Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore warut5

warut5

Published by warut020639, 2017-06-26 00:35:02

Description: warut5

Search

Read the Text Version

Globalization ในความหมายของสงั คมไทย ชยั อนนั ต์ สมุทวานชิ เดมิ ไดแ้ ปลคา Globalization เป็นภาษาไทยวา่ “โลกานวุ ตั ร” โดยให้ ความหมายวา่ ประพฤตติ ามโลก ซึง่ เป็นการยน่ กาล (Time) เทศะ (Space) ยคุ ศรอี ารยิ ะ ใชค้ าวา่ “ระบบโลก” และ “โลกาภวิ ฒั น์” แทนคาวา่ Globalization โดยให้ เหตุผลวา่ โลกาภิวฒั น์ หมายถึง การวิวฒั นข์ องระบบโลก ซ่ึงประกอบดว้ ยมติ ทิ างการเมอื ง เศรษฐกจิ วัฒนธรรม รวมท้งั มติ ทิ างประวตั ศิ าสตรแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โดยมกี ารเคลื่อนตวั ของ ทุนในระดบั โลกเปน็ หวั ใจทท่ี าใหร้ ะบบนก้ี ่อตวั ขนึ้ ใน การชาระพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน เม่อื ปี พ.ศ.2537 ได้ตกลงเลือกคาวา่ “โลกาภวิ ตั น์ ” เปน็ ศพั ทแ์ ทนคาวา่ Globalization อยา่ งเป็นทางการ และใหเ้ พมิ่ คาวา่ โลกา ภิวตั น์ พรอ้ มดว้ นยิ ามเพม่ิ เตมิ ไวใ้ นพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 ดงั นี้ “โลกาภวิ ตั น์ น. การแพรก่ ระจายไปทวั่ โลก การทป่ี ระชาคมโลกไมว่ า่ จะอยู่ ณ จดุ ใด สามารถรบั รสู้ มั พนั ธห์ รอื รบั ผลกระทบจากสงิ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ซงึ่ เนื่องมาจากการพฒั นาระบบสารสนเทศ เป็นต้น (ป. โลก + อภวิ ตตน แปลว่า การแผถ่ ึงกนั ทัว่ โลก) (อ. Globalization)

ปจั จัยทีก่ อ่ ให้เกดิ กระแสโลกาภวิ ตั น์ การเชอื่ มโยงในดา้ นการคา้ การลงทนุ และการบรกิ ารในรปู แบบตา่ ง ๆ ทวั่ โลก ท่ี เรียกวา่ Globalization กาลงั มกี ารขยายตวั ดว้ ยอตั ราเรง่ และดว้ ยความถที่ สี่ งู ขน้ึ ตลอดเวลา โดยมปี จั จยั ทส่ี าคญั ดงั นค้ี อื • 1. ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยโี ทรคมนาคม • 2. การสิ้นสดุ ของสงครามเยน็ และชยั ชนะของระบบทุนนยิ มภายใตก้ ารนาของอเมรกิ า • 3. การเคลื่อนย้ายของผู้คน วัฒนธรรม ขอ้ มูลขา่ วสาร และเงนิ ทนุ ขา้ มพรมแดนรฐั ชาติ • 4. ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี • 5. อิทธิพลของบรษิ ทั ขา้ มชาติ และทนุ นยิ มบรโิ ภค • โดยสรปุ การเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ ว มที ง้ั มลู เหตรุ ะยะสน้ั เฉพาะหนา้ ในโครงสรา้ ง ส่วนบน คือการพงั ทลายของคา่ ยคอมมวิ นสิ ตแ์ ละการสนิ้ สดุ สงครามเยน็ ไป จนถงึ มลู เหตรุ ะยะยาวในโครงสรา้ งสว่ นลา่ ง คอื การปฏวิ ตั เิ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ Globalization ถือเปน็ ยคุ หนงึ่ ของพฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ โดยกอ่ นหนา้ น้ี นกั วชิ าการคอื Alvin Toffler ได้แบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ ไว้ในหนงั สอื ชอื่ The Third Wave (1980) ดังน้ี ยุคแรก คือ ยุคชมุ ชนบรรพกาล ซงึ่ มรี ะดบั พฒั นาการสงู สดุ คอื ระดบั ชมุ ชน หม่บู า้ น ใช้เครอ่ื งมอื ทที่ นั สมยั มีความสมั พนั ธท์ างสงั คม 2 แบบ คอื แบบพอ่ เปน็ ใหญ่ และแบบแมเ่ ปน็ ใหญ่ ยคุ ทส่ี อง คอื ยคุ จกั รวรรดทิ างการเมอื ง เกดิ ขนึ้ จากคลน่ื การปฏวิ ตั ทิ าง เกษตรกรรมทป่ี ระสานกนั กบั การปฏวิ ตั ทิ างการเมอื ง คือการกาเนดิ รฐั และชน ชั้น รวมถงึ การปฏวิ ตั ทิ างวฒั นธรรม ยคุ ทส่ี าม คือ ยุคโลกาภวิ ตั น์ โดยมี “ทนุ ” เปน็ หวั ใจของการววิ ฒั น์ เริม่ จากยคุ การปฏวิ ตั ทิ างการรบั รู้ (การกบฏตอ่ ศาสนา) และการปฏวิ ตั ทิ างการคา้ ตามดว้ ย การปฏวิ ตั ทิ างการเมอื ง การลม่ สลายของของศกั ดนิ าในยโุ รป การปฏวิ ตั ทิ าง อตุ สาหกรรม จักรวรรดนิ มิ และการลา่ อาณานคิ ม ความสงู สดุ ของยคุ นคี้ อื การ กาเนดิ ระบบทนุ นยิ ม ทเ่ี รยี กวา่ “ระบบตลาดโลก”

พัฒนาการของโลกาภิวตั น์ พัฒนาการของโลกาภวิ ตั น์ ปรากฏในขอ้ เสนอของนกั วชิ าการตะวนั ตกหลายท่าน ดังนี้ Norbert Elias เสนอวา่ โลกกาลงั เคลอ่ื นเขา้ สู่สภาวะทศ่ี วิ ไิ ลซ์ (Civilization) Immanuel Wallerstein เสนอแนวคดิ วา่ สงั คมโลกไดเ้ ชอื่ มโยงเขา้ ดว้ ยกนั มานานแลว้ จากระบบยอ่ ยคอื แคว้นเลก็ ๆ ส่รู ะบบจกั รวรรดิ เช่น จักรวรรดโิ รมัน จกั รวรรดเิ ปอรเ์ ซยี จีนหรอื อาหรบั สู่ระบบใหญใ่ นปจั จบุ นั คอื ระบบเศรษฐกจิ โลก ซงึ่ ทนุ นยิ มกอ่ ตวั มาตง้ั แต่ ค.ศ.1500 ฟรานซสิ ฟูกูยามา เสนอบทความชอ่ื The End of Ideology เมื่อ 30 ปที ่แี ลว้ วา่ ในอกี 25 ปีขา้ งหนา้ (เทยี บไดก้ บั ปัจจบุ ัน) สังคมจะเปน็ สงั คมหลงั พฒั นาอตุ สาหกรรม (Post- industrial ) Jerald Hage และ Charles H. Powers เขยี นหนงั สอื ชอื่ Post-industrial ไดอ้ ธบิ ายวา่ ปรากฏการณท์ ่จี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตถกู กาหนดดว้ ยขอบเขตของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ซงึ่ จะ ส่งผลกระทบอยา่ งลกึ ซงึ้ ตอ่ บทบาทและความสัมพนั ธท์ างสงั คมในครอบครวั การทางาน ชวี ิตและสังคม



บทที่ 2------------------ --------------------- ลกั ษณะของโลกาภวิ ตั น์ ผศ. ดร. จติ รกร โพธงิ์ าม

ลกั ษณะของโลกยคุ โลกาภิวตั น์1. การพงึ่ องิ รว่ มกนั (Interdependence)2. ความคลอ่ งตวั ในการเคลอ่ื นยา้ ยถา่ ยโอน (Mobility)3. การเกดิ ขน้ึ ในขณะเดยี วกนั (Simultaneity)4. การมมี าตรฐานเดยี วกนั ทง้ั โลก (Standardization)5. กระแสสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmentalism)6. กระแสวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี7. การปฏวิ ตั เิ ทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร

การปรับเปลีย่ นสังคมเข้าสยู่ คุ ไร้พรมแดนJohn Nasbitt ไดส้ รปุ แนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงระดบั โลกไว้ 10 ประการ ดงั นีค้ อื 1. เปลย่ี นจากสังคมอุตสาหกรรมสู่สังคมข้อมลู ขา่ วสาร (Industrial Society to Information Society) 2. เปลี่ยนจากเทคโนโลยหี นกั สเู่ ทคโนโลยชี นั้ สงู ระบบสัมผสั (Forced Technology to High Technology) 3. เปลี่ยนจากเศรษฐกจิ ระดบั ประเทศสู่ระดบั โลก (National Economy to World Economy) 4. เปล่ยี นจากระยะส้นั สรู่ ะยะยาว (Short Term to Long Term) 5. เปลีย่ นจากการรวมอานาจแบบศนู ย์กลางสกู่ ารกระจายอานาจ (Centralization to Decentralization) 6. เปล่ียนจากการชว่ ยเหลอื ของสถาบนั สกู่ ารชว่ ยเหลอื ตนเอง (Institutional help to Self help) 7. เปลี่ยนจากประชาธปิ ไตยแบบมผี แู้ ทนสู่ประชาธปิ ไตยแบบมสี ว่ นรว่ ม (Representative Democracy to Participatory Democracy) 8. เปน็ จากลาดบั ขนั้ สกู่ ารเปน็ เครอื ขา่ ย (Hierachies to Net working) 9. เปลย่ี นจากเหนือสใู่ ต้ (North to South) 10. เปล่ียนจากขอ้ จากดั สู่หลายทางเลอื ก (Either/ or to Multiple Option)

โลกาภวิ ตั น์กับการเมอื งโลก การล่มสลายของลทั ธกิ ารเมอื งคา่ ยสงั คมนยิ ม มผี ลทาให้ลทั ธกิ ารเมอื งคา่ ยเสรีประชาธิปไตยกลายเปน็ กระแสโลกาภวิ ตั นท์ แี่ พรก่ ระจายไปทว่ั โลก อดุ มการณใ์ หมท่ ่ีเกิดข้ึนคอื การเรยี กรอ้ งและปกป้องสิทธิมนษุ ยชน โดยเฉพาะสทิ ธเิ ดก็ สตรี และผดู้ ้อยโอกาส อานาจอธปิ ไตยใหม่ ๆ มีบทบาททางการเมอื งมากยิ่งขนึ้ เชน่ องค์การระหวา่ งประเทศ ชนกล่มุ นอ้ ย ขบวนการก่อการรา้ ยสากล ทาให้รัฐตา่ ง ๆ ต้องจากดั อานาจและบทบาทลง ดังน้ี 1. การลดบทบาทของรฐั 2. ความไม่ยงั่ ยนื ของรฐั อธปิ ไตย 3. ความไม่ชดั เจนในความเป็นรฐั ชาติ 4. การครอบงาของมหาอานาจ

แนวโนม้ การเมอื งโลกในอนาคต 1. ระบบโลกเคลอื่ นเขา้ สรู่ ะบบหลายขวั้ อานาจ (Multi-polar System) 2. การขยายตวั ของกระแสประชาธปิ ไตย (Democratization) และสทิ ธิ มนุษยชน (Human Right) 3. การนยิ าม “ความมน่ั คงของชาติ” (National Security) ในรปู แบบใหม่ และ การมบี ทบาทเพ่ิมมากขน้ึ ขององคก์ ารระหวา่ งประเทศ 4. การกอ่ การรา้ ยระหวา่ งประเทศขยายตวั ลกุ ลามไปยงั ภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก

โลกาภวิ ัตน์กับเศรษฐกจิ โลก กระแสโลกาภวิ ตั นท์ าใหต้ ลาดของโลกขยายตวั กวา้ งขวางขน้ึ มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยปจั จยั การผลติ และการลงทนุ ขา้ มชาตไิ ปท่ัวโลก แนวโนม้ เศรษฐกจิ โลกในยคุ โลกาภิวัตนม์ หี ลายประการ ดงั น้ี 1. เศรษฐกจิ โลกมเี สถยี รภาพ 2. มกี ารเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งเศรษฐกจิ สเู่ ศรษฐกจิ ใหม่ (New Economy) 3. การเปดิ เสรที างการคา้ โลกขยายตวั มากขน้ึ 4. การลงทุนระหวา่ งประเทศชะลอตวั 5. เกิดกระแสการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศในภมู ิภาคตา่ ง ๆ(Regional Trade Block) 6. ความเหลอื่ มลา้ ทางรายไดร้ ะหวา่ งประเทศเพม่ิ สงู ขนึ้ 7. การขยายตวั และเพิ่มบทบาทของบรษิ ทั เอกชน 8. ความกา้ วหนา้ ของคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารโทรคมนาคม 9. เงนิ ดอลลา่ รส์ หรฐั เปน็ สกลุ หลกั

โลกาภวิ ตั น์กับวฒั นธรรมโลก สภาพไรพ้ รมแดนและการเปดิ กวา้ งในมติ ขิ องการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสาร การคา้ การลงทนุ อยา่ งไรข้ ดี จากดั และการสอื่ สารโทรคมนาคม ส่งผลใหเ้ กดิ การแพรก่ ระจายวฒั นธรรมขา้ มพรมแดนอย่างสะดวกและรวดเรว็ นาไปส่กู รณเี หลา่ นี้ 1. การเปล่ยี นผ่านสภาพสงั คมในคลนื่ ลกู ที่ 4 (สงั คมแหง่ ความรู้) สู่สภาพสงั คมในคลืน่ ลกู ท่ี 5 (ปราชญสงั คม) 2. เกดิ ช่องวา่ งทางสังคมระหวา่ งประเทศท่รี า่ รวยกบั ประเทศยากจน 3. เกิดการปะทะกนั ทางอารยธรรม 4. เกดิ ความเสอื่ มโทรมทางศลี ธรรมทีม่ าพรอ้ มกับเทคโนโลยที ที่ นั สมยั 5. ประชากรวยั สงู อายกุ ลายเปน็ กลมุ่ ทีม่ บี ทบาทสาคัญ (ยคุ ขิงแก)่ 6. เกิดขบวนการเคล่อื นไหวทางสงั คมรปู แบบใหม่ (New SocialMovement)

ขบวนการตอ่ ต้านโลกาภวิ ตั น์ ทว่ั โลกรบั เอาแนวคิด New Social Movement จากตะวนั ตก นามาสกู่ ารเคลอ่ื นไหวตอ่ ตา้ นโลกาภวิ ตั นใ์ นลักษณะของ “ขบวนการท้องถ่ินนยิ ม“ หรอื ที่เรยี กวา่ “ม็อบ” ซ่งึ ขบวนการดงั กลา่ วมลี กั ษณะทสี่ าคญั ดงั นี้ 1. ขบวนการเหลา่ นมี้ ไิ ดผ้ ูกตดิ กบั ชนชนั้ ใดชนั้ หนง่ึ ที่ชดั เจน 2. กระบวนการเรยี กรอ้ งไมส่ นใจท่จี ะดาเนนิ การผา่ นกลไกของรฐั ไม่วา่ จะเปน็ พรรคการเมอื งหรอื นกั การเมอื ง แตจ่ ะเขา้ เรยี กรอ้ งดว้ ยตนเองเปน็ หลัก 3. เป้าหมายของการเรยี กรอ้ งมิใชเ่ พ่ือชว่ งชงิ อานาจรฐั แตต่ อ้ งการสรา้ งสรรคก์ ตกิ าหรอื กฎเกณฑใ์ หม่ในการดาเนนิ ชวี ติ ยทุ ธวธิ ที ส่ี าคัญคือ 1. กระบวนสรา้ งความหมาย (Process of Social Construction) 2. กระบวนการสรา้ งความเปน็ ตวั ตนหรอื อตั ลกั ษณ์ (Process of IdentityConstruction)

ความหลากหลายและความซบั ซอ้ นของขบวนการ เคลื่อนไหวทางสงั คม ขบวนการเคลอื่ นไหวทางสงั คมในปจั จบุ นั สามารถจาแนกไดเ้ ป็น 5 รูปแบบ คอื 1. รูปแบบขบวนการเคลอื่ นไหวทางสงั คมทผี่ ูกติดอยกู่ บั ชนชั้นใหมใ่ นสงั คม (Middle-Class Movement) เช่น การเรยี กรอ้ งรฐั ธรรมนูญ กลุ่มพนั ธมติ ร ฯลฯ 2. รูปแบบขบวนการเคลอื่ นไหวทางสังคมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความสัมพนั ธร์ ะหว่างกระแสโลกาภวิ ตั น์ (Globalization) เช่น กระบวนการยตุ ิธรรมของโลก ขบวนการขวาจดั ขบวนการซา้ ยจดั ลัทธิ ก่อการรา้ ย ฯลฯ 3. รูปแบบขบวนการเคลอ่ื นไหวทางสงั คมทเี่ กย่ี วข้องกบั การเมอื งของการพัฒนา (Politics of Development) เชน่ ขบวนการวฒั นธรรมชมุ ชน สมชั ชาคนจน ยายใฮ ขนั จนั ทา ฯลฯ 4. รูปแบบขบวนการเคลอื่ นไหวทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การตอ่ ต้านของชาวนาใน ชีวิตประจาวนั (Everyday Life Resistance) เช่น ขบวนการชาวนาในอดีต James Scott เรยี กวธิ กี ารของชาวนานว้ี า่ “อาวุธของผอู้ อ่ นแอ” (Weapons of the Weak) 5. รูปแบบขบวนการเคลอื่ นไหวทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การเรยี กรอ้ งสทิ ธิ (The Rights Movement) เช่น กลมุ่ สตรี กลมุ่ ชนพ้นื เมอื ง กลุ่มเรยี กรอ้ งสทิ ธสิ ตรี ฯลฯ

บทท่ี 3------------------ --------------------- แนวคิดโลกาภวิ ตั น์ ผศ. ดร. จติ รกร โพธง์ิ าม

1. แนวคดิ กระบวนการสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมโลก แนวคิดนี้ เชื่อวา่ พลงั ทางเทคโนโลยี พลงั ทางเศรษฐกจิ พลงั ทางการเมอื ง และพลงั ทาง วัฒนธรรมจากโลกภายนอกท่ีไหลบา่ มาทว่ มทับคนทงั้ โลก จึงเปน็ เรอื่ งที่หลกี เลยี่ งไมไ่ ด้วา่ การ เปล่ียนแปลงใด ๆ ท่ีเกิดข้ึนตามมานัน้ ย่อมส่งผลกระทบตอ่ วฒั นธรรมและวิถชี วี ติ ของผูค้ นทั่วโลกอย่าง หลกี เลยี่ งไมพ่ ้น (นธิ ิ เอยี วศรีวงศ์. 2537)2. แนวคดิ เรอื่ งการยน่ ยอ่ มติ ทิ างเวลาและพน้ื ท่ี แนวคิดนี้ เชอ่ื ว่า การปฏวิ ัติระบบสื่อสารคมนาคม เป็นหวั ใจของโลกาภวิ ตั น์ในรปู ของการหลอม ละลายเชงิ พ้นื ทแ่ี ละเวลา ทาใหก้ ารติดต่อสมั พนั ธถ์ ย่ี บิ และเขม้ ขน้ ขนึ้ (Harvey, David. 1995)3. แนวคดิ ระบบโลก ระบบโลก เป็นภาพของอาณาบรเิ วณท่ถี กู สรา้ งขนึ้ จากการไหลเวยี นไปทัว่ โลกของข่าวสารขอ้ มลู ซง่ึ ทง้ั หมดนเ้ี กดิ จากการไหลเวยี น “ทนุ ” ระหวา่ งชาติ Immanuel Wallerstein อธิบายว่า การขยายตัวของทนุ นิยมโลกเกดิ ขน้ึ ในอาณาบรเิ วณ 3 ประเภทคอื รัฐศนู ยก์ ลาง (Core State) เขตรอบนอก (Perphery) และ ระหวา่ ง 2 บรเิ วณดงั กลา่ ว (Semi -perphery) แนวคิดนเี้ ชือ่ วา่ ระบบสงั คมทม่ี อี ยเู่ พยี งระบบเดียวในเวลานคี้ ือ ระบบโลก

4. แนวคดิ วฒั นธรรมมวลชนระดบั โลก Stuart Hall เสนอวา่ วฒั นธรรมโลกยุคโลกาภิวตั น์ จะถกู ควบคมุ โดยเครอ่ื งมอื สมยั ใหมท่ ที่ าหนา้ ที่ ในการผลติ “วัฒนธรรมมวลชนโลก” ซ่ึงวฒั นธรรมดงั กลา่ วมลี กั ษณะสาคญั 2 ประการคอื - ทกุ อยา่ งรวมศนู ยอ์ ยใู่ นโลกตะวนั ตก โดยใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ ภาษาสากลในการสือ่ สาร - วัฒนธรรมมวลชนโลกมลี กั ษณะเปน็ วัฒนธรรมทเี่ ปน็ อันเดยี วกัน ทส่ี ร้างขนึ้ มาจากตัวแทน วัฒนธรรมอนั หลากหลาย มีการปรบั เปลยี่ น ผสมผสาน คดั เลอื ก ต่อรอง และซมึ ซบั ระหว่างสง่ิ เกา่ กบั ส่งิ ใหม่ ระหว่างท้องถิน่ กบั สากล ไม่มคี าตอบ ไม่ส้ินสุด ทกุ อยา่ งยงั คงดาเนนิ ต่อไปไมข่ าดสาย5. แนวคดิ การไหลเวยี นของวฒั นธรรม โลกาภวิ ตั น์ เปน็ กระแสทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การไหลเวยี นของวฒั นธรรมมติ ิต่าง ๆ ข้ามพรมแดนรฐั ชาตใิ น ระดบั ทไ่ี มเ่ คยมมี ากอ่ นในประวัตศิ าสตรม์ นษุ ย์ Arjun Appadurai เสนอว่า ระบบเศรษฐกจิ และวัฒนธรรมโลกสมยั ใหม่ จาต้องไดร้ บั การทาความ เข้าใจในฐานะท่เี ปน็ ระเบยี บทีส่ ลบั ซบั ซอ้ น มรี อยตอ่ เหลื่อมกนั และกนั แทนท่จี ะเปน็ การพจิ ารณาตัวแบบ ที่เน้นความสมั พนั ธร์ ะหว่างศนู ยก์ ลางกบั ชายขอบ เหมือนทเ่ี ปน็ มา

ทงั้ นี้ กระแสโลกาภวิ ตั นไ์ ดก้ ่อใหเ้ กดิ การไหลเวยี นหรอื เคลอ่ื นย้ายของวฒั นธรรมใน 5 มิติที่สาคญั คอื 1. มิตทิ างชาตพิ นั ธุ์ (Ethno-scopes) ไดแ้ ก่ การย้ายของผู้คนไปทั่วโลก เชน่นักทอ่ งเทีย่ ว ผอู้ พยพ ผลู้ ภ้ี ัย แรงงานขา้ มชาติ นักธุรกิจ นักลงทุน นกั เรียน นกั ศึกษานกั วชิ าการ ฯลฯ 2. มติ ิทางเทคโนโลยี (Techno-scopes) ได้แก่ การเคลือ่ นย้ายของเครอื่ งจกั รโรงงาน การจัดการ สนิ คา้ และบรกิ าร ทัง้ ทีเ่ ปน็ ของบรรษทั ขา้ มชาติ บริษัทแหง่ ชาติ และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของรฐั บาล 3. มิติทางการเงนิ (Finance-scopes) ไดแ้ ก่ การไหลเวยี นอยา่ งรวดเรว็ ของเงนิ ตราในตลาดเงนิ ตลาดหนุ้ และการลงทุนขา้ มชาติ 4. มติ ทิ างสอ่ื มวลชนและขา่ วสารขอ้ มูล (Media-scopes) ไดแ้ ก่ การเดนิ ทางของขา่ วสารขอ้ มลู และภาพลักษณต์ า่ ง ๆ ข้ามพรมแดนรฐั ชาตหิ รอื อาณาเขตทางภมู ศิ าสตร์ ผ่านทางสื่อมวลชนชนดิ ตา่ ง ๆ เช่น เครอื ขา่ ยวทิ ยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์อินเตอรเ์ นต็ หนงั สอื พมิ พ์ สารสารตา่ ง ๆ 5. มติ ทิ างอดุ มการณ์ (Ideo-scopes) ไดแ้ ก่ การแพรห่ ลายของแนวคดิ และอดุ มการณข์ า้ มพรมแดนรฐั ชาติ โดยเฉพาะแนวคดิ และอดุ มการณท์ ่ีเป็นผลผลติ ทางดการปฏวิ ตั ิภูมปิ ัญญาของตะวันตก เช่น แนวคิดเรอ่ื งประชาธปิ ไตย เสรภี าพ ความเสมอภาค ความยุตธิ รรมสวสั ดกิ ารสงั คม สทิ ธิมนุษยชน สิทธิสตรี และจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดล้อม ฯลฯ

6. แนวคดิ กระบวนการทาใหว้ ฒั นธรรมกลายเปน็ สนิ คา้ โลกทวี่ วิ ฒั นไ์ ปในทศิ ทางอนั เปน็ หนง่ึ เดยี ว ได้กมุ อานาจเบ็ดเสรจ็ ตอ่ แนวทางพฒั นาและ วิถชี วี ติ ของผคู้ นในดนิ แดนตา่ ง ๆ เกือบท่ัวโลก โดยมกี ลไกแหง่ อานาจ ทเี่ รียกวา่ “ระบบตลาด” และ “เศรษฐกิจเสร”ี เปน็ อาวธุ ทที่ รงพลงั พรอ้ มน้ี ไดม้ กี ารก่อเกดิ วฒั นธรรมโลกาภวิ ตั นข์ นึ้ แทนทว่ี ฒั นธรรมเดมิ ที่หลากหลาย ครอบงาวถิ ชี วี ติ คา่ นยิ ม และหลอมละลายโลกทั้งโลกไปสู่ “เอกภาพแหง่ โลกยคุ ใหม่” โลกาภวิ ตั น์ คอื ระบบทุนนยิ มทม่ี ีพฒั นาการ งอกเงย เป็นลาดบั ตง้ั แตย่ คุ ทนุ อตุ สาหกรรม ที่ประเทศโลกที่หนงึ่ แสวงหาประโยชนจ์ ากการถลุงทรพั ยากรในประเทศอนื่ หรอื อาณานคิ ม ของตน โดยเฉพาะในหมปู่ ระเทศโลกทสี่ าม เครื่องมอื ทส่ี าคญั ของตะวนั ตกคอื การพยายามใชป้ ระโยชนจ์ ากวฒั นธรรม โดยการ เปลี่ยน “วฒั นธรรม” และ “คุณคา่ ” บางอยา่ ง ให้เปน็ “สนิ คา้ ” ท่ีเรยี กว่า การสร้าง “วัฒนธรรม บริโภค” ผา่ นอทิ ธิพลของการสอื่ สารทกุ รปู แบบ วิธีการ คือ กระตนุ้ ปลกุ เร้า เพื่อใหเ้ กดิ ความตอ้ งการ “เทยี ม” ตอ่ สนิ คา้ เหมอื นกันไปทั่ว โลก ทาให้ผู้บรโิ ภค ไมว่ ่าผิวสีใด เช้ือชาตไิ หน ตา่ งรจู้ ักชอื่ ของสนิ ค้า เมอื่ ความตอ้ งการถกู ทา ให้ต้องการ เพือ่ เสพ “สัญญะ” หรือ “สญั ลักษณ์” ดงั นนั้ กระบวนการทาวฒั นธรรมใหก้ ลายเป็นสนิ ค้า กค็ ือ กลยุทธใ์ นการกระตนุ้ ปลุกเรา้ ใหผ้ ้คู นหลงใหล ช่ืนชม เพียงเพอื่ ตอ้ งการบรโิ ภค “ความหมาย” ของสนิ คา้ นั่นเอง

7. แนวคดิ เรอ่ื งกระแสทขี่ ดั แยง้ กนั เมอื่ โลกทงั้ โลกถูกเชอ่ื มโยงเขา้ ดว้ ยกัน การเปลย่ี นแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ ในซกี หนงึ่ ของโลก ย่อม ส่งผลกระทบตอ่ อีกซกี หนง่ึ อย่างรวดเรว็ อย่างไรกด็ ี แม้โลกาภวิ ตั นจ์ ะสามารถเปดิ พรมแดนของ รัฐชาติ อาจสร้างระบบเศรษฐกิจโลก หรอื อาจสรา้ งวฒั นธรรมบรโิ ภคท่คี ล้ายคลงึ กนั ได้ แตโ่ ลกา ภิวัตนก์ ็มกี ระบวนการบางอย่างทข่ี ดั แยง้ อยใู่ นตวั เช่น ขณะทโี่ ลกกาลงั จะเปน็ หนง่ึ เดยี ว ไร้พรมแดนทางเศรษฐกจิ และสังคม แตก่ ม็ ี ขบวนการท้องถิน่ นยิ ม วัฒนธรรมนยิ ม ชาตนิ ยิ ม หรอื เผา่ พนั ธนุ์ ยิ ม ทีเ่ รียกวา่ “ขบวนการ ต่อต้านโลกาภวิ ตั น์” เกดิ ขนึ้ มากมายท่วั โลก Anthony Giddens เสนอแนวคดิ เกยี่ วกบั เรอื่ งนวี้ า่ กระแสโลกาภวิ ตั นน์ น้ั เปน็ กระบวนการทปี่ ระกอบขน้ึ จากแนวโนม้ หรอื กระแสทข่ี ดั กนั ซง่ึ อาจแบ่งออกเปน็ 5 มิติ ดงั นค้ี ือ 1. กระบวนการเป็นสากลกบั กระบวนการเฉพาะถน่ิ และเฉพาะตวั (Universalization & Particularization) 2. การเปน็ เนอ้ื เดยี วกับการจาแนกความแตกตา่ ง (Homogenization & Differentiation) 3. การบูรณาการกบั การแตกแยก (Integration & Fragmentation) 4. การรวมศนู ยอ์ านาจกบั การกระจายศนู ยอ์ านาจ (Centralization & Decentralization) 5. การโละมาเรยี งกนั และการผสมผสานกนั (Juxtaposition & Synchronization)

8. แนวคดิ แบบหลงั สมยั ใหม่ (Post-Modernism) ระบบคดิ ความรู้ อดุ มการณ์ ของผ้คู นในยคุ โลกาภวิ ตั น์มาถงึ จดุ เปลย่ี นทส่ี าคญั คือ ได้เปลย่ี น ผา่ นจากระบบคดิ แบบสมยั ใหม่ (Modernism) มาเป็นระบบคดิ แบบหลงั สมยั ใหม่ (Post-modernism) หรือที่เรยี กวา่ พวกโพสต์โมเดริ น์ ไรท์ ซี. มิลล์ ตั้งข้อสงั เกตวา่ “ยุคหลงั สมยั ใหมก่ าลงั กา้ วมาแทนทยี่ คุ สมยั ใหม่ อนั เป็นยคุ ที่ สมมตุ ธิ รรมเกี่ยวกับความสมานฉนั ทใ์ นคา่ นยิ มทีว่ ่าด้วยความมเี หตุผลตามหลกั “วิทยาศาสตร์” และ อสิ รภาพทาง “การเมอื ง” กาลงั ถกู ทา้ ทาย” ปจั จุบนั เรมิ่ มกี ารตงั้ คาถามถงึ ความชอบธรรมของความรู้ 2 ประการทสี่ าคญั คอื ประการแรก ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรท์ เ่ี คยถกู มองวา่ เปน็ ความรสู้ งู สดุ ในยคุ สมยั ใหม่ ไมใ่ ช่ ความรแู้ บบเดยี ว แต่ยังมคี วามรแู้ บบอืน่ ๆ (Narrative) ประการทส่ี อง เกณฑใ์ นการตัดสนิ ว่า อะไรเปน็ ความรู้ หรือวา่ ไมเ่ ปน็ ความรู้ เป็นเกณฑ์ เดียวกบั ที่ผปู้ กครองใชต้ ดั สนิ วา่ อะไรยตุ ิธรรมในการใช้กฎหมาย ดงั นน้ั ความร้ทู างดา้ น วิทยาศาสตร์ จึงไมใ่ ช่ความจรงิ ทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ

เปรียบเทยี บไดว้ า่ ผคู้ นในยคุ สมัยใหมม่ โี ลกทัศนท์ ไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากวทิ ยาศาสตร์แบบกลไกของ ไอแซค นิวตนั ทีเ่ หน็ วา่ จกั รวาลมคี วามคงที่ หรือมเี สถยี รภาพ ในขณะที่ผู้คนในยุคหลงั สมัยใหม่ เชื่อว่า ในสภาพทเี่ ราอยโู่ ลกไดเ้ ปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลาเชน่ เดยี วกนั ความรู้ทมี่ ลี กั ษณะอย่างดที ี่สดุ ก็คอื เป็นความรแู้ บบชวั่ คราวทีต่ อ้ งปรบั เปล่ยี นอยเู่ สมอ Michel Foucault เหน็ วา่ ความรกู้ บั อานาจเปน็ สงิ่ ทไี่ มอ่ าจแยกออกจากกนั ทาให้เกดิ ความสงสยั ในวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงเป็นความรทู้ ถ่ี ูกจดั ใหอ้ ยใู่ นระดบั สงู สดุ ของความรู้ทัง้ ปวงในยคุ สมัยใหม่ การอ้างวา่ ความรแู้ บบวทิ ยาศาสตรน์ นั้ เป็นความรทู้ ่ีจรงิ ทีส่ ดุเพราะปลอดคา่ นยิ ม และเป็นอสิ ระจากอดุ มการณท์ างการเมือง Foucault ไมเ่ หน็ ดว้ ย แตก่ ลบั มองวา่ แทท้ ่จี ริงแลว้ มนั กลบั เปน็ ความรทู้ ใ่ี หผ้ ลประโยชนก์ บั กลมุ่ ชนชน้ั นาในสังคม Baudrillard เห็นดว้ ยกบั Foucault โดยเขาเสนอวา่ วทิ ยาศาสตรก์ ม็ ฐี านะไม่แตกตา่ งไปจากอภติ านาน (Grand Narrative) ที่ทาให้คนเชอ่ื ตดิ ตาม และนามาอา้ งองิแท้ทจ่ี รงิ แลว้ กค็ อื วาทกรรม (Discourse) นน่ั เอง

ทัศนะของ Post-modern ตอ่ ระบบคดิ ความรู้ หรอื ลกั ษณะของความรทู้ ี่พงึประสงค์ คือ ความร้ทู ่ีมลี กั ษณะเฉพาะถ่ิน หลากหลาย ใชว้ ิธวี เิ คราะหใ์ นระดบั จุลภาค และเป็นเรือ่ งเลา่ ในขอบเขตแคบ ๆ (Little Narrative) แนวคดิ แบบหลังสมยั ใหม่ ไม่เห็นดว้ ยกบั การใชว้ ธิ วี ทิ ยาแบบหนง่ึ แบบใดเพยี งแบบเดยี ว ไม่ว่าจะเปน็ เชงิ ปรมิ าณหรอื เชงิ คณุ ภาพ แต่เสนอใหใ้ ช้ พหวุ ิธี (Metrologies) และมองปญั หาดว้ ยทศั นภาพทห่ี ลากหลาย (Multiple Perspective) Post-modern ท้าทายอะไร ? พวก Post-modernism ท้าทายรากฐานหรอื “หวั ใจ” (Center) ของภมู ปิ ญั ญาของยคุ สมยั ใหม่ ไมไ่ ดป้ ฏเิ สธแตล่ ดฐานะของวทิ ยาศาสตรว์ ่าเปแ็ คค่ วามรคู้ วามเขา้ ใจธรรมชาตสิ งั คมมนษุ ยแ์ บบหนง่ึ เทา่ นนั้ พวก Post-modernism เห็นว่า การพยายามแบง่ ประเภท จดั สรร จัดหมวดหมทู่ ่ีนาไปสู่กฎเกณฑร์ ะเบยี บทางวทิ ยาศาสตร์ ระเบียบทางสงั คม ไดอ้ า้ งความรแู้ ละความสมเหตสุ มผลอยา่ งเดยี ว เป็นเรื่องทข่ี าดความชอบธรรม เพราะในความเปน็ จรงิ ความสมเหตสุ มผลมไี ดห้ ลายแบบ

9. แนวคดิ เรอ่ื งวาทกรรม (Discourse) วาทกรรม คือ มโนทัศนห์ ลกั ทางสังคมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาชดุ หนงึ่ ซง่ึ กาลงั มี บทบาทและไดร้ บั การยอมรบั อยา่ งแพรห่ ลายในวงวชิ าการปจั จบุ นั เดิมวาทกรรม หมายถึงการวเิ คราะหค์ วามหมายของภาษาพดู (Spoken Language) และมกั นยิ ม ศึกษากนั ในหมนู่ กั วรรณคดี ในปจั จบุ นั นกั สงั คมวิทยานยิ มนาเอาวธิ ีการวเิ คราะหว์ าท กรรมมาทาการวเิ คราะหป์ ระเดน็ ของอานาจและความสมั พนั ธเ์ ชงิ อานาจ นกั ปรัชญาอยา่ ง Wittgenstein วเิ คราะหว์ า่ ในโลกนม้ี ี “วาทกรรม” หลาย แบบ (Different Modes of Discourse) รูปแบบท่ีหลากหลายของกาแสดงออกซงึ่ คาพดู เรียกว่า Language Games “เกมภาษา” ผเู้ ล่นจะตอ้ งมารว่ มกนั สรา้ งกฎ กตกิ า เกมทกุ เกม ยอ่ มตอ้ งมกี ตกิ าการเลน่ นักทฤษฎผี บู้ ุกเบกิ การศกึ ษาในแนววเิ คราะหว์ าทกรรมคอื Michel Foucault วธิ ีคดิ และวธิ ีวทิ ยาของ Foucault ไดผ้ า่ นขน้ั ตอนของการพฒั นาในแงว่ ธิ วี ทิ ยามา ตามลาดบั กล่าวคอื ในสมยั ตน้ ๆ Foucault ได้รบั อทิ ธพิ ลของทฤษฎโี ครงสรา้ งนยิ ม เขาเขยี นเกยี่ วกับ “โบราณคดเี กยี่ วกบั ความรู้” (Archaeology of Knowledge) อัน เป็นผลงานซงึ่ เนน้ ศกึ ษาปรากฏการณด์ า้ นวาทกรรมทเ่ี ก่ยี วกบั ความรู้ ความคดิ และ รปู แบบของวาทกรรม (Modes of Discourse)

 ผลงานทีส่ รา้ งชอื่ เสียงให้ Michel Foucault คอื หนงั สอื ชอ่ื “Madness and Civilization” และ “The Order of Things : An Archaeology of the Human Sciences” เล่มแรกจะกลา่ วถงึ การแบง่ แยกความวกิ ลจรติ ออกจากความมเี หตผุ ล และ ในท่ีสุดเหตผุ ลกก็ ลายเปน็ สงิ่ ที่มีอทิ ธพิ ลเหนอื ความวกิ ลจรติ สว่ นเลม่ หลงั เป็นงาน ที่กลา่ วถงึ บทบาททง้ั สองดา้ นของวาทกรรมในรปู ของงานเขยี นทวี่ า่ งานเขยี นหากไม่ เชิดชู ตอกยา้ กต็ อ้ งการสลาย ส่นั คลอน ลม้ ลา้ ง หรอื สรา้ งความพรา่ มวั ใหก้ บั บรรดา ระบบระเบยี บทด่ี ารงอยู่ ความหมายของวาทกรรม วาทกรรม หมายถงึ ระบบ และกระบวนในการสรา้ ง/ ผลิต (constitute) เอกลกั ษณ์(Identity) และความหมาย (significance)ใหก้ บั สรรพสงิ่ ในสังคมท่ีหอ่ หมุ้ เราอยู่ ไมว่ า่ จะเปน็ ความจรงิ อานาจ หรอื ตวั ตนของเราเอง หนา้ ท่ีของวาทกรรม วาทกรรมจะทาหนา้ ทป่ี กั /ตรงึ สง่ิ ท่ีสรา้ งขน้ึ ใหด้ ารงอยแู่ ละ เปน็ ที่ยอมรบั ของสงั คมในวงกวา้ ง (valorize) ให้กลายสภาพเปน็ “วาทกรรมหลกั ” (dominant discourse) ในสงั คม

การผลิต/สรา้ งวาทกรรม วาทกรรมจะถกู ผลติ หรอื สรา้ งขน้ึ จากความแตกตา่ งระหวา่ งสงิ่ ทส่ี ามารถพดู ถึงไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งในชว่ งเวลาหนงึ่ (ภายใตก้ ฎเกณฑแ์ ละตรรกะชดุ หนง่ึ ) กับสิ่งท่ถี กู พดู อยา่ งแท้จรงิ วาทกรรมเปน็ เรอ่ื งของอานาจและความรุนแรงทแ่ี สดงออกมาในรปู ของภาคปฏบิ ตั กิ ารจรงิ ของวาทกรรมในสงั คม การวิเคราะหว์ าทกรรม คอื การพยายามศกึ ษาและสืบคน้ ถงึ กระบวนการขั้นตอน ลาดับเหตกุ ารณแ์ ละรายละเอียดปลกี ยอ่ ยในการสรา้ งเอกลกั ษณใ์ หก้ ับสรรพสง่ิทห่ี ่อหุ้มเราอยใู่ นสังคมในรปู ของวาทกรรมและภาคปฏบิ ตั กิ ารของวาทกรรม หัวใจของการวเิ คราะหว์ าทกรรมอยทู่ ่กี ารพิจารณา คน้ หาวา่ ดว้ ยวธิ กี ารหรอื กระบวนใดท่สี งิ่ ตา่ งๆ ในสงั คมถูกทาใหก้ ลายเปน็ วตั ถเุ พอื่ การศกึ ษา/เพอื่ การพดู ถงึ วาทกรรม หลักการวเิ คราะหว์ าทกรรม มิได้อยทู่ ี่การวเิ คราะหค์ าพดู นนั้ จรงิ หรอื เทจ็ อย่างแนวปฏฐิ านนยิ มและประจกั ษน์ ยิ ม (positivists and Empiricists) แตใ่ หค้ วามสนใจกับ“กฎเกณฑช์ ดุ หนงึ่ ” ที่เป็นตวั กากบั คาพดู นนั้ ๆ เปน็ ไปไดม้ ากกวา่ เป็นเรอ่ื งขอ้ เท็จหรอืจรงิ กฎเกณฑเ์ หลา่ นอี้ ยใู่ นวาทกรรมและภาคปฏบิ ตั กิ ารจรงิ ของวาทกรรม

ในการวเิ คราะหว์ าทกรรม มกั จะเรมิ่ ตน้ ดว้ ยคาถามท่พี น้ื ๆ และดเู หมอื นงา่ ยทสี่ ดุ เชน่ วา่ “อะไร คอื ส่ิงทีเ่ รยี กวา่ การพฒั นา” (What is Development ?)หรอื ”อยา่ งไร ถงึ จะเปน็ การพฒั นา” (How is Development ?) การต้งั คาถามในลกั ษณะนม้ี ใิ ชด่ ว้ ยวตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ อ้ งการสรา้ งหรอื กาหนดนิยามทแี่ นน่ อน ตายตวั ชดั เจน และสามารถวดั ไดใ้ นเชงิ ปรมิ าณดงั ท่ี นักทฤษฎีแนวปฏฐิ านนยิ มและประจกั ษน์ ยิ มเรยี กวา่ “คานิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร” (OperationalDefinition) แตเ่ ป็นการตง้ั คาถามเพือ่ ตอ้ งการตรวจสอบหรอื สบื คน้ วา่ เอกลักษณแ์ ละความหมายของสิง่ ทเ่ี รยี กวา่ / ถือวา่ “การพฒั นา” นัน้ ถูกสรา้ งขนึ้ มาไดอ้ ยา่ งไรและมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร (Formation and Transformation) แนววเิ คราะหว์ าทกรรม จะอยทู่ ่ี ประการท่ี 1 การวเิ คราะห์ วาทกรรมมไิ ดแ้ ยกอย่างเดด็ ขาดระหวา่ งสง่ิ ทีเ่ รยี กวา่ “ทฤษฎ”ี กับโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ ที่เปน็ รปู ธรรมระหวา่ งอดุ มการณก์ ับความเป็นจรงิ และประการที่ 2 การวเิ คราะหว์ าทกรรมจะชว่ ยให้เราตระหนกั วา่ เรอ่ื งของจดุ ยนื ความคดิ ความเหน็ ความเชอ่ื ความรู้ ความหมายฯลฯ ของคนในสงั คม

แนวทางการวเิ คราะหแ์ ละวธิ วี ทิ ยาในการวเิ คราะหว์ าทกรรมในแนวทางดงั กลา่ วจะชว่ ยใหเ้ ราเหน็ โครงขา่ ย/ โยงใยทางอานาจของความรชู้ ดุ ตา่ ง ๆ ในสงั คม ตลอดจนจะทาใหม้ องเหน็ กลไกการทางานท่สี อดผสานกนั ระหวา่ งวาทกรรมและปฏบิ ตั กิ ารทางวาทกรรม รวมทัง้ ยงั ทาใหเ้ หน็ ยทุ ธศาสตรข์ องกลมุ่ ตา่ ง ๆ ทถี่ กู กาหนดขน้ึ จากเงอ่ื นไข/ปัจจยั ทางความรแู้ ละสงั คม ที่สาคญั วิธกี ารวเิ คราะหว์ าทกรรมในแนวของ Foucault มิได้สนใจศกึ ษาความจรงิ(Truth) แตส่ นใจศกึ ษา วาทกรรมวา่ ดว้ ยความจรงิ (A Discourse of Truth) สิง่ ทเี่ ป็น “ขดี จากดั ของวาทกรรม” ซ่ึงหมายถงึ “ส่ิงทไี่ มถ่ อื เปน็ วาทกรรม” ได้แก่ ประการท่หี นง่ึ สง่ิ นน้ั หรอื เรอ่ื งนน้ั ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความสมั พนั ธเ์ ชงิ อานาจ ประการท่สี อง เม่อื กระแสหลกั ไมไ่ ดถ้ ูกตอบโตโ้ ดยกระแสรอง ประการท่สี าม เม่อื ปรากฏการณด์ งั กลา่ วนนั้ ไม่มกี ารลกุ ขนึ้ มาตอบโตก้ ารครอบงา



บทที่ 4------------------ --------------------- โลกาภิวตั น์กบั สังคมไทย ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

ปัจจยั ท่ีตอบสนองต่อกระแสโลกาภวิ ตั น์ของ สังคมไทย กระแสโลกาภวิ ตั นท์ าใหส้ งั คมไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงองคป์ ระกอบทางชนชน้ั ทัศนคตแิ ละอดุ มการณ์ ปจั จยั ทต่ี อบสนองตอ่ กระแสโลกาภวิ ตั นข์ องสังคมไทย ไดแ้ ก่ 1. โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ไทย เปน็ ระบบทนุ นยิ มเสรี มีลกั ษณะเออ้ื อานวยตอ่ การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ตามระบบเศรษฐกจิ โลก 2. โครงสรา้ งสงั คมไทย เกิดการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งอนั เปน็ ผลจากการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ เนือ่ งจากอทิ ธพิ ลของอดุ มการณแ์ บบเสรนี ยิ มกระจายไปอยใู่ นชนทกุ ชนั้ 3. โครงสรา้ งทางการเมอื ง อดุ มการณท์ างการเมอื งแบบเสรนี ยิ มขยายตวั ลงมาสมั พนั ธก์ บั วถิ ชี วี ติ ประจาวนั ทางเศรษฐกจิ และสงั คมมากขน้ึ

ผลกระทบโดยรวมในมิตทิ างเศรษฐกจิ การเมอื ง และสังคม ด้านเศรษฐกจิ ประเทศไทยมกี ารขยายตวั ขององคป์ ระกอบทาง เศรษฐกจิ การปรบั ตวั ของโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ การขยายอทิ ธพิ ลของ บรรษทั ขา้ มชาตแิ ละการลดลงของอานาจรฐั การครอบงาทางเศรษฐกจิ โดยมหาอานาจและองคก์ ารระหวา่ งประเทศ ความเหลอ่ื มลา้ ในการ กระจายรายไดใ้ นสงั คม ฯลฯ ดา้ นการเมอื ง มกี ารปฏริ ปู การเมอื ง การปฏริ ปู ระบบราชการ การปฏวิ ตั ิ รัฐประหาร เล่นพรรคเลน่ พวก ซื้อสทิ ธ์ิขายเสยี ง ปญั หาชายแดน ฯลฯ ด้านสงั คม เกดิ ปญั หาความรนุ แรงในสงั คม ปญั หาโรคเอดส์ ปัญหา การศกึ ษา ปัญหาคา่ นยิ มในหมคู่ นรนุ่ ใหม่ ฯลฯ

ผลบวกของโลกาภวิ ัตน์ 1. ช่วยใหก้ ารติดตอ่ สอ่ื สารเปน็ ไปอยา่ งสะดวกและรวดเรว็ 2. ช่วยจดั ระเบยี บและประมวลผลขอ้ มลู 3. ชว่ ยลดการใชก้ าลงั แรงงานลง 4. ช่วยสนบั สนุนการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ และการเสาะแสวงหา ความรใู้ หม่ ๆ 5. ช่วยใหม้ ีการเผยแพรข่ อ้ มลู ความคดิ เหน็ ขา่ วสาร วัฒนธรรม และแบบแผนปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งมนษุ ยอ์ ยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง

ผลลบของโลกาภิวัตน์ 1. กอ่ ใหเ้ กดิ การลอกเลยี นแบบทเ่ี ปน็ สากล แต่ทาลายคณุ คา่ วิธีคดิ คา่ นยิ ม วัฒนธรรม และแบบแผนปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เอกลกั ษณข์ องแตล่ ะสงั คม 2. สรา้ งความแตกตา่ งทางเศรษฐกจิ และสงั คมระหวา่ งประเทศ หรอื บคุ คล 3. เปิดโอกาสใหเ้ กดิ การแทรกแซงและครอบงาโดยประเทศหรอื สงั คมทมี่ ี ความเหนอื กวา่ 4. ยา้ ความสาคญั ของลทั ธทิ นุ นยิ ม วัตถนุ ยิ ม และบรโิ ภคนยิ ม แตล่ ดคณุ คา่ ทางจติ ใจและวฒั นธรรมของมนษุ ย์ 5. เปิดชอ่ งให้มกี ารตดิ ตอ่ ธรุ กรรม การกระจายสอ่ื หรอื เนอ้ื หาสาระทไี่ ม่ เหมาะสม หรือการเดนิ ทางเขา้ ออกประเทศไดอ้ ยา่ งเสรี ซ่งึ เปน็ โอกาสของ อาชญากรรมขา้ มชาติ การหลงั่ ไหลของยาเสพตดิ การหลอกลวง มอมเมา เยาวชน การกอ่ การรา้ ย และการกอบโกยผลประโยชนซ์ ง่ึ ฝา่ ยทเ่ี สยี เปรยี บ คอื ประเทศทอี่ อ่ นแอ



บทท่ี 5 ------------------ ---------------------เศรษฐกจิ ไทยในยคุ โลกาภวิ ตั น์ ผศ. ดร. จิตรกร โพธ์งิ าม

ลกั ษณะและโครงสรา้ งของระบบเศรษฐกจิ ไทย ความหมาย เศรษฐกจิ หมายถงึ สว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โครงสรา้ งการผลติ การใช้ ปจั จยั การผลติ การผลติ รายได้ การจา้ งงานและการประกอบอาชพี การ แลกเปลยี่ นซอื้ ขาย การบรโิ ภคและการใชจ้ า่ ยของรฐั บาลและเอกชน การ นาเขา้ และการสง่ ออกสนิ คา้ และดลุ การคา้ และการชาระเงนิ ดงั นนั้ การเปลยี่ นแปลงเศรษฐกจิ จึงหมายถงึ การเปลยี่ นแปลงในสว่ น ต่าง ๆ ดังทก่ี ลา่ วมา ซ่งึ สาเหตขุ องการเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ วมาจากปจั จยั ทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ

 การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ การวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ พจิ ารณาจาก การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งการผลติ และเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ ในกรณแี รก เป็นการพิจารณาถงึ การขยายตวั สดั สว่ นการ ผลิต และการจ้างงานของภาคการผลติ ตา่ ง ๆ และการเปลย่ี นแปลง ในแนวทางการผลติ ผลผลติ และสนิ คา้ ออก ในกรณที ส่ี อง พิจารณาจากดชั นรี าคาผบู้ รโิ ภค อตั ราการงา่ ง งาน ดุลการคา้ ดลุ บญั ชีเดนิ สะพดั และดลุ ชาระเงนิ ตา่ งประเทศ

ปัจจัยทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ 1. ปัจจัยภายใน ปจั จยั ภายในทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ ประกอบดว้ ย การเปลยี่ นแปลงดา้ นการเมือง นโยบาย มาตรการ ต่าง ๆ ของรัฐบาล และบทบาทของกลมุ่ ผลประโยชนใ์ นระบบ เศรษฐกจิ ที่มีผลตอ่ การดาเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ภายในประเทศ ความพรอ้ มของทรพั ยากรในการพฒั นาภาคการ ผลติ ตา่ ง ๆ และการเปดิ ประเทศของระบบเศรษฐกจิ

2. ปัจจัยภายนอก ปจั จัยจากตา่ งประเทศทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ ประกอบดว้ ย ความสมั พนั ธด์ า้ นการคา้ กบัตา่ งประเทศ การพงึ่ พาทนุ และเทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศบทบาทขององคก์ ารระหว่างประเทศ และการเปลย่ี นแปลงนโยบายเศรษฐกจิ ของรฐั บาลตา่ งประเทศ และการเรยี นรดู้ า้ นการผลติ และการเลยี นแบบในการใชจ้ ่ายจากตา่ งประเทศ

ระบบเศรษฐกจิ แบบทวลิ กั ษณ์ เศรษฐกจิ ไทยมอี ยู่ 2 ระบบ หรือที่เรยี กวา่ ระบบเศรษฐกจิแบบ “ทวลิ กั ษณ”์ (Dual Economics) ไดแ้ ก่ 1. เศรษฐกจิ ภาคเกษตรกรรม 2. เศรษฐกจิ ภาคอตุ สาหกรรมและภาคบรกิ าร โครงสรา้ งการผลติ ของไทยไดม้ ีการเปลย่ี นแปลงจากเดมิ ที่เปน็ การผลติ ในภาคเกษตรกรรมเปน็ ภาคอตุ สาหกรรม ในขณะที่ภาคบรกิ ารไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสาคญั มากขน้ึ โดยเฉพาะการจ้างงานที่อพยพมาจากภาคเกษตรกรรม

 1. เศรษฐกจิ ภาคเกษตรกรรม ภาคเกษตรกรรมของไทยไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงในหลาย ๆ ด้าน จากเปา้ หมายการผลติ เพอื่ ยงั ชีพมาเปน็ ผลติ เพือ่ ขายและ ส่งออก ผลผลติ มีความหลากหลายมากขน้ึ อยา่ งไรก็ตาม การเปลยี่ นแปลงไม่ไดด้ าเนนิ ควบคไู่ ปกบั การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลิต

 2. เศรษฐกจิ ภาคอตุ สาหกรรม การผลติ ในระบบอตุ สาหกรรมโดยเฉพาะสาขาหตั ถกรรมไดเ้ ปลย่ี นไป เมื่อมกี ารเปดิ ประเทศ ในชว่ งแรกของการพฒั นาเศรษฐกจิ เปน็ การผลติ เพอื่ ทดแทนการนาเขา้ ตอ่ มาเปน็ การผลติ เพอ่ื การสง่ ออกมากขน้ึ แต่การผลติ ในสาขาหตั ถอตุ สาหกรรมไมไ่ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ การจา้ งงานมาก เท่าทค่ี วร มกี ารกระจกุ ตวั อยใู่ นสว่ นกลางและมผี ลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มมาก ขึ้น สาหรบั โครงสรา้ งการผลติ ดา้ นการบรกิ ารโดยทวั่ ไปมกี ารเปลยี่ นแปลง ไมม่ ากนกั แต่การบรกิ ารดา้ นการศกึ ษาและกจิ กรรมเกยี่ วกบั การทอ่ งเทย่ี วมี บทบาทมากขน้ึ พบวา่ เมอื่ เกดิ วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ทาใหบ้ รกิ ารดา้ นการเงนิ อสังหารมิ ทรพั ย์ การคา้ รวมทง้ั ระบบการประกนั สขุ ภาพมอี ตั ราลดลง

ลกั ษณะและปัญหาเศรษฐกิจไทย1.การเงนิ การคลงั และภารกจิ ระหวา่ งประเทศ การเปลย่ี นแปลงของระดบั ราคาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในประเทศไทยเปน็ ภาวะเงนิ เฟอ้ทีร่ าคาสนิ คา้ สงู ขนึ้ โดยในชว่ งกอ่ นมกี ารใชแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ การเกดิ ภาวะเงนิ เฟอ้ จะมาจากปจั จยั ภายในประเทศและตา่ งประเทศแต่หลงั จากมกี ารใชแ้ ผนพฒั นาฯ สาเหตหุ ลกั มาจากตา่ งประเทศ คอื การทร่ี าคาน้ามนั และสนิ คา้ นาเขา้ จากตา่ งประเทศมรี าคาสงู ขน้ึ ภาวะเงนิ เฟ้อ หมายถงึ การทร่ี ะดบั ราคาสนิ คา้ เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในทางตรงกนั ขา้ ม ภาวะเงนิ ฝดื หมายถงึ การทรี่ ะดบั ราคาสนิ คา้ ลดลงอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยทร่ี าคาสนิ คา้ และบรกิ ารลดลงอยา่ งรวดเรว็ ทาใหผ้ ผู้ ลติ ลดปรมิ าณการผลติ ทาใหส้ นิ คา้ ขาดแคลน ส่งผลใหเ้ กดิ การวา่ งงานในประเทศ

 2. เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ ในอดตี ทผี่ า่ นมาประเทศไทยประสบกบั ปญั หาการขาดดลุ การคา้ เกอื บทกุ ปี แตไ่ มไ่ ดเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกบั ดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั เพราะมรี ายไดห้ ลกั จาก การทอ่ งเทย่ี วเขา้ มาชดเชย ในขณะทดี่ ลุ บญั ชกี ารชาระเงนิ มกี ารเกนิ ดลุ เกอื บ ทุกปี เพราะจากการทมี่ เี งนิ ลงทนุ ไหลจากตา่ งประเทศเขา้ มามาก แต่เมอ่ื เกดิ วิกฤตเิ ศรษฐกจิ มเี งนิ ไหลออกนอกประเทศทาใหเ้ กดิ การขาดดลุ ชาระเงนิ 3. ข้อจากดั และการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ในระยะแรกของการพฒั นา สถานการณก์ ารวา่ งงานในประเทศไทย ไมไ่ ดร้ บั ความสนใจมากนกั เพราะเชอ่ื วา่ เมอ่ื มกี ารพฒั นาใหม้ กี ารขยายตวั ปัญหาการวา่ งงานจะมไี มม่ าก แต่เมอื่ ประชากรเพิม่ ขน้ึ มาก ปญั หาการวา่ งงาน มมี ากขนึ้ และเมอื่ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตา่ การวา่ งงานจะทวคี วามรนุ แรงมาก ยิ่งขน้ึ

ความหลากหลายของการพัฒนาเศรษฐกจิ ในยุคปจั จบุ ัน การพฒั นาทผ่ี า่ นมาเนน้ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ โดยหวงั วา่ ผลของความ เจรญิ จะกระจายไปยงั คนกลมุ่ ตา่ ง ๆ ซึง่ ลม้ เหลว ในปจั จบุ นั การพฒั นาจงึ มงุ่ ไปยงั พน้ื ฐานของวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ดง้ั เดมิ การพฒั นาทมี่ งุ่ ใหค้ วามสาคญั กบั เมอื งทาใหช้ วี ติ คนสว่ นใหญใ่ นทอ้ งถนิ่ ถกู ทอดทง้ิ ในปจั จบุ นั จงึ ตอ้ งมงุ่ พฒั นาชนบทบนพน้ื ฐานของความยงั่ ยนื การพฒั นาแนวนเิ วศและการสรา้ งชมุ ชนสเี ขยี วมงุ่ เปลย่ี นแปลงกระบวน ทศั นข์ องการพฒั นา โดยใหค้ วามสาคญั กบั การเปลย่ี นแปลงวธิ คี ดิ ของ มนุษย์

ปรัชญาการพฒั นาเปรียบเทียบ ปรชั ญาตะวนั ตก มองวา่ มนุษยแ์ ยกจากธรรมชาติ จงึ มงุ่ ใชป้ ระโยชนจ์ าก ธรรมชาตใิ ห้มากทส่ี ดุ ขณะทป่ี รชั ญาตะวนั ออกมองวา่ มนษุ ยเ์ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของธรรมชาติ จึงเคารพและใหค้ วามยตุ ธิ รรมกบั ธรรมชาติ นิเวศวทิ ยาของชาวพทุ ธ สอนใหม้ นษุ ยม์ องความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์ ธรรมชาติ และการพฒั นาอยา่ งเกอ้ื กลู ซงึ่ กนั และกนั การพฒั นาทแี่ ทต้ ามแนวทางของเตา๋ มุ่งใหม้ นษุ ยค์ น้ หาจติ สานกึ ของ ตวั เองใหพ้ บ ซึ่งจะทาใหส้ ามารถมองเหน็ พลงั สรา้ งสรรคใ์ นการพฒั นาได้ อยา่ งชดั เจน

แนวทางการพัฒนาและการเปรียบเทียบเชิงระบบ การพฒั นาวถิ ใี หม่ เน้นความสาคญั จรยิ ธรรมของการพฒั นากบั ความยงั่ ยนื ดา้ น นเิ วศ การพฒั นากระแสหลกั เนน้ ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ส่วนการพฒั นา กระแสทางเลอื กเนน้ ความสาคญั ของมนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระบวนทศั นก์ ารพฒั นาแบบเดมิ เนน้ การมองปญั หาการพฒั นาเพียงมติ เิ ดยี ว โดยมงุ่ สง่ เสรมิ การพฒั นาอตุ สาหกรรม สว่ นกระบวนทศั นก์ ารพฒั นาแบบใหม่ เน้นการมองปญั หาการพฒั นาหลายมติ แิ ละเปน็ องคร์ วม โดยใหค้ วามสาคญั กบั ความยง่ั ยนื การพฒั นาแบบทนุ นยิ ม เน้นการบรโิ ภคและการแสวงหาประโยชนส์ ว่ นตน ส่วน การพฒั นาแบบสงั คมนยิ มเนน้ ความยตุ ธิ รรมและความอยรู่ อดของสงั คม

ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1-10 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาในแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 1-2 (2504-2514) มุง่ พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน คอื ถนน ไฟฟา้ และนา้ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 3-4 (2515-2524) เพม่ิ การพัฒนาดา้ นสงั คม ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาในแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 5 (2525-2539) มุ่งเนน้ การพัฒนาชนบท ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 6-7 (2530-2539) มุ่งพัฒนาอตุ สาหกรรมเพอ่ื การสง่ ออก

 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 8 (2540-2544) มุ่งเนน้ การ พัฒนาโดยใชค้ นเปน็ ศนู ยก์ ลาง ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 9 (2545-2549) มงุ่ พฒั นา ทรพั ยากรมนษุ ย์ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 10 (2550-2554) เปลยี่ น ตัวชวี้ ดั เปน็ การพฒั นาคนเพอื่ ใหม้ คี วามสขุ โดยเนน้ “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook