Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

Published by chalermrajakumarithapkhlo, 2021-12-23 07:10:41

Description: ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

Keywords: ดิน

Search

Read the Text Version

หนงั สือนี้ ไดร บั การคัดเลือกจากคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ใหเปน สื่อเสรมิ การเรยี นรูว ิชาภมู ิศาสตร ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ประเภทสอ่ื แนะนาํ สําหรบั สถานศึกษาและครผู ูสอน 5 ธนั วาคม ´¹Ôความรูเรือ่ ง.. สาํ หรับเยาวชน กองสาํ รวจดนิ และวจิ ัยทรพั ยากรดิน กรมพฒั นาท่ดี ิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

หนงั สือนี้ ไดร บั การคัดเลือกจากคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ใหเปน สื่อเสรมิ การเรยี นรูว ิชาภมู ิศาสตร ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ประเภทสอ่ื แนะนาํ สําหรบั สถานศึกษาและครผู ูสอน 5 ธนั วาคม ´¹Ôความรูเรือ่ ง.. สาํ หรับเยาวชน กองสาํ รวจดนิ และวจิ ัยทรพั ยากรดิน กรมพฒั นาท่ดี ิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ความรูเ้ ร่อื งดนิ ส�ำหรับเยาวชน ฉบับปรับปรุงครัง้ ท่ี 4 พมิ พ์ครัง้ ที่ 1 จ�ำนวน 10,000 เลม่ มนี าคม 2553 พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2 จ�ำนวน 40,000 เล่ม มถิ นุ ายน 2553 พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3 จำ� นวน 10,000 เล่ม ตลุ าคม 2561 พิมพค์ ร้ังที่ 4 จำ� นวน 5,000 เลม่ พฤศจิกายน 2562 กรมพฒั นาทดี่ นิ . กองส�ำรวจดนิ และวจิ ยั ทรัพยากรดิน. กลมุ่ มาตรฐานการส�ำรวจจ�ำแนกดนิ . ความรู้เรอ่ื งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน. —พิมพ์ครั้งที่ 4.— กรุงเทพฯ : กรมพฒั นาทด่ี นิ , 2561. 88 หนา้ . 1. ดิน. I. ชือ่ เร่อื ง. 631.4 ISBN 978-616-358-421-2 เอกสารวิชาการฉบับที่ 61/007 พิมพ์ท่ี บริษัท นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จำ� กดั ออกแบบปก-รปู เลม่ : กรณกิ าร์ ศรเี ชื้อ จดั ทำ� โดย กองสำ� รวจดินและวจิ ัยทรัพยากรดนิ กรมพัฒนาทีด่ นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เลขท่ี 2003/61 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 www.ldd.go.th โทร. 02-579-1439

คำ� นำ� ดนิ ... เปน็ ทรพั ยากรทม่ี คี ณุ คา่ และสำ� คญั ตอ่ ความคงอยขู่ องทกุ สงั คมบนพนื้ โลก ในปัจจุบันการใช้ทรัพยากรดินยังขาดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งเป็นสาเหตุท�ำให้ทรัพยากรดิน เส่ือมโทรมลง ความอดุ มสมบรู ณ์ของดินลดลง สง่ ผลให้ผลผลติ ทางการเกษตรตกต่ำ� ระบบนเิ วศ ขาดความสมดุล ทำ� ให้เกิดผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มและสง่ิ มีชวี ติ ท้ังทางตรงและทางอ้อม กรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการดูแลทรัพยากรดินของประเทศ ให้มีความ อุดมสมบูรณ์และสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน เพื่อสร้างความตระหนักและเห็นความส�ำคัญ ของทรัพยากรดิน การให้ความรู้เรื่องดินและปลูกจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน จึงได้จัดท�ำ หนังสือ “ความรู้เร่ืองดินส�ำหรับเยาวชน” โดยมีเนื้อหาที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้เร่ืองดินในระดับ เยาวชน อนงึ่ ทผี่ า่ นมาหนงั สอื เลม่ นไี้ ดร้ บั การคดั เลอื กจากคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ใหเ้ ปน็ สอ่ื เสรมิ การเรยี นรวู้ ชิ าภมู ศิ าสตรร์ ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ประเภทสอื่ แนะนำ� สำ� หรบั สถานศกึ ษา และครผู ูส้ อน นอกเหนอื จากน้เี นือ้ หาในหนังสอื ยังมีประโยชน์ส�ำหรับประชาชนที่สนใจอกี ด้วย และ ไดร้ บั ความสนใจจากกลมุ่ ครู นกั เรยี นและประชาชนเปน็ จำ� นวนมาก โดยหนงั สอื ทไ่ี ดจ้ ดั พมิ พม์ าแลว้ ทงั้ สามครงั้ นนั้ ไดร้ บั การตอบรบั เปน็ อยา่ งดแี ละยงั ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของประชาชนอกี เปน็ จ�ำนวนมาก เนอ่ื งในโอกาสเฉลิมฉลองวนั ดนิ โลก ปี 2562 กรมพฒั นาทด่ี นิ จึงไดจ้ ดั พมิ พ์เพิม่ พร้อม ทง้ั ปรบั ปรงุ เนอื้ หาใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ นั ในชอ่ื เรอื่ ง “ความรเู้ รอ่ื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน” ฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี 4 และได้จัดท�ำในรูปแบบของ e-book ท้ังน้ีเพื่อเพิ่มช่องทางในการเข้าถึง และสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรดินได้อย่างสะดวกและถูกต้อง คณะผู้จัดท�ำหวัง เปน็ อยา่ งยิง่ ว่า หนงั สือ “ความรเู้ ร่ืองดินสำ� หรับเยาวชน” ฉบบั ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 4 เลม่ นี้ จะช่วยให้ เยาวชนของชาติ และประชาชนท่ีสนใจได้ตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรดินและมีส่วนร่วมใน การดแู ลทรพั ยากรดนิ เพอื่ ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนด์ นิ และทด่ี นิ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและยงั่ ยนื สบื ไป (ดร.สถาพร ใจอารีย์) รองอธบิ ดีกรมพฒั นาทด่ี นิ

สารบญั หน้า บทนำ� 1 ภาค 1 ความหมายและความส�ำคัญของดิน 3 5  กำ� เนดิ ของดนิ 6  ดิน...คอื อะไร 7  ดนิ ...ส�ำคญั อยา่ งไร 9  โลกของเรามีดินอย่มู ากนอ้ ยแค่ไหน 11  ส่วนประกอบของดิน 16  ปจั จัยท่คี วบคุมการสรา้ งตวั ของดิน 20  ลักษณะและสมบตั ขิ องดิน 20  ลกั ษณะและสมบตั ทิ ี่ส�ำคัญของดนิ 21  ความลึกของดิน 23  สขี องดิน 25  เน้อื ดนิ 28  โครงสร้างของดนิ 28  ความเป็นกรดเป็นดา่ งของดิน 29  การแลกเปลย่ี นแคตไอออนในดนิ 31  สงิ่ มชี วี ติ ในดิน 33  ธาตุอาหารพชื ในดิน  หน้าท่ขี องธาตอุ าหารพชื ในดิน

สารบัญ หนา้ ภาค 2 เรียนร้เู ร่อื ง...ดิน 37  การศกึ ษาเก่ยี วกบั ดิน 38  การศึกษาดนิ ในประเทศไทย 40  งานส�ำรวจและจ�ำแนกดนิ ของประเทศไทย 41  สำ� รวจดินกนั อยา่ งไร 49  ดนิ ของประเทศไทย 54  ดนิ ดที างการเกษตร...เปน็ อย่างไร 59  ดนิ ที่มปี ัญหาด้านการเกษตร 60  ดนิ เปรี้ยวจัด 60  ดนิ อนิ ทรีย์ 63  ดินเค็ม 64  ดนิ ทรายจัด 66  ดินต้นื 68  พ้นื ท่ีลาดชนั เชิงซ้อน 70 ภาค 3 แหลง่ ข้อมลู ...ดนิ 71  กรมพัฒนาที่ดินและพิพิธภัณฑด์ นิ 72  วันดนิ โลก 5 ธันวาคม 76  คลปิ วดิ ีโอความร้เู รือ่ งดนิ 77 บรรณานกุ รม 78

บทนำ� สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัยในทรัพยากรดินเป็นอยา่ งมาก เมื่อการเสด็จพระราชดำ� เนนิ ไปทรงงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง กบั การเกษตร ในหลายๆ พน้ื ท่ี พระองคท์ รงทอดพระเนตรและซกั ถามลกั ษณะดนิ หรอื สมบตั ขิ อง ดนิ อยเู่ สมอๆ ทรงหว่ งใยในการใชท้ รพั ยากรดนิ ใหเ้ กดิ ประโยชนอ์ ยา่ งยง่ั ยนื ทรงรบั สง่ั กบั ขา้ ราชการ กรมพัฒนาท่ีดิน เมื่อคร้ังเสด็จฯ เย่ียม ณ โรงเรียนมัธยมบ่อเกลือ อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2551 ใจความว่า เด็กนักเรียนหรือเยาวชนควรเรียนรู้เรื่องดิน ให้น�ำไปเรียนรู้จากสภาพพื้นท่ีจริงในศูนย์ภูฟ้าพัฒนา ส่วนนักเรียนที่อยู่ห่างไกลไม่อาจ เดินทางไปท่ีศูนย์ฯ ได้ ก็ให้เรียนรู้เรื่องดินจากระบบอินเตอร์เน็ตของกรมพัฒนาที่ดิน ทค่ี วรจัดท�ำใหง้ ่ายตอ่ การเรยี นรู้ (ก)

ด้วยส�ำนึกพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ กรมพัฒนาท่ีดินจัดท�ำหนังสือ “ความรู้เร่ืองดินส�ำหรับเยาวชน” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ดนิ อยา่ งงา่ ยๆ ทเ่ี ยาวชนและบคุ คลทว่ั ไป สามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู สำ� หรบั การศกึ ษา เรยี นรู้ ท�ำความเข้าใจ และสามารถน�ำไปใชป้ ระโยชน์ หรอื ใชเ้ ป็นพนื้ ฐานในการค้นควา้ เพม่ิ เติม ตอ่ ไปในอนาคตได้ (ข)

ดินเร่ือง มีอยู่ว่า... เราทกุ คนคงรู้จัก... “ดิน” แต่จะมีใครรู้บ้างว่าดินมีความส�ำคญั อย่างไรต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษยบ์ า้ ง เพราะดนิ เปน็ แหลง่ ทมี่ าของปจั จยั ทสี่ ำ� คญั คอื อาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั เครอ่ื งนงุ่ หม่ ยารกั ษาโรค และพลงั งาน ลว้ นไดม้ าจากดนิ ท้ังทางตรงและทางออ้ ม เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ว่า... พนื้ ดนิ ที่เราเหยยี บยำ่� อยู่ทกุ วันนี้เกดิ ขึน้ ได้อย่างไร มสี ว่ นประกอบอะไรบ้าง... เพราะเหตใุ ดดนิ จึงมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป... ทำ� ไมดนิ บางแหง่ มีสดี �ำ บางแห่งมสี ีแดง... บางแหง่ เปน็ ดนิ เหนียว บางแห่งเปน็ ดินทราย... บางแห่งปลูกพืชแล้วเจริญเติบโตได้ดี บนโลกของเราน้ี ดินที่สามารถใช้ ประโยชนไ์ ด้...อย่มู ากนอ้ ยเพยี งใด... มีใครเคยศกึ ษาเกีย่ วกับดินบา้ ง เขาท�ำกนั อยา่ งไร... ได้ข้อมลู อะไรบา้ ง และเรานำ� มาใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างไร... หนงั สอื ความร้เู รือ่ งดินส�ำหรบั เยาวชนเล่มน้ี จะไขข้อขอ้ งใจต่างๆ และพรอ้ ม ให้ผู้อา่ นไดร้ ว่ มกนั ค้นหา ศกึ ษาเรียนรู้ไปพรอ้ มๆ กัน (ค)

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ ภาค 1 ความรู้เ ่รืองดิน �สำห ัรบเยาวชน 1

พฒั นาการของหน้าตดั ดนิ 2 ความรเู้ รื่องดินส�ำหรบั เยาวชน

ก�ำเนิดของ...ดิน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ โลกของเรามีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี นับจากท่ีโลกได้เร่ิมก่อตัวขึ้นและเย็นตัวลง ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ มีพ้ืนผิวภายนอกเป็นหินแข็งแต่ภายในเป็นของเหลวร้อนจัด มีบรรยากาศซ่ึงประกอบด้วยแก๊ส หลายชนดิ หอ่ หมุ้ โลกอยโู่ ดยรอบอยา่ งเบาบาง ตอ่ มาจงึ มวี วิ ฒั นาการมากขน้ึ จนเกดิ มนี ำ้� และสงิ่ มชี วี ติ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ ขึ้นบนโลก โดยส่งิ มชี ีวิตรุ่นแรกๆ นน้ั เกดิ อย่ใู นทะเลมากอ่ น เร่ิมจากสิ่งมชี ีวิตเซลล์เดียวทัง้ ท่เี ป็นพชื และสัตว์ ต่อมาได้มีพัฒนาการจนกลายเป็นพืชชั้นสูงและสัตว์มีกระดูกสันหลังต่างๆ ที่ขึ้นมาอาศัย อยบู่ นบก พืชบกพวกแรกสุดเกิดข้ึนบนโลกเมื่อประมาณ 590 ล้านปี มาแล้ว โดยมีล�ำต้น ไม่มีราก ไม่มีใบ อาศัยเกิดและเกาะติดอยู่บน สาหรา่ ยทะเลทถ่ี กู คลนื่ ซดั ขน้ึ มาคา้ งอยบู่ นหนิ และเจรญิ เตบิ โต อยู่บนน้ัน เชื่อกันว่าวิวัฒนาการของพืชบกรุ่นแรกน้ีเอง ท่ีเป็นสาเหตุท�ำให้ก้อนหินเกิดการผุพังแตกแยกออกเป็น ชิ้นเล็กชิ้นน้อยและเกิดพัฒนาการจนกลายเป็นดิน ในท่ีสุด ทั้งน้ีเพราะการที่พืชมีวิวัฒนาการมากขึ้น จนมีส่วนประกอบของราก ล�ำต้น และใบ ท่ีชัดเจน รากพืชท่ีชอนไชเบียดแทรกเข้าไปตามร่องรอยแตก ของหินเพ่ือหาอาหารและน�้ำ รวมท้ังเกาะยึดกับ สิ่งต่างๆ เพ่ือค้�ำจุนล�ำต้นนั้น จะช่วยเร่งให้หิน แร่ เกดิ การสลายตวั เปน็ ชนิ้ เลก็ ชน้ิ นอ้ ยไดร้ วดเรว็ ยง่ิ ขน้ึ นอกเหนอื ไปจากการผกุ ร่อนตามธรรมชาติ ทเี่ ป็นผลมาจากการเปล่ียนแปลง ของสภาพภูมิอากาศท้ัง อุณหภูมิ ปริมาณน�้ำฝน น้�ำค้าง หรือหิมะ ในชว่ งเวลาต่างๆ ความรูเ้ รื่องดินสำ� หรบั เยาวชน 3

ในขณะเดียวกับท่ีพืชเจริญเติบโตข้ึน ย่อมมีส่วนของ ราก ลำ� ต้น และใบ ที่หลดุ รว่ งตายลง และเกดิ การทับถมกันอยู่ทง้ั บนผิวดิน และใตด้ นิ นอกจากนยี้ งั มมี ลู สตั ว์ และเศษซากสงิ่ มชี วี ติ อน่ื ๆ รวมอยดู่ ว้ ย เมอื่ วสั ดเุ หลา่ นเ้ี กดิ การเนา่ เปอ่ื ยโดยการยอ่ ยสลายของจลุ นิ ทรยี ท์ อ่ี าศยั อยูใ่ นดิน จนกลายเปน็ สารสดี ำ� ทีม่ เี นือ้ ละเอียดน่มุ เรยี กว่า ฮิวมสั และ ต่อมาเมื่อฮิวมัสได้ผสมคลุกเคล้าเข้ากับชิ้นส่วนของหิน แร่ ที่ผุพังเป็น ชิน้ เลก็ ชิน้ น้อยจนเข้ากนั เป็นเนอ้ื เดยี ว จึงกลายเปน็ สง่ิ ทเ่ี รยี กว่า “ดิน” สืบมาจนทุกวันน้ี เชื่อกันว่ากว่าท่ีจะเกิดเป็นดินข้ึนมาได้น้ันต้องใช้ระยะเวลา นานมาก โดยอาจตอ้ งใช้เวลาถึง 500 ปี ในการพฒั นาจนเกิดเปน็ ดนิ ท่มี ี ความหนาเพียง 1 น้วิ และอาจตอ้ งใช้ระยะเวลามากถึง 300-12,000 ปี เพอ่ื ทีจ่ ะเกิดดนิ ที่มีความลกึ มากพอส�ำหรบั ท�ำการเกษตรกรรมได้ 4 ความรู้เรื่องดินส�ำหรับเยาวชน

ดนิ ...คอื อะไร? ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ เราทุกคนรู้จักดิน แต่ถ้าจะให้ความหมายของค�ำว่าดินคืออะไร ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ คงจะตอบแตกต่างกันไป เพราะคนท่ัวไปมักจะมองดินตามการใช้ประโยชน์ ที่ตนเองเกี่ยวข้อง เช่น เกษตรกรจะมองดินในแง่ของความอุดมสมบูรณ์ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ ว่าสามารถปลูกพืชให้ผลผลิตได้ดีหรือไม่ ส่วนวิศวกรจะมองดินในรูปของ วัสดุท่ีใช้ในการสร้างถนนหนทาง เป็นต้น ดังนั้นค�ำจ�ำกัดความของดินจึงมี หลากหลาย นักวิทยาศาสตร์ทางดินได้ให้ความหมายไว้ว่า “ดิน” คือ วัสดุ ธรรมชาติที่เกิดข้ึนจากการผุพังสลายตัวของหินและแร่ ตลอดจนการสลายตัว ของซากพืชและสัตว์ ผสมคลุกเคล้ากัน โดยได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อม เช่น สภาพภูมิอากาศ สภาพพ้ืนท่ี และระยะเวลาในการพัฒนาท่ีแตกต่างกัน เกิดเป็นดินหลากหลายชนิด ปกคลุมพื้นผิวโลกอยู่เป็นช้ันบางๆ เป็นท่ียึดเหน่ียว และเจริญเติบโตของพืช รวมถึงเป็นแหล่งน้�ำและอาหารของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ท่อี าศยั อยู่ในดนิ และบนดิน ความรเู้ รอื่ งดินสำ� หรับเยาวชน 5

ดิน...ส�ำคัญอยา่ งไร “ดิน” มีความส�ำคัญต่อมนุษย์ และส่ิงมีชีวิตทุกชนิดบนโลก เพราะเป็น แหล่งทม่ี าของปจั จยั สำ� คัญของการดำ� รงชีพ ได้แก่ อาหาร เครื่องนงุ่ หม่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ยารักษาโรค และพลงั งาน ซ่ึงจะได้มาจากดนิ ท้งั ทางตรงและทางอ้อม “ดิน” มีความส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชและการเกษตรกรรม เนือ่ งจากพชื จะเจรญิ เติบโตออกดอกออกผลได้ ต้องอาศัยดนิ เป็นท่ีให้รากพชื ได้เกาะ ยดึ เหน่ยี ว เพ่อื ให้ล�ำต้นของพชื ยนื ต้นไดอ้ ยา่ งมัน่ คงแข็งแรง สามารถตา้ นทานต่อลม พายุ ไมโ่ คน่ ลม้ หรอื ถกู ถอนรากถอนโคนไดง้ า่ ย และยงั เปน็ แหลง่ ของธาตอุ าหารจำ� เปน็ ทพี่ ชื ตอ้ งใชใ้ นกระบวนการการผลติ ตา่ งๆ เพ่ือสรา้ งดอก ใบ และผล นอกจากนี้ดินยงั เปน็ ทกี่ กั เกบ็ นำ�้ หรอื ความชน้ื ทพ่ี ชื จะนำ� ไปใชห้ ลอ่ เลย้ี งลำ� ตน้ และเปน็ แหลง่ ใหอ้ ากาศ แก่พืชในการหายใจอีกด้วย ดินที่มีอากาศถ่ายเทดี รากพืชจะเจริญเติบโตแข็งแรง ดดู นำ้� และธาตุอาหารไดม้ าก ท�ำให้ต้นพชื เจริญเติบโตแขง็ แรงและใหผ้ ลิตผลสูง สแกนคิวอารโ์ ค้ดเพื่อรบั ชม คลปิ วดิ ีโอ “ความสำ� คัญของทรพั ยากรดิน” ระบบ 3 ภาษา ไทย-อังกฤษ-จนี 6 ความรเู้ ร่อื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

โอลยกู่มขาอกงนเร้อายมแี..ค.ด่ไหนิ น... ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ เราไดเ้ รียนร้วู า่ พืน้ ผิวของโลกทเี่ รายืนอยู่นี้ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ ประกอบด้วยส่วนท่ีเป็นพื้นน้�ำ 3 ส่วน และพ้ืนดิน 1 สว่ น ดงั นน้ั ถา้ เปรยี บโลกของเราเหมอื นแอปเปล้ิ 1 ผล ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ เมื่อเราแบ่งผลแอปเปิ้ลออกเป็น 4 ส่วน จะมีเพียง 1 สว่ นเทา่ นนั้ ทเ่ี ปน็ พน้ื ดนิ อกี 3 สว่ นทเ่ี หลอื เปน็ พน้ื ผวิ นำ�้ เช่น มหาสมทุ ร ทะเล ทะเลสาบ แมน่ ้�ำ ลำ� ธารต่างๆ ในแอปเปล้ิ 1 สว่ นทแ่ี ทนสว่ นของพน้ื ดนิ นนั้ พน้ื ทมี่ ากกวา่ ครง่ึ หนงึ่ เปน็ สว่ นของทะเลทราย ขวั้ โลก หรอื เปน็ เทอื กเขาทสี่ งู ชนั ซง่ึ มคี วามแหง้ แลง้ หนาวเยน็ หรือไมเ่ หมาะแก่การใชป้ ระโยชน์ ส�ำหรับส่วนของพื้นดินท่ีเหลืออยู่ 1 ส่วนน้ี เมอ่ื คดิ เปน็ 100 สว่ นของพน้ื ท่ี พบวา่ ดนิ ทใ่ี ชเ้ พาะปลกู ไดด้ มี เี พียงแค่ 60 สว่ นเท่านัน้ สว่ นท่ีเหลือเปน็ พนื้ ท่ีที่มี ขอ้ จำ� กดั ในการใชป้ ระโยชน์ เชน่ สภาพพน้ื ทไี่ มเ่ หมาะสม ดนิ ตนื้ หรอื เป็นดินทไี่ มอ่ ุดมสมบรู ณ์ ดังน้ันเม่ือปอกเฉพาะส่วนของเปลือก แอปเป้ลิ ซ่ึงเปรียบเสมือนพน้ื ผิวโลกทมี่ ดี นิ ปกคลุมอยู่ บางๆ นี้ออกมา จะเห็นว่าน่ีคือส่วนของพ้ืนดินที่เรา สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืชเพ่ือผลิต อาหารเลยี้ งชวี ติ ของคนทัง้ โลกได้ ความรูเ้ ร่ืองดินสำ� หรบั เยาวชน 7

ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ผิวโลกทั้งหมดแล้ว พื้นท่ีดินท่ีสามารถใช้ประโยชน์ได้นี้ มเี พยี งรอ้ ยละ 10 หรือ 10 สว่ นใน 100 ส่วน เท่านน้ั ย่ิงไปกว่าน้ัน ในปัจจุบันมีการใช้พื้นท่ีส่วนนี้ เพื่อประโยชน์อื่นๆ เช่น เป็นพื้นท่ี อยอู่ าศยั ทตี่ งั้ ของเมอื ง สวนสาธารณะ โรงงาน ฯลฯ ทำ� ใหพ้ นื้ ดนิ ทจ่ี ะใชเ้ พอื่ การเพาะปลกู จรงิ ๆ นน้ั ยงิ่ ลดน้อยลงไปอกี วันนี้ ถึงเวลาแลว้ ทเี่ ราควรจะต้องใช้ผนื ดินทีม่ ีอยู่ อยา่ งจำ� กดั นใ้ี หเ้ กดิ ประโยชนอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ และชว่ ยกนั บำ� รงุ รกั ษาไว้เพื่อใหใ้ ช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ยาวนาน 8 ความรเู้ รอื่ งดนิ ส�ำหรับเยาวชน

ส่วนประกอบของ...ดิน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ ดนิ ประกอบดว้ ยสว่ นทเ่ี ปน็ ของแขง็ ของเหลว ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ และแก๊ส ในปริมาณและสดั ส่วนท่ีแตกตา่ งกนั ไป ข้นึ อยู่ กบั อทิ ธพิ ลของปจั จยั สำ� คญั ตอ่ การเกดิ ดนิ 5 ปจั จยั ไดแ้ ก่ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ ภมู ิอากาศ วตั ถุต้นก�ำเนดิ ดนิ สภาพพนื้ ท่ี ส่งิ มีชวี ติ และ ระยะเวลาท่ีควบคมุ กระบวนการตา่ งๆ ท่ีเกดิ ขึ้นในดนิ 1. ส่วนท่ีเป็นของแข็ง ประกอบดว้ ย อนนิ ทรียวตั ถุ อินทรยี วัตถุ และสิ่งมชี วี ติ 1.1 อนินทรียวัตถุ เปน็ สว่ นทม่ี ปี รมิ าณมากทสี่ ดุ ในดนิ ทว่ั ไป (ยกเวน้ ดนิ อนิ ทรยี )์ ไดม้ าจากการผพุ งั สลายตัวของหินและแร่ มีขนาดแตกต่างกันไปท้ังที่มีขนาดเล็กกว่า 2 มิลลิเมตร ที่เป็นอนุภาค ขนาดทราย ทรายแป้งและดินเหนียว และชิ้นส่วนหยาบที่มีขนาด 2 มิลลิเมตร หรือใหญ่กว่า อนินทรียวัตถุเป็นส่วนท่ีส�ำคัญในการควบคุมลักษณะของเนื้อดิน เป็นแหล่งธาตุอาหารของพืช และของจุลินทรีย์ดิน ควบคมุ กระบวนการต่างๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ในดิน 1.2 อินทรียวัตถุ เป็นส่วนของซากพืชซากสัตว์ท่ีถูก ย่อยสลาย โดยจุลินทรีย์ดินจะมีบทบาทส�ำคัญในการ ย่อยสลาย เกิดเป็นสารประกอบอินทรีย์ต่างๆ ขึ้นมา มีความส�ำคัญต่อสมบัติทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และ ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช เช่น โครงสร้างดิน ความรว่ นซยุ การระบายน้�ำ การถา่ ยเทอากาศ การดูดซบั น้�ำและธาตุอาหารของดิน แต่ทั้งน้ีไม่รวมถึงรากพืช หรือ เศษซากพืช หรอื สัตวท์ ่ียงั ไม่มกี ารยอ่ ยสลาย ความรเู้ รอ่ื งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 9

1.3 ส่งิ มชี วี ติ จะหมายรวมถึงพืชและสัตว์ ทั้งขนาด เล็กและขนาดใหญ่ ท่ีมองเห็นและมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เช่น ไส้เดือน หนอน มด ปลวก รากพืช จุลินทรีย์ดิน สิ่งมีชีวิตต่างๆ เหล่าน้ีแทรกตัวอาศัยอยู่ตามช่องว่างในดิน มีบทบาทต่อการผุพงั สลายตวั ของหนิ และแร่ การย่อยสลาย อินทรียวัตถุ การเปลี่ยนแปลงสมบัติต่างๆ ของดิน การถ่ายเทอากาศ การเคล่ือนย้ายของสารต่างๆ ในดิน 2. สว่ นท่ีเป็นของเหลว หมายรวมถึง ส่วนที่เป็นน�้ำและสารละลายในดิน ซ่ึงจะอยู่ตาม ชอ่ งวา่ งในดนิ ปรมิ าณของของเหลวจะเปน็ สดั สว่ นกลบั กบั สว่ นทเี่ ปน็ แกส๊ นำ้� และ สารละลายทพ่ี บอยใู่ นชอ่ งวา่ งระหวา่ งอนภุ าคดนิ หรอื เมด็ ดนิ มคี วามสำ� คญั มากตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื โดยชว่ ยละลายธาตอุ าหารตา่ งๆ ในดนิ และเปน็ สว่ นสำ� คญั ในการเคล่อื นยา้ ยอาหารพืชจากดินไปสรู่ าก และจากรากไปสู่สว่ นต่างๆ ของพืช 3. สว่ นที่เป็นแกส๊ อนิ ท5ร%ยี วตั ถุ หมายถงึ สว่ นทเ่ี ปน็ อากาศซง่ึ ประกอบดว้ ย ไอนำ้� แกส๊ ตา่ งๆ แกส๊ อนินทรยี วตั ถุ ที่พบโดยท่ัวไปในดิน ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ 25% 45% ไฮโดรเจนซัลไฟดห์ รือแก๊สไขเ่ นา่ แก๊สมีเทน เป็นตน้ ซึง่ อาจเป็นประโยชน์ และเปน็ พิษตอ่ พืชและส่งิ มีชวี ติ ในดนิ นำ้� 25% น�้ำ น้ำ� ในดิน NPK คารบ์ อนไดออกไซด์ ออกซเิ จน 10 ความรู้เรอ่ื งดนิ ส�ำหรับเยาวชน ธาตอุ าหารพชื อากาศในดิน

กาปรสจั จร้ายั งทต่ีคัววขบอคงุมดิน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ มกี ารผสมคลุกเคล้า เริ่มมพี ชื พรรณ การผพุ งั สลายตวั ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ และเกดิ พัฒนาการ ธรรมชาตแิ ละมีการ ของหนิ -แร่ สะสมอินทรยี วัตถุ ของชั้นดนิ 1 2 3 เราทราบหรือไม่ว่า ท�ำไมบนพื้นผิวโลกจึง ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ มดี นิ เกดิ ขน้ึ มากมายหลายชนดิ ทง้ั คลา้ ยคลงึ และ แตกตา่ งกัน ความรู้เรือ่ งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 11

ภูมอิ ากาศ ระยะเวลา สิ่งมีชวี ิต วตั ถุ ต้นก�ำเนิดดนิ สภาพพ้นื ท่ี ดินมีลักษณะและสมบัติที่แตกต่างกันหรือคล้ายคลึงกัน เน่ืองมาจาก อิทธิพลของปัจจัย ก�ำเนิดดิน 5 อย่าง ได้แก่ ภูมิอากาศ วัตถุต้นก�ำเนิดดิน สภาพพื้นท่ี ส่ิงมีชีวิต และระยะเวลา ทคี่ วบคุมกระบวนการเพมิ่ เติม เปลยี่ นแปลง เคล่อื นย้าย และสญู เสยี ของสสารและพลังงานท่ีเกดิ ขึ้นในดิน การเกิดของดนิ ทกุ ชนิดจะอยู่ภายใต้การควบคุมของปัจจัยทัง้ 5 อย่างตลอดเวลา จะขาด ปัจจัยใดปจั จัยหนง่ึ ไมไ่ ด้ เพียงแต่อทิ ธิพลของปัจจยั ท้ัง 5 ในแตล่ ะชว่ งเวลาแตกตา่ งกนั บางชว่ งเวลา ปจั จยั หน่ึงอาจมบี ทบาทในการควบคุมลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ มากกว่าปัจจยั อ่นื ๆ เชน่ ดนิ ท่ีเพง่ิ เริ่มพัฒนา วัตถุต้นก�ำเนิดจะมีบทบาทส�ำคัญ ลักษณะและสมบัติของดิน จะมาจากวัตถุต้นก�ำเนิด ซง่ึ เราสามารถสงั เกตไดง้ า่ ย เมอ่ื เวลาผา่ นไป บทบาทของวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ จะนอ้ ยลง บางครงั้ ไมส่ ามารถ จำ� แนกชนดิ ของวัตถตุ น้ ก�ำเนิดดนิ ได้ 12 ความรู้เรอ่ื งดนิ สำ� หรับเยาวชน

1. ภูมอิ ากาศ (Climate) ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ ปัจจัยด้านภูมิอากาศที่มีผลต่อ น�ำ้ ค้าง การสร้างตัวของดินท่ีส�ำคัญคือ อุณหภูมิและ หยาดน�ำ้ ฟา้ เช่น ฝน น้�ำค้าง หมิ ะ ฯลฯ โดยเปน็ ฝน ตวั ควบคมุ การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าตา่ งๆ ทงั้ กายภาพ เคมี และชีวภาพ ซ่ึงมีผลต่ออัตราการผุพังสลายตัว ของวัสดุต่างๆ ทั้งหิน แร่ และเศษซากสิ่งมีชีวิต รวมทั้งยังมีอิทธิพลต่อกระบวนการเพิ่มเติม หมิ ะ เปล่ียนแปลง เคล่ือนย้าย และสูญเสียวัสดุ ท่เี กดิ ข้ึนในดนิ ด้วย โดยทวั่ ไปการผพุ งั สลายตวั ของวสั ดตุ า่ งๆ ในพน้ื ทเ่ี ขตรอ้ น เชน่ ประเทศไทย จะเกดิ ไดร้ วดเรว็ กวา่ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ ในเขตอบอนุ่ หรือเขตหนาว เนอ่ื งจากอณุ หภมู ทิ ่ีสงู และ ตะกอนทถ่ี ูกพัดพาโดยนำ้� ปริมาณความช้ืนท่ีมากกว่า ท�ำให้กระบวนการทางดิน ด�ำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดสภาวะท่ีมีการ สูญเสียธาตุอาหารออกจากดินอย่างต่อเน่ือง ดินท่ีพบ ในเขตร้อนส่วนใหญ่ จึงเป็นดินที่มีพัฒนาการสูงและ มักจะขาดความอดุ มสมบูรณ์ นอกจากนภ้ี มู อิ ากาศยังมี ผลต่อชนิดของส่ิงมีชีวิตและพืชพรรณ ซ่ึงเป็นปัจจัยที่ ควบคุมการสรา้ งตวั ของดินด้วย หนิ ปนู วัสดอุ ินทรยี ์ 2. วตั ถุต้นกำ� เนดิ ดิน (Parent material) ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ วัตถุต้นก�ำเนิดดิน หมายถึง วัตถุท่ีเม่ือเกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาแล้วคลุกเคล้า กับอินทรียวัตถุเกิดเป็นดิน อาจจะเกิดจากการสลายตัวผุพังโดยตรงจากหิน แร่ และซากส่ิงมีชีวิต บรเิ วณนน้ั ๆ หรอื ถกู เคลอื่ นยา้ ยมาจากทอ่ี นื่ โดยนำ�้ ลม หรอื ธารนำ�้ แขง็ หรอื การเคลอื่ นยา้ ยมาสะสม บริเวณเชิงเขาตามแรงโน้มถ่วง วัตถุต้นก�ำเนิดดินมีอิทธิพลต่อลักษณะและสมบัติต่างๆ ของดินท่ี เกิดขึน้ เชน่ เน้ือดิน สดี นิ ชนดิ และปริมาณธาตุอาหารในดิน สแกนควิ อาร์โคด้ เพื่อรับชม 13 คลิปวดิ โี อ “วตั ถตุ ้นกำ� เนดิ ดิน” ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จนี ความรเู้ รื่องดินสำ� หรบั เยาวชน

ดินท่เี กิดจากหินทมี่ แี รส่ จี าง ดนิ ท่เี กิดจากหนิ บะซอลต์หรือหนิ ปนู ตวั อยา่ งวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ ทผี่ พุ งั สลายตวั มาจากหนิ ทราย แรอ่ งคป์ ระกอบสว่ นใหญ่ เปน็ พวกแร่ท่ที นทานตอ่ การสลายตัว มสี ีจาง เช่น ควอตซ์ เมื่อพัฒนาจนกลายเปน็ ดิน จะให้ ดินเน้อื หยาบ เป็นทราย มสี จี าง มีธาตุอาหารพชื น้อย ความอดุ มสมบูรณต์ ำ�่ แต่ถา้ เป็นดิน ท่ีเกิดจากการสลายตัวของหินบะซอลต์หรือหินภูเขาไฟสีเข้ม หินปูนเมื่อพัฒนาเป็นดิน จะเป็นดินเนื้อละเอียด เหนียว หรือร่วนเหนียว อาจมีสีด�ำ น�้ำตาล เหลือง หรือแดง มคี วามอดุ มสมบูรณ์ต้ังแต่สูงจนถึงต่ำ� ขน้ึ อย่กู ับระยะเวลาในการพัฒนา 3. สภาพพื้นท่ี (Relief) ในทนี่ หี้ มายรวมถงึ ความสงู ตำ่� ความลาดชนั และทศิ ทางของความลาดชนั ซงึ่ มอี ทิ ธพิ ล ต่ออุณหภูมิและความชื้นในดิน ระดับน�้ำใต้ดิน การเจริญเติบโตของพืชพรรณ การผุพังสลายตัว ของหิน อัตราการไหลบ่าและการไหลซึมของน�้ำ การชะล้างพังทลายของดิน และการทับถมของ อนิ ทรยี วัตถุในดิน โดยทั่วไป ดินที่พบบริเวณท่ีมีความลาดชันมากๆ มักจะเป็นดินตื้น มีชั้นดินน้อย ช้ันดินบนบาง หรืออาจจะไม่มีชั้นดินบนเลย มีโอกาสเกิดการชะล้างสูญเสียชั้นหน้าดินได้มาก ตา่ งจากดินที่อยบู่ รเิ วณเชงิ เนินท่มี ักจะมดี นิ ชัน้ บนที่หนากวา่ และดนิ ลึกมากกวา่ 14 ความร้เู รอื่ งดินส�ำหรับเยาวชน

4. ส่ิงมีชวี ติ (Organism) ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ สิ่งมีชีวิตในที่น้ีหมายถึง พืชและสัตว์ท้ัง ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ ขนาดใหญ่ ขนาดเลก็ ทมี่ องเหน็ และมองไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปลา่ รวมถึงมนุษย์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ หลายประการ ซากพชื และสตั วเ์ ปน็ แหลง่ ของอนิ ทรยี วตั ถุ ในดิน โดยสงิ่ มีชีวติ ตา่ งๆ รวมทง้ั จุลินทรยี ด์ นิ ชว่ ยในการ ย่อยสลายทัง้ กระบวนการทางกายภาพ เคมี และชวี ภาพ ท�ำให้สมบัติของดินเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช เปน็ แหล่งเก็บสะสมอาหารตามธรรมชาตใิ นดิน 5. เวลา (Time) บทบาทของเวลาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเกดิ ดนิ มที งั้ ระยะ เวลาทแี่ ท้จริงทด่ี นิ เริม่ พัฒนาจากวัตถตุ ้นกำ� เนิดดินซงึ่ เป็นอายุจริง ของดิน และระยะเวลาสมั พัทธ์ ซ่ึงหมายถึงระดับการพฒั นาของดนิ ดินท่ีผ่านกระบวนการเกิดดินท่ีรุนแรงกว่าจะถือว่ามีอายุมากกว่า เปรยี บเหมอื นคนอายนุ อ้ ย แตผ่ า่ นการเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองมาก ถือว่ามีประสบการณ์มากกว่าคนที่แม้จะอายุมาก แต่เรียนรู้และ ปฏบิ ตั มิ านอ้ ย เราสามารถใชล้ กั ษณะและสมบตั บิ างประการในการ เปรียบเทียบอายุของดินได้ เช่น ความลึกของดิน ความหนาของ ช้ันดิน สีของดิน เป็นต้น ดินลึกมีระยะเวลาการพัฒนามากกว่า ดินต้ืน หรือดินสีแดงผ่านกระบวนการเปล่ียนแปลงมานานกว่า ดนิ สดี ำ� หรือสีน้�ำตาล ถือเปน็ ดินที่มอี ายุมาก อทิ ธพิ ลของเวลาจะมี ความส�ำคัญนอ้ ย เมือ่ ดนิ มีพัฒนาการถงึ ขน้ั อายุมากแล้ว ความร้เู รื่องดนิ ส�ำหรบั เยาวชน 15

ลักษณะและสมบตั ิของ...ดนิ จากการทด่ี นิ เกดิ มาจากอทิ ธพิ ลของปจั จยั กำ� เนดิ ดนิ 5 ปจั จยั คอื ภมู อิ ากาศ วตั ถุตน้ กำ� เนดิ ดนิ สภาพพื้นที่ สิ่งมีชีวิต และระยะเวลา ทคี่ วบคมุ กระบวนการต่างๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในดนิ มีความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั โดย แตกตา่ งไปตามสภาพแวดลอ้ มและชว่ งเวลา จงึ ทำ� ใหด้ นิ ทเี่ ราพบมคี วาม แตกตา่ งหลากหลายชนดิ แตล่ ะชนดิ มีลักษณะ สมบัติและองคป์ ระกอบ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป บางแหง่ ตน้ื บางแหง่ ลกึ บางแหง่ เปน็ ทราย บางแหง่ เหนยี ว หากเรา มองดินในแนวลกึ ลงไป จะพบความแตกตา่ งมากกว่าทีส่ งั เกตจากผวิ ดินเสยี อีก หากศกึ ษาดนิ อยา่ งละเอยี ด เราอาจแบง่ ลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ ออกได้ เป็น 6 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ลกั ษณะสณั ฐานวทิ ยาของดนิ เป็นลักษณะและสมบัติทางกายภาพ ในส่วนที่เก่ียวกับโครงสร้างหรือ รปู ทรงของดิน ที่เราสามารถสังเกตได้จากหนา้ ตัดของดนิ ซึง่ เป็นหลุมดนิ ขนาดกว้าง ประมาณ 1.5 เมตร ลึก 2 เมตร และยาว 2.5 เมตร ซึง่ จะเปน็ ขนาดทนี่ กั สำ� รวจดนิ 1 หรอื 2 คน จะลงไปปฏบิ ตั งิ านในหลมุ ไดส้ ะดวกหรอื จากหนา้ ตดั ถนน บอ่ ขดุ จะสงั เกต เห็นว่าดินแต่ละดินตามแนวความลึก สามารถแบ่งออกเป็นช้ันต่างๆ ได้หลายช้ัน มากน้อยแตกต่างกันไป บางดินเห็นได้ชัดเจน บางดินเห็นเลือนลาง แนวแบ่งช้ันดิน บางแหง่ ขนานกบั ผิวดนิ บางแหง่ เป็นลกู คล่นื บางแหง่ ไมต่ อ่ เนือ่ ง สมบตั ิทางสณั ฐาน ทสี่ ำ� คญั ไดแ้ ก่ ความลกึ ความหนาของชน้ั ดนิ สพี นื้ และสจี ดุ ประของดนิ โครงสรา้ งของดนิ การเกาะยึดตัวของเม็ดดนิ ชอ่ งวา่ งในดิน กรวด หนิ ลกู รัง ปริมาณรากพชื เปน็ ต้น ในหนา้ ตัดของดนิ หนึ่งๆ นั้น ประกอบด้วยช้นั ต่างๆ มากมาย โดยท่ชี นั้ เหลา่ นีอ้ าจเป็น ช้ันท่ีเกิดจากกระบวนการทางดินหรือไม่เก่ียวข้องกับกระบวนการเกิดดิน นักวิทยาศาสตร์ทางดิน ไดก้ �ำหนดช้ันดินหลักๆ ไว้ 5 ช้ัน ด้วยกัน คือ ชัน้ โอ (O) ชน้ั เอ (A) ชนั้ อี (E) ชั้นบี (B) ชน้ั ซี (C) และช้นั อาร์ (R) ซ่ึงเปน็ ช้นั หนิ พนื้ ทีอ่ าจจะมคี วามเก่ียวข้องกับชั้นดินหลักตอนบนหรือไมก่ ็ได้ 16 ความรูเ้ รอ่ื งดินสำ� หรบั เยาวชน

ชน้ั โอ (O) เปน็ ชนั้ ดนิ ทมี่ อี งคป์ ระกอบสว่ นใหญเ่ ปน็ อนิ ทรยี วตั ถุ เชน่ ใบไม้ กง่ิ ไม้ มอส ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ ไลเคน เปน็ ตน้ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ ชนั้ เอ (A) เปน็ ชนั้ ทป่ี ระกอบดว้ ยอนิ ทรยี วตั ถทุ สี่ ลายตวั ผสมกบั แรธ่ าตใุ นดนิ โดยปกติ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ จะมีสคี ล�ำ้ ชั้นอี (E) หรือเรียกว่า ช้ันชะล้าง เป็นชั้นดินท่ีเกิดการสูญเสีย มักจะมีสีจาง และมีเน้ือดินหยาบกว่า ชั้นดนิ ใกลเ้ คยี ง ชั้นบี (B) เป็นช้ันที่เกิด การเปล่ียนแปลง หรือมีการสะสม เช่น มีการสะสมดินเหนียว เหล็ก หรือฮิวมัส เปน็ ตน้ ชั้นซี (C) คือช้ันวัตถุ ตน้ กำ� เนิดดนิ อาจเกดิ จากการผพุ ังสลาย ตัวอยู่กับที่ของหินแร่ หรือเป็นช้ันของ ตะกอนที่ถูกพัดพามาสะสม โดยน�้ำ ลม ฯลฯ ช้นั อาร์ (R) เป็นชนั้ ของหนิ แข็งท่ยี ังไม่มกี ารผพุ งั สลายตวั เช่น หินแกรนิต หินทราย หนิ ปูน เปน็ ตน้ เราอาจแบง่ ชน้ั ดนิ ทพี่ บในหนา้ ตดั ดนิ อยา่ งงา่ ยๆ ไดเ้ ปน็ 2 ชน้ั คอื ชนั้ ดนิ บนและชน้ั ดนิ ลา่ ง ชนั้ ดนิ บน โดยทว่ั ไปมคี วามหนาประมาณ 15-30 เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ มกั จะมสี คี ลำ้� หรือด�ำกว่าช้ันอ่ืนๆ เพราะเป็นช้ันดินท่ีมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงกว่า รากพืชส่วนใหญ่จะชอนไช หาอาหารอยใู่ นชว่ งช้ันน้ี ชน้ั ดินล่าง เปน็ ช้นั ท่ีมปี รมิ าณอนิ ทรียวตั ถุนอ้ ยกวา่ รากพชื ชอนไชลงมาถงึ ชนั้ นส้ี ว่ น ใหญจ่ ะเป็นรากของไม้ยืนตน้ ท่ีมีขนาดใหญ่ ทงั้ นี้เพื่อยดึ เกาะดินไว้ใหพ้ ชื ทรงตวั อยูไ่ ด้ ไมโ่ คน่ ลม้ ลงได้ งา่ ยเม่ือมีลมพดั แรง โดยปกติดินชนั้ ล่างจะแน่นทึบกว่าดินชนั้ บน ความรเู้ รอ่ื งดินสำ� หรับเยาวชน 17

2. สมบตั ิทางกายภาพ เป็นลักษณะท่ีเกี่ยวข้องกับสถานะและ การเคลอ่ื นยา้ ยของสสาร การไหลของนำ้� สารละลาย และของเหลว หรือการเปลี่ยนแปลงของพลังงาน ในดิน เช่น เน้อื ดนิ ความหนาแน่นของดิน ความชน้ื การซมึ น้�ำของดนิ การยืดหดตวั ความพรนุ ของดิน 3. สมบัติทางเคมี เปน็ สมบตั ทิ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การดดู ยดึ และ แลกเปล่ียนแร่ธาตุต่างๆ ระหว่างดินกับสภาพ แวดลอ้ ม เก่ียวขอ้ งกบั ปฏกิ ริ ยิ าตา่ งๆ ทางเคมขี องดิน เช่น ปฏิกิริยาดินหรือค่าพีเอช การแลกเปล่ียน แคตไอออน การอิ่มตัวเบส ธาตุอาหารพืชต่างๆ รวมถึงธาตทุ ี่เปน็ พษิ 4. สมบัติทางแร่ แรไ่ มกา เป็นสมบัติท่ีเกี่ยวข้องกับชนิด ปริมาณและองคป์ ระกอบของแร่ตา่ งๆ ในดนิ ทั้งแร่ดั้งเดิมและแร่ท่ีเกิดข้ึนใหม่ เช่น แร่ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ ไมกา แร่ดินเหนียว ชนิดต่างๆ ออกไซด์ของเหล็กและอะลูมินัม ซ่ึงมีความส�ำคัญต่อสมบัติอ่ืนๆ และ กระบวนการตา่ งๆ ทีเ่ กิดข้ึนในดนิ แร่เฟลด์สปาร์ 18 ความรู้เรอ่ื งดินส�ำหรบั เยาวชน

5. สมบตั ิทางจลุ สณั ฐาน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ เป็นสมบัติทางโครงสร้างและองค์ประกอบของดินที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า จำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื ชว่ ย ไดแ้ ก่ แวน่ ขยาย กลอ้ งจลุ ทรรศน์ จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจถงึ ลกั ษณะ สมบตั ิ และ กระบวนการที่เกดิ ในดินดขี ้นึ การศกึ ษาทางจุลสัณฐานวทิ ยาของดิน  ทำ� ให้ดินแขง็ คงรูป น�ำมาส่องผ่าน ผลการศกึ ษา ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ และตัดเป็นแผ่นบาง กล้องจุลทรรศน์ดหู นิ -แร่ (1) การสะสมสารประกอบเหล็ก (2) ช่องว่างในดนิ 6. สมบัตทิ างชวี ภาพ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ เป็นสมบัติที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตในดินขนาด ต่างๆ ไดแ้ ก่ พชื สัตว์ และจลุ ินทรยี ด์ นิ เกยี่ วข้องกับปริมาณ และกจิ กรรมของสงิ่ มชี วี ติ ตา่ งๆ ตอ่ กระบวนการทเี่ กดิ ขนึ้ ในดนิ ท้งั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์และเปน็ โทษ ความรูเ้ รอ่ื งดินส�ำหรบั เยาวชน 19

ลทักีส่ษ�ำณคะญั แขลอะสงมดินบตั ิ แม้ว่าดินจะมีลักษณะและสมบัติมากมายหลายอย่าง แต่ลักษณะและสมบัติท่ีส�ำคัญ ที่คนส่วนใหญ่ควรรู้และท�ำความเข้าใจ โดยเฉพาะสมบัติที่เก่ียวข้องกับการเพาะปลูกพืชและ การจดั การดิน ไม่ตอ้ งอาศัยเครือ่ งมือทางวทิ ยาศาสตร์ทย่ี ุง่ ยากในการตรวจสอบ ได้แก่ 1. ความลึกของดิน ในทางการเกษตร ได้แบง่ ความลกึ ของดินออกเปน็ 5 ชั้น โดยยดึ เอาความลกึ ท่ีวดั จากผวิ ดินถึงชนั้ ที่ขัดขวางการเจริญเตบิ โตหรือการชอนไชของรากพืช ซ่งึ ชนั้ ท่ขี ัดขวางการเจรญิ ของ รากพชื ไดแ้ ก่ ช้นั หินพื้น ชน้ั ดาน ชัน้ ศิลาแลง ชน้ั กรวด หนิ หรือลกู รงั ท่หี นาแน่นมากๆ 1) พบช้นั ขดั ขวางภายในความลกึ 25 เซนตเิ มตร จากผวิ ดิน เป็น ดนิ ต้นื มาก 2) พบชั้นขัดขวางระหวา่ งความลึก 25-50 เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ เป็น ดินต้ืน 3) พบชัน้ ขดั ขวางระหว่างความลกึ 50-100 เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ เป็น ดินลกึ ปานกลาง 4) พบช้นั ขัดขวางระหวา่ งความลกึ 100-150 เซนตเิ มตร จากผิวดนิ เปน็ ดินลกึ 5) พบชน้ั ขดั ขวางลกึ กว่า 150 เซนตเิ มตร จากผิวดนิ เปน็ ดินลึกมาก ความลกึ ความตนื้ ของดนิ มผี ลตอ่ การเลอื กชนดิ ของพชื ทป่ี ลกู การยดึ เกาะของรากและ ทรงตัวของต้นพืช อณุ หภูมิดิน ปรมิ าณความชืน้ และธาตอุ าหารในดนิ 20 ความรเู้ รือ่ งดนิ ส�ำหรับเยาวชน

2. สีของดนิ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ สีของดินเป็นสมบัติของดิน ท่ีสามารถมองเห็นได้ชัดเจนกว่าสมบัติอื่นๆ ดินแต่ละ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ บริเวณจะมีสีทแี่ ตกต่างกันไป เช่น สดี ำ� สนี �้ำตาล สเี หลอื ง สแี ดง หรือสีเทา รวมถึงจุดประสตี ่างๆ ข้ึนอยู่กับชนิดของแร่ท่ีเป็นองค์ประกอบในดิน สภาพแวดล้อมในการเกิดดิน ระยะเวลาการพัฒนา ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ หรอื วสั ดอุ ่ืนๆ ทมี่ อี ยู่ในดิน ดงั นัน้ จากสีของดนิ เราสามารถทจ่ี ะประเมนิ สมบัติบางอย่างของดินที่เกยี่ วขอ้ งได้ เช่น การระบายน�้ำของดิน อนิ ทรยี วัตถุในดิน ระดับความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ ดินสีด�ำ สนี ำ้� ตาลเขม้ หรือสคี ล้ำ� ส่วนใหญ่มักจะเปน็ ดนิ ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์สูง เนอ่ื งจากมกี ารคลกุ เคลา้ ดว้ ยอนิ ทรยี วตั ถมุ าก แตบ่ างกรณี สีคล้�ำของดิน อาจจะเป็นผลมาจากอิทธิพลของปัจจัยท่ี ควบคุมการเกิดดินอื่นๆ นอกเหนือไปจากการมีปริมาณ อินทรียวัตถุในดินมากก็ได้ เช่น ดินที่พัฒนามาจาก วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ ทผ่ี พุ งั สลายตวั มาจากหนิ แรพ่ วกทม่ี สี เี ขม้ เช่น หินภูเขาไฟ และมีระยะเวลาการพัฒนาไม่นาน หรือดินทีม่ แี ร่แมงกานสี สูง จะให้ดินมีสีคล�้ำได้เชน่ กนั ดินสเี หลอื งหรือแดง สีเหลืองหรือแดงของดิน ส่วนใหญ่จะเป็น สีออกไซด์ของเหล็กและอะลูมินัม แสดงถึงการท่ีดิน มีพัฒนาการสูง ผ่านกระบวนการผุพังสลายตัวและ ชะล้างมานาน เปน็ ดนิ ทีม่ กี ารระบายน้ำ� ดี แต่มกั จะมี ความอุดมสมบูรณ์ต�่ำ ดินสีเหลืองแสดงว่าดิน มอี อกไซดข์ องเหล็กทมี่ นี ้ำ� เปน็ องค์ประกอบ สว่ นดนิ สีแดงจะเป็นดินที่ออกไซด์ของเหล็กหรืออะลูมินัม ไม่มนี �้ำเป็นองค์ประกอบ ความรูเ้ รอ่ื งดินสำ� หรบั เยาวชน 21

ดินสขี าวหรือสเี ทาอ่อน การทด่ี นิ มสี อี อ่ น อาจจะแสดงวา่ เปน็ ดนิ ทเี่ กดิ มาจาก วัตถุต้นก�ำเนิดดินพวกท่ีสลายตัวมาจากหินที่มีแร่สีจางเป็น องค์ประกอบอย่มู าก เชน่ หินแกรนิต หรือหนิ ทรายบางชนิด หรืออาจจะเป็นดินที่ผ่านกระบวนการชะล้างอย่างรุนแรงจน ธาตุอาหารที่มีประโยชนต์ ่อพืชถูกซมึ ชะออกไปจนหมด หรือมี สีอ่อนเน่ืองจากมีการสะสมปูน ยิปซัม หรือเกลือชนิดต่างๆ ในหนา้ ตัดดนิ มากก็ได้ ซ่งึ ดนิ เหลา่ น้ีสว่ นใหญ่มักจะเป็นดินท่มี ี ความอุดมสมบรู ณต์ �่ำ ดินสีเทาหรอื สนี ำ้� เงิน การทดี่ นิ มสี เี ทา เทาปนนำ้� เงนิ หรอื นำ้� เงนิ บ่งช้ีว่าดินอยู่ในสภาวะท่ีมีน้�ำแช่ขังเป็นเวลานาน เช่น ดนิ นาในพนื้ ทีล่ มุ่ หรอื ดนิ ในพ้ืนทป่ี า่ ชายเลนที่ มีน้�ำทะเลทว่ มถงึ อยู่เสมอ ซึง่ มสี ภาพการระบายนำ�้ และการถ่ายเทอากาศไม่ดี ท�ำให้เกิดสารประกอบ ของเหลก็ พวกที่มสี เี ทาหรือสีนำ้� เงิน แต่ถ้าดินอย่ใู น สภาวะท่ีมีน�้ำแช่ขังสลับกับแห้ง ดินจะมีสีจุดประ โดยทั่วไปมักปรากฏเป็นจุดประสีเหลืองหรือสีแดง บนพื้นสีเทา ซง่ึ เป็นผลมาจากการเปล่ียนแปลงของ สารประกอบออกไซด์ของเหล็กท่ีสะสมอยู่ในดิน โดยสารเหล่านี้จะท�ำให้ดินเป็นสีเทาเมื่ออยู่ใน สภาวะที่มีน้�ำแช่ขังเป็นเวลานานๆ (สภาพขาด ออกซเิ จน) และเปลี่ยนรูปเป็นสารทใ่ี หส้ แี ดงเม่ืออยู่ ในสภาวะดินแห้ง (มีออกซเิ จนมาก) 22 ความรู้เรอื่ งดินส�ำหรับเยาวชน

3. เนื้อดิน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ เนอ้ื ดนิ เป็นสมบัตทิ บ่ี อกถงึ ความหยาบหรือละเอยี ดของดิน มผี ลตอ่ การดดู ซบั น้ำ� การดูดยึดธาตุอาหาร และปฏิกิริยาต่างๆ ที่เกิดข้ึนในดิน เน้ือดินเป็นผลมาจากการรวมตัวกันของ ช้ินสว่ นเล็กๆ ทเ่ี ราเรยี กกันว่า “อนภุ าคของดนิ ” อนุภาคเหล่านมี้ ีขนาดไมเ่ ทา่ กนั แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม คอื ขนาดใหญ่ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ เรียกว่า อนภุ าคขนาดทราย ขนาดกลาง (เส้นผา่ ศนู ย์กลาง 2.0-0.05 มิลลเิ มตร) เรียกวา่ อนุภาคขนาดทรายแป้ง (เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 0.05-0.002 มลิ ลเิ มตร) ขนาดเล็ก ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ เรียกว่า อนุภาคขนาดดนิ เหนยี ว (เสน้ ผ่าศูนย์กลาง เลก็ กว่า 0.002 มิลลเิ มตร) ความรเู้ รือ่ งดนิ สำ� หรบั เยาวชน 23

เราสามารถแบง่ เนอื้ ดินเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 3 กลุ่ม คอื กลมุ่ ดนิ ทราย กลุ่มดนิ ร่วน และ กลุ่มดนิ เหนยี ว กลมุ่ ดนิ ทราย หมายถงึ กลมุ่ เนอื้ ดนิ ทมี่ อี นภุ าคขนาดทรายเปน็ องคป์ ระกอบอยู่ มากกว่าร้อยละ 70 โดยอนภุ าคจะเกาะตัวกนั หลวมๆ และมองเหน็ เป็นเมด็ เด่ยี วๆ ได้ ความรู้สึกเม่อื สมั ผัสดนิ ทีแ่ ห้งจะรสู้ กึ สากมอื แต่เม่อื ลองกำ� ดินทแ่ี หง้ นไ้ี ว้ในองุ้ มอื แล้วคลายมือออกดนิ จะแตกออก จากกันได้ง่าย ถ้าก�ำดินท่ีอยู่ในสภาพชื้นจะสามารถท�ำให้เป็นก้อนหลวมๆ ได้ แต่พอสัมผัสจะแตก ออกจากกันทันที ปกตดิ ินทรายเปน็ ดนิ ทีม่ ีการระบายน้�ำและอากาศดมี าก แตม่ ีความสามารถในการ อมุ้ นำ�้ ตำ่� นำ้� ซมึ ผา่ นไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� เพราะความสามารถในการดดู ยดึ ธาตอุ าหาร พชื นอ้ ย พชื ทีข่ น้ึ บนดินทรายจงึ มกั ขาดทั้งธาตอุ าหารและน้ำ� เนือ้ ดินทีอ่ ยู่ในกลุ่มนี้ ไดแ้ ก่ ดินทราย และดนิ ทรายปนดินรว่ น กลุ่มดินร่วน โดยท่ัวไปจะประกอบด้วยอนุภาคขนาดทราย ทรายแป้ง และ ดินเหนียวในปริมาณใกล้เคียงกัน เป็นดินท่ีมีเน้ือดินค่อนข้างละเอียดนุ่มมือ ในสภาพดินแห้งจะ จับกันเป็นก้อนแข็งพอประมาณ ในสภาพดินช้ืนดินจะยืดหยุ่นได้บ้าง เมื่อสัมผัสหรือคลึงดินจะรู้สึก นุ่มมือ แต่อาจจะรู้สึกสากมืออยู่บ้างเล็กน้อย แต่เมื่อก�ำดินให้แน่นในฝ่ามือแล้วคลายมือออก ดินจะจับกันเป็นก้อนไม่แตกออกจากกัน ดินร่วนเป็นดินท่ีมีความเหมาะสมส�ำหรับการเพาะปลูก เพราะไถพรวนง่าย มกี ารระบายนำ้� และถ่ายเทอากาศดี และมกั จะมีความอดุ มสมบรู ณด์ ี เนอื้ ดนิ ทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ นี้ ไดแ้ ก่ ดนิ รว่ น ดนิ รว่ นปนทราย ดนิ ร่วนปนทรายแป้ง ดินรว่ นปนดินเหนยี ว ดนิ รว่ น เหนียวปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งและ ดินทรายแป้ง 24 ความรู้เร่อื งดินสำ� หรบั เยาวชน

กลุ่มดินเหนียว กลุ่มเน้ือดินที่ประกอบ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ ด้วยอนุภาคขนาดดินเหนียวตั้งแต่ร้อยละ 35 ขึ้นไป เป็นดิน ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ ท่ีมีเนื้อละเอียด ในสภาพดินแห้งจะเกาะตัวกันเป็นก้อนแข็ง เม่ือเปียกน�้ำแล้วจะมีความยืดหยุ่น สามารถปั้นเป็นก้อนหรือ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ คลงึ เปน็ เสน้ ยาวได้ ลกั ษณะเหนยี วตดิ มอื มที ง้ั ทรี่ ะบายนำ้� และ อากาศดีและไม่ดี สามารถอุ้มน�้ำ ดูดซับและแลกเปล่ียน ธาตุอาหารพืชได้ดี บริเวณพ้ืนท่ีลุ่มต่�ำบางพ้ืนที่ ที่เป็น ดนิ เหนยี วจดั จะไถพรวนลำ� บาก เพราะเมอื่ ดนิ แหง้ จะแขง็ มาก แตเ่ มอื่ เปยี กดินจะเหนียวติดเครื่องมอื ไถพรวน เน้ือดินที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ดินเหนียว ดินเหนยี วปนทรายและดินเหนียวปนทรายแป้ง 4. โครงสร้างของดิน โครงสร้างของดิน เป็นสมบัติทางกายภาพ ของดนิ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการเกาะจบั กนั ของอนภุ าคทเ่ี ปน็ ของแขง็ ในดิน (ส่วนที่เป็นแร่ธาตุหรืออนินทรียวัตถุและอินทรียวัตถุ) เกิดเป็นเม็ดดินหรือเป็นก้อนดินท่ีมีขนาด รูปรา่ ง และความ คงทนแข็งแรงในการยดึ ตัวต่างๆ กัน เชน่ แบบก้อนกลม แบบก้อนเหลี่ยม แบบแท่ง และแบบแผ่น บางโครงสร้างของดนิ มีความส�ำคญั ตอ่ การซึมผา่ นของน�ำ้ การอุ้มนำ�้ การระบายน้ำ� และการถ่ายเท อากาศในดนิ รวมถงึ การชอนไชของรากพชื ด้วย ดินทม่ี ีโครงสร้างดี มกั จะมีลกั ษณะรว่ นซุย อนภุ าค เกาะกนั หลวมๆ มีปรมิ าณชอ่ งวา่ งและความต่อเนอ่ื งของช่องว่างในดินดี ท�ำใหม้ กี ารระบายน�ำ้ และ ถ่ายเทอากาศได้ดี รากพืชสามารถชอนไชไปหาอาหารได้ง่าย โครงสร้างดินที่แข็งแรง จะถกู ท�ำลายได้ยาก ท�ำใหด้ นิ ถูกชะลา้ งพังทลายได้ยากเช่นกนั อย่างไรก็ตามดินในธรรมชาติไม่จ�ำเป็นต้องมีโครงสร้างเสมอไป ดินหลายชนิดได้ ช่ือวา่ เป็นดินไมม่ ีโครงสร้าง เช่น ดนิ ทรายทม่ี อี นภุ าคขนาดทรายเด่ยี วๆ ไม่เกาะยดึ กนั และดนิ เหนยี วจดั ทีอ่ นุภาคดนิ เหนยี วขนาดเลก็ จบั ตวั กันแน่นทึบ ความรู้เร่อื งดินส�ำหรบั เยาวชน 25

โครงสร้างของดนิ มีไดห้ ลายลักษณะ แบง่ เปน็ 4 ประเภท คือ 1. แบบก้อนกลม (Granular structure) มรี ูปรา่ งคลา้ ยทรงกลม เมด็ ดนิ มขี นาด เล็กประมาณ 1-10 มลิ ลิเมตร มกั พบในดินช้ันบนท่ี คลุกเคล้าด้วยอินทรียวัตถุ โครงสร้างประเภทนี้ จะเกดิ ชอ่ งวา่ งขนาดใหญข่ นึ้ ระหวา่ งเมด็ ดนิ ทำ� ใหด้ นิ มคี วามพรนุ มาก การระบายนำ�้ และอากาศดี 2. แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky structure) มีรปู รา่ งคล้ายกล่อง เม็ดดินมขี นาด ประมาณ 1-5 เซนติเมตร มักพบในดินชั้นล่าง โครงสร้างประเภทน้ีจะมีสภาพท่ีน้�ำและอากาศ ซึมได้ในเกณฑป์ านกลาง 3. แบบแผ่น (Platy 4. แบบแทง่ (Prism-like structure) structure) ก้อนดินมีรูปร่างแบนวางตัว ก้อนดินมีรูปร่างเป็นแท่ง มักพบในช้ันดินล่างของดิน ในแนวราบ และซอ้ นเหลอื่ มกนั เปน็ ชนั้ มกั พบในดินช้ันบนที่ถูกบีบอัดจากการบดไถ บางชนิด โดยเฉพาะดินเค็มที่มีการสะสมโซเดียมสูง ของเครื่องจักรกล โครงสรา้ งดนิ ลกั ษณะนี้ จะขดั ขวางการไหลซึมของน�ำ้ การระบาย หน่วยโครงสร้างแบบนี้มักมีขนาดใหญ่ คือมีความยาว อากาศและการชอนไชของรากพชื 10-100 เซนติเมตร เรียงตัวกันในแนวตั้ง ถา้ ส่วนบน ของปลายแทง่ มรี ปู รา่ งแบนราบจะเรียกวา่ โครงสร้าง แบบแทง่ หัวเหลีย่ ม (prismatic) แต่ถ้าสว่ นบนของ ปลายแทง่ มีลักษณะโค้งมนจะเรยี กวา่ โครงสรา้ งแบบ แทง่ หวั มน (columnar) ดนิ ท่มี โี ครงสรา้ งลักษณะนี้ มกั จะมสี ภาพให้นำ้� ซึมไดน้ อ้ ยถึงปานกลาง 26 ความรเู้ รอื่ งดินส�ำหรบั เยาวชน

โครงสร้างรูปแบบต่างๆ ของดินมักจะพบอยู่ในดินชั้นล่างเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้น ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ โครงสรา้ งทเ่ี ปน็ แบบกอ้ นกลมทพ่ี บวา่ มอี ยใู่ นดนิ ชนั้ บน ดนิ นนั้ จะมลี กั ษณะโปรง่ ซยุ ทำ� ใหก้ ารไถพรวน ดินง่าย การถ่ายเทอากาศดี ดินอุ้มน้�ำได้ดี โครงสร้างแบบนี้จะพบได้ทั่วไปในดินที่เปิดป่าใหม่ๆ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ หน้าดินมีอินทรียวัตถุสูง เม่ือปลูกพืชจะเจริญเติบโตงอกงามดีมาก แต่โครงสร้างดินเป็นสมบัติ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ ท่ีเปล่ียนแปลงได้ในดินที่มีการใช้ปลูกพืช มานาน โครงสร้างดินย่อมเส่ือมสลายไป เน่ืองจากปริมาณอินทรียวัตถุในดินที่ลดลง หรอื เกดิ ความแนน่ ทบึ เนอ่ื งจากมกี ารไถพรวน และกดทับบ่อยๆ ด้วยเคร่ืองจักรขนาดใหญ่ ซึ่งมีน�้ำหนักมากโดยไม่มีการอนุรักษ์และ ปรับปรุงบ�ำรุงดินอย่างถูกต้อง รวมท้ัง การเสียดสีกับเครื่องมือเกษตรกรรมและ การปะทะของเมด็ ฝนที่ตกลงมาบนดนิ ดว้ ย เราสามารถปรับปรุงดินที่ไม่มีโครงสร้าง หรือดินที่มีโครงสร้างเปลี่ยนไปจากเดิม ให้กลับมามีโครงสร้างท่ีดีขึ้นได้โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุอย่างต่อเน่ืองและสม่�ำเสมอ ด้วยการใส่ ปุ๋ยอินทรีย์ให้กับดินทุกครั้งท่ีมีการไถพรวน หรือปลูกพืช ปุ๋ยสดแล้วไถกลบก่อนการปลูกพืชหลัก เพื่อส่งเสริม การจับตัวกันเป็นเม็ดของดิน หรือการช่วยป้องกันการ สลายตัวของเม็ดดินที่มีอยู่แล้วด้วยการปลูกพืชคลุมดิน เพอ่ื ปอ้ งกนั การทำ� ลายเมด็ ดนิ จากแรงปะทะของฝน ทำ� การ ไถพรวนดนิ อยา่ งถกู วธิ ี และไมไ่ ถพรวนทร่ี ะดบั ความลกึ เดมิ ทุกปี เพ่ือป้องกันการอัดตัวแน่นและเกิดเป็นชั้นดาน หลีกเลี่ยงการไถพรวนที่มากเกินความจ�ำเป็น เพ่ือลด การทำ� ลายโครงสรา้ งของดินโดยตรงด้วย สแกนคิวอาร์โคด้ เพ่ือรับชม คลปิ วิดโี อ “ลักษณะและสมบตั บิ างประการของดิน” ระบบ 3 ภาษา ไทย-องั กฤษ-จนี ความรู้เรอ่ื งดินส�ำหรบั เยาวชน 27

5. ความเป็นกรดเปน็ ด่างของดิน ความเปน็ กรดเป็นด่างของดนิ หรอื ทเ่ี รียกกันวา่ “พเี อช (pH)” เป็นคา่ ปฏกิ ริ ยิ าดิน วัดได้จากความเข้มข้นของปริมาณไฮโดรเจนไอออน (H+) ในดิน โดยทั่วไปค่าพีเอชของดินจะบอก เป็นค่าตัวเลขตง้ั แต่ 1 ถึง 14 ถา้ ดินมคี ่าพเี อชนอ้ ยกว่า 7 แสดงวา่ ดินน้นั เปน็ ดนิ กรด ยิง่ มีคา่ นอ้ ยกว่า 7 มาก จะเป็นกรดมาก แต่ถ้าดินมีพีเอชมากกว่า 7 จะเป็นดินด่าง ส�ำหรับดินท่ีมีพีเอชเท่ากับ 7 พอดีแสดงวา่ ดินเปน็ กลาง แต่โดยปกติแลว้ พีเอชของดนิ ทั่วไปจะมีค่าอยใู่ นชว่ ง 5 ถงึ 8 พี เ อ ช ข อ ง ดิ น มี ค ว า ม ส� ำ คั ญ ต ่ อ ก า ร ปลูกพชื มาก เพราะเปน็ ตัวควบคมุ การละลายธาตุอาหาร ในดนิ ออกมาอยใู่ นสารละลายหรอื นำ�้ ในดนิ ถา้ ดนิ มพี เี อช ไมเ่ หมาะสมธาตอุ าหารในดนิ อาจจะละลายออกมาไดน้ อ้ ย ไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช หรือในทางตรงกัน ขา้ มธาตอุ าหารบางชนดิ อาจจะละลายออกมามากเกนิ ไป จนเปน็ พิษตอ่ พืชได้ พืชแต่ละชนิดชอบที่จะเจริญเติบโตใน ดินที่มีช่วงพีเอชต่างๆ กัน ส�ำหรับพืชทั่วไปมักจะเจริญ เตบิ โตไดด้ ใี นชว่ งพเี อช 6-7 นอกจากนค้ี วามเปน็ กรดเปน็ ดา่ งของดินยัง ควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและการทำ� หน้าท่ี ของจลุ ินทรยี ์ดินด้วย 6. การแลกเปลย่ี นแคตไอออนในดิน เป็นสมบัติของดินที่มีความส�ำคัญต่อการส�ำรองปริมาณธาตุอาหารต่างๆ ไว้ในดิน และปลดปล่อยออกมาให้พืชได้ใช้ประโยชน์ อินทรียวัตถุและแร่ดินเหนียวในดินมีบทบาทส�ำคัญ อย่างมากต่อสมบัตินี้ของดิน เนื่องจากพ้ืนผิวของ อินทรียวัตถุและแร่ดินเหนียวจะมีประจุลบเหลืออยู่ จงึ สามารถดดู ยดึ ประจบุ วกได้ แรธ่ าตอุ าหารทพี่ ชื ตอ้ งการ สว่ นใหญจ่ ะมปี ระจบุ วก เชน่ ธาตุไนโตรเจนในรปู ของ แอมโมเนยี ม ธาตุแคลเซยี ม แมกนเี ซียม โพแทสเซียม เหลก็ และสงั กะสี นอกจากนย้ี งั ชว่ ยในการควบคมุ หรอื ตา้ น การเปลย่ี นแปลงความเปน็ กรดของดนิ ดว้ ย โดยการดดู ยดึ ประจุบวกทีเ่ ป็นกรด ได้แก่ ไฮโดรเจนและอะลมู นิ มั การแลกเปลีย่ นแคตไอออนในดินกบั รากพชื 28 ความรูเ้ ร่ืองดนิ ส�ำหรับเยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ 7. สง่ิ มีชวี ติ ในดนิ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ เป็นสมบัติทางชีวภาพของดิน ซึ่งรวมถึงสิ่งมีชีวิตท่ีมีขนาดใหญ่และขนาดเล็ก มองเหน็ และมองไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปลา่ อาศยั อยบู่ นดนิ และในดนิ แบง่ ไดเ้ ปน็ กลมุ่ ใหญๆ่ 3 กลมุ่ คอื พชื สตั ว์ และจลุ ินทรีย์ดิน พชื พืชมีอิทธิพลอย่างย่ิงต่อดินและส่ิงมีชีวิตในดิน เน่ืองจากท�ำหน้าท่ีกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์มาสร้างเป็น สารอินทรีย์โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสง ต่อมาเม่ือส่วนต่างๆ ของพชื หลดุ รว่ งหรอื ตายทบั ถมและผา่ นกระบวนการยอ่ ยสลายจนกลายเปน็ ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ สารอนิ ทรยี ต์ า่ งๆ สารเหลา่ นกี้ จ็ ะกลายเปน็ แหลง่ พลงั งานทส่ี ำ� คญั ของสงิ่ มชี วี ติ ตา่ งๆ ภายในดินทีจ่ ะกอ่ ให้เกิดกิจกรรมอน่ื ๆ ต่อเนอ่ื งไปอกี มาก และเป็นแหล่งส�ำคญั ของธาตอุ าหารพชื หลายชนิด เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และก�ำมะถัน นอกจากน้ี การท่ีพืชเจริญเติบโตแผ่ก่ิงก้านใบและหยั่งรากลึกลงไปในดิน ยังก่อให้เกิด ผลกระทบและเกิดการเปล่ียนแปลงในดินอีกหลายอย่าง เช่น การเกิด ชอ่ งวา่ งในดนิ จากการชอนไชของราก การเคลอ่ื นทขี่ องนำ�้ และอากาศ การหมุนเวียนของธาตุอาหาร การผุพังสลายตัวของหิน กลายเปน็ ดนิ การซมึ ชะ และการปอ้ งกนั การสญู เสยี หนา้ ดนิ เปน็ ต้น ความรู้เรอ่ื งดินส�ำหรบั เยาวชน 29

สัตวใ์ นดิน ดินเปน็ แหล่งอาศยั ของสตั ว์นานาชนิด เช่น มด ปลวก แมลงตา่ งๆ กงิ้ กอื ตะขาบ ไสเ้ ดอื น ตนุ่ และงู เปน็ ตน้ บทบาทหลกั ของสตั วใ์ นดนิ สว่ นใหญจ่ ะเกยี่ วขอ้ งกบั การขดุ คยุ้ เพอื่ หาอาหารหรอื เปน็ ที่อยู่อาศัย รวมถึงการกัดย่อยชิ้นส่วนของรากหรือเศษซากต่างๆ กิจกรรม เหลา่ นีท้ �ำใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงสมบตั ขิ องดินได้ การสรา้ งรัง และการขุดคุย้ ไชชอนดินของมด ปลวก แมลง หรอื ไสเ้ ดือนดิน เป็นการพลิกดนิ โดยธรรมชาติ ชว่ ยผสมคลกุ เคล้าอินทรียวตั ถุในดนิ หรือช่วยผสมคลุกเคล้าดินบนกับดินลา่ ง และนำ� แรธ่ าตจุ ากใตด้ นิ ขน้ึ มาบนผวิ ดนิ ทำ� ใหเ้ กดิ ชอ่ งวา่ งในดนิ ซงึ่ สง่ ผลให้ ดนิ โปรง่ มกี ารถา่ ยเทอากาศดี ปลวกและไสเ้ ดอื นยงั มบี ทบาทสำ� คญั ใน การย่อยสลายเศษอาหาร ซากพชื และสัตว์ใหม้ ขี นาดเลก็ ลงจน เป็นอนุภาคขนาดจิ๋วๆ ซ่ึงจะเป็นแหล่งอาหารของ จลุ นิ ทรีย์ดินตอ่ ไป จลุ ินทรยี ์ดนิ จุลนิ ทรีย์ดนิ หมายถึง ส่ิงมชี ีวติ ขนาดเล็กมาก จนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้ กลอ้ งจลุ ทรรศนส์ อ่ งดู มหี ลายชนดิ ทง้ั ทเี่ ปน็ พชื และสตั ว์ เชน่ แบคทีเรยี แอคตโิ นมัยซที รา โปรโตซวั และไวรสั จลุ ินทรยี ด์ ิน มบี ทบาทส�ำคญั ในการยอ่ ยสลายอินทรียวัตถุ การแปรสภาพ สารอนิ ทรยี แ์ ละอนนิ ทรยี ์ การตรงึ ไนโตรเจน การยอ่ ยสลาย สารเคมี ฯลฯ ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงสมบตั ติ า่ งๆ ของดิน ช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ และ สภาพแวดล้อมในดนิ เกิดสมดลุ สแกนคิวอารโ์ ค้ดเพื่อรับชม คลิปวดิ โี อ “สงิ่ มชี วี ิตในดนิ ” ระบบ 3 ภาษา ไทย-อังกฤษ-จนี 30 ความรูเ้ รอ่ื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

ธาตอุ าหารพชื ในดนิ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ Hน2�้ำO ออกOซ2เิ จน ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ คาร์บอนCไOดอ2 อกไซด์ ธาตอุ าหารรอง ธาตอุ าหารหลัก ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ Ca Mg S NPK จุลธาตุ B Zn Fe Cu Mn Mo Cl Ni ความรู้เรื่องดินส�ำหรับเยาวชน 31

ธาตุอาหารทจ่ี �ำเป็นต่อการเจริญเติบโต ออกดอก ออกผล ของพชื ท่ีเปน็ ทย่ี อมรับโดยทว่ั ไป มอี ยู่ 17 ธาตุ โดยแบง่ ออกเปน็ 2 กลุ่ม ได้แก่ มหธาตุ และจุลธาตุ 1. มหธาตุ (Macronutrients) มหธาตหุ มายถงึ ธาตอุ าหารทพ่ี ชื ตอ้ งการใชใ้ น ปรมิ าณมาก มีอยู่ 9 ธาตุ ไดแ้ ก่ คารบ์ อน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซยี ม (K) แคลเซยี ม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และกำ� มะถนั (S) สำ� หรบั สามธาตแุ รก คอื คารบ์ อน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) ส่วนใหญ่พืช ได้มาจากอากาศและน�้ำ ส่วนไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซยี ม (K) เรียกรวมกนั ว่า ธาตุอาหารหลัก หรอื ธาตปุ ยุ๋ เนื่องจากพชื ตอ้ งการ ใชใ้ นปรมิ าณมาก แตใ่ นดนิ มกั จะมปี รมิ าณไมเ่ พยี งพอ การใชป้ ุ๋ยอนิ ทรียแ์ ละป๋ยุ อนนิ ทรยี ข์ องพืช ต้องเพิ่มเติมให้ในรูปของปุ๋ยชนิดต่างๆ ส�ำหรับแคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และก�ำมะถัน (S) รวมเรยี กว่า ธาตอุ าหารรอง เพราะจะไมค่ อ่ ยมปี ัญหาขาดแคลนในดนิ ทวั่ ๆ ไป และโดยปกตเิ มอื่ มกี าร ใสป่ ุย๋ N-P-K ลงไปในดินมักจะมีธาตุเหล่าน้ปี นลงไปดว้ ยเสมอ 2. จุลธาตุ หรือ ธาตุอาหารเสริม (Micronutrients) จุลธาตุหรือธาตุอาหารท่ีพืชต้องการใช้ในปริมาณน้อย มอี ยู่ 8 ธาตุ ได้แก่ เหลก็ (Fe) แมงกานสี (Mn) โบรอน (B) โมลิบดนิ ัม (Mo) ทองแดง (Cu) สงั กะสี (Zn) คลอรีน (Cl) และนิกเกลิ (Ni) อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะเป็นธาตุอาหารในกลุ่มมหธาตุหรือจุลธาตุ ล้วนก็มีความส�ำคัญ และจำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ไมน่ อ้ ยไปกวา่ กนั เพราะความจรงิ แลว้ ธาตทุ กุ ธาตมุ คี วามสำ� คญั ตอ่ การดำ� รงชพี ของพชื เทา่ ๆ กนั จะตา่ งกนั แตเ่ พยี งปรมิ าณทพ่ี ชื ตอ้ งการเทา่ นนั้ ดงั นนั้ พชื จงึ ขาดธาตุ ใดธาตุหน่ึงไม่ได้ หากพืชขาดธาตุอาหารท่ีจ�ำเป็นแม้แต่เพียงธาตุเดียวพืชจะหยุดการเจริญเติบโต แคระแกรน็ ไมใ่ หผ้ ลผลิตและตายในที่สดุ 32 ความรเู้ รอื่ งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

หนา้ ทขี่ องธาตุอาหารพชื ในดนิ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ ธาตุอาหารพืชแต่ละชนิดมีความส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชแตกต่างกันไป และถ้า พืชได้รับธาตุอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ จะแสดงอาการที่แตกต่างกันตามแต่ชนิดของธาตุ อาหารท่ีขาดแคลนนนั้ ไนโตรเจน มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ช่วยให้พืชมี ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ สเี ขยี ว เรง่ การเจรญิ เตบิ โตทางใบ หากพชื ขาดธาตนุ จี้ ะแสดงอาการ อาการขาดธาตไุ นโตรเจน ใบเหลอื ง ใบมีขนาดเลก็ ลง ลำ� ตน้ แคระแกรน็ และใหผ้ ลผลติ ตำ�่ ฟอสฟอรัส มีหน้าที่ช่วยเร่งการเจริญเติบโตและการแพร่กระจาย ของราก ควบคุมการออกดอก ออกผล และการสร้างเมลด็ ถ้าพชื ขาด ธาตนุ รี้ ะบบรากจะไมเ่ จรญิ เตบิ โต ใบแกจ่ ะเปลย่ี นจากสเี ขยี วเปน็ สมี ว่ ง แล้วกลายเปน็ สีน�้ำตาลและหลดุ รว่ ง ล�ำตน้ แกรน็ ไม่ผลดิ อกออกผล อาการขาดธาตฟุ อสฟอรสั อาการขาดธาตุโพแทสเซียม โพแทสเซียม เป็นธาตุท่ีชว่ ยในการสงั เคราะห์น้ำ� ตาล แปง้ และ โปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน�้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยให้ผล เติบโตเร็วและมีคณุ ภาพดี ช่วยให้พชื แขง็ แรง ต้านทานตอ่ โรคและ แมลงบางชนดิ ถา้ ขาดธาตนุ พ้ี ชื จะไมแ่ ขง็ แรง ลำ� ตน้ ออ่ นแอ ผลผลติ ไม่เตบิ โต มีคณุ ภาพตำ่� สไี มส่ วย รสชาติไม่ดี แคลเซียม เป็นองค์ประกอบที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ การงอกของเมลด็ พชื ขาดธาตนุ ใ้ี บทผี่ ลอิ อกมาใหมจ่ ะหงกิ งอ ตายอด ไมเ่ จรญิ อาจมีจุดด�ำทเี่ สน้ ใบ รากสั้น ผลแตก และมีคณุ ภาพไม่ดี อาการขาดธาตุแคลเซยี ม กำ� มะถนั เปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ของกรดอะมโิ น โปรตนี และวติ ามนิ ถา้ ขาดธาตุนที้ ั้งใบบนและใบล่างจะมีสเี หลอื งซีด และต้นอ่อนแอ ความรู้เร่อื งดนิ สำ� หรับเยาวชน 33

อาการขาดธาตแุ มกนีเซียม แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของคลอโรฟิลล์ ช่วย สงั เคราะหก์ รดอะมโิ น วติ ามนิ ไขมนั และนำ้� ตาล ทำ� ใหส้ ภาพกรดดา่ ง ในเซลล์พอเหมาะและช่วยในการงอกของเมล็ด ถ้าขาดธาตุน้ี ใบแกจ่ ะเหลือง ยกเวน้ เส้นใบ และใบจะร่วงหล่นเรว็ นกิ เกลิ เปน็ ธาตทุ ม่ี คี วามสำ� คญั ตอ่ เอนไซมย์ เู รส (urease) โดยทำ� หนา้ ที่ อาการขาดธาตนุ ิกเกิล ช่วยปลดปล่อยไนโตรเจนให้อยู่ในรูปที่พืชน�ำไปใช้ได้ นอกจากนี้ ยงั จำ� เปน็ ตอ่ กระบวนการดดู ซบั ธาตเุ หลก็ ชว่ ยในกระบวนการงอกของเมลด็ หากนิเกิลไมเ่ พยี งพอต่อความตอ้ งการ พืชอาจไมใ่ ห้ผลผลิตเต็มที่ อาการขาดธาตโุ บรอน โบรอน ช่วยในการออกดอกและการผสมเกสร มีบทบาทส�ำคัญ ในการตดิ ผลและการเคลอ่ื นยา้ ยนำ้� ตาลมาสผู่ ล การเคลอื่ นยา้ ยของ ฮอรโ์ มน การใชป้ ระโยชนจ์ ากไนโตรเจนและการแบ่งเซลล์ ถ้าพืช ขาดธาตุนี้ ตายอดจะตายแล้วเริ่มมีตาข้าง แต่ตาข้างก็จะตายอีก ล�ำตน้ ไมค่ อ่ ยยืดตัว กิ่งและใบจงึ ชิดกนั ใบเลก็ หนา โค้งและเปราะ ทองแดง ชว่ ยในการสงั เคราะห์คลอโรฟิลล์ การหายใจ การใช้ อาการขาดธาตุทองแดง โปรตีนและแป้ง กระตุ้นการท�ำงานของเอนไซม์บางชนิด ถ้า พืชขาดธาตุน้ี ตายอดจะชะงักการเจริญเติบโตและกลายเป็น สดี ำ� ใบอ่อนเหลอื ง และพืชทั้งตน้ จะชะงักการเจริญเตบิ โต อาการขาดธาตุคลอรีน คลอรีน มีบทบาทบางประการเกย่ี วกบั ฮอรโ์ มนในพชื ถา้ ขาดธาตุน้ี พชื จะเหยี่ วงา่ ย ใบสซี ดี และบางสว่ นแห้งตาย เหล็ก ช่วยในการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ มีบทบาทส�ำคัญในการ อาการขาดธาตุเหลก็ สังเคราะหแ์ สงและหายใจ ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมสี ขี าวซีดในขณะ ท่ีใบแกย่ งั เขียวสด 34 ความรูเ้ รือ่ งดินส�ำหรับเยาวชน

อาการขาดธาตแุ มงกานีส แมงกานสี ชว่ ยในการสงั เคราะหแ์ สงและการทำ� งานของเอนไซม์ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คัญของดนิ บางชนิด ถ้าพืชขาดธาตุน้ีใบอ่อนจะมีสีเหลืองในขณะท่ีเส้นใบ ยังเขียว ตอ่ มาใบท่มี ีอาการดังกล่าวจะเหีย่ วแลว้ ร่วงหล่น โมลบิ ดนิ มั ชว่ ยใหพ้ ชื ใชไ้ นโตรเจนใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ละเกย่ี วขอ้ งกบั การสงั เคราะหโ์ ปรตนี ถา้ ขาดธาตนุ พ้ี ชื จะมอี าการคลา้ ยขาดไนโตรเจน ใบมลี กั ษณะโคง้ คลา้ ยถ้วย ปรากฏจุดเหลอื งๆ ตามแผ่นใบ อาการขาดธาตุโมลบิ ดนิ มั อาการขาดธาตสุ ังกะสี สงั กะสี ช่วยในการสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซนิ คลอโรฟลิ ล์ และ ภาค 2 เรียนรู้เร่อื ง...ดนิ แป้ง ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมีสีเหลืองซีดและปรากฏสีขาวๆ ประปรายตามแผน่ ใบ โดยเสน้ ใบยงั เขยี ว รากส้นั ไมเ่ จรญิ ตามปกติ เม่ือมกี ารปลูกพืชลงบนดิน ย่อมมกี ารเปลีย่ นแปลง ภาค 3 แหล่งขอ้ มลู ...ดนิ ปริมาณของธาตอุ าหารต่างๆ ท่มี อี ยูใ่ นดนิ เนือ่ งจากในขณะที่ พืชมีการเจริญเติบโต พืชจะดูดดึงธาตุอาหารในดินไปใช้และ เก็บสะสมไวใ้ นสว่ นต่างๆ ไดแ้ ก่ ใบ ลำ� ตน้ ดอก ผล จนถงึ เวลา เก็บเกี่ยวผลผลิตและน�ำออกไปจากพื้นท่ี ธาตุอาหารที่สะสม อยู่เหล่าน้ันย่อมถูกน�ำออกไปจากพื้นท่ีด้วย นอกจากน้ี ธาตุอาหารบางส่วนยังเกิดการสูญหายไปในรูปแก๊ส บางส่วน ถกู ตรงึ อยใู่ นรปู ทใ่ี ชป้ ระโยชนไ์ มไ่ ด้ บางสว่ นถกู ชะลา้ งออกไปจาก บริเวณรากพืช หรือสูญเสียไปกับการชะล้างพังทลายของดิน ดังนั้นการเพาะปลูกพืชติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนาน โดยไม่มีการเติมธาตุอาหารลงไปในดิน ย่อมท�ำให้ความ อุดมสมบูรณ์ของดินลดลง และในท่ีสุดพืชจะไม่สามารถ เจริญเติบโตบนดินน้นั ไดอ้ กี ตอ่ ไป ในการปลกู พชื จึงตอ้ งมีการ ใส่ปุ๋ยเพ่ือบ�ำรุงดิน ช่วยเพ่ิมธาตุอาหารพืชและคงระดับ ความอดุ มสมบูรณข์ องดินไวอ้ ยเู่ สมอ ความรู้เรอื่ งดินสำ� หรับเยาวชน 35

36 ความรูเ้ รอื่ งดินสำ� หรบั เยาวชน

ภาค 2 ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ดงั ได้กลา่ วแลว้ ว่า ดนิ มีความสำ� คัญต่อการด�ำรงชีพของมนุษย์ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ พืชและสัตว์ เพราะดินเป็นแหล่งท่ีมาของปัจจัยส�ำคัญ ทั้งท่ีอยู่อาศัย อาหาร ยารักษาโรค เคร่ืองนุ่งห่ม และพลังงาน ล้วนได้มาจากดิน ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ในด้านเกษตรกรรม ดินเป็นทั้งที่ยึดเกาะและค้�ำจุนให้พืช เจริญเติบโต และเป็นแหล่งของธาตุอาหารส�ำคัญท่ีพืชน�ำไปใช้ในการ เจรญิ เตบิ โต ออกดอก ออกผล แต่เนอ่ื งจากดินแต่ละแหง่ มีลักษณะและ สมบัติท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นถ้าเรารู้จักดินมากข้ึน ก็น่าจะท�ำให้เราสามารถ ใช้ประโยชนท์ ดี่ ินไดอ้ ย่างเหมาะสมและเกิดประโยชนย์ ง่ิ ขึ้นดว้ ย ความรเู้ รื่องดินสำ� หรับเยาวชน 37

การศกึ ษาเก่ยี วกบั ...ดนิ มนุษยเ์ ร่ิมสนใจและศึกษาดนิ โดยคดิ วา่ ดนิ เป็น โดคุเชฟ (Vasily V. Dokuchaev) แหล่งของธาตุอาหารซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของ บิดาแห่งปฐพีวทิ ยา พชื กนั มาเปน็ เวลานานแลว้ เรม่ิ จากในทวปี ยโุ รป ตงั้ แตส่ มยั อริสโตเติล เม่อื ประมาณ 300 ปีกอ่ นครสิ ตกาล ต่อมาภาย หลังจึงเกิดแนวความคิดในการมองดินเป็นวัสดุตาม ธรรมชาติท่ีแตกต่างไปจากวัสดุชนิดอ่ืนๆ และได้มีการ ศึกษาดินกันอย่างจริงจังในเชิงวิทยาศาสตร์ เราเรียก ผู้ที่ท�ำการศึกษาเก่ียวกับดินน้ีว่า “นักวิทยาศาสตร์ ทางดนิ ” (Soil scientist) หรือ “นักปฐพวี ิทยา” บุคคลท่ีได้ช่ือว่าเป็นบิดาแห่งปฐพีวิทยา คือ โดคเุ ชฟ (Vasily V. Dokuchaev) ชาวรสั เซยี ซึ่งได้สร้าง ผลงานการศึกษาดิน Chernozems จนเป็นที่ยอมรับว่า เปน็ ผลงานวทิ ยาศาสตร์ทางด้านปฐพีวิทยาจรงิ ๆ เลม่ แรก ของโลก ตอ่ มาภายหลงั จงึ ไดม้ พี ฒั นาการของการศกึ ษาดนิ ในทวีปอเมริกาขึ้นและเปิดโอกาสให้มีการศึกษาดินอย่าง กวา้ งขวางในภมู ภิ าคตา่ งๆ ทงั้ ในดา้ นลกั ษณะของดนิ แตล่ ะ ชนดิ และในดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งดนิ และพชื มาจนถงึ ปจั จบุ นั 38 ความร้เู รอื่ งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

การศึกษาเก่ียวกับดินโดยเฉพาะทางด้านการเกษตรในปัจจุบัน ตกแต่งหน้าตัดดนิ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ไดแ้ บ่งแนวทางการศกึ ษาออกเป็น 2 แนวทาง คือ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ 1. ดา้ นปฐพวี ิทยาธรรมชาติ (Pedology) มุ่งเน้นการศึกษาดินในสภาพท่ีเป็นวัตถุที่มีอยู่ตามสภาพ ธรรมชาติ เพอ่ื เรยี นรสู้ มบตั ติ า่ งๆ ของดนิ ทง้ั สมบตั ภิ ายนอกและภายใน โดย การศึกษาจะเน้นหนักไปทางด้านการเกิดดิน ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การเกิดการสร้างตัวของดิน และการแจกแจงชนิดของดิน เพ่ือน�ำมาจัด หมวดหมู่ในระดับต่างๆ ตามระบบการจ�ำแนกดินที่ใช้ รวมถึงการจัดท�ำ แผนทแ่ี สดงขอบเขตดนิ ของดนิ ชนดิ ตา่ งๆ ในทางภมู ศิ าสตรด์ ว้ ย ผทู้ ท่ี ำ� การ ศกึ ษาดินในลักษณะนี้เราเรยี กวา่ “นกั สำ� รวจดิน” (soil surveyor) ศกึ ษาลักษณะของดนิ จดบันทกึ ข้อมลู ในสนาม เกบ็ ตวั อย่างหน้าตัดดิน 2. ดา้ นปฐพวี ิทยาสัมพันธ์ (Edaphology) ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ เป็นการศกึ ษาดินในดา้ นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนิ กบั สิง่ มีชวี ติ โดยเฉพาะพชื เนน้ หนกั ในดา้ นสมบตั ติ า่ งๆ ของดนิ ทม่ี ผี ลตอ่ การใหผ้ ลผลติ ของพชื ไดแ้ ก่ ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ และความ สามารถของดนิ ทจ่ี ะใหธ้ าตอุ าหารแกพ่ ชื รวมถงึ เคมี ฟสิ กิ ส์ แรว่ ทิ ยา และกจิ กรรมของจลุ นิ ทรยี ต์ า่ งๆ ในดนิ ที่จะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ พืชอกี ด้วย หลกั ทวั่ ไปในการศกึ ษาดา้ นนค้ี อื การหาวธิ เี พม่ิ ผลผลติ พชื จากดนิ และท่ีดิน ศึกษาเก่ียวกับการใช้ปุ๋ย การตอบสนองต่อธาตุอาหารในดิน และการตอบสนองต่อปุ๋ยท่ีใสล่ งในดิน เพ่ือให้ดินสามารถเพิ่มผลผลติ ของพชื ไดม้ ากข้นึ ความรู้เรอ่ื งดินส�ำหรับเยาวชน 39

การศึกษาดิน...ในประเทศไทย การศึกษาดินในประเทศไทย ทั้งใน ดา้ นปฐพีวิทยาธรรมชาติ (pedology) และดา้ น ความสัมพันธ์กับพืช (edaphology) นั้น ได้ยึดถือ ววิ ฒั นาการทางวชิ าการของยโุ รปและสหรฐั อเมรกิ าเปน็ หลกั ซึ่งเร่ิมมากว่า 50 ปีแล้ว โดยมีหน่วยงานต่างๆ ในกระทรวง เกษตรและสหกรณ์และองค์กรในมหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศ กับมีผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรระหว่างประเทศ เขา้ มาช่วยเหลือโดยเฉพาะในสมยั แรกๆ การศึกษาท้ังสองด้านที่ท�ำต่อเนื่องกันมาเรื่อยๆ น้ี ท�ำให้มีข้อมูลและข้อสนเทศท่ีสามารถน�ำมาใช้ในการถ่ายทอด เทคโนโลยีทางการเกษตรท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ดินมากมาย และผลจากการศกึ ษา ท�ำให้มองเหน็ ปัญหาเก่ียวกบั ดินและการใช้ท่ดี ินมากยิง่ ขึ้น การนำ� ข้อมลู ทไี่ ดจ้ าก การศกึ ษามาใชจ้ งึ ตอ้ งปรบั ใหเ้ ขา้ กบั วตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งถกู ตอ้ ง ซงึ่ สว่ นใหญน่ นั้ จะขน้ึ อยกู่ บั การรจู้ กั ชนดิ ของดนิ และการแจกกระจายของดนิ ในพน้ื ทต่ี า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ดังน้ัน การศึกษาให้รู้ถึงลักษณะดินและสภาพแวดล้อมต่างๆ ท่ีจะมีผลต่อ การใช้ท่ีดินจึงเป็นส่ิงจ�ำเป็น และเป็นวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งท่ีต้อง ดำ� เนินการให้บรรลถุ ึงเป้าหมาย สแกนคิวอารโ์ ค้ด เพอื่ อา่ นความร้เู รอ่ื งดนิ เพิ่มเติม 40 ความรูเ้ ร่อื งดนิ ส�ำหรบั เยาวชน

งานสข�ำอรงวปจรแะลเทะจศำ� ไแทนยกดนิ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั การส�ำรวจดิน คอื การส�ำรวจหาข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์ของดิน ตลอดจนสภาพแวดลอ้ ม ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ โดยวิธีการทางสนามและการวิเคราะห์ข้อมูลในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ทราบถึงความคล้ายคลึงและ ความแตกตา่ งของดนิ ในแตล่ ะพน้ื ที่ แลว้ นำ� มาบนั ทกึ ในรปู ของแผนทแี่ ละรายงาน ซงึ่ จะมรี ายละเอยี ด ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ เก่ียวกับชนิดของดิน ขอบเขตและการแพร่กระจาย ลักษณะและสมบัติของดิน สภาพแวดล้อม ของดิน และมกี ารแปลความหมายของข้อมูลเหลา่ นนั้ เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ เชน่ ด้านการเกษตร ป่าไม้ วศิ วกรรม ชลประทาน สงิ่ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สงั คม และภยั ธรรมชาติ ผทู้ ที่ ำ� การสำ� รวจทำ� แผนทด่ี นิ หรอื นกั สำ� รวจ ดนิ จะตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจอยา่ งดใี นหลายสาขาวชิ า โดยเฉพาะท่ี เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ควบคุมการเกิดดิน กระบวนการที่เกี่ยวข้อง ลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ ระบบทใี่ ชใ้ นการจำ� แนกดนิ รวมถงึ กจิ กรรม ทจ่ี ะนำ� ผลงานส�ำรวจดินไปใช้ การสำ� รวจดนิ มกี ารดำ� เนนิ การหลายระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั หยาบมากเพอื่ ศกึ ษาความเปน็ ไปได้ ของการพัฒนาพน้ื ที่ จนถึงระดบั ละเอียด เพอ่ื การปฏบิ ตั จิ รงิ ในไรน่ า และระดบั ละเอียดมากเพือ่ การ ศึกษาวิจัย ความหยาบหรือความละเอียดของการส�ำรวจดิน หมายถึง ความมากน้อย ความถ่ีห่าง ของจำ� นวนจดุ ทต่ี อ้ งทำ� การตรวจสอบลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ และการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของ เสน้ ขอบเขตทใ่ี ชแ้ บ่งประเภทดิน การสำ� รวจจำ� แนกดนิ และการจดั ทำ� แผนทด่ี นิ ของประเทศไทย เรมิ่ ดำ� เนนิ การมาตง้ั แตก่ อ่ น สงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปี พ.ศ. 2478 โดยมี Dr. R.L. Pendleton นกั วิทยาศาสตร์ทางดนิ และการเกษตรชาวอเมริกัน ซึ่งเข้ามาปฏิบัติงานในฐานะที่ปรึกษาของกรมกสิกรรมและประมง ในสมยั นน้ั เป็นผ้รู ิเร่มิ โดยมีนกั วิชาการฝ่ายไทย คอื ดร.สาโรช มนตระกลู และ ดร.เริ่ม บรู ณฤกษ์ เปน็ ผรู้ ว่ มงานอยา่ งใกลช้ ดิ ทำ� การสำ� รวจดนิ ในระดบั หยาบ โดยยดึ ถอื ระบบการสำ� รวจและจำ� แนกดนิ ตามแบบของกระทรวงเกษตรสหรฐั อเมรกิ า (United States Department of Agriculture: USDA) ปี 1938 หรอื ทเ่ี รียกว่า ระบบ USDA 1938 เปน็ หลกั ความร้เู ร่ืองดินสำ� หรับเยาวชน 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook