั เรียน นักศกึ ษา เยาวชน - เปดิ ใหม้ กี ารเรียนการสอนพระปรยิ ัติธรรมแผนกบาลี นกั ธรรม ธรรมศกึ ษา - การผลติ หนงั สือ เอกสาร จุลสาร

ด้ำนสำธำรณูปกำร - เป็นผู้ให้อุปการะและได้สรา้ งอาคารห้องประชุม ชื่ออาคาร \"พิทกั ษ์สันตธิ รรม\" ให้แก่สถานีตารวจภูธร อาเภอทับคล้อ จงั หวัดพิจิตร - เป็นผู้ใหอ้ ุปการะและไดส้ ร้างพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ซ่งึ ทรงประดิษฐาน บรเิ วณด้านหน้า ทีว่ ่าการอาเภอทบั คล้อ จงั หวัดพิจติ ร - เป็นประธานอานวยการและสร้างพระวิหารหลวงพ่อทองอยู่ ตั้งอยู่หน้าโรงเรียนเขาทรายทับคล้อ วทิ ยาคม อาเภอทับคล้อ จงั หวดั พิจติ ร - บริจาคสร้างอาคารประกอบ สาหรับอาคารดนตรีให้กับโรงเรียนวัดป่าเรไรย์ หมู่๒ ตาบลทับคล้อ อาเภอทับคล้อ จังหวดั พิจิตร จานวน ๑ หลัง เป็นอาคารไมย้ กพ้ืนสูง ๑เมตร กว้าง ๑๕ เมตร หลังคามุง กระเบ้อื งฝาไมส้ กั - บริจาคสร้างอาคารเรียนให้กับโรงเรียนวัดป่าเรไร จานวน ๑ หลัง ๗ ห้องเรียนเป็นอาคารคอนกรีต โครงหลงั คาไม้มงุ กระเบ้ือง แต่ละห้องมขี นาด ๖x๙ เมตร ชานหนา้ กวา้ ง ๒.๕ เมตร - เป็นประธานการจัดสร้างห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี อาเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร - โครงการมลู นธิ สิ มทบทุน สืบตอ่ สนั ติวงศ์ - โครงการสง่ เสริมอาชพี ในท้องถิน่ สมณะศักด์ิ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดร้ ับโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิเ์ ปน็ พระครูวสิ ทุ ธภิ าวนาคณุ

พระครวู สิ ทุ ธวิ รำภรณ์ เจ้ำอำวำสวัดมงคลทบั คลอ้ เกิดเม่ือ 3 กรกฎาคม พ. ศ.2475 บรรพชาท่ีวัดหนองเม็ก เมื่อ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 สอบได้เปรยี ญธรรม 7 ประโยค เม่อื พ. ศ. 2518 งำนด้ำนกำรปกครอง พ.ศ. 2513 เปน็ รองเจา้ อาวาสวดั มงคลทบั คลอ้ พ.ศ. 2520 เป็นเจา้ คณะอาเภอตะพานหิน พ.ศ. 2534 เปน็ เจ้าอาวาสวัดมงคลทับคลอ้ พ.ศ. 2541 เปน็ รองเจา้ คณะจงั หวัดพิจติ ร พ.ศ. 2548 เปน็ ประธานพระวิญญาธิการ ผลงำนดีเด่น เป็นประธานในการกอ่ สร้างหอระฆัง สรา้ งพิพิธภัณฑพ์ ระเทพญาณเวที สร้างกุฏิ กาแพงและซุ้ม ประตู เปน็ ประธานในการสรา้ งสถานีวิทยชุ มุ ชนอาเภอทับคลอ้

กำนนั อเนก สำมเจริญ เกิดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 ตาบลบางไผ่ อาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เข้ารับการศึกษาท่ีโรงเรียนบางไผ่และอาเภอตะพานหิน สมรสกับนาง น้าค้างสามเจริญ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2493 มีบตุ ร 5 คน เป็นชาย 3 คน เป็นหญิง 2 คน ประวัติกำรทำงำน พ.ศ. 2514 เปน็ กานนั ตาบลทบั คลอ้ พ.ศ. 2541 ได้รับรางวัลกานันแนบทองคา ได้ผลักดันตาบลทับคล้อให้เป็นอาเภอ ทับคล้อ ได้ถวายท่ีดินวัดทับคล้อ (สวนพระโพธ์ิสัตว์) และอุปถัมภ์ดูแลหลวงพ่อ พระเทพญาณเวทีโดยลาดับ เป็นผู้เร่ิมจัดงานประเพณีสงกรานต์อาเภอทับคล้อ จน เป็นท่ีรู้จักของคนท่ัวไป สร้างศาลเจ้าพ่อใหม่และบริจาคที่ดินสร้างวัดมงคลทับคล้อ บริจาคที่ดินสร้างโรงเรยี นวัดปา่ เรไรหลังใหม่

นำยประจวบ นิกรเกษตรกรดีเดน่ แห่งชำติ สำขำอำชีพปลูกสวนปำ่ อายุ 69 ปี เป็นข้าราชการบานาญ ปัจจุบันมีอาชีพปลูกป่า สร้างสวนป่า เคยได้รับคัดเลือกให้ เป็นเกษตรกรดีเด่นสาขาปลูกสวนปา่ ระดับภาค ประจาปี 2542 ผลงำนดเี ด่น ได้ดาเนินการปลูกสร้างสวนป่าตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2537 ในพ้ืนที่ตาบลทับคล้อ และตาบลดงขุย ตาบล ตะกุดไร อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ จานวน 10 แปลง รวมเน้ือท่ีประมาณ 296 ไร่ นอกจากนี้ในบางโอกาสเจ้าหน้าที่ป่าไม้ได้เชิญให้เป็นวิทยากรในการอบรมเกษตรกรรายอ่ืนๆ เก่ียวกับ การปลูกสร้างสวนป่า นายประจวบได้ให้เน้ือที่ประมาณ 15 ไร่ ซ่ึงเป็นป่าเบญจพรรณธรรมชาติ แก่ ราษฎร หมูท่ ่ี 9 ตาบลเขาทราย อาเภอทับคลอ้ จงั หวัดพิจติ ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook