Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารครุศาสตร์ภาวะผู้นำเชิงพุทธฯ

วารสารครุศาสตร์ภาวะผู้นำเชิงพุทธฯ

Published by pramahatongsuk, 2019-12-13 02:18:22

Description: วารสารครุศาสตร์ภาวะผู้นำเชิงพุทธฯ

Search

Read the Text Version

วารสารครศุ าสตรป์ ริทรรศน์ฯ - ๖๐ – ปีที่ ๓ ฉบบั ท่ี ๒ พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๙ ภาวะผ้นู าเชิงพทุ ธของผู้บริหารสถานศกึ ษา Leadership According to Buddhist of School Administrators สธุ าเนศ เพชรโปรี๑ บรรจบ บรรณรจุ ิ๒ บทคดั ยอ่ ภาวะผู้นาเป็นสิ่งสาคัญยิ่งสาหรับผู้นาในการท่ีจะบริหารองค์การต่างๆ เพราะผู้นาต้อง อาศัยภาวะผูน้ าเปน็ ปัจจัยขบั เคล่อื นในการพัฒนาองค์การนั้นๆ และในขณะเดียวกันผู้นาควรเป็นผู้ที่มี หลักธรรมในการบริหารชุมชนหรือองค์การให๎มีความสุข ไม่ให้เกิดความขัดแย๎ง และเป็นผู้ที่สามารถ ไกลเกลย่ี ข้อพิพาทท่ีเกิดขึ้นได้ คุณลักษณะของบุคคลที่มีภาวะผู้นาจะต้องมี คือ คุณลักษณะภายนอก คุณลกั ษณะภายใน และมคี วามแตกตา่ งจากบุคคลอน่ื มีความสามารถทาให้ผู้อื่นคล้อยตาม เคารพเช่ือ ฟัง และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานมีรูปแบบ โดยใช้วิธีการบริหารที่สอดคล้องกับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ถือว่าหลักธรรมท่ีสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบเป็นหลัก ปฏบิ ัติท่สี ามารถนามาใช้พัฒนาภาวะผู้นาได้เปน็ อยา่ งดี ดงั นน้ั ผู้นาทางพระพุทธศาสนาควรเป็นผู้รู้จัก และควรประยุกต์ใช้หลักธรรมต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับผู้ปกครองหรือผู้นาท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก รวมท้ัง ควรมีความอดทนอดกลั้นมีจิตใจหนักแน่นม่ันคง เป็นผู้นาที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ความ ซ่ือสัตย์ มีความละอายแก่ใจตนเอง โดยไม่ทาความช่ัวและเกรงกลัวผลของความช่ัว ยอมรับฟังความ คิดเห็นของคนอื่น โดยมุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่ปวงชนหรือหมู่คณะ เป็นผู้เสียสละเพ่ือประโยชน์ สว่ นรวม คาสาคญั : ภาวะผู้นาเชิงพุทธ,ผบู้ ริหารสถานศึกษา. ๑หลักสตู รพุทธศาสตรดุษฎีบณั ฑติ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . ๒อดตี ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ภาคี สมาชิกราชบณั ฑติ สานักธรรมศาสตรแ์ ละการเมอื ง ราชบณั ฑิตยสถาน. ([email protected])

วารสารครศุ าสตรป์ ริทรรศน์ฯ - ๖๑ – ปีท่ี ๓ ฉบับท่ี ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙ Abstract Leadership is important for organization leaders. With leadership, the leaders can mobilize those organizations to development. The leaders should have moral principles in their management to make members of community or organization happy and live together in conciliation. The leaders should have physical and mental quality different from others and be able to build trust, respect and cooperation from others. A good leader should manage the organization in accordance with the Buddhist principles. The Buddhist based leader should be able to apply Buddhist principles in practice, patient, tolerant, honest, sincere, moral shame and moral dread, open-minded and sacrifice to society. Keywords: Buddhist leadership, school administrators

วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ - ๖๒ – ปที ี่ ๓ ฉบับท่ี ๒ พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๙ บทนำ ต้อ ง ป ร ะ ส บ กั บ ค ว า ม ย า ก ล า บ า ก ใ น ก า ร ก า ร น า ห ลั ก ธ ร ร ม ข อ ง บริหารงานขององค์กรนนั้ ๆ พระพุทธศาสนา เพ่ือนาไปใช้ในการดารงชีวิต ในระบบการบริหารงานของทุก ๆ ประจาวันตามลักษณะของปัญหา ตามสติปัญญา องค์กร กลไกสาคัญที่จะทาให้ดาเนินการไปสู่ และความประสงค์ของแต่ละบุคคล ดังนั้นระดับ จุดหมายท่ดี งี ามก็คอื “ผู้นา” ท้ังนี้ เนื่องจากผู้นา คาสอนของพระพุทธศาสนาจึงมีหลายระดับทั้งที่ มีบทบาทในการกาหนดนโยบายการบริหาร การ เปน็ สจั ธรรมเบอื้ งตน้ เบอื้ งกลางและเบ้ืองสูง มีท้ัง จัดการรวมถึงความคิดริเร่ิมในการวางแผน การ ส่วนที่เรียกว่า เป็นโลกิยธรรมและโลกุตรธรรม บริหารกากับการและดาเนินการปรับปรุงแก้ไข เป็นต้น (สมบูรณ์ สุขสาราญ, ๒๕๔๓ : ๘) การ ปัญหาต่าง ๆ ให้สัมฤทธ์ิผลตามเป้าหมายของ นาหลักธรรมมาใช้กับการแก้ปัญหาของสังคมถือ องค์กร ผู้นาจึงเป็นผู้มีอิทธิพลท่ีสามารถส่งผล เป็นส่ิงสาคัญในสังคมไทยปัจจุบัน ในสังคมทุกๆ กระทบต่อความเป็นไปในองค์กรในทุก ๆ ด้าน สั ง ค ม ย่ อ ม มี ผู้ น า ซ่ึ ง เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ ไม่ว่าจะเป็นด้านท่ีเกี่ยวกับการบริหารและงาน ความสามารถในการนาสมาชิกไปสู่เป้าหมายที่ได้ บุ ค ค ล ภ า ว ะ ผู้ น า ห รื อ ค ว า ม เ ป็ น ผู้ น า วางเอาไว้ร่วมกัน สังคมไทยก็เช่นเดียวกัน ย่อมมี (Leadership) น้ันเป็นกระบวนการท่ีผู้บริหารจะ ผู้นาที่มีภาวะผู้นาเชิงพุทธ หมายถึง ผู้ที่มีความ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้อ่ืน ปัจจัยท่ีสาคัญยิ่ง ร อ บ รู้ ร อ บ ค อ บ มี วิ สั ย ทั ศ น์ มี ค ว า ม รู้ อย่างหน่ึงแห่งความสาเร็จของการทาหน้าท่ีผู้นา ความสามารถรับผิดชอบในการทางาน มีทักษะ ก็คือ การเป็นผู้ประกอบด้วยภาวะผู้นาท่ีดี ด้ า น ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ว่ า ง บุ ค ค ล ม อ ง เหมาะสม ถูกต้อง ดังน้ัน ในทุกองค์กรจึง ผู้ใต้บังคับบัญชาในแง่ดี มีความยุติธรรม มีหัวใจ จาเป็นต้องมผี ู้นาทด่ี ี พระพรหม รู้รักสามัคคี มีความเสียสละ ไม่มี มานะทิฏฐิ ปราศจากอคติ ซึ่งคุณธรรมต่างๆ การบริหารสถานศึกษา ให้เกิด เหล่าน้ีจะต้องมีอยู่ในตัวของผู้นาท่ีจะทาให้เกิด ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ต า ม ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดในการทางาน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ผู้บริหารต้อง ด้วยการบริหารตน การบริหารคน และการ ใช้ภาวะผู้นา กระจายความรับผิดชอบอย่างเป็น บริห าร งาน ใน องค์ กร ตา มแ นว ท าง ขอ ง ธรรมไปสู่ผู้ใต้บังคับบัญชาในหน่วยงานของตน พระพุทธศาสนาถือว่าการที่จะเป็นผู้นาที่มีภาวะ ผู้บริหารในยุคโลกาภิวัตน์จึงจาเป็นต้องใช้ภาวะ ผู้นาเชิงพุทธที่ดีนั้น ต้องมีคุณสมบัติตามหลัก ผู้นาให้เหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงต่างๆ โดย พุทธธรรม ผู้นาที่มีภาวะผู้นาเชิงพุทธท่ีจะนา ต้องสามารถปรับตัว และแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นให้ บุคคลอื่นน้ัน ตามรอยพระพุทธศาสนาถือว่าเป็น ได้อย่างเหมาะสมกับทุกสถานการณ์ และใช้ ผู้ท่ีมีความสาคัญมาก ยิ่งองค์กรมีขนาดใหญ่ ความรู้ความสามารถของตนให้เกิดประโยชน์แก่ เท่าใด ความสาคญั ของผู้นาทีม่ ภี าวะผ้นู าเชิงพุทธ การบริหารงานอย่างมีประสิทธิผลด้วย ผู้บริหาร ท่ีมีต่อสมาชิกในองค์กรก็ยิ่งทวีความสาคัญมาก ที่ดีควรมีความสามารถในการบริหารงานโดยให้ ข้ึนองค์กรใดได้ผู้นาที่มีภาวะผู้นาเชิงพุทธท่ีดี บุคลากรร่วมมือปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจและ องคก์ รนั้นก็จะดีไปดว้ ย ในทางตรงกันข้ามองค์กร เต็มความสามารถ ผู้บริหารต้องมีความสามารถ ใดได้ผู้นาที่ไม่มีภาวะผู้นาเชิงพุทธ องค์กรนั้นก็ สร้างขวัญและกาลังใจให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความ พึงพอใจในงาน เกิดความรักความศรัทธาใน หน่วยงาน เสียสละเพ่ืองาน ทุ่มเทกาลังกาย

วารสารครุศาสตร์ปรทิ รรศนฯ์ - ๖๓ – ปที ี่ ๓ ฉบับท่ี ๒ พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๙ กาลังใจ กาลังความคิดสติปัญญา หาทาง สถานศึกษา ครูและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องไปสู่การ ปรบั ปรงุ ให้งานน้ันเจริญก้าวหน้าย่ิงข้ึน (กมล รัก พัฒนา เพ่ือให้บรรลุผลตามเป้าหมายของ สวน, ๒๕๓๔: ๔๒) การศึกษาชาติ ผบู้ รหิ ารองค์การจึงจาเป็นที่จะต้องมี แนวคดิ เก่ยี วกบั ภำวะผู้นำ ภาวะผู้นา ทั้งนี้เน่ืองจากภาวะผู้นาจะเป็นภาวะ คาว่า ผู้นา เป็นการมองเน้นที่ตัว ที่มีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่นๆ ในองค์การซ่ึง บุคลากรในองค์การจะให้ความร่วมมือปฏิบัติงาน บุคคล มักจะได้ยินคาพูดที่ใช้เรียกแทนผู้นาใน จนบรรลุเป้าหมายได้มากน้อยเพียงใดผู้นาที่ดีจึง ทิศทาง ท่ีแตกต่างกันและมีขอบเขตที่กว้างขวาง ต้องใช้ภาวะผู้นาของตนในการอานวยการให้ ตามทัศนะของผู้พบเห็น ส่วนภาวะผู้นาได้มีการ ภารกิจ หนา้ ทด่ี าเนินไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุ ใช้ถ้อยคาอื่นที่แตกต่างกันไป เช่น คาว่า ประมุข วัตถุประสงค์สมกับท่ีว่าให้ได้ทั้งผลงานและให้ได้ ศิลป์ ศิลปะการเป็นผู้นา ความเป็นผู้นา เป็นต้น ทั้งใจ ดงั นัน้ ภาวะผู้นาจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญยิ่งต่อ เป็นเร่ืองท่ีนักวิชาการและผู้ท่ีเกี่ยวข้องทั้งหลาย การบริหารงานเพราะผลงานด้านต่างๆ ของ ได้ให้ความสนใจศึกษามาเป็นเวลานาน ซ่ึงเป็น องค์การ มีส่วนสัมพันธ์กับคุณภาพของความเป็น การศึกษาถึงความมีอานาจ ความสามารถของ ผู้นาความเป็นผู้นาจะเป็นสิ่งสาคัญยิ่งสาหรับ บุคคลที่สามารถส่ังการในการบริหารให้งานท่ี ความสาเร็จของงานต่างๆ ขององค์การ (ธงชัย รับผิดชอบประสบความสาเร็จ ภาวะผู้นา เป็น สันติวงษ์, ๒๕๓๙: ๔๐๓) เพราะถ้าหากองค์การ องคป์ ระกอบทส่ี าคัญยง่ิ ในการบริหารและการจัด ใ ด ไ ด้ ผู้ บ ริ ห า ร ห รื อ ผู้ น า ท่ี มี คุ ณ ภ า พ เ ข้ า ไ ป อ ง ค์ ก า ร ท้ั ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น ใ ห้ บ ร ร ลุ บ ริ ห า ร ง า น แ ล้ ว ย่ อ ม เ ป็ น ห ลั ก ป ร ะ กั น ไ ด้ ว่ า วตั ถปุ ระสงคต์ ามนโยบายขององค์การ เพ่ือความ องคก์ ารน้นั ตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาและเจริญรุ่งเรือง เขา้ ใจความหมายเกีย่ วกับผ้นู า และภาวะผู้นาให้ แน่นอนผู้นาเป็นดุจดวงประทีปขององค์การเป็น ชดั เจน ตัวแทนขององค์การและเป็นจุดรวมพลังของคน ในองค์การ ดังนั้นผู้นาจะต้องรับผิดชอบทั้ง คว าม หมาย ของค าว่า “ผู้นา ” บุคลากรในองค์การและผลงานที่เกิดข้ึนโดยการ สามารถแบ่งได้เป็น ๓ ประการ ได้แก่ ๑) ผู้นา ปรับตัวเพ่ือเผชิญกับการเปล่ียนแปลงหรือเพื่อ คือ บุคคลใดบุคคลหน่ึงในกลุ่มหลายๆ คนที่มี รักษาสถานภาพและบทบาทของตัวเองให้ชัดเจน อานาจอิทธิพลหรือความสามารถในการจูงใจคน ให้ปฏิบัติตามความคิดเห็น ความต้องการ หรือ ผู้ บ ริ ห า ร ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ตั้ ง แ ต่ คาสั่งของเขาได้ ผู้มีอิทธิพลเหนือการปฏิบัติงาน ระดบั พนื้ ฐาน ระดับตน้ ไปสู่ระดับสูง แต่ละระดับ หรือพฤติกรรมของผู้อื่น ภาวะผู้นา เกี่ยวกับ ย่อมมีความสาคัญทั้งส้ิน เปรียบเสมือนผู้ควบคุม ความเป็นผู้นา มากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่ท่ี กลไกขับเคล่ือนสิ่งต่าง ๆ ไปทุกส่วน ดังน้ัน ค ว า ม ม า ก น้ อ ย ข อ ง อ า น า จ อิ ท ธิ พ ล ห รื อ ผู้บริหารทุกระดับจึงมีความสาคัญไม่แพ้กัน ซ่ึง ความสามารถในการจูงใจคน ๒) ผู้นา คือ บุคคล บุคคลเหล่าน้ีนอกจากจะมีลักษณะต่าง ๆ ท่ีบ่ง ท่ีมีอานาจเหนือในการติดต่อสัมพันธ์ระหว่าง บอกถึงความเป็นผู้บริหารทั้งด้านบุคลิกภาพ บุคคล ๓) ผู้นาแตกต่างจากหัวหน้า หรือผู้บริหาร ความรู้ความสามารถ มีบารมี มีอานาจท่ีน่าเกรง คนสองคนน้ีอาจเป็นคนเดียวกันก็ได้ แต่ไม่ ขาม เป็นผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้อาวุโสก็ตาม แต่สิ่งท่ี จาเป็นเสมอไป หัวหน้าหรือผู้บริหารหลายคน มี ขาดไม่ได้เลยก็คือ ภาวะผู้นาท่ีจะต้องนาพา อานาจหน้าที่โดยตาแหน่ง แต่อาจไม่ใช่ ผู้นาท่ี

วารสารครุศาสตรป์ รทิ รรศนฯ์ - ๖๔ – ปีที่ ๓ ฉบบั ท่ี ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙ แท้จริงของกลุ่ม ผู้นาท่ีแท้จริง อาจเป็นคนอ่ืนซึ่ง ปฏิบัติตามความคิดเห็น ความต้องการ หรือ ไมใ่ ช่หัวหนา้ หรือผู้บรหิ าร แตม่ ีอานาจ มีอทิ ธิพล คาสั่งของเขาได้ มีอิทธิพลเหนือการปฏิบัติการ และมีความสามารถจูงใจคนให้ประพฤติปฏิบัติ หรือพฤติกรรมของผู้อ่ืน มีหน้าที่ควบคุมตรวจ ตามความคิดเห็นความต้องการ หรือ คาส่ังของ ตรา ประสานงาน วินิจฉัยส่ังการโน้มน้าวใจ ตนได้ ท้ังๆ ที่ไม่มีอานาจหน้าท่ีโดยตาแหน่งใดๆ ผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทาหน้าท่ีของตนอย่างดีท่ีสุด (ภญิ โญ สาธร, ๒๕๒๖: ๒๕๙) และมีประสิทธิภาพสูงสุดและสามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นโดยเป็นผู้ชักจูงให้ผู้อื่นที่เก่ียวข้อง ดงั นน้ั ผู้นา คือหัวหนา้ ของหนว่ ยงาน ร่วมแรง ร่วมใจทางานเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ หรือผู้บังคับบัญชาสูงสุดในหน่วยงานน้ันนั่นเอง ที่ต้งั ไวด้ ว้ ยความสมัครใจ มีความกระตือรือร้นมุ่ง โดยเฉพาะผู้นาในทางการบริหารงานแล้วจะ ใหไ้ ดผ้ ลงานดียิ่งข้นึ ส่วนภาวะผู้นา คือการท่ีผู้นา ประจักษ์ชัดเจนว่า ผู้นาขององค์การหรือ ใ ช้ อิ ท ธิ พ ล ใ น ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ซ่ึ ง มี อ ยู่ ต่ อ หน่วยงาน คือผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาในสถานการณ์ต่างๆ เพ่ือ น้ันๆ พิจารณาในแง่ของกลุ่ม ผู้นา คือผู้ท่ี ปฏิบัติการและอานวยการโดยใช้กระบวนการ บริหารงานของกลุ่มโดยทาหน้าที่เก่ียวกับการ ติดต่อสอ่ื สารเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายที่กาหนด อานวยการ การจูงใจ การริเร่ิมและการ ไว้ (กวี วงศ์พฒุ , ๒๕๓๙: ๑๓-๑๔) ทง้ั น้ี บุคคลที่ ประสานงาน ภาระหน้าที่ของผู้นา เกี่ยวกับการ ได้รับการแต่งตั้งหรือได้รับการยกย่องข้ึนเป็น วินิจฉัยส่ังการเป็นส่วนใหญ่พฤติกรรมของผู้นา หัวหน้าและเป็นผู้ตัดสินใจเนื่องจากเป็นผู้มี ด า เ นิ น ไ ป ไ ด้ ก็ โ ด ย อ า ศั ย อ า น า จ บ า ร มี เ ป็ น ความสามารถในการปกครองบังคับบัญชาและจะ เครื่องมือ” ส่วน “ภาวะผู้นา คือการใช้อิทธิพล พาผู้ใต้บังคับบัญชาหรือหมู่ชนไปในทางดีหรือ หรืออานาจหน้าท่ีในความสัมพันธ์ซึ่งมีอยู่ต่อ ทางช่ัวก็ได้ ส่วนภาวะผู้นา คือ ศิลปะหรือ ผู้ใต้บังคับบัญชาในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อ ความสามารถของบุคคลหน่ึงท่ีจะจูงใจหรือใช้ ปฏิบัติการและอานวยการ โดยกระบวนการ อิทธิพลต่อบุคคลอื่นอาจเป็นผู้ร่วมงานหรือ ติดต่อสื่อสารซ่ึงกันและกันเพื่อให้บรรลุผลตาม ผู้ใต้บังคับบัญชาในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อ เป้าหมายที่กาหนดไว้ (สมพงษ์ เกษมสิน, ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ อ า น ว ย ก า ร โ ด ย ก า ร ใ ช้ ๒๕๒๖:หน้า ๒๒๐) นอกจากนี้ ผู้นาจะต้อง กระบวนการ สื่อความหมายหรือติดต่อกันและ บุคลิกลักษณะคุณสมบัติเด่นกว่าผู้อ่ืนในกลุ่ม กันให้รว่ มใจกันกับตนดาเนินการจนกระทั่งบรรลุ และมีอิทธิพลมากกว่าบุคคลอ่ืนๆ ในหน่วยงาน ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ ท้ังสามารถสร้างความมีประสิทธิภาพ และความ กาหนดไว้ การดาเนินจะเป็นไปในทางที่ดีหรือชั่ว มีประสิทธิผลให้เกิดข้ึนแก่หน่วยงานนั้นๆ ได้ ก็ได้ (กิติ ตยคั คานนท์, ๒๕๔๓: ๒๑-๒๒) ดังน้ัน ผู้นา จึงหมายถึง บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซ่ึง ได้รับบทบาทเป็นผู้บริหารประสานประโยชน์ใน ในทางพระพุทธศาสนา ผู้นา คือ กลุ่มเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่ม ซ่ึงมีอิทธิพล บุคคลท่จี ะมาประสานช่วยให้คนท้ังหลายรวมกัน มีอานาจสามารถบังคับบัญชาบุคคลในกลุ่มให้ โดยท่ีว่าจะเป็นการอยู่รวมกันก็ตามหรือทาการ ปฏิบัตงิ านจนบรรลผุ ลตามเป้าหมาย ท่ีกาหนดไว้ ร่วมกนั กต็ ามใหพ้ ากนั ไปด้วยดี สู่จุดหมายที่ดีงาม ได้ (ยุงยุทธ เกษสาคร, ๒๕๓๓: ๓๖) รวมถึง ส่วนภาวะผู้นา คือคุณสมบัติ เช่น สติ ปัญญา บุคคลท่ีมีอานาจในการติดต่อสัมพันธ์ระหว่าง ความดีงาม ความรู้ ความสามารถของบุคคลท่ีชัก บุคคล มีอิทธิพลเหนือผู้ตาม สามารถจูงใจคนให้ นาให้คนท้ังหลายมาประสานกันและพากันไปสู่

วารสารครศุ าสตร์ปริทรรศนฯ์ - ๖๕ – ปที ่ี ๓ ฉบับท่ี ๒ พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๙ จุดหมายท่ีดีงาม (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ผู้ท่ีจะก้าวเข้าสู่ตาแหน่งผู้นาได้ ต้องมีความคิด ๒ ๕ ๔ ๖ : ๒ -๔ ) ร ว ม ถึ ง ผู้ ชั ก พ า ใ ห้ ค น อ่ื น ริเริ่มและสามารถดูแลโครงสร้างของปฏิกิริยา เ ค ล่ื อ น ไ ห ว ห รื อ ก ร ะ ท า ก า ร ใ น ทิ ศ ท า ง ท่ี ผู้ น า โต้ตอบของสมาชิกในกลุ่ม เพราะจะต้อง กาหนดเป้าหมายไว้ หลายคนมีบทบาทเป็นผู้นา สามารถตอบสนองความคาดหวังของสมาชิกใน กัน อยู่แล้ว เช่น เป็นผู้นาองค์กร ผู้นาสมาคม กลมุ่ ตลอดเวลา ผู้นาวัดและแม้กระทั่งหัวหน้าครอบครัวก็จัดว่า เป็นผู้นา (พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺม ๕. ทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanistic จติ โฺ ต), ๒๕๔๙: ๒๖) Theories) ทฤษฎีนี้มุ่งที่จะพัฒนาสถาบันให้มี ประสิทธิผลและมีความเป็นปึกแผ่น โดยเน้น ทฤษฎเี กยี่ วกับภำวะผนู้ ำ ค ว า ม ส า คั ญ ที่ ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ ติน ปรัชญาพฤทธิ์ (๒๕๒๗:๖๓๕- เป้าหมาย คือการปฏิบัติการเพื่อที่จะให้ได้มาซึ่ง ผลงานและนา้ ใจจากผู้ร่วมงานในเวลาเดียวกนั ๖๓๗) ได้กล่าวถึงทฤษฎีภาวะผู้นาที่เป็นหลัก ใหญๆ่ นา่ สนใจไว้ ดังนี้ ๖ . ท ฤ ษ ฎี ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น (Exchange Theories) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า การท่ีผู้ ๑. ทฤษฎีผู้ย่ิงใหญ่ (Great Man ตามยินยอมหรือยอมรับผู้นา ก็เพราะท้ังสองฝ่าย Theories) ทฤษฎีนี้เช่ือว่า ผู้นามีลักษณะพิเศษ มีสัญญาท่ีจะแลกเปล่ียนประโยชน์ซ่ึงกันและกัน บางประการที่ผตู้ ามไมม่ ี คือมีพลงั กาย พลังสมอง อย่างไรก็ดี หากฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงเสียผลประโยชน์ และพลังศีลธรรม ท่ีสืบเน่ืองมาจากพันธุกรรม หรือฝ่ายหน่ึงละเมิดสัญญา ท้ังสองฝ่ายไม่ และสภาพแวดล้อมแต่ละยุคแต่ละสมัย เช่น เล สามารถ อดทนต่อไปได้ ภาวะผู้นา ก็จะหมด นิน เชอร์ชลิ ฮิตเลอร์ และมสุ โสลินี เปน็ ต้น ความสาคัญลง ๒ . ท ฤ ษ ฎี ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม จะเห็นได้ว่า ทฤษฎีเหล่านี้อธิบาย (Environmental Theories) ทฤษฎีนี้เช่ือว่า ภาวะผู้นาของบุคคล จากปัจจัยที่สาคัญทาง ภาวะผู้นาจะสืบเน่ืองมาจากภาวะทางสังคม บุคลิกภาพเฉพาะตัว สถานการณ์ ส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง ผู้ท่ีจะก้าว และสัมฤทธผิ ลของการปฏิบัติงาน ขึ้นสู่ความเป็นผู้นาได้น้ันขึ้นอยู่กับความสามารถ ในหน้าที่และความชานาญ (Abilities and นอกจากนี้ ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นา Skills) ของเขาในขณะนั้นว่าสามารถแก้ไข โดยมีพ้นื ฐานตั้งอย่บู นสมมตฐิ านตา่ งๆ ดงั น้ี สถานการณ์ต่างๆ ในยามวิกฤตได้ อย่างเช่น มหาตมะคานธี เป็นตน้ ๑. ทฤษฎีเก่ียวกับคุณลักษณะผู้นา (Trait Theory) โดยมีสมมติฐานว่า ผู้นาที่ ๓ . ท ฤ ษ ฎี บุ ค ค ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ประสบผลสาเร็จ จะมีลกั ษณะของบคุ ลิกภาพท่ีดี (Personal Situational Theories) ทฤษฎีน้ีได้ นาเอาทฤษฎีสองทฤษฎีข้างต้นมารวมกัน ปัจจัย ๒. ทฤษฎที างสถานการณ์ (Situatist สาคัญที่นักทฤษฎีกลุ่มน้ีให้ความสนใจเป็นพิเศษ Theory) โดยมีสมมตฐิ านว่า บุคคลทีไ่ ดร้ ับ การ คือ สถานภาพปฏิกิริยาโต้ตอบ การรับรู้และ ย อ ม รั บ ว่ า เ ป็ น ผู้ น า ที่ เ ห ม า ะ ส ม ที่ สุ ด ใ น พฤติกรรมของบุคคลในกลมุ่ ของผนู้ าและผ้ตู าม สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ท้ังน้ีก็เพราะว่า เกิดจากลกั ษณะของกลมุ่ ทเ่ี ขาเป็นผู้นา ๔. ทฤษฎีปฏิกิริยาโต้ตอบความ คาดหวัง (Interaction Expectation Theories) ๓ . ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ ป็ น ผู้ ต า ม (Fellowship Theory) โดยมีสมมติฐานว่า เคร่ืองบ่งชี้คุณภาพ ของผู้นาก็คือคุณภาพของผู้

วารสารครศุ าสตรป์ ริทรรศน์ฯ - ๖๖ – ปที ่ี ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙ ตาม ซ่ึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการประเมินคุณค่าของ ๖. ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเป็นรูปแบบ ผนู้ า คือ การวเิ คราะห์ ผู้ตามนั่นเอง ของการชักชวน ภาวะผู้นายังเป็นการบริหารคน ด้ ว ย ก า ร ใ ช้ วิ ธี ก า ร จู ง ใ จ แ ล ะ มี ก า ร ส ร้ า ง ๔. ทฤษฎีของผลรวม (Eclectic จุดมงุ่ หมายร่วมกนั โดยไม่ใชว้ ิธีการบังคับ Theory) ทฤษฎีน้ี เกิดจากการนาเอาคาอธิบาย ของทฤษฎที งั้ ๓ ข้างต้นมารวมกัน เพ่ือจะทาการ ๗. ภาวะผู้นาในฐานะท่ีมีการใช้ อธิบายเก่ียวกับภาวะผู้นา (Hodge & ความสัมพันธ์ในเชิงอานาจระหว่างบุคคลๆ น้ัน Johnson, 1970:. 255) เกิดจากการท่ีบุคคลหน่ึงสามารถใช้อานาจบังคับ บุคคลอ่ืนให้ลดการต่อต้านเท่าที่จะลดลงได้มาก จ า ก ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ซึ่ ง ทสี่ ดุ ประกอบด้วยแนวความคิด รวมทั้งทฤษฎีที่ เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นานั้น มีอยู่มากมาย ดังน้ัน ๘. ภาวะผู้นาในฐานะเป็นเครื่องมือ เพื่อให้เกิดการศึกษาแนวคดิ และทฤษฎีภาวะผู้นา อย่างหน่ึง ทั้งน้ีก็เพ่ือท่ีจะให้บรรลุจุดมุ่งหมาย อย่างเป็นระบบนักวิชาการ จึงได้ทาการสรุป โดยท่ีภาวะผู้นาจะเป็นการกระทา เพ่ือให้มี แนวความคิดและทฤษฎีภาวะผู้นาดังกล่าว ไว้ ความสอดคล้องกับจุดมุง่ หมายของกลมุ่ เป็นหมวดหมู่ ๑๐ หมวด (Barbara Kellman, 1984:70) คือ ๙. ภาวะผู้นาในฐานะการจาแนก บทบาท โดยรวมบทบาทต่างๆ ในกลุ่มเข้าไว้ ๑. ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเป็นจุด ด้วยกันซ่ึงทั้งนี้ก็ด้วยการอานวยการ เพ่ือท่ีจะให้ ศูนย์กลางของกระบวนการกลุ่ม ภาวะผู้นา เป็น บรรลคุ วามสาเร็จตามทไี่ ดต้ ้งั เปา้ หมายเอาไว้ ผลลพั ธท์ ี่เกิดจากความเปล่ียนแปลงและกิจกรรม ของกล่มุ ๑๐. ภาวะผู้นาในฐานะของการมี ความคิดริเร่ิม ภาวะผู้นาเป็นผลลัพธ์จากการที่มี ๒ . ภ า ว ะ ผู้ น า ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ภายใต้ปฏิสัมพันธ์ บุคลิกภาพและผลกระทบ เป็นการเชื่อมโยง ภายในกลุ่ม (Group Interaction) ภาพพจน์ ในอันที่ทาให้ปัจเจกบุคคลสามารถจูง ใจผู้อ่ืนให้ทาหน้าที่ได้สอดคล้องกับภาระที่ได้รับ สรุปไดว้ ่า ภาวะผู้นาเกิดข้ึนได้ท้ังทาง มอบหมาย พันธุกรรมและสถานการณ์ เวลา โอกาส สภาพแวดล้อมทางสังคม ภาวะผู้นาน้ันเป็น ๓. ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นศิลปะท่ี ศิลปะสาหรบั บริหารจดั การและเป็นจุดศนู ยก์ ลาง ใช้ในการช้ีนา เป็นการแสดงออกในบริบท ของ ของพฤติกรรม คือใช้อานาจ อิทธิพล ตาม อานาจหรืออิทธิพล จึงมีความพยายามท่ีจะให้ บทบาทหน้าท่ี เพื่อให้บรรลุความสาเร็จ ดังนั้น กลมุ่ เปน็ ไปตามแนวทางทีผ่ นู้ าตอ้ งการ ผู้นาสงฆ์ ถ้าไม่มีภาวะผู้นา จะโดยกาเนิดและ สภาพแวดล้อมกาหนดก็ตาม จะมีผลทาให้การ ๔. ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นการใช้ บริหารงาน ขาดประสิทธิภาพหรือประสบความ อิทธิพล ได้ก่อให้เกิดผลกระทบกับพฤติกรรม ล้มเหลว สมาชิกภายในกลุ่ม โดยท่ีมีความสัมพันธ์เป็นไป ในลกั ษณะตอบสนองตอ่ กนั ภายใตค้ วามสมัครใจ ภำวะผ้นู ำของผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ การบริหารการศึกษาเป็นส่วนหนึ่ง ๕ . ภ า ว ะ ผู้ น า ใ น ฐ า น ะ ท่ี เ ป็ น พฤติกรรมอย่างหนึ่ง ซ่ึงเป็นพฤติกรรมของ ของการบริหารรัฐกิจ การบริหารการศึกษาจึง ปัจเจกบุคคล ในขณะที่เข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องใน เป็นการบริหารในส่วนย่อยของระบบราชการ การอานวยการเรือ่ งกิจกรรมกลมุ่

วารสารครศุ าสตรป์ รทิ รรศน์ฯ - ๖๗ – ปีท่ี ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙ และเป็นการบริหารเพ่ือพัฒนาบุตรหลานของ และฝึกอบรมจัดทาทะเบียนและวัดผลการศึกษา ประชาชนในชาติให้มีความรู้ ทักษะและเจตคติท่ี ให้เป็นไปตามหลักสูตร แผนการสอน โครงการ ดี ตามท่ีชาติต้องการ (ภิญโญ สาธร, ๒๕๒๖: สอนท้ังวิชาสามัญและวิชาชีพ จัดโปรแกรมการ ๑๔๓) เรียน คู่มือประกอบการเรียนการสอน วัสดุ อุปกรณ์การศึกษาจัดบริการแนะแนว ห้องสมุด การบรหิ ารโรงเรยี นเป็นกระบวนการ และสื่อทางการศึกษาให้ใช้ได้ในสถานศึกษา จัด ท่ีผบู้ รหิ ารใชอ้ านาจและทรัพยากรต่างๆ เช่น คน ฝึกอบรมและให้คา แนะนา เพื่อส่งเสริมวิชาชีพ เงิน วัสดุ อุปกรณ์ที่มีอยู่หรือคาดว่าจะมี จัดการ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของประชาชนและ ดาเนนิ งานของ โรงเรียนให้ดาเนินไปสู่จุดหมายที่ ท้องถิ่นควบคุมดูแลงานธุรการหรืองานบริหาร ต้องการ การบริหารโรงเรียนประกอบไปด้วย ทั่วไปของสถานศึกษา อาคารสถานท่ี พัสดุ ผนู้ าอนั สาคัญยิ่ง คือผบู้ ริหารโรงเรียนซ่ึงหมายถึง ครุภัณฑ์ทะเบียน และเอกสารให้เป็นไปตาม บุคคลท่ีได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอานาจ โดยมอบ ระเบียบ ควบคุมดูแลปกครอง จัดระบบงานใน อานาจบังคับบัญชามาพร้อมกับความรับผิดชอบ สถานศึกษากาหนด ลักษณะงาน มอบหมายงาน บุคคลเหล่านี้ได้แก่ ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือ ให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ติดตามให้ ผู้อานวยการโรงเรียนซ่ึงมีอานาจหน้าที่ในการ คาปรึกษาแก้ปัญหาและนิเทศบังคับบัญชา ครู จัดการหรืออานวยการให้งานต่างๆ ในโรงเรียน อาจารย์ นักเรียน ตลอดจนเจ้าหน้าที่อ่ืนให้ บรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ (พนัส หันนาคินทร์, สามารถปฏิบัติตามหน้าที่อย่างถูกต้อง และ ๒๕๒๔: ๕๙-๖๑) ดังน้ัน ผู้ท่ีจะเข้าสู่ตาแหน่ง ติดต่อประสานงานสร้างเสริมความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องผ่านการคัดเลือกตาม ประช าช นในท้องถ่ินวิเคราะห์ วิจัยและ ขั้ น ต อ น แ ล ะ วิ ธี ก า ร ส า นั ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ประเมินผลงาน รวบรวมข้อมูลและจัดทาสถิติ ข้าราชการครู (ก.ค.) เป็นผู้กาหนดวิธีการสรรหา ต่างๆ เพื่อปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษาของ ผู้ที่จะมาดารงตาแหน่งโดยผู้บริหารโรงเรียนแต่ สถานศึกษา นาเทคนิคและวิธีการใหม่ๆ ทาง ละตาแหน่งจะต้องมีบทบาทหน้าท่ีและความ การศึกษา ทั้งวิชาสามัญและวิชาชีพ มาใช้ รั บ ผิ ด ช อ บ ลั ก ษ ณ ะ ง า น ท่ี ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ค ว า ม รู้ เผยแพร่พัฒนาสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานและ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท่ี ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เป็นที่นิยมของประชาชน เข้าร่วมประชุม ข้าราชการข้าราชการครู (ก.ค.) กาหนด คณะกรรมการต่างๆ ตามที่ได้รับแต่งต้ัง และ ดังต่อไปนี้ (สนอง เครือมาก, ๒๕๓๗: ๑๔๙- ปฏิบัติการสอนและอบรมวิชาสามัญหรือวิชาชีพ ๑๕๖) ในสาขาวชิ าใดวิชาหน่ึงหรือหลายวิชาแก่นักเรียน นักศกึ ษาหรอื ประชาชนตลอดจนปฏิบัติหน้าท่ีอื่น ๑. ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ที่เกย่ี วข้อง หน้าท่ีความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ บริหารงานในฐานะหัวหน้าสถานศึกษา ซ่ึงมี ๒. ความรู้ความสามารถที่ต้องการ หน้าท่ีความรับผิดชอบปริมาณและคุณภาพของ ไดแ้ ก่ งานสูงมาก และปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนท่ีได้รับ มอบหมาย วางแผนการปฏิบัติงาน กาหนด ๑ ) มี ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ห น้ า ท่ี แ ล ะ วิ ธี ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง บุ ค ค ล ใ น สถานศึกษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานใน ส ถ า น ศึ ก ษ า ค ว บ คุ ม แ ล ะ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร หน้าท่ี ดาเนินงานด้านวิชาการ เช่น การเรียนการสอน

วารสารครุศาสตรป์ ริทรรศนฯ์ - ๖๘ – ปีท่ี ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๙ ๒) มีความรู้ความสามารถในการ ภำวะผูน้ ำเชิงพทุ ธของผบู้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ บริหารงานวิชาการ หลักสูตร และพัฒนา ในทัศนะของพระพุทธศาสนา ผู้จะ คุณภาพการศกึ ษาการสอน ทาหน้าท่ีผู้นาต้องได้รับการพัฒนาท้ังกาย วาจา ๓) มีความรู้ความเข้าใจในการ และใจ จนมีความสามารถยอมรับหลักการและ บริหารสถานศึกษา กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ปฏิบัติตามคุณธรรมของผู้นาได้ด้วยตนเองก่อน แบบแผน ที่เก่ียวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ ดังพุทธพจน์ว่า เม่ือฝูงโคว่ายข้ามน้าไป ถ้าโคจ่า ความรับผิดชอบ และสามารถปฏิบัติงานหรือให้ ฝูงไปคดเคี้ยว โคทั้งฝูงก็ไปคดเค้ียวตามกัน ใน คาแนะนาในการปฏิบัติงานดังกล่าวได้อย่าง เม่ือโคจ่าฝูงไปคดเค้ียว ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกัน ถูกต้อง นอกจากนั้นยังมีความสามารถทางด้าน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นใหญ่ ถ้าผู้น้ันประพฤติไม่ วางแผนกระบวนการกลุ่มและการติดต่อส่ือ เป็นธรรมประชาชนชาวเมืองน้ันก็จะประพฤติไม่ ความหมายตลอดจน ความสามารถในการ เป็นธรรมตามไปด้วย หากพระราชาไม่ตั้งอยู่ใน จดั การเปน็ อยา่ งดี ธรรมเมื่อฝูงโคข้ามน้าไปถ้าโคจ่าฝูงไปตรงโคทั้ง ฝูงก็ไปตรงตามกันในเมื่อโคจ่าฝูงไปตรง ในหมู่ ๔) มีความรู้ความเข้าใจหลักการ มนุษย์ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นใหญ่ บริหารงานบุคคลและมีความสามารถในการ ถ้าผู้นั้นประพฤติชอบธรรมประชาชนชาวเมือง ปกครองบังคับบัญชา สามารถเสริมสร้างความ นั้นก็จะประพฤติชอบธรรมตามไปด้วยหาก ร่วมมือร่วมใจภายในสถานศึกษาและระหว่าง พระราชาตั้งอยู่ในธรรมชาวเมืองน้ันก็เป็นสุข (ดู ศึกษากบั องคก์ รอ่ืนๆ ทเี่ กย่ี วข้องกันเป็นอยา่ งดี รายละเอียดใน องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๗๐/๑๑๕- ๑๑๖) ๕) มีความรู้ความเข้าใจบทบาท ภาระหน้าท่ีของสถานศึกษา นโยบายท่ีเกี่ยวข้อง ก า ร ส ร้ า ง ลั ก ษ ณ ะ ค ว า ม เ ป็ น ผู้ น า กับการศึกษาแผนงานของกรม กระทรวงเจ้า ใหก้ ับตนเองเปน็ พ้นื ฐานเป็นส่ิงสาคัญ โดยเฉพาะ สังกัด นอกจากนั้นจะต้องมีความสามารถในการ อย่างยง่ิ การวางตนใหเ้ หมาะสม เอาชนะอกุศลใน ตัดสินใจและการขจัดความขัดแย้งได้ดีมากเป็น ใจตนได้ มีธรรมประจาตนก็สามารถยึดเหน่ียว พิเศษ น้าใจของผู้ใต้ปกครองได้ จึงเป็นมรรควิธีนาไปสู่ เปูาหมายการปกครองคาสอนที่กล่าวเก่ียวกับ ๖) มีความรู้ความเข้าใจแผนพัฒนา ลกั ษณะของผนู้ าในพระพทุ ธศาสนาประกอบด้วย เศรษฐกิจและสังคม นโยบายรัฐบาลและปัญหา ลักษณะ ดงั นค้ี ือ การเมืองของประเทศ เพ่อื ประโยชน์ทางด้านการ บรหิ ารสถานศกึ ษา ๑. จักขุมา มีปัญญามองการณ์ไกล เป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มองสภาพเหตุการณ์ จงึ กลา่ วไดว้ ่า ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นเป็นผู้ ออกวางแผนเตรียมรบั หรอื รุกได้ ท่ีไดร้ ับการแตง่ ตั้งให้เปน็ ผดู้ ูแล รับผิดชอบในการ ปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย ได้อย่างมี ๒. วิธูโร จัดการธุระได้ดี เป็นผู้ ประสิทธิภาพ เพราะผู้บริหารต้องทาหน้าท่ีใน ชานาญในงาน รู้จักวิธีการไม่บกพร่องในหน้าท่ีที่ การตัดสินใจสั่งการ อานวยความสะดวกและ ตนไดร้ ับผดิ ชอบ ประสานงานในการดาเนินภารกิจต่างๆ ของ โรงเรยี นให้ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็ว ประหยัดทั้งกาลังกาย กาลังทรัพย์ และเกิด ประโยชน์สงู สดุ ตามจดุ มงุ่ หมายทว่ี างไว้

วารสารครศุ าสตรป์ ริทรรศนฯ์ - ๖๙ – ปที ี่ ๓ ฉบับท่ี ๒ พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๙ ๓. นิสสยสัมปันโน พ่ึงพาอาศัยคน ๓. คุณธรรมในการครองงาน ได้แก่ อ่ืนได้เพราะเป็นผู้ท่ีมีมนุษย์สัมพันธ์ดี และได้รับ ฆราวาสธรรม และอิทธิบาท ๔ สาหรับอิทธิบาท ความเช่ือถอื จากผอู้ ่ืน ๔เป็นคุณธรรมในการครองงาน เป็นธรรมท่ี สาคัญท่ีสุด เพราะหากมีคุณธรรมข้อน้ีแล้วการ จะเห็นได้ว่า การเป็นผู้นานั้น ต้อง ดาเนินงานตา่ งๆ จะประสบความสาเร็จ สามารถ เป็นผู้มีปัญญา มีประสบการณ์ เข้าใจบุคคลหรือ ครองงานไว้ได้ ถือได้ว่าฆราวาสธรรมครอบคลุม ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เป็นอย่างดี (ดูรายละเอียดใน คณุ ธรรมในการครองงานไดด้ ที สี่ ดุ อง.ฺ ตกิ . (ไทย) ๒๐/๒๐/๑๖๓) ดงั น้ัน หลกั พุทธธรรมทส่ี อดคล้องกับ การที่ผู้บริหารนาหลักพุทธธรรมมา หลกั การบริหารการศึกษาด้านครองตน มีจานวน ใช้ในการบริหารการศึกษาเป็นการสร้างความ ๑๙ หลักธรรม หลักพุทธธรรมที่สอดคล้องกับ เชื่อถือให้การยอมรับจากสังคม สร้างความพึง หลกั การบรหิ ารการศึกษาด้านครองคน มีจานวน พอใจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาภายในสถานศึกษา ๑๕ หลักธรรม และหลักพุทธธรรมที่สอดคล้อง ในการท่ีจะสร้างศรัทธาทาให้องค์กรต่างๆ ใน กับหลักการบริหารการศึกษาด้านครองงาน มี สถานศึกษาขับเคล่ือนหรือพัฒนาไปในทิศทางที่ จานวน ๑๙ หลกั ธรรม ดังนี้ ต้องการได้ หลักพุทธธรรมที่ผู้บริหารเลือกสรร และนามาประยุกต์ใช้ในการบริหารสถานศึกษา ๑ . กั ล ย า ณ มิ ต ต ต า ค ว า ม มี ในการปฏิบัติตนที่ส่งผลต่อสมรรถนะท่ีสาคัญ กัลยาณมิตร คือ มีผู้แนะนาส่ังสอน ท่ีปรึกษา และจาเป็นของผู้บริหารสถานศึกษา การ เพือ่ นทคี่ บหาและบคุ คลผแู้ วดลอ้ มท่ดี ี ปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษาได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด ๒. โยนิโสมนสิการ เป็นการใช้ ความคิดถูกวิธีคือ การทาในใจโดยแยบคาย ทัง้ น้ี คณุ ธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ เป็นหลักในการปฏิบัติของผู้บริหารโรงเรียน โดย ๓. ธรรมคุ้มครองโลก ๒ ธรรมที่ช่วย แบง่ คุณธรรมออกเป็น ๓ หมวดคือ คุณธรรมที่ใช้ ใหโ้ ลกมคี วามเป็นระเบียบเรยี บร้อย ไม่เดือดร้อน ในการครองตน ครองคนและครองงานของ และสับสนวุ่นวาย มีข้อธรรม ๒ ข้อคือ หิริ คือ ผบู้ รหิ ารไว้ (นติ ริ ัฐ วรรณวิริยวตั ร, ๒๕๕๒) ได้แก่ ความละอายต่อบาป ละอายใจต่อการทาความ ชั่ว โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวต่อบาป เกรง ๑. คุณธรรมในการครองตน ได้แก่ กลัวตอ่ ความชัว่ สัปปุริสธรรม ๗ ธรรมคุ้มครองโลก ธรรมมี อุปการะมาก อริยสัจ ๔ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔. ธรรมทาให้งาม ๒ มีข้อธรรม ๒ ความสุขของคฤหัสถ์ ศีล ๕ โดยเฉพาะสัปปุริส ข้อคือ ขันติคือ ความอดทน และโสรัจจะคือ ธรรม ๗ เป็นธรรมที่ครอบคลุมข้อธรรมอ่ืนๆ ใน ความเสงยี่ ม หมวดการครองตนไดเ้ ป็นอย่างดี ๕. ธรรมมีอุปการะมาก ๒ ธรรมท่ี ๒. คุณธรรมในการครองคน ได้แก่ เก้ือกูลในกิจหรือในการทาความดีทุกอย่าง มีข้อ พรหมวหิ าร ๔ สงั คหวัตถุ ๔ ทศพิธราชธรรม ทิศ ธรรม ๒ ข้อคือ สติคือ ความระลึกได้ นึกได้ ๖หลักธรรมในเรื่องการครองตนนั้น พรหมวิหาร สานึกอยู่ไม่เผลอ และสัมปชัญญะคือ ความรู้ชัด ๔ เป็นธรรมท่ีครอบคลุมหลักธรรมข้ออ่ืนๆ ได้ดี รู้ชัดส่ิงที่นึกได้ ตระหนักเข้าใจชัดตามความเป็น และถือว่าพรหมวิหาร ๔ เป็นธรรมสาหรับนัก จริง ปกครอง ๖. กุศลมูล ๓ รากเหง้าของกุศล ต้น ตอของความดี มีข้อธรรม ๓ ข้อคือ อโลภะคือ

วารสารครุศาสตร์ปริทรรศนฯ์ - ๗๐ – ปที ่ี ๓ ฉบบั ท่ี ๒ พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๙ ความไม่โลภ อโทสะคือ ความไม่คิดประทุษร้าย ๑๓. อธิษฐานธรรม ๔ ธรรมเป็นท่ี อโมหะคอื ความไม่หลง มั่น ธรรมอันเป็นฐานท่ีม่ันคงของบุคคล มีข้อ ธรรม ๔ข้อคือ ปัญญาคือ ความรู้ชัด หย่ังรู้ใน ๗ . สุ จ ริ ต ๓ ค ว า ม ป ร ะ พ ฤ ติ ดี เหตุผล สัจจะคือ ความจริง จาคะคือ ความ ประพฤติชอบมีข้อธรรม ๓ ข้อ คือ กายสุจริต เสยี สละ และอุปสมะคือ ความสงบ การประพฤติชอบด้วยกาย วจีสุจริต การ ประพฤติชอบด้วยวาจา และมโนสุจริต การ ๑๔. อิทธิบาท ๔ คุณธรรมที่นาไปสู่ ประพฤติชอบดว้ ยใจ ความสาเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย มีข้อธรรม ๔ ข้อ คือฉันทะคือ ความพอใจ วิริยะคือ ความเพียร ๘. สนั โดษ ๓ ความยินดี ความพอใจ จิตตะคือ ความคิดมุ่งไป อุทิศตัวอุทิศใจให้แก่ส่ิง ความรู้จักอิ่มรู้จักพอ มีข้อธรรม ๓ ข้อคือ ยถา ที่ทาและวมิ งั สาคอื ความไตรต่ รอง ลาภสันโดษ ยินดีตามท่ีได้ ยินดีตามท่ีพึงได้ ยถา พลสันโดษ ยินดีตามกาลัง ยถาสารุปปสันโดษ ๑๕. เบญจธรรม คู่กับเบญจศีล มีข้อ ยนิ ดตี ามสมควร ธรรม ๕ ข้อคือ เมตตาและกรุณา ความรักใคร่ ปรารถนาให้มีความสุข ความเจริญ และความ ๙. อธิปไตย ๓ ความเป็นใหญ่ มีข้อ ส ง ส า ร คิ ด ช่ ว ย ใ ห้ พ้ น ทุ ก ข์ คู่ กั บ ศี ล ข้ อ ๑ ธรรม ๓ ข้อคือ อัตตาธิปไตย ความมีตนเป็นใหญ่ สมั มาอาชวี ะการหาเลยี้ งชีพในทางสุจริต คู่กับศีล โลกาธิปไตย ความมโี ลกเป็นใหญ่ถือโลกเป็นใหญ่ ข้อ ๒ กามสังวร ความสังวรในกาม ความสารวม ธมั มาธปิ ไตย ความมีธรรมเปน็ ใหญ่ ระวงั รู้จักยบั ยั้งควบคมุ ตนในทางกามารมณ์ คู่กับ ศลี ข้อ ๓ สัจจะ ความสัตย์ ความซ่ือตรง คู่กับศีล ๑๐. ฆราวาสธรรม ๔ ธรรมสาหรับ ข้อ ๔ สติสัมปชัญญะ ระลึกได้และรู้ตัวอยู่เสมอ ฆราวาส ธรรมสาหรับการครองเรือน หลักการ คือฝึกตนให้เป็นคนรู้จักย้ังคิด รู้สึกตัวอยู่เสมอว่า ครองชวี ิตของคฤหัสถ์ มีข้อธรรม ๔ ข้อคือ สัจจะ สง่ิ ใดควรทา สิ่งใดไม่ควรทา ไม่มัวเมาประมาท คู่ คอื ความจรงิ ซ่ือตรง ซื่อสัตย์ จริงใจ พูดจริง ทา กบั ศลี ข้อ ๕ จริงทมะคือ การฝึกฝน การข่มใจ ฝึกนิสัย ปรับตัว ขันติคือ ความอดทน จาคะคือ ความ ๑๖. พละ ๕ ธรรมอันเป็นกาลัง มีข้อ เสียสละ ธรรม ๕ ข้อคือ สัทธาคือ ความเชื่อ วิริยะคือ ความเพยี ร สตคิ อื ความระลึกได้ สมาธิคือ ความ ๑๑. พรหมวิหาร ๔ ธรรมประจาใจ ต้ังจิตมน่ั ปญั ญาคอื ความรู้ทัว่ ชดั อันประเสริฐ หลักความประพฤติที่ประเสริฐ บริสุทธิ์มีข้อธรรม ๔ ข้อคือ เมตตาคือ ความรัก ๑๗. กัลยาณมิตรธรรม ๗ คุณสมบัติ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข กรุณาคือ ของมิตรดีและมิตรแท้ มีข้อธรรม ๗ ข้อ ได้แก่ ปิ ความสงสาร คือช่วยให้พ้นทุกข์ มุฑิตาคือ ความ โย คือ น่ารัก ภาวนีโย คือ น่าเจริญใจหรือน่ายก ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี อุเบกขาคือ การวางเฉย มีใจ ย่อง วตฺตา จ คือ รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักช้ีแจงให้ เป็นกลาง เข้าใจ วจนกฺขโม คือ อดทนต่อถ้อยคาคือ พร้อม ที่จะรับฟังคาปรึกษา ซักถาม คาเสนอและ คมฺ ๑๒. สังคหวัตถุ ๔ ธรรมยึดเหน่ียวใจ ภีรญจ กถ กตฺตา คือ แถลงเร่ืองล้าลึกได้ โน บุคคลและประสานหมู่ชนไว้ในสามัคคี หลักการ จฏฐาเน นิโยชเย คือ ไม่แนะนาในเรื่องเหลวไหล สงเคราะห์ มีข้อธรรม ๔ ข้อคือ ทานคือ การให้ หรอื ชักจูงไปในทางเส่อื มเสีย ปิยวาจาคือ การใช้วาจาเป็นที่รัก อัตถจริยาคือ การประพฤติประโยชน์ และสมานัตตตาคือ ความเสมอต้นเสมอปลาย

วารสารครศุ าสตรป์ ริทรรศนฯ์ - ๗๑ – ปที ่ี ๓ ฉบบั ท่ี ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙ ๑๘. สัปปุริสธรรม ๗ ธรรมของ พัฒนาองค์การน้ันๆ และในขณะเดียวกันผู้นา สัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี ธรรมของผู้ดี มีข้อ ควรเป็นผู้ที่มีหลักธรรมในการบริหารชุมชนหรือ ธรรม ๗ ข้อคือ ธัมมัญญุตา คือ ความรู้จักธรรม องค์การให๎มีความสุข ไม่ให้เกิดความขัดแย๎ง และ รหู้ ลัก อัตถญั ญตุ า คือ ความรู้จักอรรถ รู้ความมุ่ง เป็นผู้ที่สามารถไกลเกลี่ยข้อพิพาทที่เกิดข้ึนได้ หมายหรือรู้จักผล กาลัญญุตา คือ รู้จักกาลเวลา คุณลักษณะของบุคคลท่ีมีภาวะผู้นาจะต้องมี คือ อนั เหมาะสม ปรสิ ญั ญตุ า คือ รู้จักชุมชนและรู้จัก คุณลักษณะภายนอก คุณลักษณะภายใน และมี ที่ประชุม รู้กิริยาที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้น และ ความแตกต่างจากบุคคลอื่น มีความสามารถทา ปุคคลัญญตุ า คือ ความรู้จักบุคคล ให้ผู้อื่นคล้อยตาม เคารพเช่ือฟัง และพร้อมท่ีจะ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานมีรูปแบบ โดย ๑๙. ทศพิศราชธรรม เป็นธรรมของ ใช้วิธีการบริหารท่ีสอดคล้องกับหลักธรรมทาง พระราชา คุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง พระพุทธศาสนาที่ถือว่าหลักธรรมที่สมเด็จพระ ธรรมของนักปกครองมีข้อธรรม ๗ ข้อคือ ทาน สัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบเป็นหลักปฏิบัติท่ี คือ การให้ ศีลคือ ความประพฤติดีงาม ปริจ สามารถนามาใช้พัฒนาภาวะผู้นาได้เป็นอย่างดี จาคะคือ การบริจาค อาชชวะคือ ความซ่ือตรง ดังน้ัน ผู้นาทางพระพุทธศาสนาควรเป็นผู้รู้จัก มัททวะคือ ความอ่อนโยน ตปะคือ ระงับยับย้ัง และควรประยุกต์ใช้หลักธรรมต่างๆ ที่เก่ียวกับ ข่มใจได้อักโกธะคือ ความไม่โกรธ อวิหิงสาคือ ผู้ปกครองหรือผู้นาท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก ความไม่เบียดเบียน ขันติคือ ความอดทน อวิโรธ รวมท้งั ควรมคี วามอดทนอดกล้ันมีจิตใจหนักแน่น นะคือความไม่คลาดธรรม (วรภาส ประสมสุข มั่นคง เป็นผู้นาที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม และนพิ นธ์ กนิ าวงศ์, ๒๕๕๐). ศีลธรรม ความซื่อสัตย์ มีความละอายแก่ใจ ตนเอง โดยไม่ทาความชั่วและเกรงกลัวผลของ บทสรปุ ความช่ัว ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น โดย ภาวะผู้นาเป็นส่ิงสาคัญยิ่งสาหรับ มุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่ปวงชนหรือหมู่คณะ เปน็ ผเู้ สยี สละเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม ผู้นาในการที่จะบริหารองค์การต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นองค์การในระดับใดก็ตาม เพราะผู้นาต้อง อาศัยภาวะผู้นาเป็นปัจจัยขับเคล่ือนในการ

วารสารครศุ าสตร์ปรทิ รรศนฯ์ - ๗๒ – ปที ่ี ๓ ฉบับท่ี ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙ บรรณนำนกุ รม กมล รักสวน. “ความพึงพอใจในการทางานของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย”. วิทยำนิพนธ์ครุศำสตร มหำบัณฑิต. บณั ฑิตวิทยาลยั : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๔. กวี วงศพ์ ฒุ . ภำวะผู้นำ. กรงุ เทพฯ: ศูนยเ์ สรมิ วชิ าชพี บัญชี, ๒๕๓๙. กติ ิ ตยคั คานนท์. เทคนิคกำรสรำ้ งภำวะผนู้ ำ. พมิ พ์ครั้งท่ี ๑๐. กรุงเทพฯ : เปลวอกั ษร, ๒๕๔๓. ติน ปรัชญาพฤทธิ์. ภำวะผู้นำและกำรมีส่วนร่วม. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๗. ธงชัย สันติวงษ์. องค์กำรและกำรบริหำรกำรศึกษำกำรจัดกำรแผนใหม่. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช, ๒๕๓๙. นิติรัฐ วรรณวิริยวัตร. “การบริหารงานแบบพุทธวิธีของโรงเรียนพระปริยัติธรรม อาเภอเมือง เชียงใหม่”. วิทยำนิพนธ์ปริญญำศึกษำศำสตรมหำบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่, ๒๕๕๒. พนสั หนั นาคินทร์. หลักกำรบรหิ ำรโรงเรยี น. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานชิ , ๒๕๒๔. พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมฺมจิตฺโต). พทุ ธวิธบี ริหำร. กรงุ เทพฯ : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย , ๒๕๔๙. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). ภำวะผนู้ ำ. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๗. กรุงเทพฯ : สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๖. ภิญโญ สาธร. หลักกำรบริหำรกำรศึกษำ. กรงุ เทพฯ: คุรุสภา, ๒๕๒๖. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภำษำไทย ฉบับมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย. กรงุ เทพฯ : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. ยุงยุทธ เกษสาคร. ภำวะผู้นำและกำรจูงใจ. กรุงเทพฯ: ป.สัมพนั ธ์พานชิ , ๒๕๓๓. วรภาส ประสมสุข และนิพนธ์ กินาวงศ์. “หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม”. วำรสำร ศึกษำศำสตร์. ๑๘ (๒) (พฤศจิกายน ๒๕๔๙ – มนี าคม ๒๕๕๐. สนอง เครอื มาก. คู่มอื ครใู หญ่อำจำรยใ์ หญ่. กรุงเทพฯ : สยามศลิ ปก์ ารพิมพ,์ ๒๕๓๗. สมบูรณ์ สุขสาราญ. “พุทธศาสนากับการเมือง”. วำรสำรสังคมศำสตร.์ (ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๔๓) : ๘. สมพงษ์ เกษมสิน. กำรบริหำร. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๒๖. Barbara Kellman. Leadership as a Politiczl Act in Leadership : Multidisciplinary Perspectives. New Jersey : Prentice Hall, 1984. Hodge & Johnson. Management and Organization Behavior. New York : John Willey & Sons, 1970.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook