Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

Published by chalermrajakumarithapkhlo, 2021-12-23 07:10:41

Description: ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

Keywords: ดิน

Search

Read the Text Version

ปี พ.ศ. 2510 นักวิชาการทางดินของประเทศไทยได้น�ำระบบ “อนุกรมวิธานดิน” (Soil Taxonomy) เข้ามาใช้ในระบบการส�ำรวจและจ�ำแนกดินของประเทศ ซึ่งได้พิจารณาแล้ว เห็นว่า เปน็ ระบบที่เหมาะสมที่จะใชเ้ ปน็ ระบบการจ�ำแนกดินในประเทศไทย จึงได้ท�ำการจดั จำ� แนก ดินตามระบบอนุกรมวิธานดินนี้มาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งการจ�ำแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดินน้ี แบง่ ชั้นการจำ� แนกดนิ ออกเปน็ 6 ข้ัน คอื อนั ดับ (order) อนั ดับย่อย (suborder) กล่มุ ดนิ ใหญ่ (great group) กล่มุ ดินย่อย (subgroup) วงศ์ดิน (family) และชดุ ดิน (series) ชุดดนิ ชุดดิน เป็นข้ันการจ�ำแนกดินต่�ำสุดของระบบ ที่ใช้ลักษณะและสมบัติทางสัณฐาน กายภาพ เคมี แร่ และจุลสณั ฐาน ทม่ี ีความสำ� คัญต่อการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ และการจัดการดิน เชน่ การจัดเรียงตวั ของช้ันดิน สีดิน เนอื้ ดนิ โครงสร้าง ความเป็นกรดเปน็ ดา่ ง และแรใ่ นดิน ซึ่งจะตอ้ ง อาศัยการศกึ ษาดนิ ในสนามและการวเิ คราะห์ดินจากหอ้ งปฏิบตั ิการในการจ�ำแนกดินร่วมกนั ชดุ ดนิ นครปฐม ชดุ ดินกำ� แพงแสน ชดุ ดนิ หนองมด การตง้ั ชอ่ื ชดุ ดนิ โดยทวั่ ไปมกั จะใชช้ อื่ ทอ้ งถน่ิ ของสถานทท่ี พ่ี บดนิ นน้ั เปน็ บรเิ วณกวา้ ง ครั้งแรก หรือเป็นช่ือบริเวณที่รู้จักกันท่ัวไป ได้แก่ ชื่อจังหวัด อ�ำเภอ ต�ำบล เช่น ชุดดินนครปฐม ชดุ ดนิ กำ� แพงแสน และชดุ ดนิ หนองมด ปจั จบุ นั มชี ดุ ดนิ ทเี่ ปน็ ตวั แทนทพ่ี บในพน้ื ทต่ี า่ งๆ ของประเทศ มากกวา่ 300 ชุดดิน สแกนคิวอารโ์ คด้ สแกนควิ อารโ์ ค้ดเพ่ือรับชม ศกึ ษาขอ้ มลู ชุดดินเพิม่ เตมิ คลปิ วดิ โี อ “ชดุ ดนิ ทสี่ ำ� คญั ในประทศไทย” ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จนี 42 ความรู้เรอ่ื งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน

ดงั นัน้ แผนที่ดนิ ท่ไี ด้จากการสำ� รวจจำ� แนกโดยนักสำ� รวจดนิ จะท�ำให้เราทราบว่า ชดุ ดนิ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ต่างๆ นั้นมีกระจายอยู่บริเวณใดบ้าง และมีขอบเขตกว้างขวางมากน้อยเพียงใด อย่างไรก็ตาม การที่มีชื่อดินจ�ำนวนมาก รวมทั้งมีรายละเอียดเก่ียวกับลักษณะและสมบัติของดินที่หลากหลาย ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ จงึ เปน็ การยากตอ่ ผใู้ ชแ้ ผนที่ ทไ่ี มค่ นุ้ เคยกบั ชอ่ื ชดุ ดนิ และไมส่ ามารถจำ� รายละเอยี ดเกยี่ วกบั ลกั ษณะ และสมบัติของชุดดินต่างๆ ได้ ดังน้ันการที่จะให้ผู้ใช้อ่ืนๆ เข้าใจข้อมูลการส�ำรวจดิน จึงจ�ำเป็นท่ี ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ นักส�ำรวจดินจะต้องแปลผลงานข้อมูลดินให้อยู่ในรูปที่ใช้ประโยชน์ได้ง่าย เช่น การจ�ำแนกหรือ จัดชน้ั ความเหมาะสมของดินเพื่อการปลกู พืช พร้อมแผนทีแ่ สดงความเหมาะสมของดิน กรมพัฒนาท่ีดิน ได้เข้าใจถึงปัญหาในการใช้แผนท่ีดินและข้อมูลดิน ดังน้ัน ในปี 2530 จึงได้หาวิธี ทจี่ ะจดั กลุ่มของชุดดินขนึ้ มา โดยใช้หลักเกณฑใ์ นการรวมชุดดนิ ทมี่ ลี ักษณะ สมบตั ิ และ ศกั ยภาพในการเพาะปลูก รวมถึงการจดั การดนิ ท่ีคล้ายคลงึ กนั มาไวเ้ ปน็ กลุม่ เดยี วกนั จากชดุ ดินกว่า 300 ชุดดนิ ได้จดั จ�ำแนกใหมเ่ ป็น 62 กลุ่มชดุ ดนิ ดว้ ยกัน เพือ่ ประโยชน์ในการใหค้ ำ� แนะน�ำ การตรวจสอบ ลักษณะดนิ การใช้ที่ดนิ และการจัดการดนิ ทเ่ี หมาะสมใหแ้ กเ่ กษตรกร และผู้สนใจทว่ั ไป กลมุ่ ชดุ ดนิ กล่มุ ชุดดนิ ทง้ั 62 กลุ่มน้นั กล่มุ ชดุ ดินที่ 1-25 และกล่มุ ชดุ ดินท่ี 57-59 จดั เปน็ กลมุ่ ชุดดนิ ทพ่ี บในพ้ืนทล่ี มุ่ การระบายนำ้� ของดินไม่ดี มกั มนี �้ำแชข่ งั ในฤดูฝน ไมเ่ หมาะส�ำหรับเพาะปลกู พืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น ส่วนกลุ่มชุดดินที่ 26-56 และ 60-62 เป็นกลุ่มชุดดินที่พบในพ้ืนที่ดอน รายละเอียดของแตล่ ะกลุ่มชดุ ดินกล่าวโดยสรุปไดด้ งั น้ี 1. กลมุ่ ชดุ ดินในพื้นทลี่ ุม่ ดนิ ทีล่ ่มุ หมายถึง ดนิ ทเี่ กิดอยู่ในบริเวณ พ้ืนทตี่ ่�ำ การระบายน�้ำของดนิ ไมด่ ี สภาพพืน้ ทรี่ าบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบ มักจะมีน�้ำท่วมขังที่ผิวดินในฤดู ฝน และมกั มรี ะดับน้ำ� ใต้ดนิ ตน้ื สว่ นใหญ่ใชป้ ระโยชน์ใน การทำ� นา เราจึงมักเรียกกนั วา่ ดนิ นา ความรู้เรอื่ งดนิ สำ� หรับเยาวชน 43

กลุม่ ชดุ ดนิ ในพืน้ ทล่ี ุ่ม ประกอบด้วย  กลุ่มชุดดินที่ 1 เป็นกลุ่มของดินเหนียวจัด ลึก สีด�ำหรือสีน้�ำตาล มักมีรอยแตก ระแหงกวา้ งและลกึ ในชว่ งฤดูแลง้ ความอุดมสมบรู ณป์ านกลางถึงสงู ตวั อยา่ งเชน่ ชุดดนิ บา้ นหม่ี  กลมุ่ ชุดดนิ ท่ี 2 เปน็ กล่มุ ดนิ เหนยี ว ลึก สีเทา มีปฏิกิรยิ าดินเป็นกรดจดั และส่วนใหญ่ มชี ้นั ดนิ กรดกำ� มะถนั อยู่ลึกมากกวา่ 100 เซนติเมตร จากผวิ ดนิ ดนิ มีความอุดมสมบรู ณ์ปานกลาง ตัวอยา่ งเช่น ชุดดินบางเขน  กลุ่มชุดดินท่ี 3 เป็นกลุ่มของดินเหนียว ลึก สีด�ำหรือเทาเข้ม ส่วนใหญ่เกิดจาก ตะกอนนำ้� กรอ่ ย และอาจพบชนั้ ดนิ เลนเคม็ อยตู่ อนลา่ ง ดนิ อดุ มสมบรู ณป์ านกลางถงึ สงู ตวั อยา่ งเชน่ ชดุ ดินบางกอก  กลุ่มชุดดินที่ 4 5 และ 7 เป็นกลุ่มของดินเหนียว ลึก สีเทาหรือน้�ำตาลปนเทา เกดิ จากตะกอนนำ้� พา มปี ฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กลางหรอื เปน็ ดา่ ง ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง ตวั อยา่ งเชน่ ชุดดนิ ราชบุรี  กลุ่มชุดดินที่ 6 เป็นกลุ่มดินเหนียว ลึก เกิดจากตะกอนน้�ำพาและมีปฏิกิริยาดิน เปน็ กรดถึงเป็นกรดจดั ความอดุ มสมบรู ณ์ต่�ำ ตวั อยา่ งเช่น ชุดดนิ บางนารา  กลุ่มชุดดินท่ี 8 เป็นกล่มุ ของชดุ ดนิ ทถ่ี ูกดดั แปลงโดยการยกร่อง นำ� ดนิ ในรอ่ งมาถม ใหส้ งู แลว้ ปรบั ปรงุ ดนิ เพอ่ื ใชป้ ลกู พชื ไรห่ รอื ไมผ้ ล ความอดุ มสมบรู ณส์ งู ตวั อยา่ งเชน่ ชดุ ดนิ สมทุ รสงคราม  กลุ่มชุดดินที่ 9 และ 10 เป็นกลุ่มท่ีเป็นดินเปรี้ยวจัดท่ีพบช้ันดินกรดก�ำมะถัน ในระดบั ตนื้ โดยในกลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 9 จะเปน็ ทงั้ ดนิ เปรยี้ วจดั และดนิ เคม็ ดว้ ย ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง ตวั อยา่ งเชน่ ชุดดินองครักษ์  กลุ่มชุดดินที่ 11 และ 14 เป็นกลุ่มของดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดก�ำมะถัน ในระดับลึกปานกลาง โดยท่ีดินในกลุ่มชุดดินท่ี 14 จะมีช้ันดินเลนท่ีมีศักยภาพในการก่อให้เกิด ดินเปร้ยี วจัดอยู่ในตอนล่างด้วย ความอดุ มสมบูรณ์ปานกลาง ตัวอย่างเช่น ชุดดินรงั สิต  กลมุ่ ชดุ ดินท่ี 12 และ 13 เป็นกลมุ่ ของดินเคม็ ชายทะเล ท่ยี งั คงมีนำ�้ ทะเลท่วมถงึ เปน็ ประจำ� โดยทด่ี นิ ในกลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 13 เปน็ ดนิ เลนเคม็ ทม่ี ศี กั ยภาพในการกอ่ ใหเ้ กดิ กรดกำ� มะถนั ใน ดนิ ด้วย ความอุดมสมบูรณ์สูง ตวั อย่างเช่น ชุดดนิ ท่าจีน  กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 15 และ 16 เปน็ กลมุ่ ดนิ ทมี่ เี นอ้ื ดนิ เปน็ ทรายแปง้ ลกึ เกดิ จากตะกอน นำ้� พา โดยที่ดนิ ในกลุ่มชดุ ดินท่ี 15 มีปฏิกิรยิ าดนิ เป็นกลางถงึ เปน็ ด่าง ในกลุ่มชุดดินท่ี 16 มปี ฏิกริ ิยา ดนิ เป็นกรดถงึ เป็นกรดจดั ความอดุ มสมบูรณป์ านกลางถงึ ต่ำ� ตัวอยา่ งเชน่ ชุดดนิ ตากใบ  กลุ่มชดุ ดนิ ท่ี 17 18 19 และ 22 เปน็ กล่มุ ของพวกทม่ี เี นอื้ ดนิ รว่ น และดินร่วนปน ทรายลึก เกดิ จากตะกอนน้ำ� พา ซึ่งแบง่ แยกจากกันได้โดยใชค้ ่าปฏิกริ ยิ าดิน (pH) ทแี่ ตกตา่ งกนั อยู่ใน ชว่ งทเ่ี ป็นกรดจดั ถงึ เป็นดา่ งเล็กน้อย ความอดุ มสมบูรณ์ต่ำ� ตวั อยา่ งเช่น ชุดดนิ สายบุรี 44 ความรู้เร่อื งดนิ สำ� หรับเยาวชน

 กลุ่มชุดดินท่ี 20 เปน็ กลมุ่ ของดนิ ทเ่ี ปน็ ดินเค็ม และดนิ ท่ีพบคราบเกลือบนผิวดิน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ที่มผี ลกระทบต่อการเจริญเตบิ โตของพืช ความอดุ มสมบูรณต์ �่ำ ตัวอย่างเชน่ ชดุ ดินกุลาร้องไห้  กลุ่มชุดดินที่ 21 เป็นกลุ่มของพวกดินร่วน ลึก ท่ีพบอยู่บริเวณส่วนต�่ำของ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ สนั ดินรมิ นำ�้ ความอุดมสมบูรณป์ านกลาง ตัวอยา่ งเช่น ชดุ ดินเพชรบุรี  กลุ่มชุดดินท่ี 23 และ 24 เป็นกลุ่มของพวกที่เป็นดินทราย กลุ่มชุดดินท่ี 23 ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ เกดิ จากตะกอนทรายชายทะเล แต่กล่มุ ชุดดินที่ 24 เกดิ จากตะกอนทรายน้ำ� พา ความอดุ มสมบรู ณ์ต่ำ� ตวั อยา่ งเชน่ ชดุ ดนิ บ้านบงึ  กลุ่มชุดดินที่ 25 เป็นกลุ่มของพวกดินตื้นในท่ีลุ่ม ท่ีพบช้ันกรวด ลูกรังหนาแน่น ช้ันศลิ าแลงหรอื ชั้นหนิ พน้ื ภายใน 50 เซนตเิ มตร จากผิวหนา้ ดิน ความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ ตัวอยา่ งเช่น ชุดดนิ กนั ตัง  กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 57 และ 58 เปน็ กลมุ่ ของดนิ อนิ ทรยี ์ ซง่ึ มชี นั้ วสั ดอุ นิ ทรยี ห์ นามากกวา่ 40 เซนตเิ มตร จนถงึ หนากวา่ 100 เซนตเิ มตร และมศี กั ยภาพเปน็ ดนิ เปรย้ี วหรอื ดนิ กรดกำ� มะถนั ดว้ ย ในกลมุ่ ชุดดินที่ 57 ตัวอยา่ งเช่น ชุดดนิ กาบแดง  กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 59 เปน็ กลมุ่ ดนิ ตะกอนนำ�้ พา บรเิ วณทรี่ าบระหวา่ งเนนิ เขาและหบุ เขา เป็นดนิ ลกึ แตม่ กั มีเศษกรวด หินปะปน ความอดุ มสมบูรณ์ต�่ำ 2. กลุ่มชุดดินในพ้นื ทีด่ อน ดินบนพ้ืนที่ดอน หมายถึง ดินที่ไม่มีน้�ำแช่ขัง พบบรเิ วณทเี่ ปน็ เนนิ มกี ารระบายนำ้� คอ่ นขา้ งดถี งึ ดี สภาพพนื้ ที่ อาจเป็นท่ีราบเรียบ เป็นลูกคลื่น หรือเนินเขา ใช้ปลูกพืชไร่ ไมผ้ ล และไมย้ ืนต้น ซึ่งตอ้ งการน้ำ� น้อย ไม่มีน�ำ้ แชข่ งั แบ่งออก เป็น 3 กล่มุ ยอ่ ย คอื 2.1 ดินในพนื้ ที่ดอนเขตดนิ แห้ง เขตดินแห้งเป็นเขตพื้นท่ีส่วนใหญ่ของประเทศ โดยเฉพาะพื้นท่ีส่วนใหญ่ของ ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคกลาง โดยทว่ั ไปมฝี นตกนอ้ ยและตกกระจายไมส่ มำ่� เสมอ ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 1,500 มิลลเิ มตรต่อปี กลุ่มชดุ ดนิ ทพี่ บไดแ้ ก่  กลุ่มชุดดินที่ 28 เปน็ กลมุ่ ดนิ ลึก เน้อื ดินเหนยี วจัด สีด�ำ หรือสนี �ำ้ ตาลเข้ม มักมีรอยแตกระแหงกว้างและลึกในฤดูแล้ง ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง ตัวอย่างเช่น ชดุ ดนิ ชยั บาดาล ความรเู้ ร่ืองดนิ สำ� หรบั เยาวชน 45

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 29 เปน็ กลมุ่ ดนิ ลกึ เนอ้ื ดนิ เหนยี ว สนี ำ้� ตาล สเี หลอื งและสแี ดง ปฏิกริ ิยาดินเปน็ กรด ความอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� ตวั อยา่ งเชน่ ชดุ ดนิ บา้ นจ้อง  กลุม่ ชดุ ดนิ ท่ี 30 และ 31 เปน็ กลุม่ ดินเหนยี ว ลกึ สีน�้ำตาล สีเหลอื ง สีแดง เป็นกรดเลก็ น้อยถงึ เปน็ กลาง ความอดุ มสมบูรณ์ปานกลาง กลุ่มชดุ ดนิ ที่ 30 เป็นกลุม่ ดินบนพื้นท่สี ูง กวา่ ระดบั น�้ำทะเลมากกว่า 500 เมตร ตัวอยา่ งเชน่ ชดุ ดนิ ดอยปยุ  กล่มุ ชดุ ดนิ ท่ี 33 และ 38 เป็นกลมุ่ ของดินทมี่ เี นื้อดนิ เปน็ ดินร่วน ดินร่วน ปนทราย หรือดินร่วนปนทรายแป้ง ลึก สีน�้ำตาล เกิดจากตะกอนน�้ำพา ส่วนใหญ่พบบริเวณ สันดินริมน้�ำและลานตะพัก หรือเนินตะกอนรูปพัด กลุ่มชุดดินที่ 38 เป็นดินที่มีอายุไม่มาก มักมี ช้ันเนื้อดินสลบั ไมแ่ นน่ อน เนือ่ งจากการทับถมของตะกอนเป็นประจำ� ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง ตัวอย่างเชน่ ชดุ ดินเชียงใหม่  กลุ่มชุดดินท่ี 35 36 37 และ 40 เป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย ลึก สีนำ้� ตาล สีเหลอื ง สีแดง เกิดจากตะกอนน้�ำพาหรอื วตั ถุตน้ กำ� เนิดดนิ เน้ือหยาบ ความอุดมสมบรู ณ์ตำ�่ ตวั อยา่ งเช่น ชุดดินสีค้ิว  กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 41 และ 44 เปน็ กลมุ่ ดนิ ลกึ ทมี่ ชี น้ั ทรายหนาถงึ หนาปานกลาง เกิดจากตะกอนน้�ำพาหรือวัตถุต้นก�ำเนิดดินเนื้อหยาบ ความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ ตัวอย่างเช่น ชุดดินน้ำ� พอง  กลุ่มชุดดินท่ี 54 และ 55 เปน็ กลุ่มของดินลกึ ปานกลาง กลุ่มชดุ ดินท่ี 54 จะพบก้อนปูนมาร์ลสะสมในดินล่างมาก เน้ือดินเป็นดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง ความอุดมสมบูรณป์ านกลางถงึ สูง ตัวอย่างเช่น ชุดดินจตั ุรสั  กลุ่มชดุ ดินท่ี 56 เปน็ กลมุ่ ของดินลกึ ปานกลาง เน้ือดนิ เปน็ ดินร่วนปนทราย หรอื ดินร่วน ปฏิกิรยิ าดินเปน็ กรด ความอุดมสมบูรณต์ ่�ำ ตวั อยา่ งเช่น ชุดดินลาดหญา้  กลุ่มชดุ ดนิ ที่ 46 48 และ 49 เปน็ กลุม่ ของดนิ ตื้น ถงึ ช้นั ทีม่ เี ศษหนิ ลกู รัง หรือกอ้ นกรวด หนาแนน่ มาก ปฏกิ ิรยิ าดินเป็นกรด ความอดุ มสมบูรณต์ ่�ำ ตวั อย่างเช่น ชุดดนิ แม่รมิ สแกนคิวอาร์โค้ด ศกึ ษาขอ้ มลู กล่มุ ชุดดินเพมิ่ เติม 46 ความร้เู รือ่ งดินส�ำหรับเยาวชน

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 47 เปน็ กลมุ่ ของดนิ ตนื้ ถงึ ชน้ั หนิ พน้ื ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรด ความ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั อดุ มสมบูรณป์ านกลาง ตัวอย่างเชน่ ชุดดนิ ลี้  กลุ่มชุดดินที่ 52 เป็นกลุ่มของดินตื้นถึงช้ันปูนมาร์ล ปฏิกิริยาดินเป็นด่าง ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ ความอุดมสมบูรณป์ านกลางถึงค่อนขา้ งต่�ำ ตัวอยา่ งเช่น ชุดดินตาคลี ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ  กล่มุ ชดุ ดนิ ท่ี 60 เป็นกลุ่มของดนิ ตะกอนทีพ่ บบรเิ วณท่ีราบระหว่างเนินเขา และหบุ เขา เป็นดินลกึ แตม่ ีเศษหนิ และกรวดปะปนอยู่ ความอุดมสมบูรณต์ ่ำ�  กลุ่มชุดดินท่ี 61 เป็นกลุ่มของดินบริเวณท่ีลาดเชิงเขา เป็นดินตื้นถึง ลึกปานกลาง แต่มเี ศษหนิ กรวด หรือลูกรงั ปะปน ความอุดมสมบูรณต์ ่�ำ 2.2 ดนิ ในพื้นทด่ี อนในเขตดินชื้น เขตดินชื้น หมายถึง เขตที่มีฝน ตกชุกและกระจายสม�่ำเสมอเกือบท้ังปี โดยทั่วไปมี ปริมาณฝนตกเฉลี่ยมากกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี กลมุ่ ชดุ ดินที่พบ ได้แก่  กล่มุ ชุดดนิ ที่ 26 เป็นกลมุ่ ดินเหนียว ลึก สีนำ�้ ตาล สีเหลือง สแี ดง เกดิ จาก ตะกอนนำ้� พาหรอื วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ทม่ี เี นอื้ ละเอยี ด ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจดั ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง ถงึ คอ่ นข้างต่ำ� ตัวอยา่ งเช่น ชดุ ดนิ อา่ วลกึ  กลุม่ ชดุ ดินท่ี 27 เปน็ พวกดนิ เหนยี วสีแดง ลึกมาก เกิดจากวตั ถุต้นกำ� เนิดท่ี ผพุ งั มาจากหนิ ภเู ขาไฟ ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจดั ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง ตวั อยา่ งเชน่ ชดุ ดนิ ทา่ ใหม่  กลุ่มชดุ ดินท่ี 32 เปน็ กลมุ่ ของดินรว่ น ลึก ทพี่ บอยู่บรเิ วณสนั ดินริมนำ้� หรือ ลานตะพักปฏิกริ ยิ าดนิ เปน็ กรด ความอดุ มสมบรู ณ์ต่�ำ ตัวอย่างเช่น ชุดดินรอื เสาะ  กลุ่มชุดดินท่ี 34 และ 39 เป็นกลุ่มที่มีเน้ือดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วน ปนทรายลกึ โดยกลมุ่ ชุดดินที่ 34 มีเน้อื ดินรว่ นเหนียวปนทราย สว่ นกลมุ่ ชุดดินท่ี 39 มเี น้อื ดินหยาบ กวา่ เปน็ ดนิ ร่วนปนทราย ปฏิกิรยิ าดนิ เปน็ กรดจัด ความอดุ มสมบูรณต์ ่ำ� ตวั อยา่ งเชน่ ชุดดนิ ทงุ่ หวา้  กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 42 เปน็ กลมุ่ ทม่ี เี นอ้ื ดนิ เปน็ ดนิ ทรายจดั และพบชนั้ ดานอนิ ทรยี ์ ภายในความลึก 100 เซนติเมตร จากผิวดิน ดินเป็นกรด ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่�ำมาก ตัวอยา่ งเช่น ชดุ ดนิ บ้านทอน ความรเู้ รอ่ื งดนิ ส�ำหรับเยาวชน 47

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 43 เปน็ กลมุ่ ของพวกดนิ ทรายทไ่ี มม่ ชี นั้ ดานอนิ ทรยี ์ พบบรเิ วณ ชายหาดหรือสันทรายชายทะเลหรือเชิงเขาของหินเน้ือหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็น ด่างปานกลาง ความอุดมสมบูรณต์ �่ำ ตัวอย่างเช่น ชดุ ดนิ บาเจาะ  กลุ่มชุดดินท่ี 50 และ 53 เป็นพวกดินลึกปานกลาง เนื้อดินเป็น ดินร่วนเหนียวปนทราย และดินร่วนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเป็นกรด ความอุดม สมบูรณต์ ำ่� ตัวอยา่ งเชน่ ชุดดินพะโต๊ะ  กล่มุ ชุดดินที่ 45 เป็นกลุ่มของดินต้นื พบชั้นลูกรงั ก้อนกรวดหรือเศษหิน หนาแน่นภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรด ความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ ตัวอยา่ งเช่น ชดุ ดนิ ชมุ พร  กลุ่มชุดดินที่ 51 เป็นกลุ่มของดินต้ืน ที่พบช้ันหินพื้นภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน ปฏกิ ริ ยิ าดินเป็นกรด ความอุดมสมบรู ณ์ตำ�่ ตัวอยา่ งเชน่ ชดุ ดินห้วยยอด 2.3 ดนิ บนพน้ื ทีล่ าดชนั เชิงซอ้ นหรอื พื้นท่ีภเู ขา  กลุม่ ชุดดินที่ 62 เป็นกลมุ่ ดินในพืน้ ท่ีท่ีมคี วามลาดชนั สงู บริเวณภเู ขาสลับ ซับซ้อน ความลาดชันของพื้นท่ีส่วนใหญ่สูงชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะและสมบัติของดิน ไม่แน่นอนขึ้นอยูก่ บั สภาพพืน้ ที่ ชนิดของหนิ และพชื พรรณธรรมชาติ พน้ื ท่สี ่วนใหญ่ยงั ไม่ไดท้ ำ� การ ส�ำรวจและจัดท�ำแผนท่ีดิน และด้วยเหตุที่สภาพพื้นท่ีมีความลาดชันสูงและเป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร การใช้พ้ืนท่ีเพ่ือการเกษตร จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรดิน ป่าไม้ แหล่งน้�ำ สัตว์ป่า และสภาพแวดล้อมต่างๆ จึงไม่แนะน�ำให้ใช้เป็นพื้นที่ทางการเกษตร โดยได้จ�ำแนกรวมกันไว้เป็น กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 62 หากมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใชพ้ น้ื ที่ ควรทำ� การสำ� รวจอยา่ งละเอยี ดและศกึ ษาผลกระทบ ทจ่ี ะเกิดขึ้น พรอ้ มกำ� หนดมาตรการการใช้พ้นื ทดี่ ว้ ยความรอบคอบ และเข้มงวดอยา่ งจริงจงั 48 ความรูเ้ รื่องดินสำ� หรับเยาวชน

สำ� รวจดนิ กันอยา่ งไร? ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั งานส�ำรวจดิน เป็นงานที่ต้องอาศัยหลัก ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ วิชาการหลายแขนง ท้ังทางด้านปฐพีวิทยา (soil science) ธรณวี ทิ ยา (geology) ภมู ศิ าสตร์ (geography) ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ ธรณีสัณฐานวิทยา (geomorphology) อุตุนิยมวิทยา (Meteorology) ตลอดจนวชิ าอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปา่ ไม้ เกษตรศาสตร์ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน ซ่ึงต้องน�ำมา ใชใ้ นการศกึ ษาเพอ่ื อธบิ ายถงึ ลกั ษณะและสมบตั ทิ สี่ ำ� คญั ของดนิ การก�ำเนดิ และการจำ� แนกดนิ ขนั้ ตอนในการสำ� รวจดิน ประกอบดว้ ยการศึกษาขอ้ มลู เบ้อื งตน้ การตรวจสอบและเก็บ ตวั อยา่ งดนิ ในสนาม การวเิ คราะหต์ วั อยา่ งดนิ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การทำ� แผนทด่ี นิ และการทำ� รายงาน ส�ำรวจดิน การศกึ ษาขอ้ มูลเบอ้ื งต้น การศึกษาเบ้ืองต้น เป็นข้ันแรกของการด�ำเนินงานส�ำรวจจ�ำแนกดิน โดยปกติจะท�ำเพื่อ ตรวจสอบข้อมูลข้อสนเทศท่ีรวบรวมไว้แล้ว และหาข้อมูลเพิ่มเติมเพ่ือท่ีจะได้เห็นภาพการกระจายชนิด ของดนิ และความสมั พันธ์ของดินกบั สภาพภมู ิประเทศ วัตถุต้นก�ำเนิดดนิ รวมถึงความสัมพันธ์ของดิน ชนิดต่างๆ กับการใชท้ ่ีดิน ส�ำหรับความละเอียดหรอื ความหยาบของการศึกษาเบ้อื งต้นนี้ จะขึ้นอยู่ กับข้อสนเทศท่ีมีอยู่และความจ�ำเป็นในการใช้ข้อมูลต่างๆ เพื่อเตรียมแผนการด�ำเนินงาน และเพ่ือ วางโครงรา่ งการท�ำแผนท่ีดนิ กบั กจิ กรรมอื่นๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง ถึงแม้ว่าจะเป็นการส�ำรวจดินในบริเวณท่ีเคยมีการส�ำรวจ ดินมาก่อนแล้ว นักส�ำรวจดินก็ยังจ�ำเป็นต้องศึกษาข้อมูล ต่างๆ ก่อนท่ีจะเข้าปฏิบัติงานในพื้นท่ีน้ันๆ เพื่อใช้เป็น แนวทางในการศกึ ษาดนิ ในภาคสนาม และเพอ่ื ยนื ยนั ความ ถูกตอ้ ง การเตรียมแผนที่ กอ่ นออกสำ� รวจดนิ ภาคสนาม ความร้เู รอ่ื งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 49

การตรวจสอบดินในสนาม จุดประสงค์ของการส�ำรวจดินในสนามก็เพื่อศึกษาลักษณะของดิน ในการแบ่งแยก ขอบเขตดินออกเป็นหน่วยต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ หลังจากที่ได้ทราบความสัมพันธ์ของดิน และสภาพ ภูมิประเทศจากการศึกษาเบ้ืองต้นแล้ว ขั้นตอน ต่อไปในการส�ำรวจดิน คือ การส�ำรวจในพ้ืนท่ีหรือ การส�ำรวจภาคสนาม ซ่ึงประกอบด้วยงานหลายอย่าง ที่จะตอ้ งด�ำเนนิ การตามขั้นตอนอยา่ งเหมาะสม วธิ กี ารทด่ี ที สี่ ดุ ในการตรวจสอบลกั ษณะดนิ ในสนาม คอื การศกึ ษา ลักษณะดินจากหลุมดินท่ีเพ่ิงขุดใหม่ๆ หรือศึกษาจากหน้าตัดดิน ซึ่งจะ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความแตกตา่ งทมี่ อี ยูภ่ ายในดิน เชน่ สดี ิน เนอื้ ดนิ ชนดิ ของ วสั ดุหรอื สิ่งทปี่ ะปนอยใู่ นดนิ และการจดั เรียงชน้ั ดินไดอ้ ยา่ งชัดเจน นักส�ำรวจดินจะศึกษาลักษณะและสมบัติของดินในช่วงความลึกต้ังแต่ผิวหน้าดิน ลงไปประมาณ 2 เมตร โดยจะตรวจสอบและบันทึกข้อมูลท่ีจ�ำเป็นอย่างละเอียด เช่น ต�ำแหน่ง ทางภูมิศาสตร์ของจุดที่ท�ำการศึกษา สภาพพื้นท่ี และลักษณะของดินแต่ละชั้น พร้อมทั้งทดสอบ สมบัตขิ องดนิ บางประการตามท่ีก�ำหนด เชน่ ช้นั ดนิ ความลึก สีดนิ โครงสรา้ งของดนิ ความเป็นกรด เป็นด่าง และเก็บตัวอย่างดินเพื่อน�ำมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ รวมถึงการจ�ำแนกชนิดของดิน เบ้ืองต้นและการท�ำแผนทีต่ น้ รา่ ง หยดกทรดดสทอดบสเนออ้ืบกดาินรมปี ูน หยดกรารดวทดั ดพสีเอบชดกานิ รมปี ูน หยดกรกดาทรวดัดสสอดี บินการมปี ูน 50 ความรเู้ ร่ืองดินสำ� หรับเยาวชน

การวิเคราะห์ตวั อย่างดินในห้องปฏบิ ัตกิ าร ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั แม้ว่าเราจะท�ำการศึกษาตรวจสอบดินในพ้ืนท่ีอย่างละเอียด เพื่อรวบรวมลักษณะ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ และสมบัติต่างๆ ของดินให้ได้มากท่ีสุด แต่ข้อมูลที่จ�ำเป็นต้องใช้เพ่ือการจัดจ�ำแนกดิน บางอย่างนั้น ไม่อาจได้มาโดยการศึกษาจากลักษณะท่ีปรากฏอยู่ในพื้นที่ หรือใช้วิธีการตรวจสอบ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ ด้วยอุปกรณ์ภาคสนามได้แต่เพียงอย่างเดียว เนื่องจากมีสมบัติภายในของดินบางอย่างท่ีเรา ไมส่ ามารถมองเหน็ หรอื ตรวจสอบได้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ บางสว่ นกลบั มายงั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และนำ� ไปตรวจวเิ คราะหโ์ ดยใชเ้ ครอื่ งมอื และวธิ กี ารตามมาตรฐานสากล เพอื่ ทจ่ี ะนำ� ผลทไ่ี ดม้ าใชใ้ น การจดั จำ� แนกและประเมินศกั ยภาพของดนิ น้ันๆ ตวั อย่างของการตรวจวิเคราะหใ์ นหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เพื่อศึกษาสมบัติตา่ งๆ ของดนิ ไดแ้ ก่ - การตรวจหาปริมาณของอนุภาคขนาดต่างๆ ได้แก่ ทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว เพื่อให้ทราบสัดสว่ นของอนุภาคขนาดตา่ งๆ สำ� หรบั ใช้ในการจ�ำแนกชนดิ ของเน้อื ดนิ - การตรวจวเิ คราะห์ชนิดและปรมิ าณของแรด่ ินเหนยี ว - การวเิ คราะหป์ รมิ าณอนิ ทรียวัตถใุ นดนิ - การวเิ คราะหป์ รมิ าณธาตปุ ระจบุ วกหรอื แคตไอออน เชน่ แคลเซยี ม โซเดยี ม ในสารละลายดินและการแลกเปลี่ยนแคตไอออน ในดิน - การวเิ คราะห์คา่ ความเป็นกรดเปน็ ด่างของดิน ฯลฯ ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาลักษณะดินในพื้นท่ี ประกอบกับ ข้อมูลผลการตรวจสอบสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน ในห้องปฏิบตั ิการ จะทำ� ให้เราสามารถแบ่งชนดิ ของดินออกเป็นกลุม่ และจดั หมวดหมดู่ นิ ตามระบบการจำ� แนกดนิ แบบอนกุ รมวธิ านดนิ ได้ ตง้ั แตร่ ะดบั ใหญ่ทสี่ ดุ คอื “อันดับ” จนถึงระดบั เล็กทีส่ ุด เรียกว่า “ชดุ ดนิ ” ความรู้เรอ่ื งดินส�ำหรับเยาวชน 51

การท�ำแผนท่ีดิน แผนท่ดี นิ หมายถึง แผนทที่ แี่ สดงขอบเขตของดนิ และการกระจายทางภูมศิ าสตรข์ องดิน ชนิดตา่ งๆ ซึ่งมีสมบัตเิ กีย่ วขอ้ งกนั และเป็นลักษณะตามธรรมชาตขิ องดนิ ทีพ่ บในการสำ� รวจ และ มกี ารระบุถงึ ช่ือตา่ งๆ ของดินตามระบบการจ�ำแนกดินทใ่ี ช้ การท�ำแผนที่ดิน เป็นการรวบรวมและประมวลผลข้อมูลดินทั้งจากภาคสนาม ผลการ วิเคราะหใ์ นหอ้ งปฏบิ ัติการและข้อมูลการจำ� แนกชนิดของดิน เพ่ือจดั ทำ� แผนท่ีแสดงขอบเขตและ การกระจายของดินชนดิ ตา่ งๆ ทีม่ ีความสัมพนั ธก์ บั สภาพภูมิประเทศ โดยจะตอ้ งรักษามาตรฐาน ของความถกู ตอ้ งตามมาตราสว่ นทก่ี ำ� หนดและประเภทของการสำ� รวจดนิ เพอื่ ใหส้ ามารถนำ� ไปใช้ ในการแปลความหมายเพอื่ การใชป้ ระโยชน์ในพืน้ ท่ีได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ การจดั ทำ� รายงานส�ำรวจดนิ รายงานการส�ำรวจดิน หมายถึง เอกสารรายงานซึ่งแสดงรายละเอียดข้ันตอนวิธีการ สำ� รวจดิน ระบบการจ�ำแนกดินท่ีใช้ และค�ำอธิบายที่ เชอื่ มโยงถงึ ขอ้ มลู ทป่ี รากฏอยใู่ นแผนทดี่ นิ ฉบบั หนงึ่ ๆ อาจรวมถึงข้อมูลการประเมินศักยภาพและความ เหมาะสมของดิน เพื่อการใช้ประโยชน์ในทางการ เกษตร ซ่งึ บคุ คลทวั่ ไปสามารถใช้เปน็ เอกสารในการ ศกึ ษาข้อมูลควบคกู่ นั ไปกบั แผนที่ดนิ ของพื้นท่นี นั้ ๆ มาตรฐานของรายงานผลการสำ� รวจดนิ จะตอ้ งประกอบดว้ ยรายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไป ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดความเปน็ มาและวตั ถปุ ระสงคข์ องการสำ� รวจดนิ วธิ กี ารสำ� รวจ รายชอ่ื ผทู้ ำ� การสำ� รวจ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ชว่ งเวลาทท่ี ำ� การสำ� รวจ ขนาดพนื้ ทแี่ ละ ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ของบริเวณท่ีท�ำการส�ำรวจ เขตการปกครองและเขตติดต่อ สภาพทาง ธรณวี ิทยา ธรณีสณั ฐาน ภูมอิ ากาศ อทุ กวิทยา รวมถงึ พชื พรรณและการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ 2. ผลการส�ำรวจดิน ประกอบด้วยระบบการจ�ำแนกดินที่ใช้ ลักษณะของหน่วยแผนที่ เชน่ ชดุ ดนิ หรอื กลมุ่ ชดุ ดนิ พรอ้ มทง้ั แสดงคำ� อธบิ ายลกั ษณะของแตล่ ะหนว่ ยแผนทอี่ ยา่ งละเอยี ด พ้ืนที่ของหน่วยดนิ ชนิดทีพ่ บ รวมถงึ ผลการแปลความหมายข้อมลู การสำ� รวจดินเพอ่ื ใชป้ ระโยชน์ เชน่ ความเหมาะสมของดนิ ต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคญั เปน็ ตน้ 52 ความร้เู รื่องดนิ ส�ำหรับเยาวชน

3. บทสรปุ เปน็ การชีใ้ หเ้ หน็ วา่ ดินทส่ี ำ� รวจพบนนั้ สว่ นใหญ่เป็นดนิ อะไร ใช้ท�ำประโยชน์ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั อะไร รวมท้ังข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ที่พบและแนวทางแก้ไข เช่น ปัญหาสภาพพื้นท่ี ปญั หาเกย่ี วกบั ดนิ ปญั หาเกยี่ วกบั นำ�้ หรอื ปญั หาเกย่ี วกบั การกรอ่ นหรอื การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ 4. ภาคผนวก เปน็ สว่ นทจ่ี ะแสดงขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การสำ� รวจดนิ เชน่ ขอ้ มลู ลกั ษณะ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ ดินในสนาม ผลการวิเคราะหด์ ินทั้งทางด้านกายภาพ เคมี แร่วิทยา และอน่ื ๆ 5. แผนท่ีดิน รายงานการส�ำรวจดินทุกฉบับจะต้องมีแผนที่ดินประกอบอยู่ด้วย จึงจะ เปน็ รายงานฉบับทสี่ มบรู ณ์ ประโยชน์ของแผนทีด่ ินและรายงานการส�ำรวจดิน การส�ำรวจดินนั้นจัดว่าเป็นการวิจัยพ้ืนฐานเพื่อท่ีจะได้ข้อมูลซึ่งสามารถน�ำมาประยุกต์ ใชใ้ นการศกึ ษาเพอ่ื หาแนวทางพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตใิ หเ้ ปน็ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ผลที่ได้จากการส�ำรวจดินซึ่งบันทึกไว้ในรูปแผนท่ีดินและรายงานส�ำรวจดินน้ันสามารถน�ำมาใช้ ประโยชนใ์ นดา้ นต่างๆ เพ่อื ทจ่ี ะรจู้ กั เขา้ ใจ และใช้ที่ดินไดอ้ ย่างเหมาะสมได้ ดังนี้ - เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการศึกษาเรียนรู้ลักษณะดิน ศักยภาพของดิน ความเหมาะสม ของดนิ สำ� หรบั ใชเ้ พอื่ การปลกู พชื สภาพปญั หาและการแจกกระจายของดนิ ชนดิ ตา่ งๆ เพอ่ื การใช้ ประโยชนท์ ดี่ นิ อยา่ งเหมาะสม และรวู้ า่ จะจดั การกบั ปญั หาของดนิ อยา่ งไรเพอื่ ใหพ้ ชื ทป่ี ลกู มผี ลผลติ ท่ีดีขึ้น - เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการใช้ท่ีดิน และการพัฒนาด้านการเกษตร โดยสามารถก�ำหนดแนวทางการใช้ท่ีดินให้เหมาะสมกับสภาพของดินและสภาพเศรษฐกิจสังคม และก่อเกิดปัญหาด้านผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมน้อยท่ีสุด เช่น การก�ำหนดเขตเมือง เขตอุตสาหกรรม เขตการเพาะปลกู หรือกำ� หนดเขตการปลกู พืชว่าบรเิ วณใดควรปลกู พชื ชนิดใด หรอื ควรจำ� กัดไว้เป็นพ้นื ทีป่ ่าสงวนหรอื ปา่ เศรษฐกจิ รวมถงึ การประเมินความเส่ียงตอ่ การชะล้าง พงั ทลายของดนิ การจดั ระบบการปลูกพืชและวางแผนอนรุ กั ษ์ดนิ และน�้ำ - เป็นขอ้ มลู พ้นื ฐานในการประเมินผลผลิตพชื เศรษฐกิจลว่ งหน้า เพ่ือวางแผนด้านการ จัดการทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ - เป็นฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ส�ำหรับการค้นคว้าวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ท้งั ในและนอกประเทศ ความรูเ้ ร่อื งดินสำ� หรับเยาวชน 53

ดนิ ของประเทศไทย ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาดินอย่าง ตอ่ เนอื่ งกนั มาจนถงึ ปจั จบุ นั สามารถจะบอกได้ ว่าดินส่วนใหญ่ของประเทศไทยมีลักษณะเด่น เป็นดินเขตร้อนท่ีมีพัฒนาการค่อนข้างสูงถึงสูง และดนิ มกั จะขาดความอดุ มสมบรู ณใ์ นการผลติ พชื เศรษฐกิจให้ได้ผลผลติ ดี เนอื่ งจากปัจจัยและสภาพแวดลอ้ มในการเกดิ ดนิ แตล่ ะ ภูมภิ าคมคี วามแตกต่างกนั ลกั ษณะดินที่เกดิ ในบริเวณต่างๆ ของ ประเทศไทยจึงมีลักษณะเด่นที่แตกต่างกันไปด้วย สรุปโดยภาพ รวมไดด้ ังนี้ สแกนคิวอารโ์ ค้ด ศกึ ษาขอ้ มลู ดินของประเทศไทยเพ่มิ เตมิ 54 ความรู้เร่ืองดินส�ำหรับเยาวชน

1. ทรพั ยากรดนิ ในภาคใต้ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั จากสภาพภูมิประเทศท่ีมีลักษณะเป็นแหลมหรือแผ่นดินย่ืนลงไปในทะเล ท�ำให้เกิด พนื้ ทชี่ ายฝง่ั ทะเลเปน็ แนวยาวทง้ั สองดา้ น ตอนกลางมเี ทอื กเขาสงู ทอดตวั เปน็ แนวยาวเหนอื -ใต้ สง่ ผล ให้เกิดพื้นท่ีลาดเอียงจากตอนกลางของภาคไปสู่ชายฝั่งทะเลทั้งสองด้าน ประกอบกับ สภาพภมู อิ ากาศเป็นแบบร้อนชื้นมฝี นตกชกุ สมำ�่ เสมอ ลกั ษณะดนิ ที่พบสว่ นใหญ่ ในภาคใต้จึงเป็นดินที่อยู่ภายใต้สภาพอากาศท่ีค่อนข้างชื้น ดินในพื้นที่ดอน มักเปน็ ดินที่มีพัฒนาการมาก มกี ารชะล้างสงู ความอุดมสมบรู ณต์ �ำ่ จัดได้ว่าเป็นดินที่มีศักยภาพทางการเกษตรต่�ำถึงค่อนข้างต�่ำ ตัวอย่างชุดดินท่ีส�ำคัญที่ใช้ท�ำการเกษตรของภาคใต้ ได้แก่ ชุดดนิ ระโนด ชดุ ดินเขาขาด ชุดดินทา่ แซะ และชดุ ดนิ ชมุ พร ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ ชุดดนิ ระโนด ชุดดนิ เขาขาด ชดุ ดนิ ท่าแซะ ชุดดนิ ชมุ พร ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ เปน็ ดนิ ในพืน้ ท่ีล่มุ เปน็ ดินในพนื้ ทดี่ อน เป็นดนิ ในพ้ืนทีด่ อน เปน็ ดินในพืน้ ทีด่ อนใช้ เป็นดินลึกมาก เนือ้ ดินเป็นดินเหนียว เน้ือดนิ เปน็ ดินร่วน ประโยชน์ในการปลกู เนือ้ ดนิ เปน็ เป็นดนิ ต้ืนถงึ ชัน้ ลกู รัง ปนทรายเหมาะสม ยางพาราและไมผ้ ล ดนิ รว่ นปนดนิ เหนียว เหมาะสมปานกลาง ปานกลาง ส�ำหรบั ปลูก เน้ือดนิ เปน็ ดนิ เหนยี ว ใชป้ ระโยชนใ์ นการ ส�ำหรบั ปลกู ยางพารา และไม้ผล ปนกรวดลูกรัง มคี วาม ทำ� นา มคี วามอดุ ม ปาลม์ น้ำ� มัน แต่ต้องเพิ่มปยุ๋ อดุ มสมบูรณ์ต�่ำ สมบูรณป์ านกลาง มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่ เน่อื งจากดินมีความ อุดมสมบรู ณต์ ำ�่ สแกนคิวอาร์โค้ดเพือ่ รับชม คลิปวดี โี อ “สภาพพน้ื ท่แี ละทรัพยากรดินภาคใต้และชายฝ่งั ทะเลภาคตะวนั ออก ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จีน ความรูเ้ รื่องดินสำ� หรบั เยาวชน 55

ชุดดนิ บางเลน ชุดดินนครปฐม ชดุ ดินราชบุรี ชดุ ดนิ ก�ำแพงแสน เปน็ ดินในพ้นื ท่ีล่มุ เป็นดินในพ้นื ทล่ี มุ่ เปน็ ดินในพืน้ ท่ลี มุ่ เปน็ ดินในพ้นื ที่ดอน เกดิ ในสภาพน้�ำกร่อย ใช้ประโยชนใ์ นการ ใช้ประโยชน์ในการ พบบรเิ วณลานตะพัก ใชป้ ระโยชนใ์ นการ ทำ� นา เน้ือดินเป็น ท�ำนา เนอื้ ดินเป็น หรอื เนนิ ตะกอนรปู พดั ทำ� นา เปน็ ดนิ ลึกมาก ดนิ เหนียว มคี วาม ดนิ เหนยี ว มคี วามอดุ ม ใช้ประโยชน์ในการ เนอ้ื ดนิ เปน็ ดินเหนยี ว อดุ มสมบูรณ์ สมบรู ณป์ านกลาง ปลกู พืชไร่ เน้อื ดินเป็น มีความอดุ มสมบรู ณ์ ปานกลาง ดนิ รว่ นปนทรายแปง้ ปานกลาง มคี วามอดุ มสมบูรณ์ ปานกลาง 2. ทรพั ยากรดนิ ในภาคกลาง สภาพพนื้ ทโ่ี ดยทวั่ ไปเปน็ ทร่ี าบลมุ่ ของแมน่ ำ้� เจ้าพระยา แม่น�้ำท่าจีน แม่น�้ำแม่กลอง และล�ำน�้ำสาขา ท�ำให้มีพ้ืนที่ราบต่อเนื่องกันเป็นบริเวณกว้าง วัตถุต้นก�ำเนิด ดินส่วนใหญ่เป็นพวกตะกอนน้�ำพา ดินในแถบนี้จึงมีศักยภาพทางการ เกษตรอยู่ในระดับค่อนข้างสูง ประกอบกับพื้นท่ีการเกษตรส่วนใหญ่อยู่ ภายใต้ระบบชลประทาน การใช้ประโยชน์ท่ีดินจึงมีประสิทธิภาพมากกว่า ภาคอ่ืนๆ แม้ว่าจะมีปัญหาดินเปร้ียวอยู่บ้าง ชุดดินท่ีส�ำคัญท่ีใช้ท�ำการเกษตร ของภาคกลาง ได้แก่ ชุดดินบางเลน ชุดดินนครปฐม ชุดดินราชบุรี ชุดดินกำ� แพงแสน และชดุ ดนิ ตาคลี สแกนควิ อารโ์ ค้ดเพือ่ รบั ชม คลปิ วีดโี อ “สภาพพนื้ ที่และทรพั ยากรดินภาคกลาง” ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จีน 56 ความรูเ้ ร่อื งดินส�ำหรับเยาวชน

3. ทรัพยากรดนิ ในภาคเหนือ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั สภาพโดยทวั่ ไป เปน็ เทอื กเขาสงู สลบั กบั ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ ทร่ี าบระหวา่ งหบุ เขา หรอื ทร่ี าบบรเิ วณสองฝง่ั แมน่ ำ�้ สาย ใหญ่ ลกั ษณะดนิ ทพี่ บสว่ นใหญเ่ ปน็ ดนิ ทม่ี พี ฒั นาการไมม่ าก นัก ในดินยงั คงมีธาตอุ าหารที่เปน็ ประโยชน์ต่อพชื อยใู่ นระดบั ท่ไี ม่ ตำ่� จนเกนิ ไป ดนิ ในบรเิ วณทร่ี าบหรอื คอ่ นขา้ งราบเปน็ ดนิ ทมี่ ศี กั ยภาพ ทางการเกษตรอย่ใู นระดับปานกลางถึงสงู แต่ขอ้ จำ� กัดของพ้นื ที่ภาค เหนอื ท่ีส�ำคญั คือ เปน็ พื้นท่ลี าดชนั เชงิ ซ้อน มีพนื้ ที่ภูเขาและเทอื กเขาตา่ งๆ ทีม่ ีความลาดชันมากกว่า 35 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขึ้นไป ครอบคลมุ เปน็ บริเวณกวา้ งขวาง ซ่งึ พ้นื ทเ่ี หล่านจี้ ดั วา่ มีความเสยี่ งต่อการชะลา้ ง พังทลายสูง ไม่เหมาะสมส�ำหรับท�ำการเกษตร ชุดดินที่ส�ำคัญ ได้แก่ ชุดดินหล่มสัก ชุดดินเชียงราย ชุดดินสันปา่ ตอง และชุดดินบ้านจ้อง ชุดดินหลม่ สกั ชดุ ดนิ เชยี งราย ชุดดนิ สนั ป่าตอง ชุดดนิ บา้ นจ้อง เป็นดินในพืน้ ทลี่ ุ่ม เปน็ ดนิ ในพ้ืนท่ลี ุ่ม เปน็ ดินในพ้ืนที่ดอน ชุดดนิ บ้านจอ้ งเป็นดนิ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ เนือ้ ดนิ เปน็ ดินรว่ นปน ใช้ประโยชนใ์ นการ ใช้ประโยชน์ในการ ในพน้ื ทีด่ อน ทรายแปง้ ใชป้ ระโยชน์ ท�ำนา เนื้อดินเปน็ ดิน ปลกู พชื ไร่ เนอื้ ดนิ คอ่ น ใช้ประโยชนใ์ นการปลูก ในการปลกู ขา้ ว คอ่ นขา้ งเหนียว ข้างเปน็ ทราย มีความ พชื ไร่ เปน็ ดนิ ลกึ มาก มคี วามอุดมสมบูรณ์ มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่ อุดมสมบูรณต์ ่�ำ สอี อกแดง เนอ้ื ดนิ เป็น ปานกลางถึงสูง ดินรว่ นปนดินเหนยี ว มีความอดุ มสมบูรณต์ ำ่� สแกนควิ อารโ์ ค้ดเพื่อรับชม คลปิ วิดีโอ “สภาพพ้นื ทแี่ ละทรัพยากรดนิ ภาคเหนือ” ระบบ 3 ภาษา ไทย-อังกฤษ-จนี ความรเู้ ร่ืองดนิ สำ� หรับเยาวชน 57

ชุดดนิ นครพนม ชุดดนิ พิมาย ชุดดนิ โคราช ชุดดินยโสธร เป็นดินในพนื้ ที่ลมุ่ เปน็ ดินในพื้นที่ลุ่ม เป็นดินในพ้ืนที่ดอน เปน็ ดนิ ในพื้นที่ดอน ใชป้ ระโยชนใ์ นการท�ำนา ใชป้ ระโยชน์ในการ ใช้ประโยชน์ในการ ใช้ประโยชนใ์ นการปลกู เน้ือดินเป็นดินรว่ น ทำ� นา เนอ้ื ดนิ เป็น ปลูกพืชไร่ เน้อื ดนิ พชื ไร่ สว่ นใหญเ่ ปน็ เหนยี วปนทรายแป้ง ดินเหนยี วจัด มีความ ค่อนข้างเป็นทราย มันส�ำปะหลงั เนอ้ื ดนิ หรือดินรว่ นปนดิน อดุ มสมบรู ณป์ านกลาง มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่ คอ่ นขา้ งเปน็ ทราย เหนยี ว มีความอุดม มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� สมบรู ณ์ต่ำ� 4. ทรัพยากรดนิ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ สภาพพื้นที่เป็นที่ล่มุ สลับกบั ท่ดี อน วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ สว่ นใหญเ่ กดิ จากการสลายตวั ผพุ งั อยกู่ บั ทขี่ องหนิ ตะกอน หรอื เปน็ ชนิ้ สว่ นของหนิ ตะกอนทผี่ พุ งั และถกู เคลอื่ นยา้ ยมาในระยะ ทางไม่ไกลนัก ลักษณะดินท่ีพบส่วนใหญ่มักจะเป็นดินที่มี พฒั นาการสงู มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� ดนิ มโี อกาสขาดแคลนนำ�้ ได้ง่าย เน่ืองจากเน้ือดินค่อนข้างเป็นทราย นอกจากนี้ยังพบ ดนิ ทมี่ ปี ญั หาในการใชป้ ระโยชนท์ างดา้ นการเกษตรอกี ดว้ ย เชน่ ดินเค็ม ดินทราย ดินมีกรวดลูกรังและศิลาแลงปนอยู่ในระดับตื้น ส่งผลให้ศักยภาพ ของดินทางการเกษตรส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต�่ำหรือต�่ำ ชุดดินที่ส�ำคัญ ได้แก่ ชุดดนิ นครพนม ชดุ ดนิ พิมาย ชดุ ดนิ โคราช และชุดดนิ ยโสธร สแกนควิ อารโ์ คด้ เพ่ือรับชม คลิปวดิ ีโอ “สภาพพื้นท่ีและทรัพยากรดนิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ระบบ 3 ภาษา ไทย-อังกฤษ-จีน 58 ความรู้เร่อื งดินส�ำหรบั เยาวชน

ดนิ ดเีทปาน็ งอกยาร่าเงกไษรตร... ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ดนิ ดี ในทางการเกษตร หมายถงึ ดนิ ทม่ี คี วามเหมาะสมตอ่ การปลกู พชื ซงึ่ จะตอ้ งมลี กั ษณะ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ และสมบัติของดินทางกายภาพ เคมี และชีวภาพที่เหมาะสม มีปริมาณน�้ำและธาตุอาหารที่เพียงพอ ต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต สามารถปลูกพืชได้โดยใช้วิธีการจัดการดูแลตามปกติธรรมดา ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ ที่ไม่ยุ่งยาก มกั จะมีหนา้ ดินสดี �ำหนา มปี ริมาณอนิ ทรยี วตั ถุสงู มีธาตุอาหารทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อพชื สงู ไม่มีสารที่เป็นพิษต่อพืช มีปฏิกิริยาดินใกล้เป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-7.0 และไมม่ ีชน้ั ทีข่ ัดขวางการเจริญเตบิ โตของรากพืช ในการที่จะบอกได้ว่าพื้นท่ีใดเป็นดินดีหรือไม่นั้น ต้องค�ำนึงถึงชนิดของพืชท่ีจะปลูกใน บริเวณนั้นด้วย ทั้งนี้เน่ืองจากพืชแต่ละชนิดมีความต้องการสภาพแวดล้อมในการเจริญเติบโตท่ี แตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น ข้าวเป็นพืชที่ชอบน้�ำ ดังนั้นดินดีที่เหมาะสมส�ำหรับการปลูกข้าว จึงควรเป็นดนิ ทอ่ี ยู่ในทีล่ ุม่ เน้อื ดนิ เป็นดนิ เหนยี วซงึ่ จะชว่ ยใหส้ ามารถขังน�ำ้ ไว้ในนาข้าวได้ แต่ถ้าจะ ปลกู พืชไร่หรอื ไมผ้ ล ดินท่ดี ีส�ำหรบั พชื พวกนคี้ วรมีหนา้ ดินหนา เน้ือดนิ เป็นพวกดินรว่ นหรือพวกทมี่ ี การระบายน�ำ้ ดี มีความอุดมสมบรู ณ์ โดยเฉพาะไมผ้ ลซ่ึงเป็นไมย้ นื ต้น มีอายหุ ลายปี มรี ะบบรากลึก ต้องการดินที่มีความลึกมากกว่าพืชไร่ เพื่อที่รากพืชจะสามารถชอนไชลงไปหาอาหารและน�้ำ และ รากพชื ยดึ เกาะดนิ ได้ดีข้นึ ความร้เู รอื่ งดนิ สำ� หรับเยาวชน 59

ดนิ ท่มี ีปัญหาทางการเกษตร ดินท่ีมปี ญั หาทางการเกษตร หมายถงึ ดนิ ท่ีมสี มบัตทิ างกายภาพและเคมี ไม่เหมาะสม หรือเหมาะสมน้อยส�ำหรับการเพาะปลูก ส่งผลให้พืชไม่สามารถเจริญ เติบโตและให้ผลผลิตตามปกติได้ มักจะเป็นดินท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ดนิ เค็ม ดินเปร้ียวจัด ดินทรายจดั ดนิ อินทรีย์ ดินปนกรวด และดินต้ืน นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงพื้นท่ีท่ีมีความลาดชันสูง ซึ่งถ้ามีการใช้ประโยชน์ด้านการเกษตรแล้ว จะท�ำใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศและสภาพแวดลอ้ มอยา่ งรนุ แรง ดินเปรี้ยวจดั หมายถึง ดินที่มีสภาพความเป็นกรดสูงมาก จดุ ประสีเหลอื งฟางข้าว เนอ่ื งจากอาจจะมี กำ� ลังมี หรอื ได้เคยมีกรดกำ� มะถนั ซ่งึ เป็น ของสารจาโรไซต์ ผลสืบเน่ืองมาจากการเกิดดินชนิดน้ีอยู่ในหน้าตัดของดิน และปริมาณของกรดก�ำมะถันท่ีเกิดขึ้นน้ันมีมากพอที่จะมี ทพ่ี บในดนิ เปร้ียวจดั ผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงสมบัติของดินและการเจริญ เติบโตของพืชในบริเวณนนั้ ดินเปร้ียวจัดในประเทศไทยมักแพร่กระจายอยู่ในบริเวณท่ีราบลุ่มภาคกลางตอนใต้ ภาคตะวนั ออก และชายฝง่ั ทะเลภาคใต้ ในบรเิ วณทว่ี ตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ตะกอนนำ�้ ทะเล หรือตะกอนน้�ำกร่อยที่จะก่อให้เกิดการสะสมสารประกอบไพไรต์ ซึ่งต่อมาจะเปลี่ยนสภาพเป็นสาร จาโรไซต์ และเกดิ กรดก�ำมะถันขึน้ ในดนิ สแกนควิ อารโ์ คด้ เพื่อรบั ชม คลปิ วดิ โี อ “ดินเปรีย้ วจัด” ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จนี 60 ความรเู้ รอ่ื งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน

ลักษณะของดินเปรี้ยวจัดที่เด่นชัด คือ ดินมีสภาพเป็นกรดจัด มีค่าพีเอช ต�่ำกว่า 4.0 ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั และมีสารจาโรไซต์ ซ่ึงสังเกตได้จากการมีจุดประสีเหลืองเหมือนฟางข้าวในช้ันดิน ดินเปรี้ยวจัดใน ประเทศไทย แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ตามความลึกของจาโรไซตท์ พี่ บในดนิ คือ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ 1. ดนิ เปรี้ยวจัดท่ีพบจาโรไซต์ในระดับตื้น จะพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวภายในช่วงความลึกไม่เกิน 50 เซนติเมตร จากผิวดิน ตวั อย่างเชน่ ชุดดนิ องครักษ์ ชดุ ดินเชยี รใหญ่ และชุดดนิ มโู น๊ะ 2. ดินเปรีย้ วจัดท่พี บจาโรไซตใ์ นระดบั ปานกลาง มักพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวภายในช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตร จากผิวดิน ไดแ้ ก่ ชดุ ดนิ รงั สติ ชุดดินดอนเมอื ง และชดุ ดนิ เสนา 3. ดินเปรยี้ วจดั ที่พบจาโรไซตใ์ นระดบั ลึก โดยท่ัวไปจะพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวที่ระดับความลึกมากกว่า 100 เซนติเมตร จากผวิ ดิน ไดแ้ ก่ ชุดดนิ อยุธยา ชดุ ดนิ บางน้ำ� เปร้ียว ชุดดินมหาโพธิ และชดุ ดินทา่ ขวาง ชุดดินองครักษ์ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ ชดุ ดนิ รังสติ ชดุ ดนิ อยธุ ยา ความรู้เร่อื งดนิ ส�ำหรับเยาวชน 61

ปญั หาที่เกดิ จากดนิ เปรีย้ วจัด อาการใบม่วงในข้าวโพด เน่ืองจากขาดธาตุฟอสฟอรัส โดยทั่วไปธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืช ซ่ึงละลายอยู่ในน�้ำในดิน ส่วนใหญ่จะเป็นประโยชน์ ที่ปลกู ในดนิ เปรี้ยวจดั ต่อการเจริญเติบโตของพืชได้ดีในช่วงท่ีดินมีพีเอช ดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง แต่ในสภาพที่มีความเป็นกรด รนุ แรงมาก (พเี อชตำ่� กว่า 4.0) ความเปน็ ประโยชนข์ อง ธาตุอาหารในดิน จะเปล่ียนแปลงไป เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม ซัลเฟอร์ แคลเซยี ม แมกนเี ซยี ม จะละลายได้น้อยมาก ดังนั้น จึงอาจท�ำให้พืชเกิดการ ขาดแคลนธาตเุ หลา่ นจี้ นไมส่ ามารถเจรญิ เตบิ โตตามปกตไิ ด้ นอกจากนี้ สภาพท่ีดินเป็นกรดรุนแรงมากยังท�ำให้ธาตุ เหล็กและอะลูมินัมละลายออกมาอยู่ในดินมากจนถึง ระดับที่เป็นพษิ ตอ่ พชื ท่ีปลกู อกี ดว้ ย การปรับปรงุ ดินเปร้ยี วจดั การปรับปรุงดินเปร้ียวจัดมีหลายวิธี ส�ำหรับดินท่ีมีปฏิกิริยาดินเป็นกรดไม่รุนแรง อาจใช้ วธิ กี ารทำ� ใหก้ รดเจอื จางลง โดยการใชน้ ำ�้ ชะลา้ งความเปน็ กรดในดนิ โดยการขงั นำ�้ ไวน้ านๆ แลว้ ระบายนำ้� ออกไปก่อนปลูกพืช และเลือกปลูกพืชพันธุ์ท่ีทนต่อดินกรด ส�ำหรับการจัดการดินท่ีมีความเป็น กรดรนุ แรงมาก จะใช้วิธกี ารใสว่ ัสดุปูน เชน่ ปูนมาร์ล ปูนขาว หนิ ปูนบด หนิ ปนู ฝุ่น ผสมคลกุ เคล้า กับหน้าดินในอัตราที่เหมาะสม เพื่อช่วยลดความเป็นกรดในดิน หรือใช้ปูนควบคู่ไปกับการใช้น�้ำ ชะล้างและควบคุมระดับน�้ำใต้ดิน ซ่ึ ง เ ป ็ น วิ ธี ก า ร ท่ี ส ม บู ร ณ ์ ที่ สุ ด และใช้ได้ผลมากในพื้นที่ซึ่งดินเป็น กรดรุนแรงมาก และถูกปล่อยท้ิง รา้ งเป็นเวลานาน 62 ความรู้เรอ่ื งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน

ดินอินทรยี ์ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ดินอินทรยี ์ หรือ ดินพรุ หมายถงึ ดนิ ทเ่ี กิดจากการทบั ถมของ อินทรยี สาร โดยเฉพาะพืชพรรณตามธรรมชาติท่ีขนึ้ อยู่ในสภาพแวดลอ้ ม ท่เี ปน็ แอ่งต่ำ� ปดิ มีน้ำ� แชข่ งั เป็นเวลานาน ทำ� ใหก้ ระบวนการเนา่ เปื่อยเปน็ ไปได้อย่างช้าๆ จนเกดิ การสะสมเป็นชนั้ ดนิ อินทรยี ์ทีห่ นาข้ึนเรอ่ื ยๆ ดินอนิ ทรยี ์ท่ีพบในประเทศไทย ส่วนใหญม่ ักจะเก่ียวขอ้ งกบั พ้ืนท่ี ดินอนิ ทรยี ์ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ ที่เกิดกระบวนการเปล่ียนแปลงบริเวณชายฝั่งทะเลท่ีเคยมีน้�ำข้ึนลงท่วมถึง จนเกิดเป็นแอ่งน้�ำต�่ำท่ีน�้ำทะเลไม่สามารถเข้าถึงได้อีก เน่ืองจาก มสี นั ทรายปดิ กนั้ ไว้ ตอ่ มานานวนั เขา้ นำ�้ ทะเลทแ่ี ชข่ งั อยจู่ งึ คอ่ ยๆ จดื ลง และมพี วกกกหรอื หญา้ งอกขน้ึ มาเมอ่ื พชื เหลา่ นตี้ ายทบั ถมกนั จน พืน้ ท่ีตน้ื เขนิ ขนึ้ ตน้ ไม้เล็กใหญ่จึงข้นึ มาแทนที่ เกดิ เปน็ ปา่ ชนิดที่ เรียกวา่ “ปา่ พรุ” ตอ่ มาต้นไมใ้ หญน่ ้อยลม้ ตายลงตามอายุ ทับถม ลงในแอ่งน้�ำขังท่ีการย่อยสลายของเศษซากพืชเป็นไปอย่างช้าๆ จึงเกิดการทบั ถมอนิ ทรยี สารเกิดเป็นชน้ั ดนิ อินทรียท์ ีห่ นามากกว่า 40 เซนติเมตร ลกั ษณะของดินอินทรยี ์ สีดินเป็นสีน้�ำตาลแดงเข้มหรือน้�ำตาลแดงคล้�ำ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ องคป์ ระกอบของดนิ สว่ นใหญเ่ ปน็ อนิ ทรยี วตั ถทุ ง้ั ทย่ี อ่ ยสลายแลว้ และบางสว่ นทีย่ งั คงสภาพเป็นเศษชน้ิ สว่ นของพืช เช่น กิ่ง กา้ น ล�ำต้น หรือราก ดินตอนล่างถัดจากช้ันดินอินทรีย์ลงไปจะเป็น ดินเลนสีเทาปนน้�ำเงิน ซึ่งเป็นตะกอนน�้ำทะเล บางแห่งอาจมี การสะสมสารประกอบก�ำมะถันท่ีจะเกิดเป็นดินเปรี้ยวจัด เมื่อมีการระบายนำ้� ออกจากพน้ื ทจี่ นดนิ อยูใ่ นสภาพทีแ่ หง้ ดว้ ย สแกนคิวอาร์โคด้ เพื่อรับชม คลปิ วดิ โี อ “ดนิ อินทรยี ์” ระบบ 3 ภาษา ไทย-อังกฤษ-จีน ความร้เู รื่องดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 63

ปญั หาของดนิ อนิ ทรยี ์ เน่ืองจากดินอินทรีย์เป็นดินที่มีช้ินส่วนของพืชเป็นองค์ประกอบมากอยู่ในพ้ืนที่ท่ีมักจะมี น้ำ� ขัง ดังน้ันหากระบายนำ้� ออกจนแหง้ ดินจะยบุ ตวั มากมีนำ�้ หนักเบา ติดไฟงา่ ย ท�ำให้ตน้ พืชทปี่ ลกู ไมส่ ามารถตั้งตรงอยู่ได้ และความไม่สม�ำ่ เสมอของเนอื้ วสั ดอุ ินทรยี ท์ ีม่ ที งั้ กิง่ กา้ น ล�ำตน้ ผสมกันอยู่ ท�ำให้ยากในการเขตกรรม นอกจากนใ้ี นบริเวณทีม่ ดี ินอินทรยี ม์ กั มดี ินเลนท่มี ีศักยภาพเป็นดนิ เปรีย้ ว จัดอยู่ตอนล่าง ซง่ึ เมือ่ ระบายน�้ำออกจนแหง้ จะกลายเปน็ ดินกรดจัดรุนแรง การปรับปรุงแก้ไข เลือกพ้นื ทป่ี ลกู ท่มี ชี น้ั ดินอินทรียท์ ห่ี นาน้อยกว่า 100 เซนติเมตร จากผิวดนิ มแี หล่งน้�ำจืด และมรี ะบบการควบคุมน�้ำ โดยมคี นั ดนิ กนั น้ำ� ท่วม หรือมแี นวปอ้ งกันนำ้� ท่วมรว่ มกับคลองระบายน�ำ้ และคลองส่งน้�ำ ท้ังนี้ควรมีระบบการให้น้�ำและการระบายน�้ำแยกส่วนกัน เพ่ือป้องกันการน�ำน้�ำ ท่ีเป็นกรดรุนแรงกลับมาใช้อีก หากว่าดินเป็นกรดจัดมากควรปรับสภาพความเป็นกรดในดิน และ เพ่ิมความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชด้วยการใส่วัสดุปูน แล้วไถคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน เลอื กปลกู ขา้ วพนั ธพ์ุ นื้ เมอื ง หรอื เลอื กชนดิ พชื ทที่ นตอ่ สภาพดนิ อนิ ทรยี ์ เชน่ หมากแดง และปาลม์ นำ้� มนั ดนิ เค็ม ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือท่ีละลายอยู่ในสารละลายดินมากเกินไปจนมี ผลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการใหผ้ ลผลติ ของพชื โดยทว่ั ไปมกั มคี า่ การนำ� ไฟฟา้ ของสารละลายดนิ ทส่ี กดั จากดินที่อ่ิมตวั ด้วยน้ำ� สงู เกนิ กวา่ 2 เดซิซีเมนส์ตอ่ เมตร ดินเค็มมีลักษณะท่ัวไปเหมือนดินธรรมดาเพียงแต่มีเกลือท่ีละลายได้ง่ายอยู่มากกว่าปกติ เท่านั้น การวัดค่าการน�ำไฟฟ้าจะช่วยให้ทราบว่าเป็นดินเค็มหรือไม่ อย่างไรก็ตามอาจจะใช้วิธีการ สังเกตจากสภาพพ้ืนท่ีและพืชพรรณท่ีขึ้นอยู่ในบริเวณนั้น โดยพ้ืนท่ีที่เป็นดินเค็มจัดนี้มักจะมี คราบเกลอื สขี าวปรากฏทผี่ วิ ดนิ ในฤดแู ลง้ แตเ่ นอื่ งจากการกระจายของเกลอื มไิ ดส้ มำ�่ เสมอทว่ั ทง้ั พน้ื ที่ แต่ละบริเวณจึงมีความเค็มไม่เท่ากัน ส่วนท่ีเค็มจัดอาจจะไม่มีพืชขึ้นเลย หรือมีเฉพาะพืชพวกที่ ทนเค็มเท่าน้ัน ส่วนบริเวณที่มีความเค็มต�่ำ จะมีพืชข้ึนอยู่ได้แต่การเจริญเติบโตไม่ค่อยดีนัก ดังน้ัน หากมองพื้นทท่ี งั้ แปลงจะเหน็ ทว่ี า่ งเปน็ หยอ่ มๆ หรอื มีคราบเกลือทผี่ วิ ดนิ ในบางบริเวณ สแกนคิวอาร์โคด้ เพ่ือรับชม คลิปวิดโี อ “ดนิ เคม็ ” ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จนี 64 ความรเู้ รื่องดินส�ำหรบั เยาวชน

ดินเค็มที่พบในประเทศไทย จ�ำแนกตามลักษณะการเกิดและสัณฐานภูมิประเทศได้ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั 2 ประเภท คือ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ 1. ดนิ เคม็ ชายฝง่ั ทะเล พบมากทส่ี ดุ ตามแนวชายฝง่ั ทะเล โดยเฉพาะในภาคใต้ ในบรเิ วณ พ้ืนทีท่ ีย่ ังคงมนี �้ำทะเลทว่ มถึง หรอื เคยเปน็ พนื้ ทท่ี ีม่ ีน�ำ้ ทะเลท่วมมาก่อน ท�ำใหม้ ีการสะสมเกลอื ในดนิ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ 2. ดินเค็มบก หรือ ดินเค็มในแผ่นดิน พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณ พ้ืนที่ล่มุ หรอื ตามเชงิ เนิน โดยเฉพาะในบรเิ วณแอง่ โคราชและแอง่ สกลนคร และพบบา้ งในภาคกลาง แถบจงั หวดั นครปฐม สุพรรณบรุ ี เพชรบรุ ี และประจวบคีรีขันธ์ ปญั หาของดนิ เคม็ การทีม่ ีปรมิ าณเกลือทล่ี ะลายน�้ำไดง้ า่ ยอยูใ่ นดนิ มากเกนิ ไป จะท�ำให้เกิดอันตรายต่อพชื ที่ ปลกู ได้ เนอ่ื งจากพชื จะเกดิ อาการขาดนำ�้ และไดร้ บั พษิ จากธาตทุ เี่ ปน็ สว่ นประกอบของเกลอื ทล่ี ะลาย ออกมาและสะสมอยใู่ นดนิ โดยเฉพาะโซเดยี มและคลอไรด์ ทำ� ใหป้ ลกู พชื ไมไ่ ดผ้ ลดหี รอื ผลผลติ ลดลง และมคี ุณภาพตำ่� การปรับปรุงแก้ไข 1. การจดั การดนิ เคม็ ชายฝง่ั ทะเล อาจทำ� ได้ 2 ลกั ษณะ คอื การจดั การใหเ้ หมาะกบั สภาพ ธรรมชาตทิ ่ีมีอยู่ เชน่ การปลูกป่าชายเลน การทำ� นาเกลอื การเพาะเลี้ยงสัตวน์ �ำ้ หรอื การดัดแปลง สภาพธรรมชาติ เช่น การสร้างเขอื่ นปิดกั้นน�ำ้ ทะเล เพอื่ พัฒนาใหเ้ ป็นพืน้ ท่ีเพาะปลกู ถาวร และยก เป็นรอ่ งสวนเพือ่ ปลกู ไม้ทนเคม็ เป็นต้น 2. การจัดการดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการใช้ เทคโนโลยพี นื้ บา้ น เชน่ การใชน้ ำ�้ ลา้ งเกลอื ออกจากดนิ การเพมิ่ อนิ ทรยี วตั ถุ ให้กับดินโดยไถกลบพืชปุ๋ยสด ปุ๋ยอินทรีย์ หรือใส่วัสดุปรับปรุงดิน เช่น แกลบสด เพื่อปรับปรุงโครงสร้างดิน และเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน การคลุมดนิ ด้วยเศษวสั ดุ เช่น ฟางข้าว เพ่อื รักษาความช้นื ในดินไว้ หรอื การ ปลูกข้าวโดยใช้ต้นกล้าที่อายุมากกว่าปกติ และปักด�ำด้วยจ�ำนวนต้นมากกว่าปกติ เลือกปลูก พืชทนเคม็ เชน่ อะคาเซยี แอมพิเซฟ สะเดา ยูคาลิปตัส และในขณะเดยี วกนั กต็ อ้ งระมดั ระวงั ในการทำ� กจิ กรรมบางอย่าง ท่ีจะมีผลกระทบต่อการทจ่ี ะทำ� ให้เกลือแพรก่ ระจายไปยังบรเิ วณอ่ืนได้ เชน่ การทำ� เหมืองเกลอื ขนาดใหญ่ การตัดไม้ท�ำลายป่า หรือการสรา้ งอา่ งเก็บนำ�้ ในพน้ื ท่ที ่มี ีแหลง่ สะสมเกลอื ความรู้เรอ่ื งดินสำ� หรบั เยาวชน 65

ดนิ ทรายจดั ดินทรายจัด หมายถึง ดินที่มีอนุภาคขนาดดินทราย อยมู่ ากกวา่ รอ้ ยละ 85 มเี นอ้ื ดนิ เปน็ ทรายหรอื เปน็ ทรายปนดนิ รว่ น และมีความหนาของชั้นท่ีเป็นดินทรายลึกจากผิวดินหนามากกว่า 50 เซนตเิ มตร เกดิ จากการทบั ถมของตะกอนเนอ้ื หยาบหรอื ตะกอน ทรายชายฝง่ั ทะเล พบไดท้ ั้งในพื้นทลี่ ุ่มและท่ีดอน ดนิ ทรายในพน้ื ทดี่ อน พบตามบรเิ วณหาดทราย สนั ทราย ชายทะเล หรือบริเวณพ้ืนท่ีลอนลาดถึงท่ีลาดเชิงเขา ซึ่งมีหินพ้ืน เป็นหนิ เนือ้ หยาบ เนอ้ื ดนิ เป็นทรายหนา มีการระบายนำ้� ดมี ากเกิน ไป ดินไม่อุ้มน้�ำ และเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย เนื่องจาก อนุภาคดินมีการเกาะตัวกันน้อยมาก ส่วนใหญ่ใช้ปลูกพืชไร่ เช่น มนั สำ� ปะหลัง และสบั ปะรด ดินทรายในพื้นท่ีลุ่ม มักพบตามที่ลุ่มระหว่างสันหาด เนินทรายชายฝั่งทะเล หรือ บริเวณที่ราบที่อยู่ใกล้ภูเขาหินทราย ดินมีการระบายน�้ำเลวหรือค่อนข้างเลว ท�ำให้ดินแฉะหรือมี น�้ำขังเป็นระยะเวลาส้ันๆ โดยเฉพาะหลังจากเวลาที่มีฝนตกหนัก บางแห่งใช้ท�ำนา บางแห่ง ใชป้ ลูกพชื ไร่ เชน่ ออ้ ย และปอ บางแห่งเป็นทท่ี งิ้ ร้าง หรอื เปน็ ทงุ่ หญา้ ธรรมชาติ นอกจากนใ้ี นบางพน้ื ที่ บรเิ วณหาดทรายเกา่ หรอื บรเิ วณ สนั ทรายชายทะเล โดยเฉพาะในเขตภาคตะวนั ออกและภาคใต้ อาจ พบดินทรายท่มี ีช้ันดานอินทรีย์ ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะตัวคือ ช่วงดนิ ตอนบนจะเป็นทรายสีขาว แต่เมื่อขุดลึกลงมาจะพบช้ันทรายสี น�้ำตาลปนแดงที่เกิดจากการจับตัวกันของสารประกอบพวกเหล็ก และอินทรียวัตถุอัดแน่นเป็นชั้นดานในตอนล่าง ในช่วงฤดูแล้งช้ัน ดานในดนิ จะแหง้ แขง็ มากจนรากพชื ไมอ่ าจชอนไชผา่ นไปได้ สว่ นใน ฤดูฝนดินจะเปียกแฉะ ส่วนใหญ่ยังเป็นพ้ืนท่ีป่าเสม็ด ป่าชายหาด ดนิ ทรายทีม่ ีชนั้ ดานอินทรยี ์ ปา่ ละเมาะ หรอื บางแห่งใช้ปลูกมะพร้าว มะมว่ งหิมพานต์ สแกนควิ อารโ์ ค้ดเพอื่ รับชม สแกนควิ อาร์โค้ดเพ่อื รบั ชม คลิปวดิ โี อ “ดนิ ทราย” คลปิ วดิ ีโอ “ดินทรายท่ีมีชนั้ ดานอนิ ทรยี ”์ ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จนี ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จีน 66 ความรู้เรือ่ งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน

ปัญหาของดินทราย ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั 1. เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย เนื่องจากอนุภาคของดินเกาะกันอย่าง ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ หลวมๆ ซงึ่ นบั ว่าเปน็ ปญั หาทร่ี นุ แรงในพื้นท่ดี อน พ้นื ทลี่ ุม่ ๆ ดอนๆ และรนุ แรงมากในพื้นท่ีภเู ขาทใ่ี ช้ ในการปลกู พชื โดยไมม่ มี าตรการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ�้ ทเ่ี หมาะสม นอกจากนย้ี งั ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาตดิ ตาม ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ มาหลายประการ เช่น เกดิ สภาพเส่ือมโทรมมีผลกระทบทำ� ให้แมน่ ้ำ� ล�ำธาร เข่อื น และอา่ งเกบ็ นำ้� ตื้นเขนิ เกิดความแห้งแลง้ และน้�ำทว่ มซ้�ำซาก 2. ดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� เนอื่ งจากมปี รมิ าณอนิ ทรยี วตั ถตุ ำ่� ปรมิ าณโพแทสเซยี มและ ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืชต�่ำถึงต่�ำมาก ความสามารถในการแลกเปล่ียนธาตุอาหารของดิน ต�่ำมาก เมอื่ มีการใส่ปยุ๋ เคมลี งไปในดนิ จะเกิดการสูญเสียไปจากดินได้งา่ ย เพราะดินดดู ยึดไวไ้ ดน้ อ้ ย ทำ� ใหก้ ารตอบสนองตอ่ การใชป้ ยุ๋ ของพชื ไม่ดี 3. ในดนิ ทมี่ ที รายหยาบเปน็ สว่ นประกอบมาก ชอ่ งวา่ งในดนิ จะมขี นาดใหญ่ เมอ่ื ฝนตกนำ้� จะไหลผ่านดินได้อย่างรวดเร็ว ขณะท่ีดินสามารถดูดซับน้�ำไว้ได้เพียงเล็กน้อย พืชท่ีปลูกจึงมีโอกาส ขาดแคลนน้�ำได้ง่าย แต่ถ้าหากว่ามีดินทรายละเอียดเป็นส่วนประกอบมาก และอยู่ในพ้ืนที่ลุ่มอาจจะ เกดิ ปัญหาดนิ แน่นทบึ การระบายนำ้� และอากาศไมด่ ี เป็นอปุ สรรคต่อการชอนไชของรากพืช การปรับปรงุ แกไ้ ข ควรปรับปรุงบ�ำรุงดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปลูกพืชปุ๋ยสดแล้วไถกลบ เพ่ือเพิ่มความสามารถในการอุ้มน�้ำของดิน และใส่ปุ๋ยเคมีเพื่อเพ่ิมปริมาณธาตุอาหารให้เพียงพอแก่ความต้องการของพืช มีระบบการอนุรักษ์ดิน และนำ�้ อย่างเหมาะสม การใส่ปยุ๋ หมกั เพิ่มเติมอินทรยี วัตถุ การปลูกพชื ป๋ยุ สดบ�ำรงุ ดนิ ความรูเ้ ร่ืองดินสำ� หรบั เยาวชน 67

ดนิ ต้นื ดินตื้น หมายถึง ดินท่ีมีชั้นลูกรัง ช้ันก้อนกรวด ช้ันเศษหิน ชั้นปูนมาร์ล หรือชั้นหินพื้น ซง่ึ เปน็ อปุ สรรคตอ่ การชอนไชของรากพชื อยตู่ นื้ กวา่ 50 เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ สง่ ผลใหพ้ ชื ไมส่ ามารถ เจรญิ เตบิ โตได้ดีและใหผ้ ลผลติ ต่ำ� ดนิ ตน้ื แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คือ 1. ดินตื้นที่มีการระบายน้�ำไม่ดี เป็นดินตื้นที่พบในพ้ืนที่ลุ่มต�่ำ ดินมีการระบายน้�ำ ไม่ค่อยดี จึงมักจะมีน�้ำแช่ขังในช่วงฤดูฝน ส่วนใหญ่มีกรวดลูกรังปนอยู่ในดินมาก อาจจะมีช้ัน ศลิ าแลงอ่อนในดนิ ชัน้ ล่าง บางแหง่ ใช้ท�ำนา บางแห่งเป็นป่าละเมาะ (ภาพ ก) 2. ดนิ ตน้ื ปนลูกรงั หรอื ปนกรวดท่มี ีการระบายนำ�้ ดี เป็นดินตืน้ ทพ่ี บตามพนื้ ท่ดี อนสลับ กับทลี่ ่มุ หรอื เนินเขา มกั จะมีลูกรงั หรือหนิ กรวดมนปะปนอยมู่ าก ตัง้ แตบ่ ริเวณผวิ ดินลงไป บางแหง่ มกี ้อนลกู รงั หรอื ศลิ าแลงโผล่กระจัดกระจายทัว่ ไปบรเิ วณผิวหนา้ ดิน (ภาพ ข) 3. ดินตื้นปนหนิ มีการระบายน�้ำดี เป็นดินตนื้ ทพี่ บตามพนื้ ท่ีลอนลาดหรือบริเวณเนนิ เขา มเี ศษหนิ แตกชนิ้ นอ้ ยใหญป่ ะปนอยใู่ นดนิ มาก บางแหง่ พบหนิ ผหุ รอื หนิ แขง็ ปะปนอยกู่ บั เศษหนิ หรอื มีกอ้ นหินและหินโผล่กระจดั กระจายท่วั ไปตามหน้าดิน (ภาพ ค) 4. ดินตื้นปนปูนมาร์ล พบในพ้ืนที่ราบเรียบถึงเป็นลอนลาด หรือบริเวณที่ลาดเชิงเขา เมื่อขุดลงไปในระดับความลึกท่ี 20-50 เซนติเมตร จะพบสารเม็ดปูนหรือก้อนปูนสีขาว ซึ่งเป็น สารประกอบจ�ำพวกแคลเซียมหรือแมกนีเซียมคาร์บอเนตปนอยู่ในเนื้อดิน ดินประเภทนี้จัดว่าเป็น ดนิ ทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณส์ งู แตม่ ขี อ้ เสยี คอื ดนิ มปี ฏกิ ริ ยิ าเปน็ ดา่ งมาก ซง่ึ เปน็ ขอ้ จำ� กดั ตอ่ พชื บางชนดิ ท่ไี ม่ชอบความเปน็ ด่าง เช่น สบั ปะรด (ภาพ ง) สแกนคิวอาร์โคด้ เพอ่ื รบั ชม คลปิ วดิ โี อ “ดนิ ตนื้ ” ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จนี 68 ความรเู้ ร่อื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั (ก) (ข) (ค) (ง) ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ ปญั หาของดนิ ต้นื ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ ดินตื้นนน้ั เปน็ ดินทไี่ มเ่ หมาะสมต่อการเพาะปลูก เพราะมชี ั้นขดั ขวางการเจรญิ เติบโตของ พชื มเี น้อื ดินน้อยเนื่องจากมปี รมิ าณชน้ิ ส่วนหยาบปนอยใู่ นดินมาก การเกาะยดึ กันของดินไม่ดที �ำให้ เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ มีธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืชน้อย และอุ้มน้�ำได้น้อย ดินช้ันลา่ งมักจะแน่นทึบ รากพืชชอนไชไปได้ยาก การแพร่กระจายของรากไม่ดี พชื ไมส่ ามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ พวกที่เป็นไมย้ ืนตน้ จึงมีโอกาสโคน่ ล้มไดง้ ่าย การปรับปรุงแก้ไข การใชป้ ระโยชนใ์ นพน้ื ทเ่ี หลา่ น้ี จะตอ้ งมกี ารจดั การอยา่ งระมดั ระวงั ถา้ จะใชท้ ำ� การเกษตร ควรเลือกพืน้ ท่ที ี่มหี น้าดินหนามากกวา่ 25 เซนตเิ มตร และไมม่ ีก้อนกรวดหรือลูกรงั ปนอยใู่ นดินมาก ปรับปรุงบ�ำรุงดินด้วยการไถกลบพืชปุ๋ยสด ร่วมกับการบ�ำรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ ถ้าจะใช้ปลูกไม้ผล ไม่ควรเลือกพ้ืนที่ท่ีมีชั้นหินพื้นแข็งในระดับต้ืน ควรขุดหลุมปลูกให้ลึกและมีขนาดใหญ่กว่าปกติ ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินที่ไม่มีก้อนกรวดหรือลูกรัง ร่วมกับการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกและ ใชป้ ยุ๋ เคมตี ามความตอ้ งการของชนดิ พชื ทป่ี ลกู เมอื่ ปลกู พชื แลว้ ควรมกี ารคลมุ ดนิ เพอื่ รกั ษาความชน้ื จัดระบบการใหน้ �ำ้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ เช่น ให้น�ำ้ แบบหยด หรือเลือกปลูกพชื ทม่ี รี ะบบรากตื้นและ ทนแล้ง เช่น ปลกู หญา้ เล้ียงสัตว์ และปลูกพชื หลากหลายชนิดผสมผสาน ความร้เู รอ่ื งดินส�ำหรบั เยาวชน 69

พืน้ ทล่ี าดชนั เชงิ ซอ้ น หมายถึง พื้นที่ภูเขา ท่ีมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่เหมาะที่จะใช้ท�ำ เกษตรกรรม เน่ืองจากถ้ามีการใช้ท่ีดินเพาะปลูกพืชท่ีไม่ถูกต้อง จะเกิดปัญหาการชะล้างพังทลาย ของดินและการเส่อื มโทรมของดนิ อย่างรวดเรว็ ลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ ทพ่ี บบนพน้ื ทท่ี มี่ คี วามลาดชนั สงู มคี วามแตกตา่ งกนั มากขนึ้ อยู่ กับปัจจัยท่ีก่อให้เกิดดิน อาจพบได้ต้ังแต่ดินตื้นไปจนถึงดินลึก เนื้อดินเป็นทรายจนถึงดินเหนียว สนี ำ�้ ตาลจนถงึ สแี ดง ปฏกิ ริ ยิ าดนิ ตง้ั แตเ่ ปน็ กรดจดั ถงึ เปน็ ดา่ ง มคี วามอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ กจ็ ะผนั แปร ไปตง้ั แต่ต�่ำจนถงึ สูง นอกจากน้ียงั อาจพบเศษหิน กอ้ นหิน หรือหินโผล่กระจัดกระจายท่ัวไป ปัญหาในพ้ืนท่ลี าดชันเชงิ ซอ้ น เน่ืองจากเปน็ พ้นื ทีท่ ีม่ ีความลาดชันสูงมากกวา่ 35 เปอรเ์ ซ็นต์ และหากมกี ารใชป้ ระโยชน์ ทำ� การเกษตรโดยปราศจากมาตรการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้� ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาการชะลา้ งพงั ทลายของหนา้ ดนิ ทำ� ให้หนา้ ดินต้นื จนบางแหง่ เหลอื แตด่ ินหินโผล่ ความอดุ มสมบูรณข์ องดินลดต�่ำลง เปน็ สาเหตทุ ่ี ท�ำให้มีพน้ื ทดี่ นิ เส่อื มโทรมลงเพ่ิมมากขึน้ แนวทางการแกไ้ ข ถ้าจ�ำเป็นท่ีต้องใช้พื้นท่ีเหล่านี้ในการเพาะปลูกพืช ก็จ�ำเป็นต้องมีมาตรการป้องกัน การพังทลายของดนิ ท่ดี ี ซึ่งมหี ลกั สำ� คญั อยู่ 2 ประการ คอื ลดแรงปะทะของเม็ดฝนทต่ี กลงมากระทบ ผิวดิน และชะลอความเร็วของน�้ำท่ีไหลบ่าผ่านผิวหน้าดิน ไถพรวนเตรียมดินเท่าที่จ�ำเป็น เพื่อรักษาก้อนดินไว้ไม่ให้แตกออกจากกันและไม่ให้ถูกน�้ำพัดพาไปได้ง่าย จัดระบบการอนุรักษ์ดิน และน้�ำ เช่น ท�ำแนวคันดินเป็นข้ันบันได ไถพรวนปลูกพืชตามแนวระดับ ปลูกหญ้าแฝกขวาง ความลาดชันป้องกันการชะลา้ งและสูญเสยี ดิน เป็นตน้ 70 ความรู้เรื่องดินสำ� หรับเยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ภาค 2 เรยี นรูเ้ รือ่ ง...ดิน ภาค 3 แหลง่ ข้อมลู ...ดนิ ภาค 3 ความรู้เ ่รืองดิน �สำห ัรบเยาวชน 71

กรมพฒั นาทดี่ นิ เปน็ หนว่ ยงานหนงึ่ ในสงั กดั กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ท่มี หี น้าท่ดี ูแลและรับผิดชอบงานดา้ นการศึกษา สำ� รวจ จ�ำแนก วิเคราะห์ และวิจยั ดนิ และท่ดี นิ ติดตามสถานการณ์สภาพการ ใชท้ ี่ดนิ เพื่อก�ำหนดนโยบาย วางแผนการใช้ทด่ี นิ และการพัฒนาทด่ี ิน รวมถึงการให้บริการด้านการวิเคราะห์ ตรวจสอบ และให้ค�ำแนะน�ำ เกยี่ วกบั ดนิ น�้ำ พืช ปุ๋ย และอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวกับการพฒั นาท่ีดนิ ตลอดจน การถ่ายทอดผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และให้บริการด้านการ พฒั นาท่ดี นิ แก่ส่วนราชการท่เี ก่ยี วขอ้ งและเกษตรกรทว่ั ไป นกั เรยี น นกั วชิ าการ เกษตรกร หรอื ผสู้ นใจศกึ ษาประวตั กิ ารสำ� รวจจำ� แนกดนิ ลกั ษณะดนิ ของประเทศไทย และข้อมูลทางวิชาการด้านการพัฒนาที่ดินอื่นๆ สามารถศึกษาข้อมูล เพ่ิมเติมได้ท่ี เว็บไซต์ของกรมพัฒนาท่ีดิน (www.ldd.go.th) หรือเฟสบุ๊คของกรมพัฒนาท่ีดิน (facebook.com/ldd.go.th/) เข้าเย่ียมชมตัวอย่างหน้าตัดดินจ�ำลองของชุดดินและกลุ่มชุดดิน ที่ส�ำคัญๆ รวมท้ังข้อมูลวิชาการของกรมพัฒนาที่ดิน ได้ที่ พิพิธภัณฑ์ดิน ซ่ึงตั้งอยู่บริเวณช้ัน 1 ของอาคาร 6 ชนั้ กรมพฒั นาทดี่ ิน ถนนพหลโยธนิ เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 72 ความรูเ้ รอ่ื งดินสำ� หรบั เยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั พพิ ิธภัณฑด์ นิ กรมพัฒนาทีด่ นิ กรงุ เทพฯ เป็นพิพิธภัณฑแ์ ห่งแรก ภาค 2 เรยี นรูเ้ รือ่ ง...ดิน ของประเทศไทย ท่ีภายในมีการจัดแสดงประวัติความเป็นมาของการส�ำรวจ จ�ำแนกดิน มกี ารแสดงเคร่อื งมอื เคร่ืองใช้ในการส�ำรวจดนิ แผนทีด่ นิ ทเี่ ปน็ ผล ภาค 3 แหลง่ ข้อมลู ...ดนิ มาจากการศึกษาส�ำรวจดินในสมยั ต่างๆ จัดแสดงชนิดของวตั ถุต้นกำ� เนิดดิน และตัวอย่างแบบจ�ำลองลักษณะหน้าตัดของชุดดินและกลุ่มชุดดินท่ีพบใน ภมู ภิ าคต่างๆ ของประเทศไทย รวมถึงลกั ษณะดินท่ีมีปญั หาทางการเกษตร พรอ้ มทงั้ แสดงขอ้ มลู คำ� อธบิ ายลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ รวมถงึ แนวทางการ ปรับปรุงและจัดการดิน พิพิธภัณฑ์ดินนี้เปิดให้บริการแก่บุคคลทั่วไปในวัน จนั ทร-์ ศุกร์ ตงั้ แตเ่ วลา 09.00-16.00 น. เวน้ วนั หยุดราชการ ความรเู้ ร่ืองดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 73

ผู้สนใจยังสามารถเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ดินที่กระจายอยู่ท่ัวประเทศในภูมิภาคต่างๆ รวม 16 แหง่ ประกอบดว้ ย  พพิ ธิ ภัณฑด์ ิน กรมพัฒนาทีด่ นิ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม.  ส�ำนักงานพฒั นาทด่ี ินเขต 1 ตำ� บลลำ� ผกั กดู อ�ำเภอธญั บุรี จงั หวัดปทุมธานี  สำ� นกั งานพัฒนาทด่ี ินเขต 2 ตำ� บลทุง่ สขุ ลา อำ� เภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี  สำ� นกั งานพฒั นาทดี่ นิ เขต 3 ตำ� บลจอหอ อำ� เภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสมี า  ส�ำนกั งานพัฒนาทด่ี นิ เขต 4 ตำ� บลแจระแม อำ� เภอเมอื งอุบลราชธานี จังหวัดอบุ ลราชธานี  สำ� นกั งานพฒั นาที่ดินเขต 5 ตำ� บลในเมอื ง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จงั หวดั ขอนแกน่  สำ� นกั งานพฒั นาท่ีดินเขต 6 ต�ำบลดอนแกว้ อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชยี งใหม่  ส�ำนักงานพัฒนาทด่ี ินเขต 7 ต�ำบลคใู่ ต้ อ�ำเภอเม่ืองน่าน จงั หวดั นา่ น  ส�ำนักงานพัฒนาท่ดี ินเขต 8 ต�ำบลหวั รอ อ�ำเภอเมอื่ งพิษณุโลก จังหวัดพษิ ณุโลก  สำ� นักงานพฒั นาที่ดินเขต 9 ตำ� บลนครสวรรค์ตก อ�ำเภอเมื่องนครสวรรค์ จังหวดั นครสวรรค์  สำ� นักงานพัฒนาที่ดนิ เขต 10 ต�ำบลหนิ กอง อ�ำเภอเมือ่ งราชบุรี จังหวดั ราชบุรี  สถานพี ฒั นาทด่ี นิ สุราษฎรธ์ านี สำ� นักงานพัฒนาทด่ี นิ เขต 11 ต�ำบลท่าอุแท อ�ำเภอกาญจนดษิ ฐุ์ จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี  ส�ำนักงานพฒั นาท่ดี นิ เขต 12 ตำ� บลพะวง อำ� เภอเมืองสงขลา จงั หวัดสงขลา  ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหนิ ซอ้ นอันเน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ ต�ำบลเขาหินซ้อน อำ� เภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา  โครงการชั่งหัวมันตามพระราชด�ำริ ต�ำบลเขากระปกุ อ�ำเภอทา่ ยาง จังหวดั เพชรบุรี  ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาพิกลุ ทองอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบลกะลุวอเหนอื อ�ำเภอเมอื งนราธวิ าส จงั หวดั นราธวิ าส ท้ังนี้ ส�ำนักงานพัฒนาที่ดิน ท้ัง 12 เขต และสถานีพัฒนาท่ีดินทุกจังหวัด พร้อมให้ ค�ำแนะน�ำและบริการความรู้ด้านการพัฒนาท่ีดินแก่เกษตรกรและผู้สนใจท่ัวไป หรือสอบถามจาก หมอดินอาสาท่อี ยู่ใกลช้ ดิ กบั เกษตรกรทง้ั ในระดับอำ� เภอ ตำ� บล และหมบู่ ้านของทา่ น 74 ความรูเ้ รื่องดินสำ� หรบั เยาวชน

พิกัดที่ต้ังพิพิธภัณฑ์ดินท้ัง 16 แห่ง ทั่วประเทศ สำ� นกั งานพฒั นาที่ดนิ เขต 6 ส�ำนกั งานพฒั นาท่ีดนิ เขต 7 ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั สำ� นักงานพฒั นาท่ดี นิ เขต 9 ส�ำนักงานพฒั นาทดี่ นิ เขต 8 สำ� นกั งานพัฒนาท่ดี นิ เขต 1 สำ� นักงานพัฒนาท่ีดนิ เขต 5 สำ� นักงานพัฒนาที่ดนิ เขต 10 โครงการช่งั หัวมนั ตามพระราชด�ำริ ส�ำนักงานพฒั นาท่ีดินเขต 4 ภาค 2 เรยี นรูเ้ รือ่ ง...ดิน สถานพี ัฒนาท่ีดนิ สรุ าษฎรธ์ านี ส�ำนกั งานพัฒนาท่ีดนิ เขต 11 ส�ำนักงานพฒั นาท่ีดนิ เขต 3 พิพิธภณั ฑด์ นิ ภาค 3 แหลง่ ข้อมลู ...ดนิ กรมพฒั นาทด่ี นิ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหินซอ้ นฯ ส�ำนักงานพัฒนาทด่ี ินเขต 2 ส�ำนักงานพัฒนาท่ดี ินเขต 12 ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพกิ ุลทองฯ ความรเู้ รอ่ื งดินส�ำหรับเยาวชน 75

วนั ดนิ โลก 5 ธนั วาคม...วันสำ� คญั เพอ่ื การรณรงค์เกย่ี วกบั ดนิ องค์การสหประชาติ (United Nations) ได้ประกาศอย่างเป็นทางการให้ วันที่ 5 ธันวาคมของทุกปีเป็น “วันดินโลก” (World Soil Day) ซ่ึงตรงกับวันคล้าย วนั พระราชสมภพของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อเป็นการสดุดีและเทิดพระเกียรติคุณในพระอัจฉริยภาพด้านการ อนุรักษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรดนิ วันดินโลก...ใช้เป็นโอกาสในการขับเคล่ือนกิจกรรมการรณรงค์และเผยแพร่ ความรทู้ างดา้ นดนิ และสรา้ งความตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของดนิ ทงั้ ในระดบั ประเทศ และระดับโลก ตอ่ มนษุ ยชาตแิ ละสภาพแวดล้อมอยา่ งเป็นรปู ธรรมและต่อเนื่อง สแกนคิวอารโ์ คด้ ศกึ ษาข้อมูลวนั ดนิ โลกเพม่ิ เตมิ 76 ความร้เู รอ่ื งดินส�ำหรบั เยาวชน

คลปิ วดิ ีโอ “ความรู้เร่อื งดนิ ” กแาลระชกะาลร้าองนพรุ ังักทษล์ดานิ ยแขลอะงนด�ำ้ิน การจดั การดนิ ตน้ื หญ้าแฝก ดินตนื้ ลักษณะดิน วันดินโลก ทป่ี ลูกพืชเศรษฐกิจ พพิ ธิ ภัณฑด์ ินของ ประเทศไทย ดนิ อนิ ทรยี ์ ภสภาคาพตะพวืน้ ันทอ่ีแอลกะเฉทยีรพังเยหานกือรดนิ ดินทราย ดนิ เค็ม ชนั้ ดานอนิ ทรยี ์ ดินเปรีย้ วจัด ดินทราย ทรัพสยภาากพรพด้นืนิ ทสสี่แพภลาขะพ.1พ2น้ื ท่แี ละทรพั ภยาาคกเหรดนินอื สภาพพืน้ ท่แี ละ สทภราสพัพพยพขาน้ื .ก1ทร1ด่ีแลนิ ะ ทรัพยากรดนิ สพข.10 ทรสพั ภยาาพกรพดืน้ ินทแ่ีสลพะข.9 สภภาาพคพใ้นืต้แทลีแ่ ะลชะาทยรฝพั ่ังยทาะกเรลดิน ตะวันออก สทภราัพพยพา้ืนกทรดแี่ ลนิ ะ สทภราัพสพพยพาขน้ื ก.ท6รดี่แลินะ สภาพพ้นื ทแ่ี ละ สภาพพ้ืนท่ีและ ภาคกลาง ทรัพยากรดนิ สพข.3 สภาพพนื้ ที่และ ทรัพสยพาขก.ร4ดิน สภาพพ้ืนท่ีและทรัพยากรดนิ ทรัพยากรดิน สพข.8 สพข.2 ทรสพั ภยาาพกรพดนื้ นิ ทแ่ีสลพะข.7 สทภราัพพยพาื้นกทรด่ีแลินะ สพข.5 วตั ถุต้นกำ�เนิดดนิ อปุ กรณ์สำ�รวจดิน ความสำ�คัญของ ทรัพยากรดนิ สภาพพน้ื ทีแ่ ละ ทรัพยากรดนิ สิ่งมชี วี ติ ในดนิ สพข.1 ชดุ ปดรนิ ะทเทสี่ ศำ�ไคทญั ยใน ลักษณะและสมบตั ิ บางประการของดิน ความรู้เร่ืองดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 77

บรรณานุกรม กรมพฒั นาทดี่ นิ . 2550. คูม่ ือยวุ หมอดิน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ กรงุ เทพฯ. 45 น. กรมพฒั นาทด่ี ิน. 2550. ค่มู ือวทิ ยากรยวุ หมอดนิ . เอกสารประกอบ ในโครงการเกษตรอินทรีย์ ในโรงเรียนและยุวหมอดิน ปี 2550 กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. กรมวิชาการ. 2543. หนังสอื อา่ นเพ่มิ เติม กลุม่ สร้างเสรมิ ประสบการณ์ชีวิตระดับประถมศึกษา ชดุ ทรพั ยากรส�ำคัญของเรา เรือ่ งดิน. กระทรวงศึกษาธกิ าร กรงุ เทพฯ 101 น. ขนิษศรี ฮุ่นตระกลู . 2547. การจัดทำ� เวบ็ ไซต์เร่อื งดินและพฒั นาการดา้ นการสำ� รวจจ�ำแนกดนิ ในประเทศไทยโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม Dreamweaver MX. เอกสารวิชาการ ฉบบั ท่ี 525 ส�ำนักสำ� รวจดนิ และวางแผนการใช้ทด่ี ิน กรมพัฒนาท่ดี นิ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, กรงุ เทพฯ คณะกรรมการจัดท�ำปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ. 169 น. คณะกรรมการจัดท�ำพจนานกุ รมปฐพวี ทิ ยา. 2551. พจนานุกรมปฐพีวทิ ยา. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2548. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. นงคราญ กาญจนประเสรฐิ . 2549. ทรพั ยากรดนิ . บริษัท ส�ำนักพมิ พแ์ มค จ�ำกดั , กรุงเทพฯ. 12 น. เล็ก มอญเจริญ. 2547. ดิน : ทรัพยากรพื้นฐานของชีวิต. กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม, กรุงเทพฯ. 127 น. อรรถ สมร่าง, ยุทธชัย อนุรักษ์ติพันธุ์, พงศธร เพียรพิทักษ์, และบุศริน แสวงลาภ. 2548. ดินเพ่อื ประชาชน. กรมพฒั นาทีด่ ิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรงุ เทพฯ. 166 น. สารานุกรมไทยสำ� หรบั เยาวชน เลม่ ท่ี 18. 2537. ดนิ . 78 ความรู้เรอื่ งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

อัญชลี สุทธปิ ระการ. 2534. แร่ในดิน เล่มที่ 2 แร่ดนิ เหนียวและเทคนคิ การวเิ คราะห.์ ภาควชิ า ปฐพีวทิ ยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ : 624 หน้า เอบิ เขียวรนื่ รมณ์. 2533. ดินของประเทศไทย. ภาควิชาปฐพวี ทิ ยา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. เอิบ เขียวรื่นรมณ์. 2542. การส�ำรวจดิน. ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ : 733 หนา้ เวบ็ ไซต์ http://www.doae.go.th/ni/din/ din_2.htm (กลุ่มดินและปุ๋ย กองส่งเสริมพืชพันธุ์ กรมสง่ เสริมการเกษตรโดยการสนับสนนุ ของ ประชาคมเศรษฐกจิ ยโุ รป ภายใตโ้ ครงการ A.L.A./TH 8509) http://www.dmr.go.th/knowledge/ soil.htm (กรมทรัพยากรธรณี 28/04/2551) http://www.kanchanapisek.or,th/ (เครอื ข่ายกาญจนาภเิ ษก; 28/04/2551) http://www.kidsgeo.com/geology-for-kids/0009-components-of-soil.php Geology for kids (The study for our earth) www.kku.ac.th (มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 28/04/2551) http://www.ldd.go.th/Lddwebsite/web_osl/easysoils/index.htm (ความรู้เรื่องดิน สำ� หรบั เยาวชน สำ� นกั สำ� รวจดนิ และวางแผนการใชท้ ดี่ นิ กรมพฒั นาทดี่ นิ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์) Yara (Thailand) Ltd.ABC Guide to Mineral Fertilizers : A Basic Handbook on Fertilizers and Their Use. 28 p. www.yara.com http://www.swu.ac.th/royal/book1/b1c3t8.html. (โครงการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาหนงั สอื และ โฮมเพจชุดพัฒนาสังคมตามแนวพระราชด�ำริ ในความดูแลของศูนย์ศึกษาแนว พระราชด�ำรแิ ละฝา่ ยวิจัยและวเิ ทศสมั พนั ธ์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ 2543) http://soil.gsfc.nasa.gov/ ; (Soil Science Education Homepage) ความรู้เรือ่ งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 79

จัดท�ำฉบบั ปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 4 ท่ีปรึกษา นางสาวเบญจพร ชาครานนท์ อธิบดีกรมพฒั นาทด่ี นิ รองอธิบดีกรมพฒั นาท่ีดิน นายสถาพร ใจอารยี ์ รองอธิบดกี รมพัฒนาที่ดิน รองอธิบดกี รมพฒั นาที่ดิน นางสาวภัทราภรณ์ โสเจยยะ ผู้อ�ำนวยการกองสำ� รวจดินและวจิ ัยทรพั ยากรดนิ ทปี่ รึกษากรมพฒั นาท่ดี นิ นายถวลิ มง่ั นุย้ นายสถิระ อุดมศร ี นายพสิ ุทธิ์ วิจารสรณ์ คณะผู้จดั ทำ� นกั สำ� รวจดินช�ำนาญการพเิ ศษ นกั ส�ำรวจดินชำ� นาญการ นายกฤดิโสภณ ดวงกมล นกั สำ� รวจดนิ ช�ำนาญการ นางสาวนฤกมล จันทรจ์ ริ าวุฒกิ ุล นกั ส�ำรวจดนิ ช�ำนาญการ นางสาวรวยิ า ทองย่น นักส�ำรวจดนิ ช�ำนาญการ นางสาวศรญั ญา หนอ่ แก้ว นักส�ำรวจดินปฏบิ ตั กิ าร นางสาวยพุ เยาว์ หสั จรรย ์ นกั ส�ำรวจดนิ ปฏิบัตกิ าร นางสาวนศิ รา จงหวงั นักสำ� รวจดนิ ปฏบิ ัติการ นางสาวกรรณกิ าร์ เพ็ชรมาก นักส�ำรวจดนิ ปฏิบัติการ นางสาวพชิ ามญชุ์ อินตะ๊ โม นกั สำ� รวจดินปฏบิ ตั ิการ นางมนสิกานต์ ทศั วิล นางสาวสรญา ดว้ งมูล 80 ความรู้เร่อื งดินสำ� หรับเยาวชน

เคยสงสัยกันบา งหรือไม พนื้ ดินทเี่ ราเหยยี บยํา่ อยูทกุ วันนีเ้ กิดข้นึ ไดอยา งไร มีสว นประกอบอะไรบาง เพราะเหตุใดจึงมลี ักษณะท่ี แตกตางกันออกไป ทาํ ไมดินบางแหงมีสดี ํา บางแหงมีสแี ดง บางแหงปลูกพืชแลว เจริญเติบโตไดดี แตบางแหง กลบั ใชเ พาะปลกู ไมได บนโลกของเราน้ี มีดินที่สามารถใชป ระโยชนไ ดอยมู ากนอยเพียงใด มีใครเคยศกึ ษาเกีย่ วกับดินบาง เขาทํากันอยา งไร ไดข อมูลอะไรบาง และเราจะนาํ มาใชไดอยา งไร สแกน “คิวอารโคด (QR CODE) เพ่อื โหลดหนังสอื (E-BOOK)”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook