Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore warut5

warut5

Published by warut020639, 2017-06-26 00:35:02

Description: warut5

Search

Read the Text Version

เศรษฐกิจพอเพยี ง (Sufficiency Economy) เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชทานเมือ่ ปี พ.ศ.2540 โดยมุ่งหมายใหเ้ ปน็ ปรัชญาในการดาเนนิ ชวี ติ ในฐานะเศรษฐกิจทางเลอื กแบบหน่ึงเพ่อื ให้ ประเทศชาตลิ ่วงพน้ จากสภาพวกิ ฤตเิ ศรษฐกิจในขณะนน้ั ดังนัน้ วาทกรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง จึงเป็นการตอ่ สู้ ทางอุดมการณ์ระหวา่ งรปู แบบเศรษฐกจิ ทมี่ ีความเปน็ เฉพาะกบั ความ เปน็ สากล หรือชกู ระแสทอ้ งถิ่นต่อสู้กบั กระแสโลกาภวิ ตั น์

หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงมีผู้อธบิ ายวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง มีองคป์ ระกอบ 5 ส่วน คือ 1. กรอบแนวคดิ 2. คณุ ลกั ษณะ 3. คานยิ าม 4. เงือ่ นไข 5. แนวปฏบิ ตั ิ

กรอบแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรชั ญาทช่ี แี้ นะแนวทางการดารง อย่แู ละปฏบิ ตั ติ นในทางท่ี ควรจะเปน็ โดยมีพื้นฐานมาจาก วถิ ชี ีวติ ดงั้ เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชงิ ระบบทม่ี กี าร เปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา มงุ่ เนน้ การรอดพ้นจากภยั และ วกิ ฤตเพอ่ื ความมน่ั คง และ ความยงั่ ยนื ของการพฒั นา

คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏบิ ตั ติ นไดใ้ นทกุ ระดบั โดยเนน้ การปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน

คานิยามความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดังนี้ - ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไี่ มน่ อ้ ยเกนิ ไปและไมม่ าก เกินไปโดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผอู้ นื่ เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคทอี่ ยู่ ในระดบั พอประมาณ - ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ระดบั ของความพอเพียง น้ัน จะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมเี หตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทานน้ั ๆ อย่างรอบคอบ - การมภี มู คิ มุ้ กนั ทดี่ ี ในตวั หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีจะเกดิ ขนึ้ โดยคานงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ท่คี าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตทง้ั ใกลแ้ ละไกล

เง่อื นไข การตดั สนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนน้ั ต้องอาศยั ทงั้ ความรู้ และคณุ ธรรมเปน็ พนื้ ฐาน กล่าวคอื • เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กยี่ วกบั วชิ าการตา่ ง ๆ ท่ี เกี่ยวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะนาความรเู้ หลา่ นนั้ มาพจิ ารณา ให้เชอื่ มโยงกนั เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏบิ ตั ิ • เงื่อนไขคณุ ธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสรมิ สรา้ งประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มีความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใช้ สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ

แนวปฏบิ ตั ิ จากการนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ คอื การพฒั นาทสี่ มดลุ และยง่ั ยนื พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในทกุ ดา้ น ทั้งดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม ความรแู้ ละเทคโนโลยี

สรุปลกั ษณะของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ เศรษฐกจิ สาหรบั คนทงั้ มวล มพี ้ืนฐานอยทู่ คี่ วามเขม้ แขง็ ของชมุ ชน มีความเปน็ บรู ณาการ อยู่บนพนื้ ฐานความเขม้ แขง็ ของตนเอง มีการจดั การและนวตั กรรมใหม่ ๆ

เศรษฐกจิ พอเพียงบทวิพากษเ์ ชิงปรากฏการณแ์ ละทฤษฎี ------------------ --------------------- ผศ. ดร. จติ รกร โพธงิ์ าม



ประเดน็ นาเสนอ ที่มาและฐานความคดิ ขอ้ เสนอทางปรากฏการณ์ คาถามเชงิ ทฤษฎี



 ความสาคญั ของปรชั ญา ปรชั ญา ถอื เป็นรากฐานท่ีสาคญั ของการดาเนนิ ชวี ติ เพราะเป็นเรอ่ื งของวธิ คี ดิ และจติ สานกึ ของผคู้ น ทุกปรชั ญา ไมเ่ ฉพาะแต่ “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทีม่ าของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในหลวงทรงพระราชทาน “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน็ คร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ.2517 ในพระราชวงั สวนจติ รลดา และมาสาแดงพลงั อย่างเตม็ ท่ี ในปี พ.ศ.2540 เมอื่ เกดิ วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ และสังคมไทยเรมิ่ ตงั้ ถามวา่ เราจะหาทางออกจากวกิ ฤตนิ นั้ อย่างไร เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นศพั ท์ประดษิ ฐ์ ที่เรยี กวา่ “ประดษิ ฐกรรมทางภาษา” จงึ เปน็ ที่ชดั เจนวา่ เศรษฐกิจพอเพยี ง ก็คือ “ความจรงิ ท่ถี ูกสรา้ งขนึ้ ”

เศรษฐกิจพอเพียง : ปมปัญหาระหวา่ งความรู้ กบั ความไมร่ ู้ หลังปี พ.ศ.2540 เป็นตน้ มา ปญั หาวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ สง่ ผลใหส้ งั คมตกอยใู่ นภาวะ “วกิ ฤตทิ างพาราไดม”์ ว่าดว้ ยเศรษฐกจิ ซึ่งนาไปพนั กนั กบั บรบิ ททางการเมอื ง ขณะนน้ั อยา่ งแนบแนน่ วเิ คราะหเ์ ชงิ ภาษาศาสตร์ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ศพั ทป์ ระดษิ ฐ์ ท่ีเรยี กวา่ “ประดษิ ฐกรรมทางภาษา” ในมมุ นี้ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ เปน็ ความจรงิ ทถ่ี กู สรา้ งขนึ้ แฟรด์ นิ อง เดอ โซซรู ์ นกั สญั วทิ นาชาวสวสิ เสนอวา่ ในโครงสรา้ งของภาษามี องคป์ ระกอบอยู่ 2 สว่ น คือ รปู ภาษา กบั ความหมายภาษา การใหค้ วามหมาย ภาษาจงึ เกดิ จากการตคี วาม ในกรณดี งั กลา่ ว จงึ ดเู หมอื นวา่ เรากาลงั ถกู “ลอ้ มกรอบ” ด้วย “กรงดกั ” ทาง ภาษา เม่อื ตดิ อยใู่ นรปู แบบของภาษาจงึ ทาใหเ้ กดิ ความสบั สน และเปน็ ขอ้ จากดั ประการหนงึ่ ในการทาความเขา้ ใจในความหมายทแี่ ทจ้ รงิ ของภาษา

 หากในหลวงทา่ นเปลย่ี นไปใช้คาว่า เศรษฐกจิ แบบศลี ธรรม (Moral Economy) หรือ เศรษฐกจิ แบบจติ สานกึ (Conciousness Economy) หรือคาอน่ื อาจตรงกบั เจตนารมณท์ ต่ี อ้ งการจะ “สื่อ” ได้มากกวา่ นี้ หรอื วา่ เป็นความผดิ พลาดของการสรา้ งวาทกรรม โดยเฉพาะมคี าวา่ “เศรษฐกจิ ” คนจึงมองวา่ เปน็ รปู แบบหนงึ่ ของทฤษฎที างเศรษฐศาสตร์ ยง่ิ คาว่า “พอเพียง” ซ่งึ เปน็ คาทไ่ี ม่ สามารถบอกเกณฑ์หรอื มาตรฐานไดช้ ดั วา่ คอื อะไร ย่งิ กอ่ ใหเ้ กิด การตคี วามอยา่ งกวา้ งขวาง เรยี กไดว้ า่ เปน็ ความสบั สนทางทฤษฎี สง่ิ ทน่ี ่าเปน็ หว่ งคอื คนส่วนใหญเ่ ขา้ ใจวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื เศรษฐกจิ ทสี่ ามารถอยอู่ ยา่ งอสิ ระ และสามารถปลดปลอ่ ยตวั เอง ไดจ้ ากโลกาภวิ ตั น์

เศรษฐกจิ พอเพยี ง : บทวิพากษ์เชิงปรากฏการณ์ เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นเรอื่ งของ “พ้นื ท”่ี ทภี่ าคใตเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง “ไมเ่ วริ ค์ ” เพราะคนใตเ้ ขาโดยสารรถไฟระหวา่ งประเทศ ไมใ่ ชร่ ถไฟระหวา่ งเมอื ง หรือระหวา่ งหมบู่ า้ น เขาเชอ่ื วา่ โซข่ องการผลติ ถกู จดั ตงั้ จากตา่ งประเทศ ท่อี ีสาน เศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทาได”้ เพราะคนทอ่ี ยใู่ นชมุ ชนเปน็ คนทป่ี ลดเกษยี ณแลว้ ในตลาดแรงงาน ถา้ มี จติ สานกึ กส็ รา้ งกลมุ่ โครงการทป่ี ระสบความสาเรจ็ เปน็ ความเกง่ เฉพาะครวั เรอื น ไม่ใชก่ ระจายไปทกุ ที่ และอาจเกดิ จากเงอ่ื นไข หรอื ศกั ยภาพอยา่ งอนื่ มากกวา่ การตอบสนองทางอดุ มการณ์ สว่ นทลี่ ม้ เหลวกไ็ มใ่ ชเ่ ปน็ เพราะพฤตกิ รรมไมส่ ามารถ บรรลตุ ามคาอธบิ ายเชงิ ทฤษฎี แตเ่ ปน็ เพราะแรงขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ของชาวบา้ นในตวั ของมนั เองมแี รงเฉอ่ื ย และถกู ”แรงตา้ น” จากตลาด ท่ี “แขง็ แกรง่ เฉยชา และไรจ้ ติ สานกึ ” การผลิตซา้ วาทกรรม “ประชานยิ ม” ของภาคการเมอื ง ภายหลงั จาก คมช. ทาการโคน่ ลม้ อานาจของ พ.ต.ท.ทกั ษณิ ชนิ วตั ร และมงุ่ ทาลายระบอบเศรษฐกจิ แบบ “ทกั ษโิ ณมกิ ส”์ จนกระทงั่ มพี ระราชกฤษฎกี ากาหนดการเลอื กตงั้ ในวนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2550 เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ ทกุ พรรคการเมอื งตา่ งผลติ ซา้ วาทกรรม “ประชานยิ ม” เป็นหลกั ปรากฏการณด์ งั กลา่ ว น่าจะสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ 1. ภาคการเมอื งขาดความเชอ่ื มน่ั ในปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. รวู้ ่าแนวคดิ ประชานยิ มสามารถดงึ มวลชนรากหญา้ มาเปน็ พวกไดม้ ากกวา่ 3. เปน็ การสง่ สญั ญาณทางเศรษฐกจิ โดยนยั ดงั กลา่ ว เศรษฐกจิ พอเพยี งในความหมายของภาคการเมอื ง จึงเปน็ เพยี ง “ไมป้ ระดบั ของโลกาภวิ ตั น์” หรอื เหมอื นมวยคกู่ อ่ นเวลา เพือ่ รอ “มอื อาชพี ” เข้ามาจดั การแบบเบด็ เสรจ็

เศรษฐกจิ พอเพยี ง : บทวิพากษ์ทางทฤษฎี ผ้เู สนอคิดว่า ขณะนีเ้ รากาลงั ยนื อยบู่ นเยอื่ บาง ๆ ของ 2 ส่ิง ระหวา่ งสง่ิ ทเี่ ปน็ 1. วาทกรรมเศรษฐกจิ พอเพียง 2. การรบั รแู้ ละตคี วามคาวา่ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ประเดน็ ที่หนงึ่ วาทกรรมเศรษฐกจิ พอเพยี ง วาทกรรม หมายถงึ การตอ่ สทู้ างความคดิ ทอี่ ยใู่ นความสมั พนั ธเ์ ชงิ อานาจ ผูท้ อ่ี ยคู่ วามสมั พนั ธ์เชงิ อานาจของวาท กรรมเศรษฐกจิ พอเพยี งมหี ลายกลมุ่ ไดแ้ ก่ ราชสานกั รฐั บาล ระบบราชการ ข้าราชการ องคก์ รพฒั นาเอกชน นกั วชิ าการ สื่อสารมวลชน นักธรุ กจิ ผู้ประกอบการ องค์กรปกครองทอ้ งถน่ิ และชาวบา้ น ในหลวง นาเสนอวาทกรรมเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในฐานะปรชั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ รัฐ ตคี วามและแปรรปู ปรชั ญามาผลกั ดนั นโยบาย ระบบราชการ นานโยบายมาปฏบิ ตั ิ ข้าราชการ ทางานตามคาสงั่ ของหนงั สอื สง่ั การ ใชแ้ บบแผนปฏบิ ตั แิ บบจารตี องคก์ รพฒั นาเอกชน จดั ตงั้ เครอื ข่ายในกลมุ่ ชาวบา้ นระดบั รากหญา้ นกั วชิ าการ ทาการศกึ ษา วิเคราะห์ วิจยั วพิ ากษ์ เพอ่ื ชน้ี าสงั คม นักธุรกจิ ผู้ประกอบการ ใชป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสรา้ งภาพกบั ทนุ นยิ ม องคก์ รปกครองทอ้ งถนิ่ ใชป้ รชั ญาสรา้ งกจิ กรรมดงึ หวั คะแนน ชาวบา้ น ตกเปน็ เครอื่ งมอื ของปฏบิ ตั กิ ารวาทกรรมจากทกุ กลมุ่ • โดยสรปุ กลมุ่ ตา่ ง ๆ มีสว่ นในวาทกรรมคนละอยา่ ง มีคนไดป้ ระโยชนจ์ ากวาทกรรม และมคี นเสยี เปรยี บ จากวาทกรรม ท่สี าคญั คอื บางกลมุ่ ไมเ่ ชอื่ ในสงิ่ ทท่ี า และบางกลมุ่ ไมเ่ ชอ่ื ในสง่ิ ทพ่ี ดู

ประเดน็ ทีส่ อง การรบั รแู้ ละตคี วามคาวา่ “เศรษฐกจิ พอเพียง” มคี นจานวนไมน่ อ้ ยตคี วามวา่ รปู แบบเศรษฐกจิ ทเี่ กดิ กอ่ น “ทนุ นยิ มเสร”ี หรอื ที่ “ไมใชท่ นุ นยิ ม” คอื เศรษฐกจิ พอเพยี ง มีคาถามวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง มีจรงิ หรอื ไม่ ? ถ้ามี แลว้ เปน็ แบบไหน? หรอื เปน็ เพยี ง “วาทกรรมชวั่ คราว” คาถามมวี า่ ถา้ เศรษฐกจิ พอเพยี งทเ่ี ราพดู ถงึ มจี รงิ ในอดตี - ทาไมพระพทุ ธเจา้ จึงเชอื่ วา่ ขา้ งหนา้ มยี คุ พระศรอี ารยิ ์ - ทาไม Plato จงึ ใฝฝ่ นั ถงึ The Republic State - ทาไม Karl Marx จึงถามหาสงั คม Utopia ถามวา่ ถา้ ความพอเพยี งมอี ยจู่ รงิ ทาไมคนในอดตี ตอ้ งโหยหา สังคมในอดุ มคติ (Imaged Society) ขอ้ เทจ็ จรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์ บอกเราวา่ โลกในยคุ อดตี กไ็ มไ่ ดม้ คี วามสมดลุ เช่น มโี รคระบาด มกี ารอพยพของ ผคู้ นเพอ่ื หนภี าวะขา้ วยากหมากแพง โจรผรู้ า้ ย ภาวะสงคราม การแยง่ ชงิ ดนิ แดน การลา่ อาณานคิ ม เป็นตน้ ส่งิ ตา่ ง ๆ เหลา่ นส้ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ สภาพทต่ี อ้ งดนิ้ รนในอดตีพาราไดมเ์ กยี่ วกบั ความยากจนมี 2 แบบ คอื กล่มุ แรก เชือ่ วา่ ความยากจนเปน็ พนั ธกุ รรม กลุ่มทส่ี อง เชื่อวา่ ความยากจนเปน็ นวตั กรรม ถามวา่ ในสงั คมไทยเชอ่ื แบบไหน ?



Post-Structuralism or Nothing

 การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ผศ. ดร. จติ รกร โพธ์ิงาม http://202.29.20.186/jittrakorn/images/data/Present/20.% E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0 %B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B 8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8% A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1 %E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E 0%B9%8C%201.ppt


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook