มีลาํ ดบั ขน้ั ในการนําเสนอข้อมูล ผลการเปรียบเทยี บความก้าวหนา้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวา่ ง กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นโดยใช้ t-test dependent ผลการหาคณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยผเู้ ช่ียวชาญ จากการนําแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ไดจ้ ดั ทําข้ึนไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จาํ นวน 3 คน ตรวจพจิ ารณา คณุ ภาพ ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 3 แสดงคณุ ภาพของแผนการจัดการเรยี น จากการตรวจพจิ ารณาโดยผูเ้ ชย่ี วชาญ รายการ ความคดิ เห็นของผู้เช่ียวชาญโดยเฉลย่ี R IOC แผนการจัดการเรียนรู้ที่ คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 (X) (X) 1 1 0.83 0.83 2.66 0.88 2 0.75 0.91 0.75 2.41 0.80 3 0.83 1 0.83 2.66 0.88 4 0.75 1 0.75 2.50 0.83 5 0.83 1 0.83 2.66 0.88 รวม 4.16 4.74 3.99 2.57 0.85 จากตารางที่ 3 พบว่า จากการตรวจพจิ ารณาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยผู้เช่ียวชาญ จํานวน 3 คน ตรวจพิจารณาคุณภาพ พบว่าแผนการจดั การเรียนรู้แต่ละแผน มีค่า IOC เฉล่ีย 0.88 0.80 0.88 0.83 และ 0.88 ตามลาํ ดบั โดยภาพรวมและรายแผน มคี ่า IOC โดยเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 0.85 สงู กวา่ 0.50 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระหวา่ งก่อนเรียนและหลังเรยี น การวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนกับหลังเรียน วิชาสังคม ศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เร่ือง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ี ได้รับการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้ผงั มโนทัศน์ ดังแสดงในตารางท่ี 2 ตารางท่ี 4 แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 4 ทีไ่ ด้รับการจัดการเรยี นรู้โดยใชผ้ งั มโนทศั น์ ผลการ N X ∑D ∑D2 t p-value ทดลอง (30) ก่อนเรยี น 37 18.35 246 1692 32.30 .00**
หลังเรียน 37 25.00 ** p-value < .01 จากตารางที่ 4 พบว่า คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ผังมโนทัศน์ เท่ากับ 18.35 คะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยใชผ้ ังมโนทศั นข์ องนกั เรียน เทา่ กบั 25.00 และเม่อื ทาํ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนรูโดยใช้ผังมโนทัศน์ มีความแตกต่างกันอย่างมี นยั สําคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ทีไ่ ดร้ ับการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ผังมโนทัศน์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ สามารถสรุปสาระสาํ คญั ได้ดังน้ี วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพอ่ื หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดย ใช้ผงั มโนทัศน์ เร่ือง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 2. เพอ่ื ศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรื่อง หลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ ก่อน การทดลองกับหลังการทดลอง ขอบเขตของการวจิ ัย การศึกษาครั้งน้ีจะทําให้ทราบผลของการเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้ผังมโน ทัศน์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ ผู้ศึกษาได้กําหนด ขอบเขตการศกึ ษาไวด้ งั นี้ 1.ประชากรทใี่ ช้ในการศึกษา ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลน้องหญิง อําเภอตระการ พืชผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2556 จาํ นวน 2 หอ้ งเรียน รวม 67 คน 2. กลุ่มตัวอยา่ งท่ีใช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ เป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนอนุบาลน้อง หญงิ อาํ เภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 จํานวน 37 คน โดยการ กําหนดแบบเจาะจง เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งผู้ศกึ ษาสร้างขน้ึ เปน็ ปรนัย แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จํานวน 30 ข้อ วธิ ดี าเนินการทดลอง
ผูศ้ ึกษาดาํ เนินการทดลองกับกลุม่ ตวั อย่างนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรียนอนุบาลน้องหญิง จังหวดั อุบลราชธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ใช้เวลาทดลอง 5 ช่ัวโมง โดยดําเนินการทดลองตาม ขนั้ ตอนดงั น้ี 1. ปฐมนิเทศนักเรียนเพื่อทําความเข้าใจกับนักเรียนถึงวิธีการเรียน บทบาทของนักเรียนเปูาหมาย การเรยี นและวธิ ีการประเมินผลการเรียน 2. ทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ดําเนินการทดลองสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ ซึ่งผ่านการพิจารณาจาก ผเู้ ช่ียวชาญและนําไปทดลองใชพ้ รอ้ มทั้งปรับปรุงแกไ้ ขแล้ว 4. หลังเสร็จส้ินการทดลองแล้ว ทดสอบหลังการเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฉบับเดียวกันกับท่ีใช้ สอบกอ่ นทดลอง สรุปผลการวิจัย 1. แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้ผังมโนทัศน์ เรื่อง หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพสามารถใช้ในการจัดการ เรยี นรู้ได้ มคี ่า IOC โดยเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 0.85 สูงกว่า 0.50 ซึ่งแสดงวา่ แผนการจดั การเรียนรู้มีจัดทําขึ้นมี คุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ที่ดี 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ วิชาสังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนน เฉลย่ี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียนแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสําคญั ทางสถิติท่ีระดับ .01 อภปิ รายผลการวิจัย การศึกษาครั้งน้ีเป็นการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลน้องหญิง ที่ ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็น ศนู ย์กลาง ผู้เรยี นสรปุ ความคิดรวบยอด โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แสดงความคิด ระหว่าง เพือ่ นนักเรียนด้วยกัน ทําให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น ครูผู้สอนมีบทบาทกระตุ้นให้ผู้เรียนให้เกิดแนวคิด ด้วยการตง้ั คําถาม ทําใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ ความเขา้ ใจยง่ิ ข้นึ ซง่ึ ผู้เรยี นมีส่วนรวมในกิจกรรมการเรียน โดยทราบผล การปฏิบัติงานของตน จึงทําให้เกิดความสนใจในการเรียน ผลการศึกษาอภิปรายตามลําดับสมมติฐานได้ ดงั นี้
1. แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้ผังมโนทัศน์ เร่ือง หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพสามารถใช้ในการจัดการ เรยี นรูไ้ ด้ มคี า่ IOC โดยเฉลีย่ ( ) เทา่ กับ 0.85 สูงกวา่ 0.50 ซึ่งแสดงว่าแผนการจดั การเรยี นรู้มีจัดทําขึ้นมี คุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ทั้งนี้เนื่องมาจากแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้ศึกษาได้สร้างตามกระบวนการ กล่าวคือ มีการวิเคราะห์หลักสูตร กิจกรรม สาระการเรียนรู้และตัวชี้วัดของรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม นาํ มาจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ ได้ศึกษา ค้นคว้า นวัตกรรมการเรียนรู้ คือ การจัดการเรียนรู้โดย ใช้ผังมโนทัศน์ เป็นรูปแบบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเป็นท่ียอมรับอย่างกว้างขวาง มีการใช้สื่อ แหล่ง เรียนรู้อย่างหลากหลาย ตลอดจนมีการวัดประเมินผลตามสภาพจริง ทําให้แผนการจัดการเรียนรู้มีคุณภาพ ในระดับ 0.85 2. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกอ่ นเรียนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ผังมโนทัศน์ เท่ากับ18.35 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ผังมโนทัศน์ของนักเรียน เท่ากับ 25.00 และเม่ือทําการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนท่ีได รับการ จัดการเรียนรูโดยใช้ผังมโนทัศน์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่า หลัง ไดร้ ับการจดั การเรียนรู โดยใชผ้ ังมโนทศั นน์ ักเรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัย ของ ศิริพร ทรุเครือ (2544) ศึกษาผลของการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นและความคงทนในการเรียนรู้กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 4 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนท่ีได้รับการเรียนแบบร่วมมือ โดยใช้แผนผังมโนทัศน์มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและมีความคงทนในการเรียนรู้สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี ระดับ .01 และสอดคลองกับงานวิจัยของ ภัทราภรณ์ พิทักธรรม (2543) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี น ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ท่ี ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้กิจกรรมสร้างแผนภูมิมโนทัศน์กับการสอนตามคู่มือครู ผลการวิจยั พบวา่ นกั เรยี นที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้กิจกรรมสร้างแผนภูมิมโนทัศน์กับ การสอนตามคู่มือครูมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ัยสาํ คัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั .01 ข้อเสนอแนะ การศึกษาคร้ังนีม้ ขี ้อเสนอแนะท่ีอาจเปน็ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นการสอนและการทําวจิ ยั ดงั นี้ 1. ข้อเสนอแนะท่ัวไป การสอนเขียนผังมโนทัศน์ ควรเร่มิ ใหแ้ นวทางการเขยี น จากเรื่องทมี่ ีความหลากหลายและมีเนื้อหา เข้าใจง่าย จากน้ันจึงเพิ่มเน้ือหาให้มากข้ึน เพื่อพัฒนาความเข้าใจลักษณะของผังมโนทัศน์และวิธีเขียนผัง
มโนทัศน์ ควรนําเอารูปแบบ และกระบวนการศึกษาในครั้งนี้ไปทําการศึกษากับเน้ือหาวิชาของกลุ่มสาระ อนื่ ๆ 2. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการวิจัย 2.1 ควรศึกษาผลการใชผ้ งั มโนทัศน์กับตัวแปรอื่น ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ ความสนใจ ในการเรยี น และการนําไปใช้ศกึ ษาผลการสอนกบั นักเรยี นในระดับชั้นทสี่ งู ขึ้น 2.2 ควรนําเอารปู แบบ และกระบวนการศึกษาในครัง้ น้ไี ปทําการศึกษากับเนื้อหาวิชาของ กลมุ่ สาระการเรียนร้อู น่ื ๆ 2.3 ควรมีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ การจัดการเรียนการสอนใช้ผังมโนทัศน์กับรูปแบบ การสอนอนื่ ๆ บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรมวิชาการ. (2545). การวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรยี นรูต้ ามหลักสตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน. กรงุ เทพฯ. ม.ป.พ. กงั วล เทยี นกณั ฑเ์ ทศน์. 2540. การวัด การวิเคราะห์ การประเมินทางการศึกษาเบื้องต้น. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์ สอ่ื เสริมกรุงเทพ. กรมวชิ าการ. การสงั เคราะหง์ านวิจยั เกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ. กรุงเทพฯ :โรงพมิ พ์คุรสุ ภา, 2544. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร . (2549). โครงการขับเคลอื่ นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศึกษา. กรงุ เทพฯ (เอกสารอัดสาํ เนา) กระทรวงศึกษาธิการ, 2551. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธกิ าร.พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และแกไ้ ขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การรับสง่ สินค้าและพัสดุภณั ฑ.์ กระทรวงศกึ ษาธิการ.พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2 )
พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินคา้ และพสั ดุภัณฑ์. นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์. (2537, ตุลาคม- ธันวาคม). ความคิดรวบยอดกับการเรียนการสอน,วารสาร พัฒนาหลกั สตู ร. 14(119): 55-60 นิธิ เอ่ยี วศรีวงศ.์ (2543). เศรษฐกิจพอเพยี ง เทคนคิ หรอื วัฒนธรรม. วารสารศิลปวฒั นธรรม, 21(4) โนแวค โจเซฟ ด;ี และโกวิน ดี บ๊อบ. (2534) . ศิลปะการเรยี นรู้ = Learning How To Learn. สาํ นกั งาน คณะกรรมการการวิจยั แหง่ ชาติ แปลและจดั พิมพ์. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา. ประเวศ วะส.ี (2550). ระบบการเรียนรใู หมไปใหพนวกฤตแหงยคุ สมัย. กรงุ เทพฯ : พิมพด.ี ปรียานชุ พิบูลสราวุธ.(2552). เศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศกึ ษา. [ ออนไลน์ ]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.sufficiencyeconomy.org. (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู 1 มีนาคม 2552). ปรียานชุ พิบลู สราวุธ (2551) คลงั หลวงกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการวจิ ยั เศรษฐกิจ พอเพยี ง. กรุงเทพมหานคร เผดจ็ กุลประดษิ ฐ์. (2540). การศึกษาสภาพและปัญหาการสอนวชิ าสังคมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศกึ ษา สงั กัดสานกั งานการประถมศึกษาจังหวดั ชัยภมู ิ. ปริญญานิพนธ์ ศกึ ษาศาสตร์ มหาบัณฑิต, คณะศึกษาศาสตร,์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . พวงรตั น์ ทวีรัตน์. (2530). การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั ทดสอบทางการศึกษาและจิตวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชทานแกค่ ณะครแู ละนักเรยี น ท่ีไดร้ ับพระราชทานรางวลั ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั , (2537). ม.ป.ท. ภัทราภรณ์ พิทกั ษ์ธรรม. (2543). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ความสามารถด้านการคิด วิเคราะหแ์ ละเจตคตติ ่อวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ทไ่ี ดร้ บั การสอนแบบสืบเสาะหาความรโู้ ดยใช้กจิ กรรมสร้างแผนภมู ิมโนทศั น์กบั การสอนตาม คมู่ อื ครู. ปริญญานพิ นธ ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรงุ เทพฯ: บัณทิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ค รินทรวโิ รฒ. ถ่ายเอกสาร. มนสั บุญประกอบ. (2524 , กนั ยายน). แผนภูมิมโนทัศนก์ ับการสร้างเสริม สุ จิ ปุ ล.ิ วารสาร บณั ฑติ ศกึ ษา. 3 (3): 47-54. วชิ ัย วงษใ์ หญ่. (2543) . ปฏริ ปู การเรยี นรู้: ผู้เรียนสาคญั ทสี่ ดุ สูตรสาเรจ็ หรอื กระบวนการ, ร่วมคิด รว่ มเขียน ปฏริ ปู การเรียนรผู้ ูเ้ รยี นสาคัญทีส่ ุด. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั พริกหวานกราฟฟิค จํากดั . วิชยั วงษใ์ หญ่. (2537) . กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรยี นการสอน: ภาคปฏิบัติ. กรงุ เทพฯ: สรุ รี ิยาสาสน์. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน.์ (2549). การพัฒนาการเรียนการสอนภาควิชาหลกั สูตรและการสอน.มหาสารคาม : คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วไิ ลพร ธนสุวรรณ. (2543). การพัฒนากจิ กรรมผงั มโนมติสมั พนั ธเ์ พอ่ื ส่งเสริมทักษะการอ่านและ
การเขียนภาษาองั กฤษของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3. วทิ ยานพิ นธ์ ศศ.ม.(การมัธยมศึกษา). เชียงใหม่: บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. ถา่ ยเอกสาร. วไิ ลวรรณ ตรศี รีชะนะมา. (2537, เมษายน–มถิ นุ ายน). แนวคดิ บางประการเกีย่ วกับความคดิ รวบยอด. สารพัฒนาหลักสูตร. 13(117): 49. ศรรี ตั น์ เจงิ กลนิ่ จนั ทร์. (2536). การอา่ นและการสรา้ งนสิ ยั รักการอา่ น. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . ศิรพิ ร ทรเุ ครือ. (2544). ผลการเรยี นแบบเครอื่ งมอื โดยใช้ผังมโนทัศน์ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น และความคงทนในการเรยี นรู้กลุ่มสร้างเสริมประสบการณช์ วี ติ ของนกั เรยี นช้นั ประถม ศึกษาปที ี่ 4. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การประถมศึกษา). กรงุ เทพฯ: บัณทติ วทิ ยาลัยมหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ถา่ ยเอกสาร. ศูนย์พัฒนาหลักสตู ร, กรมวิชาการ. (2536). สรุปการใช้หลักสูตรวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ศาสนาและวฒั นธรรมและการประเมนิ คณุ ภาพการเรียนการสอนสงั คมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศนู ยพ์ ัฒนาหลกั สูตร,กรมวิชาการ.. (2525). ค่มู อื ครกู รม วิชาการ. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์คุรุสภา. ศูนยพ์ ัฒนาหลกั สูตร, กรมวชิ าการ. (2543). การพัฒนาหลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์การศาสนา กรมศาสนา. สนม ครฑุ เมือง. (2539). การสอนทักษะการใชส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การฟัง การพดู การ อ่าน การเขียน.พิษณโุ ลก: ภาควชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศาสนาและวฒั นธรรมและ ภาษาตะวันออก มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒพษิ ณโุ ลก. สมาน ลอยฟูา. (2542, พฤษภาคม). การจดบันทึกด้วยการใชแ้ ผนทมี่ โนทศั น์. บรรณารกั ษาศาสตร์ และสารนเิ ทศศาสตร์ มช. 17(2): 1-9. สนุ ี สอนตระกูล. (2535). การพัฒนาระบบการเรยี นการสอนแบบจดั กรอบมโนทศั นส์ าหรบั วชิ า ชวี วิทยา ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญานพิ นธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์. (2543, มกราคม-เมษายน). ผังการวิเคราะห์เน้ือหา. วชิ าการศึกษาศาสตร์. 1(2): 49-50. สมุ าลี จันทรช์ ลอ. (2533). ผลการฝึกทกั ษะการร้คู ดิ ตอ่ การคดิ รวบยอด. ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ด. (การวิจัยและพัฒนาหลักสตู ร). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. ถา่ ยเอกสาร. สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ . 2549. หลักธรรม หลกั ทา ตามรอยพระยคุ คลบาท. พมิ พ์ครั้งท่ี 15. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ด่านสุทธาการพิมพ์. วันเพ็ญ วรรณโกมล. 2542. การสอนสงั คมศกึ ษาในระดบั มัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั ราชภฏั ธนบุร.ี
อนบุ าลนอ้ งหญงิ , 2556. รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับข้ันพื้นฐาน. อบุ ลราชธานี: โรงเรียน อนุบาลน้องหญิง อนบุ าลน้องหญงิ , 2551. เอกสารประกอบหลกั สตู รสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. อุบลราชธานี: โรงเรยี นอนุบาลนอ้ งหญิง อัญชลี ตนานนท์; และคณะ. (2542). รายงานการวิจัยเรอ่ื งการพฒั นาแผนการสอนเพ่ือเสริมสรา้ ง ทกั ษะการคิดในหลักสูตรโรงเรียนมัธยมศึกษา. เชยี งใหม่: ภาควิชามธั ยมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. อาํ ไพ ลคั นาอนุสรณ์. (2545). การเปรียบเทียบความเขา้ ใจในการอ่านและความสามารถทาง การเขยี นสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ท่ีไดร้ ับการสอน โดยใช้ผงั มโนทัศนก์ ับการสอนตามคมู่ ือครู. ปริญญานพิ นธ์ กศ.ม. (การมัธยมศกึ ษา). กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. ถา่ ยเอกสาร. อัมพร อรณุ พราหมณ์. (2539). เปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม ศาสนาและวฒั นธรรมและความรบั ผดิ ชอบของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ท่ี ไดร้ ับการสอนโดยใช้ชดุ การเรียนกบั การสอนตามคู่มือครู. ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ม. (การ มธั ยมศกึ ษา). กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. ถา่ ยเอกสาร. Ault, Chariest R. (2535, October). Concept Mapping as a Study Strategy in Earth Scinence. Bloom] B.S. Human Characteristics and School Learning. New York : McGraw - Hill Book Company, 1976. Novak, Josweph D.; & Gowin, D. Bob. (1984). Learning How to Learn. London: Cambridge University Press.
ภาคผนวก ก - รายชอ่ื ผเู้ ชี่ยวชาญ
รายชื่อผ้เู ช่ียวชาญ ท่ี ชือ่ - สกลุ ตาํ แหน่ง / สถานท่ีทาํ งาน ความเชย่ี วชาญ การวจิ ยั 1 นายสมพงษ์ หาคํา ท่ปี รึกษาโรงเรียนอนบุ าลน้องหญิง ภาษาไทย 2 นางจนั ทรเ์ พ็ญ กลุ โท รองผู้อาํ นวยการฝุายวิชาการ สงั คมศึกษา โรงเรียนอนบุ าลนอ้ งหญิง 3 นางสาวมณีพรรณ มนสั สา ครูผูส้ อนสังคมศกึ ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม โรงเรียนอนบุ าลนอ้ งหญิง
ภาคผนวก ข - แบบทดสอบ - ตัวอย่างผลงานนกั เรยี น
แบบทดสอบกอ่ นเรียน กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม วชิ าสงั คมศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เรือ่ งหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 30 ขอ้ 30 คะแนน คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขยี นเครอื่ งหมาย X ทบั ตวั อักษรหนา้ คาตอบที่ถกู ต้องลงในกระดาษคาตอบ 1. การนําหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชก้ ่อให้เกิดผลอยา่ งไร ก. เกดิ ภาวะเศรษฐกิจตกตา่ํ ข. ครอบครัวมฐี านะรํ่ารวยขึน้ ค. ดาํ รงชีวติ ได้อยา่ งมคี วามสุข ง. เกดิ ความยากลําบากในการดําเนินชีวิต 2. ขอ้ ใดไม่ใช่การดํารงชวี ิตตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ก. ประกอบอาชพี ทส่ี จุ ริต ข. มีความอดทนขยันหม่นั เพียร ค. รู้จกั ใช้จ่ายอยา่ งประหยัด ง. ใช้เงินใหพ้ อดีกับทไี่ ดร้ ับมา 3. ข้อใดเป็นการประหยดั ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ก. ยืมเงนิ พซ่ี ้อื การต์ ูน ข. ซอ้ื ของใชเ้ ฉพาะทจี่ ําเปน็ ค. รบั ประทานอาหารวนั ละ 1 มื้อ ง. ขอรับบริจาคเสือ้ ผ้าจากเพอ่ื น ๆ 4. ข้อใดเป็นการนําหลักเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในชีวติ ประจาํ วัน ก. เกบ็ ของท่ีใชไ้ มไ่ ดไ้ ปบริจาค ข. ต่อไฟฟูาจากชาวบา้ นมาใช้ ค. ขอแบง่ อาหารจากเพอื่ นรบั ประทาน ง. นาํ เงนิ ที่เหลอื จากไปโรงเรยี นหยอดกระปกุ ออมสิน 5. ขอ้ ใดเปน็ ลักษณะของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ข. ใช้เงนิ เพ่อื ซื้อความสะดวกสบาย ก. ใชท้ รัพยากรทีม่ ีอยู่อย่างเตม็ ที่
ค. ใชท้ รัพยากรใหม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ท่ีจะทาํ ได้ ง. การดาํ รงชีวติ อย่ไู ด้อย่างมนั่ คงและย่งั ยืน 6. การใชส้ ิง่ ของทผี่ ลติ ในชมุ ชนมปี ระโยชน์อยา่ งไร ก. ทําให้มกี ารนาํ ทรัพยากรมาใช้มากขนึ้ ข. ทาํ ให้คนในชมุ ชนมีรายได้ ค. ทําใหเ้ กิดการแข่งขนั กนั ในชุมชน ง. ทําใหผ้ ผู้ ลติ ในชุมชนมีฐานะรํ่ารวย 7. อาชพี ใดก่อใหเ้ กิดความสะดวกสบายในชุมชน ก. ขับรถโดยสารประจําทาง ข. เกษตรกร ค. ประมง ง. ค้าขาย 8. การพงึ่ พาอาศัยกันทางเศรษฐกจิ ตรงกบั ขอ้ ใด ก. ลกู ขอเงินแม่ซ้ือขนม ข. พ่ขี อแบ่งขนมจากน้อง ค. ชาวนาก้เู งินธนาคารไปซ้ือปยุ๋ ง. ผูส้ มัครรับเลอื กตั้งนําเงนิ ไปแจกชาวบา้ น 9. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การพงึ่ พาอาศยั กนั ทางเศรษฐกิจ ข. การกู้ยมื ก. การขโมย ง. การซื้อ ค. การขาย 10. ข้อใดคอื ผลของการพ่ึงพาอาศยั กันทางเศรษฐกจิ ก. คนในชุมชนมีหนีส้ ิน ข. เกิดความแตกแยกในชุมชน ค. เศรษฐกจิ ในชุมชนมีการขยายตัว ง. ชมุ ชนเกดิ ความล้าหลงั ไมพ่ ฒั นา 11. มีความเปน็ อยู่ตามฐานะและสามารถพง่ึ ตนเองได้ ตรงกบั ข้อใด ก. การแสวงหารายได้ ข. หลกั การที่ควรยึดถือปฏิบตั ิ ค. การอนุรกั ษ์ทรพั ยากร ง. นโยบาย 12. ขอ้ ใดเป็นหลักการที่ควรนาํ มาปฏบิ ตั ิ ข. นําทรัพยากรมาใชโ้ ดยไม่จํากัด ก. ม่งุ ลดรายจา่ ย ง. มงุ่ เพิ่มรายได้ ค. นาํ เทคโนโลยีมาใช้ 13. การสร้างความสัมพันธก์ ับชุมชนสามารถอยูร่ ่วมกันอยา่ งสนั ติสุขตรงกับข้อใด ก. ความเขม้ แข็ง / ความขยัน ข. ความขยนั หมนั่ เพียร / ความอดทน ค. ความสามคั คี / ความโลภ ง. ความเอ้อื เฟื้อเผื่อแผ่ / ความสามัคคี 14. “การมคี วามพอดี พออยู่ พอกนิ ” ถอื วา่ เปน็ แนวทางปฏบิ ัตติ รงตามขอ้ ใด ก. ข้อตกลงชุมชน ข. ทางสายกลางในการดําเนินชีวิต
ค. การนําทรพั ยากรมาใช้ ง. การพยงุ ฐานะใหด้ ขี ึ้น 15. หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียงมงุ่ เน้นใหช้ าวบา้ นรว่ มดาํ เนินกจิ การด้านใด ก. ร่วมหุ้นกับธนาคาร ข. ตั้งบรษิ ัทจําหน่ายสนิ ค้า ค. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ง. ร่วมมือกันกบั นกั ลงทุนตา่ งชาติ 16. หลักการ “ความพอเพียง” ตรงกบั ข้อใดมากที่สุด ก. ความพอดแี ละความร่ํารวย ข. ความพอประมาณ ความพอดี ค. หลกั การทก่ี ําหนดไว้ ง. นโยบายรัฐบาล 17. ทฤษฎีเศรษฐกจิ พอเพียงนาํ มาใชค้ ร้ังแรกทีจ่ งั หวัดใด ก. จงั หวัดร้อยเอด็ ข. จงั หวดั อาํ นาจเจริญ ค. จังหวดั อบุ ลราชธานี ง. จังหวดั สระบุรี 18. การนําหลักการและแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใชเ้ พ่ือสง่ิ ใด ก. แกป้ ัญหาแรงงานตา่ งดา้ ว ข. ลดตน้ ทนุ การผลิต ค. แนวทางใหม่ในการแกป้ ญั หา ง. ปอู งกันการทุจรติ 19. ประเทศไทยประสบปัญหาวกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกจิ ในปี พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2539 ข. พ.ศ. 2540 ค. พ.ศ. 2541 ง. พ.ศ. 2542 20. “มีกิน มอี ยูไ่ ม่ฟมุ เฟือย ไมห่ รูหรา” ตรงกบั ขอ้ ใด ก. นโยบาย ข. การบริหารจัดการ ค. พอเพยี ง ง. หลักการและวิธกี าร 21. คําว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ท่ีรเิ รม่ิ นํามาทดลองใช้ คือใคร ก. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ข. สมเด็จพระโอรสาธิราช ค. สมเด็จพระเทพรตั นสุดา ง. สมเด็จพระนางเจ้าราชนิ นี าถ 22. มีพน้ื ทีจ่ าํ นวนหนง่ึ แบ่งเปน็ 4 ส่วน ใช้ประกอบอาชีพเกษตรกรครบวงจร เรยี กวา่ เกษตรใด ก. เกษตรระบบใหม่ ข. เกษตรครบวงจร ค. เกษตรทัว่ ไป ง. เกษตรแผนโบราณ
23. หลักการเศรษฐกจิ พอเพียงจัดอยู่ในข้อใด ข. ประหยัด ลดความฟุมเฟอื ย ก. พออยู่ พอกิน พอใช้ ง. ถูกทุกขอ้ ค. ประกอบอาชีพดว้ ยความสจุ รติ 24. การปลูกพชื ผกั การเลีย้ งสัตว์ การทาํ นาขา้ วการปลูกไมย้ ืนต้น เหลอื นาํ ไปขาย คือเกษตรใด ก. พอเพยี ง ข. ชมุ ชนมีสว่ นรวม ค. สาธิตการเกษตร ง. ปลุกพืชหมนุ เวยี น 25. ทําปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยชีวภาพใชเ้ องเกิดประโยชนใ์ นดา้ นใด ก. ประโยชน์คือไดผ้ ลผลิตสงู ข. ใช้พ้นื ทีใ่ หเ้ กิดประโยชน์สงู สุด ค. ปลูกพชื แบบเศรษฐกิจพอเพียง ง. ปรบั ปรุงดนิ ใหอ้ ดุ มสมบรู ณ์ในการปลกู 26. การทําไข่เคม็ การดองผกั ผลไม้ การทาํ กล้วยตากจัดอย่ใู นเกษตรแบบใด ก. การถนอมอาหาร ข. การผลิตสนิ คา้ ค. การแปรรปู ผลผลิต ง. การจําหนา่ ยผลผลิต 27. หลักเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงขอ้ ใด ข. ประกอบอาชพี ราชการ ก. ประกอบอาชพี นักธรุ กิจ ง. ประกอบอาชพี เกษตรตามกําลังทรัพยากรท่ีมีอยู่ ค. อาชพี รับจ้าง 28. การทําไรน่ าสวนผสมในพนื้ ทเี่ ดียวกนั ปฏิบตั ิตามขอ้ ใด ก. การปลกู ผักสวนครวั ข. ปลูกไม้ยนื ต้น สรา้ งบ้าน ขุดบ่อเล้ียงปลา ค. ปลกุ ขา้ วกินเอง ง. ถกู ทุกข้อ 29. ประหยัด จ่ายอย่างพอเพียง รู้คณุ ค่าตอ่ ตนเอง ดอี ยา่ งไร ก. ส่งเสรมิ คนอื่น ข. ไมร่ จู้ กั ประหยดั ค. รู้จักประมาณตนเอง ง. เปน็ คนไม่มีเหตผุ ล 30. ขยัน อดทน ประหยัด ซื่อสตั ย์ ควรนําไปใชเ้ วลาใด ก. การประกอบอาชพี ข. การดาํ รงชีวิต ค. รูจ้ กั ประมาณตนเอง ง. เป็นคนไมม่ ีเหตุผล แบบทดสอบหลงั เรียน กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสังคมศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 เรอื่ งหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จานวน 30 ขอ้ 30 คะแนน คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเขยี นเครอ่ื งหมาย X ทบั ตัวอกั ษรหน้าคาตอบท่ถี ูกต้องลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดเป็นลักษณะของเศรษฐกิจพอเพยี ง ก. การดาํ รงชีวิตอย่ไู ดอ้ ย่างมนั่ คงและยั่งยืน ข. ใช้ทรัพยากรใหม้ ากที่สุดเท่าท่ีจะทาํ ได้ ค. ใช้เงินเพอ่ื ซ้อื ความสะดวกสบาย ง. ใชท้ รัพยากรท่มี อี ยูอ่ ย่างเตม็ ที่ 2. ข้อใดเปน็ การประหยดั ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง ก. ยมื เงินพซี่ อ้ื การ์ตูน ข. ซ้อื ของใชเ้ ฉพาะท่จี าํ เป็น ค. รับประทานอาหารวนั ละ 1 มอ้ื ง. ขอรับบริจาคเส้อื ผ้าจากเพือ่ น ๆ 3. ข้อใดเปน็ การนาํ หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นชีวติ ประจําวัน ก. เก็บของทีใ่ ช้ไมไ่ ด้ไปบรจิ าค ข. ตอ่ ไฟฟูาจากชาวบา้ นมาใช้ ค. ขอแบง่ อาหารจากเพอื่ นรับประทาน ง. นาํ เงนิ ทเ่ี หลือจากไปโรงเรยี นหยอดกระปุกออมสิน 4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การดาํ รงชวี ิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ก. ประกอบอาชพี ทีส่ จุ รติ ข. มคี วามอดทนขยนั หม่ันเพยี ร ค. ร้จู กั ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั ง. ใชเ้ งินใหพ้ อดกี ับท่ีได้รบั มา 5. การนําหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงมาใชก้ ่อให้เกิดผลอย่างไร ก. เกดิ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตา่ํ ข. ครอบครัวมฐี านะราํ่ รวยขึ้น ค. ดาํ รงชวี ิตไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ง. เกิดความยากลําบากในการดาํ เนินชีวติ 6. การพงึ่ พาอาศัยกนั ทางเศรษฐกิจตรงกบั ขอ้ ใด ก. ลูกขอเงนิ แม่ซื้อขนม ข. พี่ขอแบ่งขนมจากนอ้ ง ค. ชาวนาก้เู งินธนาคารไปซือ้ ป๋ยุ ง. ผ้สู มคั รรับเลือกตั้งนาํ เงินไปแจกชาวบ้าน 7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การพึ่งพาอาศยั กนั ทางเศรษฐกจิ ข. การกูย้ ืม ก. การขโมย ง. การซื้อ ค. การขาย 8. ข้อใดคอื ผลของการพึง่ พาอาศยั กนั ทางเศรษฐกิจ ก. ชมุ ชนเกิดความล้าหลังไมพ่ ฒั นา ข. เศรษฐกจิ ในชุมชนมกี ารขยายตวั ค. เกดิ ความแตกแยกในชุมชน ง. คนในชุมชนมหี นี้สิน 9. อาชีพใดก่อใหเ้ กดิ ความสะดวกสบายในชมุ ชน ก. ขับรถโดยสารประจําทาง ข. เกษตรกร ค. ประมง ง. ค้าขาย
10. การใช้สิง่ ของท่ีผลิตในชมุ ชนมปี ระโยชน์อยา่ งไร ก. ทาํ ใหม้ กี ารนําทรพั ยากรมาใชม้ ากข้นึ ข. ทําให้คนในชมุ ชนมรี ายได้ ค. ทาํ ให้เกดิ การแข่งขันกันในชุมชน ง. ทาํ ใหผ้ ผู้ ลิตในชุมชนมีฐานะรํ่ารวย 11. คาํ ว่าปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผ้ทู ร่ี ิเริ่มนาํ มาทดลองใช้ คอื ใคร ก. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ข. สมเดจ็ พระโอรสาธริ าช ค. สมเดจ็ พระเทพรตั นสุดา ง. สมเดจ็ พระนางเจา้ ราชินีนาถ 12. มพี ืน้ ท่ีจํานวนหน่ึงแบ่งเปน็ 4 ส่วน ใชป้ ระกอบอาชพี เกษตรกรครบวงจร เรียกว่าเกษตรใด ก. เกษตรระบบใหม่ ข. เกษตรครบวงจร ค. เกษตรทวั่ ไป ง. เกษตรแผนโบราณ 13. หลกั การเศรษฐกิจพอเพยี งจัดอยใู่ นข้อใด ข. ประหยดั ลดความฟุมเฟอื ย ก. พออยู่ พอกนิ พอใช้ ง. ถูกทุกขอ้ ค. ประกอบอาชพี ดว้ ยความสุจริต 14. การปลกู พชื ผกั การเลยี้ งสัตว์ การทาํ นาขา้ วการปลูกไม้ยืนตน้ เหลือนาํ ไปขาย คือเกษตรใด ก. พอเพียง ข. ชุมชนมสี ว่ นรวม ค. สาธิตการเกษตร ง. ปลกุ พืชหมนุ เวยี น 15. ทาํ ปุ๋ยคอก ปยุ๋ หมัก และปุย๋ ชวี ภาพใชเ้ องเกดิ ประโยชน์ในดา้ นใด ก. ประโยชน์คอื ได้ผลผลิตสูง ข. ใชพ้ น้ื ทีใ่ ห้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ค. ปลูกพืชแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ง. ปรบั ปรุงดนิ ให้อดุ มสมบูรณใ์ นการปลูก 16. การทําไข่เค็ม การดองผัก ผลไม้ การทาํ กลว้ ยตากจัดอย่ใู นเกษตรแบบใด ก. การถนอมอาหาร ข. การผลิตสินคา้ ค. การแปรรปู ผลผลติ ง. การจําหน่ายผลผลติ 17. หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถึงขอ้ ใด ข. ประกอบอาชพี ราชการ ก. ประกอบอาชีพนกั ธรุ กจิ ง. ประกอบอาชีพเกษตรตามกาํ ลงั ทรัพยากรท่ีมีอยู่ ค. อาชพี รบั จ้าง 18. การทาํ ไร่นาสวนผสมในพนื้ ทเ่ี ดียวกนั ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ใด ก. การปลูกผักสวนครวั ข. ปลูกไม้ยืนตน้ สร้างบ้าน ขุดบ่อเลีย้ งปลา ค. ปลุกข้าวกนิ เอง ง. ถกู ทกุ ข้อ 19. ประหยดั จา่ ยอย่างพอเพียง รคู้ ุณค่าตอ่ ตนเอง ดอี ยา่ งไร
ก. ส่งเสริมคนอน่ื ข. ไมร่ ้จู กั ประหยัด ค. รู้จักประมาณตนเอง ง. เปน็ คนไมม่ ีเหตผุ ล 20. ขยัน อดทน ประหยดั ซ่ือสัตย์ ควรนาํ ไปใช้เวลาใด ก. การประกอบอาชีพ ข. การดาํ รงชวี ติ ค. ร้จู กั ประมาณตนเอง ง. เปน็ คนไมม่ เี หตผุ ล 21. มีความเป็นอยูต่ ามฐานะและสามารถพง่ึ ตนเองได้ ตรงกบั ขอ้ ใด ก. การแสวงหารายได้ ข. หลักการทีค่ วรยึดถอื ปฏิบตั ิ ค. การอนรุ ักษท์ รพั ยากร ง. นโยบาย 22. ขอ้ ใดเปน็ หลักการทีค่ วรนํามาปฏิบตั ิ ข. นาํ ทรัพยากรมาใช้โดยไมจ่ าํ กดั ก. มุ่งลดรายจ่าย ง. ม่งุ เพิ่มรายได้ ค. นําเทคโนโลยีมาใช้ 23. การสรา้ งความสัมพันธก์ บั ชมุ ชนสามารถอยูร่ ว่ มกนั อย่างสนั ติสขุ ตรงกับข้อใด ก. ความเขม้ แข็ง / ความขยัน ข. ความขยันหมั่นเพียร / ความอดทน ค. ความสามคั คี / ความโลภ ง. ความเอ้อื เฟ้อื เผอ่ื แผ่ / ความสามัคคี 24. “การมคี วามพอดี พออยู่ พอกนิ ” ถอื วา่ เปน็ แนวทางปฏบิ ัติตรงตามข้อใด ก. ข้อตกลงชมุ ชน ข. ทางสายกลางในการดาํ เนินชวี ติ ค. การนําทรพั ยากรมาใช้ ง. การพยงุ ฐานะให้ดขี ้นึ 25. หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงม่งุ เน้นใหช้ าวบ้านรว่ มดาํ เนินกิจการด้านใด ก. รว่ มหนุ้ กับธนาคาร ข. ตง้ั บริษัทจําหนา่ ยสนิ ค้า ค. การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร ง. รว่ มมือกันกบั นกั ลงทุนต่างชาติ 26. หลักการ “ความพอเพยี ง” ตรงกบั ข้อใดมากทสี่ ุด ก. ความพอดีและความรํ่ารวย ข. ความพอประมาณ ความพอดี ค. หลกั การท่กี าํ หนดไว้ ง. นโยบายรัฐบาล 27. ทฤษฎเี ศรษฐกจิ พอเพียงนํามาใช้คร้งั แรกที่จงั หวดั ใด ก. จงั หวดั ร้อยเอด็ ข. จงั หวัดอํานาจเจริญ ค. จังหวัดอุบลราชธานี ง. จังหวดั สระบรุ ี
28. การนาํ หลกั การและแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใชเ้ พ่ือส่งิ ใด ก. แกป้ ัญหาแรงงานตา่ งด้าว ข. ลดตน้ ทนุ การผลิต ค. แนวทางใหมใ่ นการแก้ปญั หา ง. ปูองกันการทุจรติ 29. ประเทศไทยประสบปัญหาวกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2539 ข. พ.ศ. 2540 ค. พ.ศ. 2541 ง. พ.ศ. 2542 30. “มีกิน มีอยู่ไม่ฟมุ เฟือย ไม่หรหู รา” ตรงกับขอ้ ใด ก. นโยบาย ข. การบริหารจัดการ ค. พอเพียง ง. หลกั การและวิธกี าร เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-Test) 1. ค 2. ง 3. ข 4. ง 5. ง 6. ค 7. ก 8. ค 9. ก 10. ค 11. ข 12. ก 13. ง 14. ข 15. ค 16. ข 17. ง 18. ค 19. ข 20. ค 21. ก 22. ข 23. ง 24. ก 25. ง 26. ข 27. ง 28. ง 29. ค 30. ข เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-Test) 1. ก 2. ข 3. ง 4. ง 5. ค 6. ค 7. ก 8. ข 9. ก 10. ค 11. ก 12. ข 13. ง 14. ก 15. ง 16. ข 17. ง 18. ง 19. ค 20. ข 21. ข 22. ก 23. ง 24. ข 25. ค
ภาคผนวก ค - การเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกอ่ นเรยี นกบั หลงั เรยี น - การวเิ คราะหค์ ะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
- แบบประเมินความสอดคล้องของแผนการจดั การเรียนรู้ ตารางท่ี 5 ตารางแสดงการวเิ คราะหค์ ะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้วชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรือ่ งหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4/2 ผลการทดสอบเรอื่ งเศรษฐกิจพอเพียง(30 คะแนน) เลขที่ ทดสอบ ทดสอบ D D2 กอ่ น หลงั (n) ชอื่ -สกลุ 8 64 18 26 5 25 1 เดก็ ชายณทชัย เจรญิ ชยั 19 24 5 25 19 24 8 64 2 เดก็ หญิงชนิกา วลิ ามาศ 20 28 6 36 18 24 5 25 3 เดก็ ชายชลันธร วิลามาศ 20 25 4 เด็กหญิงศลิษา เจยี มวงศ์ 5 เดก็ ชายณพนนั ท์ พันธ์สวุ รรณ 6 เดก็ หญงิ จดิ าภา ขุนไทย
7 เดก็ ชายจรญู วิทย์ สวุ ะจนั ทร์ 19 25 6 36 18 25 7 49 8 เด็กหญิงพรพมิ ล พนั ธพ์ าห์ 20 24 4 16 16 24 8 64 9 เดก็ ชายธญั ชนิต ศรสี ะอาด 18 25 7 49 23 28 5 25 10 เดก็ ชายก่อเกียรติ คูณทวี 18 25 7 49 17 23 6 36 11 เด็กหญงิ ธดิ ารตั น์ ตาขนั ทอง 20 25 5 25 15 23 8 64 12 เด็กหญงิ ชนกชนม์ กรินรกั ษ์ 18 26 8 64 17 25 8 64 13 เด็กหญิงสณิ ีนาฐ จนั ทรห์ อม 17 26 9 81 18 26 8 64 14 เดก็ หญงิ มณชี าติ การกลา้ 18 24 6 36 20 27 7 49 15 เดก็ หญิงนันท์นภัส ศรลี ว้ น 17 25 8 64 20 26 6 36 16 เดก็ หญงิ ภัทรจิรา สารปรัง 19 26 7 49 18 25 7 49 17 เด็กหญงิ กนกภรณ์ ลอื อ่อนดี 18 25 7 49 18 27 9 81 18 เดก็ ชายกฤตยชญ์ วะนา 19 25 6 36 16 22 6 36 19 เด็กหญงิ กนกกร ทอี ทุ ิศ 19 27 8 64 19 24 5 25 20 เดก็ ชายพัฒนไชย แข่งขัน 17 23 6 36 19 25 6 36 21 เดก็ ชายคณุตม์ สามัคคี 18 24 6 36 18 24 6 36 22 เด็กหญงิ แพรดาว ระหง ษ์ 18 25 7 49 23 เด็กหญิงนศิ ากร ใจดี 24 เดก็ หญิงปรยิ รตั น์ นาคสดุ 25 เด็กหญิงปยิ ะดา โสดากุล 26 เด็กหญิงศศิกานต์ วลิ ัยเลิศ 27 เด็กหญงิ ธนนันท์ ทองเลิศ 28 เด็กหญงิ ณชิ ารยี ์ พลราษฎร์ 29 เด็กหญิงอเมรินทรญ์ า บุญครุฑ 30 เดก็ ชายธรี ภัทร์ ภาคโพธ์ิ 31 เด็กหญิงสบายใจ เหลืองพานิช 32 เด็กชายศุภกาญจน์ โกโต้ 33 เด็กชายชยากร อศู่ ริ ิกลุ พาณิชย์ 34 เด็กชายแผ่นดิน จันทร์เต็ม 35 เดก็ ชายวชิ ยานนท์ ลุนพรม 36 เดก็ หญิงบณุ ยาพร ศรีสมชัย 37 เด็กหญงิ ธนัชพร มาลาหอม
เฉล่ยี 18.35 25.00 6.64 45.72 รวม 679 925 246 1692 ตารางท่ี 6 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกอ่ นเรียนกับหลงั เรียน วิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรอื่ งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการ N X ∑ D ∑D2 t p-value ทดลอง กอ่ นเรยี น 37 18.35 246 1692 32.30 .00** หลังเรยี น 37 25.00 สถติ ทิ ่ีใช้ในการทดสอบสมมติฐาน
t= D ; df = n - 1 nD2 (D)2 n 1 เมอื่ t หมายถงึ คา่ ทีทีใ่ ชใ้ นการพจิ ารณา D หมายถึง ความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่ n หมายถงึ จาํ นวนคู่ D2 หมายถึง ผลรวมของ D แตล่ ะตัวยกกาํ ลังสอง (D)2 หมายถึง ผลรวมของ D ทง้ั หมดยกกาํ ลังสอง D nD2 (D)2 n 1 t= = 246 37(1692) (246) 37 1 = 246 62604 60516 36 = 246 2088 36 = 246 t = 32.30 58 แบบประเมนิ ความสอดคล้องของแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ วชิ า สังคมศกึ ษา ช่อื ผูเ้ ชี่ยวชาญ นายสมพงษ์ หาคา ตาแหนง่ ท่ปี รกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลนอ้ งหญิง คาชแ้ี จง โปรดพจิ ารณาและประเมนิ ความสอดคล้องของแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ วชิ า สงั คมศกึ ษา โดยเขียนตวั เลขตามความคิดเห็นของท่าน ลงในชอ่ งแผนการจดั การเรียนรตู้ ามที่กําหนดไว้ดังนี้
+1 หมายถึง แนใ่ จวา่ แผนการจัดการเรยี นรู้มีความสอดคลอ้ ง แผนการจดั การเรียนรู้ / 0 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจว่าแผนการจดั การเรียนรูม้ ีความสอดคล้อง ระดบั ความคดิ เห็น -1 หมายถึง แน่ใจว่าแผนการจดั การเรยี นรู้ไม่มคี วามสอดคลอ้ ง 1 2345 รายการประเมนิ 1 1111 1 1111 1. ช่อื หนว่ ยการเรยี นรนู้ า่ สนใจ กะทดั รดั ชัดเจนครอบคลุมเนือ้ หาสาระ 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้/สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน และ 1 1111 คณุ ลักษณะอันพึงประสงคม์ ีความเช่อื มโยงกันอย่างเหมาะสม 1 1111 3. ความสอดคล้องของสาระสําคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรียนรู้/ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ 1 1111 4. ความสอดคลอ้ งของสาระสําคัญ/ความคิดรวบยอดกับสาระการเรยี นรู้ 5. ความเชอื่ มโยงสัมพันธ์กันระหว่างช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ 1 0101 ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้และ กจิ กรรมการเรียนรู้ 0 1010 6. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ และสาระการเรยี นรู้ 1 0101 7. กิจกรรมการเรียนรมู้ คี วามครอบคลมุ ในการพฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ/ กระบวนการ สมรรถนะสําคัญของผู้เรยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 0 1110 8. กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม สามารถนําผู้เรียนไปสู่การสร้างช้ินงาน/ ภาระงาน 1 1111 9. มีการประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวช้วี ดั /กิจกรรมการเรยี นรู้ 1 0001 10. ประเด็นและเกณฑ์การประเมินสามารถสะท้อนคุณภาพผู้เรียนตาม 1 1111 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ 11. ส่ือการเรียนรู้ในแตล่ ะกจิ กรรม มีความเหมาะสมกบั เวลา และ การนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ได้จริง 12. กาํ หนดเวลาได้เหมาะสมกับกจิ กรรม และสามารถนําไปปฏบิ ัตจิ รงิ ได้ ลงช่อื สมพงษ์ หาคาํ ( นายสมพงษ์ หาคํา) ผู้เช่ียวชาญ
แบบประเมินความสอดคล้องของแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ วชิ า สังคมศึกษา ชื่อผเู้ ช่ียวชาญ นางจันทรเ์ พ็ญ กลุ โท ตาแหน่งรองผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลน้องหญิง คาชแ้ี จง โปรดพจิ ารณาและประเมนิ ความสอดคล้องของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ วชิ า สงั คมศกึ ษา โดยเขียนตัวเลขตามความคดิ เห็นของท่าน ลงในช่องแผนการจัดการเรียนรตู้ ามท่ีกาํ หนดไวด้ งั นี้ +1 หมายถึง แนใ่ จว่าแผนการจดั การเรยี นร้มู คี วามสอดคลอ้ ง 0 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจวา่ แผนการจัดการเรยี นรมู้ ีความสอดคล้อง -1 หมายถงึ แนใ่ จวา่ แผนการจดั การเรยี นรู้ไม่มีความสอดคล้อง แผนการจดั การเรยี นรู้ / รายการประเมิน ระดับความคดิ เหน็ 1 2345 1. ช่อื หน่วยการเรยี นรนู้ ่าสนใจ กะทดั รดั ชดั เจนครอบคลุมเน้อื หาสาระ 1 1111 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้/สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน และ 1 1 1 11 คุณลักษณะอนั พึงประสงคม์ ีความเชอ่ื มโยงกันอย่างเหมาะสม 3. ความสอดคล้องของสาระสําคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรียนรู้/ 1 1 1 11 ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ 4. ความสอดคล้องของสาระสําคัญ/ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรียนรู้ 1 1111 5. ความเช่ือมโยงสัมพันธ์กันระหว่างช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้และ 1 1 1 1 1 กิจกรรมการเรยี นรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 1 1 1 11 และสาระการเรยี นรู้ 7. กิจกรรมการเรยี นรูม้ คี วามครอบคลุมในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ/ 0 1 1 11 กระบวนการ สมรรถนะสําคญั ของผู้เรียน และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม สามารถนําผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้นงาน/ 1 0 1 11 ภาระงาน 9. มีการประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ 0 1 1 11 ตวั ช้ีวดั /กจิ กรรมการเรียนรู้ 10. ประเด็นและเกณฑ์การประเมินสามารถสะท้อนคุณภาพผู้เรียนตาม 1 1 1 11 มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ 11. สือ่ การเรียนรู้ในแตล่ ะกิจกรรม มีความเหมาะสมกับเวลา และ 1 1111 การนําไปประยุกต์ใช้ไดจ้ รงิ
12. กาํ หนดเวลาได้เหมาะสมกบั กิจกรรม และสามารถนําไปปฏบิ ตั จิ รงิ ได้ 1 1111 ลงช่อื จนั ทร์เพ็ญ กลุ โท ( นางจนั ทรเ์ พ็ญ กุลโท) ผเู้ ชี่ยวชาญ แบบประเมนิ ความสอดคล้องของแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ วชิ า สังคมศกึ ษา ชือ่ ผูเ้ ชี่ยวชาญ นางสาวมณีพรรณ มนัสสา ตาแหนง่ ครผู สู้ อนวิชาสังคมศึกษา คาชีแ้ จง โปรดพจิ ารณาและประเมนิ ความสอดคล้องของแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ วชิ า สงั คมศกึ ษา โดยเขียนตัวเลขตามความคิดเห็นของท่าน ลงในช่องแผนการจัดการเรยี นรู้ตามท่ีกําหนดไวด้ ังน้ี +1 หมายถงึ แนใ่ จวา่ แผนการจดั การเรยี นรู้มคี วามสอดคลอ้ ง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าแผนการจดั การเรยี นรู้มีความสอดคลอ้ ง -1 หมายถึง แนใ่ จว่าแผนการจดั การเรียนรู้ไม่มีความสอดคล้อง แผนการจัดการเรยี นรู้ / รายการประเมิน ระดบั ความคิดเหน็ 1 2345 1. ชอื่ หน่วยการเรียนรนู้ ่าสนใจ กะทัดรดั ชดั เจนครอบคลมุ เน้ือหาสาระ 1 1111 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้/สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน และ 1 1 0 11 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์มีความเช่อื มโยงกันอย่างเหมาะสม 3. ความสอดคล้องของสาระสําคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรียนรู้/ 1 1 1 11 ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ 4. ความสอดคล้องของสาระสําคญั /ความคิดรวบยอดกบั สาระการเรียนรู้ 1 0111 5. ความเชอื่ มโยงสัมพันธ์กันระหว่างช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้และ 1 1 1 1 0 กิจกรรมการเรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 1 1 1 11 และสาระการเรียนรู้ 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความครอบคลมุ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ/ 1 1 1 11 กระบวนการ สมรรถนะสาํ คัญของผเู้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 8. กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม สามารถนําผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้นงาน/ 1 1 0 11 ภาระงาน 9. มีการประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ 1 1 1 1 1
ตัวชว้ี ดั /กจิ กรรมการเรยี นรู้ 10. ประเด็นและเกณฑ์การประเมินสามารถสะท้อนคุณภาพผู้เรียนตาม 1 1 1 11 มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ 11. สอื่ การเรยี นรู้ในแตล่ ะกจิ กรรม มคี วามเหมาะสมกบั เวลา และ 1 1111 การนําไปประยุกต์ใช้ไดจ้ รงิ 12. กาํ หนดเวลาไดเ้ หมาะสมกับกจิ กรรม และสามารถนาํ ไปปฏิบตั จิ รงิ ได้ 1 0111 ลงช่ือ มณีพรรณ มนัสสา ( นางสาวมณพี รรณ มนสั สา) ผเู้ ชี่ยวชาญ สรุปผลคณุ ภาพของแผนการจัดการเรยี น จากการตรวจพิจารณาโดยผเู้ ช่ยี วชาญ รายการ ความคิดเห็นของผูเ้ ช่ียวชาญโดยเฉลย่ี R IOC แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ คนท่ี 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 (X) (X) 1 2 1 0.83 0.83 2.66 0.88 3 0.75 0.91 0.75 2.41 0.80 4 0.83 1 0.83 2.66 0.88 5 0.75 1 0.75 2.50 0.83 รวม 0.83 1 0.83 2.66 0.88 4.16 4.74 3.99 2.57 0.85
ภาคผนวก ง - แผนจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง เศรษฐกิจพอเพยี งและความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ รายวชิ าสงั คมศึกษา รหสั วิชา ส 14101 กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง หลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2556 เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่จาํ กดั ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและคุ้มค่า รวมทง้ั เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ ดาํ รงชวี ติ อยา่ งมีดุลยภาพ ตวั ชี้วัด ส 3.1 ป.4/3 อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง และนาํ ไปใช้ในชีวิตประจําวันของตนเอง
2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูส้ ตู่ วั ชว้ี ัด 1. อธบิ ายปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (K) 2. จาํ แนกวิธีการนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชป้ ฏบิ ัติตนในการดาํ เนนิ ชีวิตประจําวัน (P) 3. เหน็ คุณค่าและประโยชนใ์ นการปฏิบตั ิตนตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (A) 3. สาระสาคญั เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรชั ญาท่พี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงแนะ แนวทางดําเนินชีวิตแก่ประชาชนชาวไทย โดยทรงให้พ่ึงพาตนเอง รู้จักความพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ ใชท้ รพั ยากรท่มี อี ยูอ่ ยา่ งจาํ กดั ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด 4. สาระการเรยี นรู้ 1. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (K) 2. วิธกี ารนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชป้ ฏิบัตติ นในการดาํ เนินชีวิตประจําวนั (P) 3. ประโยชนใ์ นการปฏบิ ัตติ นตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (A) 5. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้) 1. ร่วมกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนการเรยี นรู้ ตอบคําถามปลายเปดิ 2. แผนผงั ความคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6. คาถามสาคัญ นกั เรยี นมีแนวทางในการนาํ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิตของ ตนเองไดอ้ ย่างไร 7. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครูคัดเลือกผู้แทนนักเรียนให้ออกมาอ่านพระราชดํารัส “เศรษฐกิจพอเพียง” ของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ใหเ้ พือ่ นฟังหน้าชนั้ เรยี น หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “...คนอ่ืนจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งใหม่ แต่เราอยู่อย่างพอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบ
ช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่ที่พอสมควร ขอยํ้าพอควร พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่ง คณุ สมบตั นิ ี้ไปจากเราได้...” - พระราชกระแสรับสั่งในเร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง แก่ผู้เข้าเฝูาถวายพระพรชัยมงคล เน่อื งในวันเฉลมิ พระชนมพรรษาตัง้ แต่พทุ ธศักราช 2517 “การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สําคัญ สําคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบ พอมพี อกนิ แบบพอมีพอกนิ หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ใหม้ พี อเพยี งกับตนเอง” - พระราชดาํ รสั “เศรษฐกจิ แบบพอเพียง” พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช พระราชทานเมอื่ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 2. เม่ือนักเรียนอ่านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจบครูให้ นกั เรียนตอบคําถามดังน้ี - พระราชดํารัสของในหลวงที่ทรงพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยมีคุณค่าและ ความสําคญั อย่างไร - โดยสรุปแลว้ ในหลวงทรงใหค้ นไทยดาํ เนนิ ชีวติ อยา่ งไร ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยครูเขียนแผนภาพลงบนกระดาน จากนน้ั ให้นักเรียนรว่ มกันสนทนา โดยครใู ช้คาํ ถาม ดังน้ี แผนภาพแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภูมิคมุ้ กันในตวั ที่ดี เง่ือนไขความรรู้ อบรู้ เงือ่ นไขคุณธรรม รอบคอบ ระมดั ระวงั ซื่อสัตย์สจุ ริต ขยนั อดทน สตปิ ญั ญา แบง่ ปนั นาไปสู่ - นักเรียนเข้าชใจีวกิตารเดศาํรเษนฐนิ กชิจวี ติ สทังาคงมสายสก่ิงแลวาดงวล่าอ้ อมย่างไร - การดาํ เนินชวี ิตตามสปมรดชั ุลญามขั่นอคงงเศแรษละฐยกั่งจิ ยพืนอเพียง มีประโยชนต์ อ่ เราอย่างไรบ้าง
- การดาํ เนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่งผลดตี ่อสงั คม ชุมชนและ ประเทศชาติอยา่ งไรบ้าง 3.ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ หลกั การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ แผนภาพลงบน กระดาน (ตัวอย่างแผนภาพการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง) ดําเนินชีวติ ทางสายกลาง ประกอบอาชีพทสี่ ุจรติ รจู้ ักความพอดีพอประมาณ รู้จักการเกบ็ ออม การปฏบิ ัตติ น สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ตามหลกั ปรัชญา ตัดสินใจอยา่ งมีเหตุผล เศรษฐกิจพอเพียง มีความอดทนขยนั ทํากนิ ลดความฟุมเฟือย รจู้ ักการใช้จา่ ยอย่างประหยัด 4. นักเรียนและครรู ่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดในการพ่ึงพาตนเอง โดยการนําทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจํากัด มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการดาํ เนนิ ชวี ิต 5. ให้นักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ าํ ถามท้าทาย ดังนี้ - นักเรียนมีแนวทางในการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการ ดําเนินชีวิตของตนเองไดอ้ ยา่ งไร 6. นกั เรียนสร้างสรรค์ผลงานโดยการนาํ ความรจู้ ากการเรียน มาใชใ้ นการทําแผนผงั ความคดิ 8. การจัดบรรยากาศเชงิ บวก ใหน้ ักเรียนเสนอความคดิ เห็นอย่างอสิ ระ และสรุปความรเู้ ป็นแผนภาพ 9. สอื่ /แหล่งเรียนรู้
พระราชดาํ รสั “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี 9 10. การประเมินผลการเรียนรู้ ประเดน็ การ ระดบั คุณภาพ ประเมิน 4 3 21 1. มสี ่วนร่วมในการ 1.วางแผนกอ่ นเลน่ เกม/ 1.วางแผนการเล่น 1.วางแผนเลน่ 1.วางแผนการ ตอบคําถาม/เลน่ เกม ตอบคาํ ถาม เกม/ตอบคําถาม เกม/ตอบ เลน่ เกม/ตอบ เก่ียวกบั ปรัชญาของ 2.สร้างสือ่ /เกม/อุปกรณ์ 2.เลน่ เกม/ตอบ คาํ ถาม คําถาม เศรษฐกิจพอเพียง ตรงตามเน้ือหา คาํ ถามตรงตาม 2.เลน่ เกม/ แต่เสรจ็ ไม่ 3.สรา้ งสื่อ/เกม/อปุ กรณ์ เนือ้ หา ตอบคาํ ถาม ทันเวลา เสรจ็ ทนั เวลา ถูกต้อง 3.เล่นเกม/ตอบ ตรงตาม 4.ใชส้ อื่ /เกม/อุปกรณใ์ น คาํ ถามเสร็จทนั เวลา เนอ้ื หาแต่ การเรยี นเหมาะสม แตต่ ้องใหค้ รเู ตือน เสรจ็ ไม่ ถูกต้อง ทันเวลา 2. สร้างผลงานแสดง 1.วางแผนการสรา้ ง 1.วางแผนการสร้าง 1.วางแผนการ 1.วางแผนการ สรปุ องคค์ วามรู้โดย ผลงานสรปุ องคค์ วามรู้ ผลงานสรปุ องค์ สรา้ งผลงาน สรา้ งผลงาน เขยี นเป็นผังความคดิ โดยเขียนเปน็ ผังความคดิ ความรูโ้ ดยเขยี นเป็น สรุปองค์ แตเ่ สร็จไม่ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 2.สร้างผลงานตรงตาม ผังความคิด ความร้โู ดย ทันเวลา พอเพยี ง เนื้อหา 2.สร้างผลงานตรง เขียนเปน็ ผัง 3.สรา้ งผลงานสรปุ องค์ ตามเนอ้ื หา ความคดิ ความรโู้ ดยเขียนเปน็ ผงั 3.สร้างผลงานเสร็จ 2.สรา้ งผลงาน ความคดิ เสรจ็ ทนั เวลา ทนั เวลา ถกู ต้องแต่ ตรงตาม ถูกต้อง ต้องให้ครูเตอื น เนือ้ หาแต่ 4.ผลงานแสดงถงึ เสร็จไม่ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ทันเวลา 3. การนําเสนอ 1.วางแผนการนําเสนอ 1.วางแผนการ 1.วางแผนการ 1.วางแผนการ
ผลงาน/แบบฝกึ หัด ผลงาน นาํ เสนอผลงาน นําเสนอ นําเสนอผลงาน แสดงองคค์ วามรู้ 2.นําเสนอผลงานตรง 2.นาํ เสนอผลงาน ผลงาน แตไ่ ม่ตรง ปรชั ญาของ ตามประเด็นเนื้อหา ตรงตามประเดน็ 2.นําเสนอ ประเด็น เศรษฐกจิ พอเพียง 3.นาํ เสนอผลงาน ถูกต้อง เนือ้ หา ผลงานตรง และเสร็จตามเวลา 3.นําเสนอผลงาน ตามประเดน็ 4.นาํ เสนอผลงานอยา่ ง ถูกต้องและเสร็จตาม เนือ้ หาแต่ไม่ หลากหลายแสดงถงึ เวลา ทันเวลา ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4. ทาํ แบบฝึก/ 1.ทําแบบฝึกหัดถกู ต้อง 1.ทาํ แบบฝึกหดั 1.ทําแบบ 1.ทาํ แบบทดสอบ 2.ส่งแบบฝึกหดั ทันเวลา ถูกต้อง ฝกึ หัดถูกต้อง แบบฝกึ หดั ปรัชญาของ 3.แบบฝึกหดั สะอาดเป็น 2.ส่งแบบฝกึ หัด 2.ส่งแบบ ถกู ต้อง เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบ ทันเวลา ฝกึ หดั ทันเวลา แตไ่ มส่ ่งตาม 4.นําเสนอแบบฝกึ หัด 3.แบบฝึกหัดสะอาด แตไ่ มเ่ ปน็ เวลา อยา่ งสรา้ งสรรค์ เป็นระเบยี บ ระเบียบ สรุปผลการประเมนิ คะแนน 4 หมายถงึ คุณภาพงานดีมาก คะแนน 3 หมายถงึ คุณภาพงานดี คะแนน 2 หมายถึง คุณภาพงานพอใช้ คะแนน 1 หมายถึง คุณภาพงานปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผ่าน นกั เรยี นได้ คะแนน 9.6 คะแนนขึน้ ไปถือว่าผา่ นการประเมิน 11. กจิ กรรมเสนอแนะ - 12. ความรู้เพมิ่ เติม - 13. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงาน ประเดน็ การ ระดับคณุ ภาพ 3 ประเมนิ 4 2 1
แผนผงั ความคดิ 1. ทําแผนผังความคิด 1. ทาํ แผนผงั 1. ทาํ แผนผงั 1.ทําแผนผัง ถูกต้อง ความคิดถูกต้อง ความคดิ ถูกต้อง ความคิด 2. สง่ แผนผังความคดิ 2. สง่ แผนผงั ความคิด 2. สง่ แผนผงั ถูกต้องแต่ไม่สง่ ทันเวลา ทันเวลา ความคดิ ทันเวลา ตามเวลา 3. แผนผังความคดิ 3. แผนผังความคดิ แตไ่ ม่เปน็ ระเบยี บ สะอาดเปน็ ระเบียบ สะอาดเป็นระเบยี บ 4. นําเสนอแผนผัง ความคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ ภาคผนวก หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดํารัสช้ีแนะ แนวทาง การดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทาง เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยํ้า แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยู่ได้อย่าง มั่นคงและยงั่ ยนื ภายใต้กระแสโลกาภิวตั นแ์ ละความเปล่ยี นแปลง มีหลักพจิ ารณา ดงั นี้ กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็นโดยมี พืน้ ฐานมาจากวิถีชีวิตดง้ั เดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกต์ใชไ้ ด้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความม่ันคงและความ ยงั่ ยนื ของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้น การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน คานยิ าม ความพอเพยี งจะต้องประกอบด้วย 3 คณุ ลักษณะพรอ้ ม ๆ กนั ดงั นี้
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อน่ื เช่น การผลิตและการบรโิ ภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ 2. ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ันจะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อย่างรอบคอ 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลง ดา้ นตา่ งๆ ท่จี ะเกดิ ขนึ้ โดยคํานงึ ถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทั้งใกล้ และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง ความรุ้ และคณุ ธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ 1. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ท่ีเก่ียวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบทีจ่ ะนําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในข้ันปฏบิ ัติ 2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อ สตั ย์สจุ รติ และมีความอดทน มคี วามพากเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดําเนนิ ชวี ิต แนวทางปฏบิ ัติ/ผลที่คาดวา่ จะได้รับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี 14. ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหาร แผนการจดั กิจกรรมมีขนั้ ตอน รายละเอยี ดของกจิ กรรมชัดเจนสอดคล้องกบั จุดประสงค์ ควรให้ นกั เรียนได้เขยี น “การดําเนินชีวิตของฉนั ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” เพื่อตรวจสอบความ เข้าใจในเร่ืองนี้ ลงชอ่ื สมพงษ์ หาคํา ( นายสมพงษ์ หาคาํ ) ท่ีปรึกษาวิชาการโรงเรยี นอนุบาลนอ้ งหญงิ 15. บนั ทกึ หลังสอน
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกวิธีการนํา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ปฏิบัติตนในการดําเนินชีวิตประจําวัน เห็นคุณค่าและประโยชน์ในการ ปฏิบัติตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการสังเกตนักเรียนส่วนใหญ่สามารถทําแบบฝึกทักษะ แบบแผนผังความคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกต้อง ส่วนพฤติกรรมในการเรียนที่คุณครูสังเกต นกั เรียนสว่ นใหญ่ผ่านเกณฑ์การประเมินพฤตกิ รรม ลงชื่อ รจนา ปูอมแดง ( นางรจนา ปูอมแดง ) ผูจ้ ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม (ในหอ้ งเรยี น) คาช้ีแจง ให้ทาํ เคร่อื งหมาย ลงในช่องรายการสงั เกตพฤติกรรมท่นี กั เรยี นปฏบิ ัติ เลข ่ที ชือ่ -สกลุ รายการ
ร่วมมือในการทากิจกรรม กล้าออกมาแสดงความสามารถ เ ้ขา ่รวมกิจกรรม ้ดวยความ สนุกสนานเพ ิลดเพ ิลน ทางานเสร็จตามเวลา ี่ทกาหนด สรุปผลการประเมิน ่ผาน ไม่ ่ผาน ่ผาน ไม่ ่ผาน ่ผาน ไม่ ่ผาน ่ผาน ไม่ ่ผาน ่ผาน ไม่ ่ผาน 1 เด็กชายณทชัย เจรญิ ชัย 2 เดก็ หญงิ ชนกิ า วิลามาศ 3 เดก็ ชายชลันธร วลิ ามาศ 4 เด็กหญิงศลิษา เจียมวงศ์ 5 เด็กชายณพนันท์ พันธส์ ุวรรณ 6 เด็กหญงิ จดิ าภา ขุนไทย 7 เด็กชายจรูญวิทย์ สุวะจันทร์ 8 เด็กหญงิ พรพมิ ล พนั ธพ์ าห์ 9 เดก็ ชายธัญชนติ ศรสี ะอาด 10 เดก็ ชายก่อเกียรติ คณู ทวี 11 เดก็ หญงิ ธิดารตั น์ ตาขนั ทอง 12 เดก็ หญิงชนกชนม์ กรินรกั ษ์ 13 เดก็ หญิงสณิ นี าฐ จนั ทร์หอม 14 เด็กหญิงมณชี าติ การกลา้ 15 เดก็ หญิงนันทน์ ภัส ศรลี ้วน 16 เดก็ หญิงภทั รจริ า สารปรงั 17 เด็กหญงิ กนกภรณ์ ลืออ่อนดี 18 เด็กชายกฤตยชญ์ วะนา 19 เด็กหญิงกนกกร ทีอุทิศ 20 เด็กชายพัฒนไชย แข่งขนั
21 เดก็ ชายคณุตม์ สามคั คี 22 เด็กหญิงแพรดาว ระหง ษ์ 23 เดก็ หญงิ นิศากร ใจดี 24 เดก็ หญงิ ปริยรตั น์ นาคสดุ 25 เดก็ หญิงปิยะดา โสดากลุ 26 เดก็ หญิงศศิกานต์ วิลยั เลศิ 27 เดก็ หญิงธนนนั ท์ ทองเลศิ 28 เดก็ หญิงณิชารยี ์ พลราษฎร์ 29 เดก็ หญงิ อเมรินทรญ์ า บุญครฑุ 30 เด็กชายธรี ภัทร์ ภาคโพธ์ิ 31 เด็กหญงิ สบายใจ เหลืองพานชิ 32 เด็กชายศุภกาญจน์ โกโต้ 33 เด็กชายชยากร อศู่ ิรกิ ลุ พาณชิ ย์ 34 เดก็ ชายแผ่นดิน จันทร์เต็ม 35 เดก็ ชายวิชยานนท์ ลนุ พรม 36 เด็กหญงิ บุณยาพร ศรสี มชยั 37 เด็กหญิงธนัชพร มาลาหอม เกณฑ์การประเมิน ลงช่ือ รจนา ปูอมแดง ผ่านตัง้ แต่ 2 รายการถือว่า ผ่าน ( นางรจนา ปอ้ มแดง ) ผา่ น 1 รายการถอื ว่า ไม่ผา่ น ผู้ประเมิน
แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่อื ง เศรษฐกจิ พอเพียงและความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ รายวชิ าสังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส 14101 กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เร่อื ง การพง่ึ พาอาศัยกนั ทางเศรษฐกิจของคนในชมุ ชน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2556 เวลา 1 ช่วั โมง 1. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาํ เปน็ ของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก ตวั ชี้วัด ส 3.2 ป.4/1 อธบิ ายความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจของคนในชมุ ชน 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ตู่ ัวชี้วดั 1. อธิบายความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ ของคนในชมุ ชน (K) 2. จาํ แนกการพึง่ พาอาศยั กนั ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน (P) 3. สนใจศกึ ษาเรยี นร้คู วามสัมพันธท์ างเศรษฐกิจของคนในชุมชน (A) 3. สาระสาคญั การดําเนนิ ชีวติ ของคนในชมุ ชน มกี ารพ่ึงพาอาศยั กัน มคี วามสมั พนั ธ์กนั ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ ง ผคู้ น และสถาบนั ทางการเงนิ 4. สาระการเรยี นรู้ 1. ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชมุ ชน 2. การพ่งึ พาอาศัยกนั ทางเศรษฐกจิ ของคนในชุมชน 5. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) 1. ร่วมกิจกรรมกลุม่ แลกเปลี่ยนการเรยี นรู้ ตอบคําถามปลายเปดิ 2. แผนผังความคดิ การพงึ่ พาอาศัยกันทางเศรษฐกจิ ของคนในชมุ ชน
6. คาถามสาคญั นกั เรยี นสามารถช่วยสง่ เสริมระบบเศรษฐกจิ ของชุมชนใหเ้ กิดการหมนุ เวยี นได้อย่างไร 7. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมติในการออกไปจ่ายตลาดซึ่งมีกิจกรรมการซ้ือขายให้เพื่อนฟัง หนา้ ชนั้ เรยี น ระหว่างผขู้ าย และผู้ซ้ือ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาํ ถาม ดังนี้ - ระหวา่ งผขู้ ายสนิ ค้ากบั ผ้ซู ื้อสินค้ามกี ารพึง่ พาอาศยั กันอยา่ งไร 2. ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาการพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน โดยแบ่งนักเรียน ออกเป็น 3 กลุ่ม ดังน้ี กลุม่ ที่ 1 กลมุ่ ผู้ผลิตสนิ คา้ กลุ่มที่ 2 กลุม่ ผซู้ ้ือ – ขาย กลุ่มที่ 3 กลุม่ ของสถาบนั ทางการเงิน ครูให้นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ าํ ถาม ดังนี้ - ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ของคนในชมุ ชนมีอะไรเปน็ สื่อกลาง - สมั พนั ธก์ ันอย่างไร - ผู้ทคี่ อยให้ความสะดวกในการซ้ือขาย และเปน็ ศนู ย์กลางความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ คือ - ธนาคารทําหน้าท่ีอย่างไร 3. ใหค้ รเู ขียนแผนภาพหรอื เค้าโครงการพ่ึงพาอาศยั กันทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน (ตวั อยา่ งแผนภาพ)
จากนนั้ ครใู ห้นักเรยี นศึกษาแผนภาพ และใหน้ กั เรยี นรว่ มกันสนทนา โดยครูใชค้ าํ ถาม ดงั นี้ - จากแผนภาพแสดงให้เหน็ ถงึ ความสมั พนั ธก์ ันทางเศรษฐกจิ ในชมุ ชนอยา่ งไร - การพึ่งพาอาศยั กนั ทางเศรษฐกจิ ของคนในชุมชนมีผลดีอย่างไร ต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ (ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเป็นแผนภาพลง บนกระดาน) (ตวั อยา่ งแผนภาพ) เกดิ การหมุนเวียนเงินในชุมชน เศรษฐกจิ ของประเทศม่นั คง เกิดการสร้างงานในชมุ ชน ผลดขี องการพง่ึ พาอาศยั กัน มีสินค้าและบริการหมนุ เวยี นในชุมชน ทางเศรษฐกิจของชุมชน เกิดการสรา้ งรายไดใ้ นชมุ ชน ช่วยใหร้ ะบบเศรษฐกิจเกิดการขับเคลอ่ื น ทําให้ระบบเศรษฐกิจชมุ ชนเข้มแข็ง ชุมชนเกิดการพฒั นา 4. นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้
การพ่ึงพาอาศยั กนั ของคนในชมุ ชน โดยการซ้ือขาย การกู้ยืม เป็นความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของ คนในชุมชน เพ่ือให้ระบบเศรษฐกิจในชุมชนเกิดการหมุนเวียน ทําให้ชุมชนเข้มแข็ง ส่งผลต่อการพัฒนา เศรษฐกจิ ของประเทศ 5. ใหน้ กั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ ําถามท้าทาย ดงั นี้ นกั เรียนสามารถชว่ ยสง่ เสรมิ ระบบเศรษฐกจิ ของชมุ ชนใหเ้ กดิ การหมุนเวียนได้อย่างไร 6. นกั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานโดยการนําความร้จู ากการเรยี น มาใช้ในการทําแผนผังความคิด 8. การจดั บรรยากาศเชิงบวก ใหน้ ักเรยี นเสนอความคดิ เห็นอย่างอิสระ และสรุปความรเู้ ป็นแผนภาพ 9. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ พระราชดาํ รสั “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั รชั กาลที่ 9 10. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ประเด็นการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ 4 3 21 1. มสี ่วนร่วมในการ 1.วางแผนก่อนเล่นเกม/ 1.วางแผนการเลน่ 1.วางแผนเลน่ 1.วางแผนการ ตอบคําถาม/เลน่ เกม ตอบคาํ ถาม เกม/ตอบคําถาม เกม/ตอบ เลน่ เกม/ตอบ เกี่ยวความสัมพันธ์ 2.สรา้ งสื่อ/เกม/อปุ กรณ์ 2.เลน่ เกม/ตอบ คาํ ถาม คําถาม ทางเศรษฐกิจของคน ตรงตามเน้ือหา คาํ ถามตรงตาม 2.เลน่ เกม/ แต่เสรจ็ ไม่ ในชุมชน 3.สร้างสอ่ื /เกม/อปุ กรณ์ เนอื้ หา ตอบคําถาม ทนั เวลา เสร็จทันเวลา ถกู ต้อง 3.เลน่ เกม/ตอบ ตรงตาม 4.ใช้ส่อื /เกม/อุปกรณใ์ น คาํ ถามเสรจ็ ทันเวลา เน้ือหาแต่ การเรียนเหมาะสม แต่ต้องใหค้ รูเตือน เสรจ็ ไม่ ถกู ต้อง ทันเวลา 2. สร้างผลงานแสดง 1.วางแผนการสรา้ ง 1.วางแผนการสร้าง 1.วางแผนการ 1.วางแผนการ สรุปองค์ความรูโ้ ดย ผลงานสรปุ องค์ความรู้ ผลงานสรุปองค์ สรา้ งผลงาน สรา้ งผลงาน เขยี นเปน็ ผังความคดิ โดยเขียนเป็นผงั ความคิด ความรู้โดยเขียนเป็น สรุปองค์ แตเ่ สรจ็ ไม่ ความสมั พันธ์ทาง 2.สรา้ งผลงานตรงตาม ผังความคิด ความรู้โดย ทนั เวลา
เศรษฐกิจของคนใน เนอ้ื หา 2.สรา้ งผลงานตรง เขียนเป็นผัง ชุมชน 3.สร้างผลงานสรุปองค์ ตามเนือ้ หา ความคิด ความรโู้ ดยเขียนเปน็ ผงั 3.สร้างผลงานเสร็จ 2.สร้างผลงาน ความคดิ เสร็จทันเวลา ทนั เวลา ถูกตอ้ งแต่ ตรงตาม ถูกต้อง ตอ้ งให้ครูเตอื น เนอ้ื หาแต่ 4.ผลงานแสดงถึง เสร็จไม่ ความคิดสร้างสรรค์ ทันเวลา 3. การนําเสนอ 1.วางแผนการนาํ เสนอ 1.วางแผนการ 1.วางแผนการ 1.วางแผนการ ผลงาน/แบบฝกึ หดั ผลงาน นําเสนอผลงาน นําเสนอ นําเสนอผลงาน แสดงองค์ความรู้ 2.นาํ เสนอผลงานตรง 2.นาํ เสนอผลงาน ผลงาน แตไ่ มต่ รง ความสมั พนั ธ์ทาง ตามประเด็นเน้ือหา ตรงตามประเดน็ 2.นาํ เสนอ ประเดน็ เศรษฐกจิ ของคน 3.นาํ เสนอผลงาน ถูกต้อง เนื้อหา ผลงานตรง ในชมุ ชน และเสรจ็ ตามเวลา 3.นาํ เสนอผลงาน ตามประเด็น 4.นาํ เสนอผลงานอย่าง ถกู ต้องและเสร็จตาม เนอ้ื หาแต่ไม่ หลากหลายแสดงถึง เวลา ทนั เวลา ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4. ทําแบบฝึก/ 1.ทําแบบฝึกหดั ถกู ต้อง 1.ทําแบบฝึกหดั 1.ทาํ แบบ 1.ทํา แบบทดสอบ 2.สง่ แบบฝึกหัดทันเวลา ถูกต้อง ฝกึ หัดถูกต้อง แบบฝกึ หดั ความสมั พันธท์ าง 3.แบบฝกึ หดั สะอาดเปน็ 2.สง่ แบบฝกึ หดั 2.ส่งแบบ ถกู ต้อง เศรษฐกจิ ของคน ระเบยี บ ทนั เวลา ฝึกหัดทันเวลา แตไ่ มส่ ่งตาม ในชุมชน 4.นําเสนอแบบฝกึ หัด 3.แบบฝกึ หดั สะอาด แต่ไมเ่ ป็น เวลา อยา่ งสร้างสรรค์ เปน็ ระเบยี บ ระเบยี บ สรปุ ผลการประเมิน คะแนน 4 หมายถึง คุณภาพงานดีมาก คะแนน 3 หมายถึง คุณภาพงานดี คะแนน 2 หมายถงึ คุณภาพงานพอใช้ คะแนน 1 หมายถึง คุณภาพงานปรับปรุง เกณฑ์การผา่ น นกั เรยี นได้ คะแนน 9.6 คะแนนข้ึนไปถือวา่ ผ่านการประเมิน
11. กิจกรรมเสนอแนะ - 12. ความร้เู พม่ิ เติม - 13. เกณฑ์การประเมนิ ผลงาน ระดับคณุ ภาพ ประเด็นการ ประเมิน 4 3 21 แผนผงั ความคดิ 1. ทาํ แผนผงั ความคดิ 1. ทาํ แผนผงั 1. ทําแผนผงั 1.ทําแผนผงั ถกู ต้อง ความคิดถูกต้อง ความคดิ ถูกต้อง ความคดิ 2. ส่งแผนผังความคดิ 2. ส่งแผนผังความคดิ 2. สง่ แผนผงั ถกู ต้องแต่ไม่สง่ ทันเวลา ทนั เวลา ความคิดทนั เวลา ตามเวลา 3. แผนผังความคดิ 3. แผนผงั ความคิด แตไ่ ม่เป็นระเบียบ สะอาดเป็นระเบยี บ สะอาดเป็นระเบียบ 4. นาํ เสนอแผนผัง ความคิดอยา่ งสร้างสรรค์ 14. ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ าร แผนการจัดกิจกรรมมีการแสดงบทบาทสมมติเป็นกิจกรรมที่ดี ต้องวางแผนก่อนการแสดง ระหว่างแสดง และหลังการแสดง ต้องมีการวิเคราะห์ วิจารณ์ให้ได้ข้อสรุปร่วมกันจึงจะถือว่าประสบ ผลสาํ เร็จ ลงชื่อ สมพงษ์ หาคาํ ( นายสมพงษ์ หาคํา ) ทป่ี รกึ ษาวิชาการโรงเรยี นอนุบาลน้องหญิง 15. บันทึกหลังสอน
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน จําแนกการพ่ึงพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน มีความสนใจศึกษาเรียนรู้ความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจของคนในชุมชน จากการสังเกตนักเรียนส่วนใหญ่สามารถทําแบบฝึกทักษะแบบแผนผังความคิด ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน จําแนกการพ่ึงพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน ได้ ถูกตอ้ ง สว่ นพฤติกรรมในการเรยี นที่คณุ ครสู ังเกตนกั เรียนส่วนใหญผ่ ่านเกณฑ์การประเมินพฤตกิ รรม ลงชอ่ื รจนา ปอู มแดง ( นางรจนา ปอู มแดง ) ผ้จู ัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม (ในหอ้ งเรยี น) คาชี้แจง ให้ทําเครือ่ งหมาย ลงในชอ่ งรายการสงั เกตพฤติกรรมทน่ี กั เรียนปฏบิ ัติ รายการ ช่อื -สกลุ เลข ี่ท ร่วม ืมอในการทากิจกรรม กล้าออกมาแสดงความสามารถ เข้า ่รวมกิจกรรมด้วยความ สนุกสนานเพลิดเพ ิลน ทางานเสร็จตามเวลา ี่ทกาหนด สรุปผลการประเ ิมน ่ผาน ไม่ผ่าน ่ผาน ไม่ผ่าน ่ผาน ไม่ ่ผาน ่ผาน ไม่ ่ผาน ่ผาน ไม่ผ่าน 1 เดก็ ชายณทชยั เจริญชัย 2 เดก็ หญงิ ชนกิ า วลิ ามาศ 3 เดก็ ชายชลันธร วลิ ามาศ 4 เดก็ หญิงศลิษา เจยี มวงศ์ 5 เดก็ ชายณพนันท์ พันธ์สุวรรณ 6 เดก็ หญิงจิดาภา ขุนไทย 7 เด็กชายจรญู วทิ ย์ สุวะจนั ทร์ 8 เด็กหญิงพรพมิ ล พนั ธ์พาห์ 9 เดก็ ชายธญั ชนิต ศรีสะอาด 10 เด็กชายก่อเกยี รติ คูณทวี 11 เด็กหญงิ ธิดารัตน์ ตาขันทอง
12 เดก็ หญิงชนกชนม์ กรินรักษ์ 13 เด็กหญงิ สณิ ีนาฐ จันทรห์ อม 14 เดก็ หญิงมณีชาติ การกล้า 15 เดก็ หญงิ นนั ทน์ ภัส ศรลี ้วน 16 เด็กหญงิ ภัทรจิรา สารปรงั 17 เดก็ หญิงกนกภรณ์ ลอื อ่อนดี 18 เด็กชายกฤตยชญ์ วะนา 19 เด็กหญงิ กนกกร ทอี ทุ ิศ 20 เด็กชายพัฒนไชย แข่งขัน 21 เด็กชายคณุตม์ สามัคคี 22 เดก็ หญงิ แพรดาว ระหง ษ์ 23 เด็กหญงิ นศิ ากร ใจดี 24 เดก็ หญงิ ปริยรตั น์ นาคสุด 25 เดก็ หญงิ ปยิ ะดา โสดากุล 26 เดก็ หญงิ ศศกิ านต์ วิลยั เลิศ 27 เดก็ หญิงธนนันท์ ทองเลิศ 28 เดก็ หญงิ ณิชารยี ์ พลราษฎร์ 29 เด็กหญิงอเมรินทรญ์ า บญุ ครุฑ 30 เด็กชายธีรภทั ร์ ภาคโพธิ์ 31 เดก็ หญิงสบายใจ เหลืองพานชิ 32 เด็กชายศุภกาญจน์ โกโต้ 33 เด็กชายชยากร อศู่ ิริกุลพาณิชย์ 34 เด็กชายแผน่ ดนิ จนั ทรเ์ ตม็ 35 เด็กชายวิชยานนท์ ลนุ พรม 36 เด็กหญิงบุณยาพร ศรีสมชยั 37 เดก็ หญงิ ธนชั พร มาลาหอม เกณฑ์การประเมิน ลงชอ่ื รจนา ปอู มแดง ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการถอื วา่ ผ่าน ( นางรจนา ปอ้ มแดง ) ผ่าน 1 รายการถอื วา่ ไมผ่ ่าน ผู้ประเมิน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127