Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดูแลและพัฒนาการเด็กเล็ก-วัย-0-3-ปี-theAsianparent

คู่มือการดูแลและพัฒนาการเด็กเล็ก-วัย-0-3-ปี-theAsianparent

Published by Thaniya T., 2019-07-31 00:18:28

Description: คู่มือการดูแลและพัฒนาการเด็กเล็ก-วัย-0-3-ปี-theAsianparent

Keywords: preschool

Search

Read the Text Version

คูม อื สําหรับพอ แม เพอ่ื เผยแพรค วามรูด านการดแู ลและพฒั นาเดก็ ตอน วยั เดก็ เล็ก 0-3 ป 1

คมู่ ือส�ำหรับพอ่ แม่ เพ่อื เผยแพรค่ วามรู้ดา้ นการดแู ลและพฒั นาเดก็ ตอน วยั เดก็ เลก็ 0-3 ปี ทีมบรรณาธิการ ณศี ะนันท์ พญ.สุธาทพิ ย์ เอมเปรมศิลป์ ทะรกั ษา ศ.คลินกิ พญ.วินัดดา ปยิ ะศิลป์ พญ.นยั นา ชลไชยะ พญ.จริยา รศ.นพ.วีระศกั ด ์ิ คณะอนกุ รรมการ Child Health Supervision รศ.พญ.ประสบศร ี อง้ึ ถาวร พญ.วันด ี นิงสานนท์ พญ.จรยิ า ทะรกั ษา ผศ.พญ.อสิ ราภา ช่นื สวุ รรณ ศ.คลินกิ พญ.วินัดดา ปิยะศลิ ป์ พญ.นยั นา ณศี ะนนั ท์ รศ.พญ.จันท์ฑิตา พฤกษานานนท์ พญ.อดศิ ร์สดุ า เฟ่ืองฟู รศ.นพ.อดิศกั ดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รศ.พญ.บุญยง่ิ มานะบริบูรณ์ รศ.นพ.พงษศ์ กั ด์ิ นอ้ ยพยคั ฆ์ เอมเปรมศลิ ป์ ผศ.(พิเศษ)นพ.เทอดพงศ ์ เต็มภาคย์ พญ.สธุ าทพิ ย ์ ปรู านธิ ิ พญ.ปองทอง ISBN จดั พิมพ์โดย ราชวิทยาลยั กุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย สมาคมกมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย ช้ัน 9 อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี เลขท่ี 2 ซอยศูนย์วจิ ัย ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ เขตหว้ ยขวาง กรุงเทพฯ10310 โทร. 0-2716-6200-1 โทรสาร 0-2716-6202 E-mail: [email protected] http://www.thaipediatrics.org ลขิ สทิ ธ์ิของราชวทิ ยาลยั กุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย และ สมาคมกุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data 2

สารจากประธานราชวิทยาลยั กุมารแพทย์ แหง่ ประเทศไทย ดว้ ยเทคโนโลยกี ารสอื่ สารทล่ี ำ้� สมยั ในปจั จบุ นั ทำ� ใหพ้ อ่ แมม่ อื ใหมส่ ามารถรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ จากสอื่ ตา่ ง ๆ ทางมอื ถอื ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ แตใ่ นขณะเดยี วกนั ขอ้ มลู เหลา่ นอ้ี าจจะไมไ่ ดร้ บั การกลนั่ กรอง ซ่งึ เมอ่ื น�ำไปใชใ้ นการเลีย้ งลกู อาจจะไม่เหมาะสมกบั ลกู ของตนเอง หนงั สอื เลม่ นไ้ี ดร้ วบรวมความรแู้ ละหลกั เกณฑใ์ นการเลย้ี งลกู ในวยั ตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหพ้ อ่ แมไ่ ดร้ บั มอื กบั อารมณแ์ ละพฒั นาการของลูกในแต่ละวยั ท้งั นเ้ี พอื่ ความเหมาะสมแก่ลกู ในวัยน้นั อีกทง้ั การวางแนวทาง แก้ไขปญั หาต่าง ๆ ท่อี าจจะเกดิ ขึ้น หนงั สือเลม่ นจ้ี งึ ให้หลกั เกณฑ์ตา่ ง ๆ ในการเลยี้ งลูกทคี่ รบถ้วนแต่การเล้ียงลกู ยงั ต้องอาศัยความ รกั ความใกลช้ ดิ ความเอาใจใส่ และความตอ่ เนอื่ งตง้ั แตเ่ ลก็ จนโต เพอื่ ทจี่ ะไดผ้ ใู้ หญค่ นหนงึ่ ทสี่ มบรู ณท์ กุ ๆ ดา้ นในยุค 4G น้ี (ศาสตราจารย์นายแพทย์พภิ พ จริ ภิญโญ) ประธานราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทย์แห่งประเทศไทย นายกสมาคมกมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย 3

บทนำ� ใครๆกม็ ักพดู ว่าเดก็ คอื อนาคตของชาติ แตค่ นท่ีมคี วามรู้ทแี่ ทจ้ รงิ ในการพฒั นาเด็ก จนทำ� ให้เดก็ เตบิ โตได้อย่างเต็มที่ พฒั นาความรูค้ วามสามารถ จนท�ำประประโยชน์ตอ่ ตนเองและผูอ้ ื่นได้กลับมีไม่มาก สงั คมในปจั จบุ นั พบปัญหาเด็กไทยมปี ริมาณสูงขน้ึ ชัดเจน ทงั้ ๆที่ปรมิ าณเดก็ ไทยมีปรมิ าณลดลง และสาเหตหุ ลกั มาจากการเลยี้ งดทู ไ่ี มเ่ หมาะสม หนา้ ทหี่ ลกั ของกมุ ารแพทยน์ อกจากใหก้ ารรกั ษาดแู ลขณะ เจบ็ ปว่ ยแลว้ กมุ ารแพทยพ์ งึ ตอ้ งใหค้ ำ� แนะนำ� ครอบครวั ในแตล่ ะชว่ งวยั เพอ่ื เปน็ หลกั ในการเลย้ี งดู พฒั นา เดก็ เราใหเ้ ตบิ โตอยา่ งถกู ทศิ ทาง เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ของครอบครวั เปน็ คนดขี องสงั คมและประเทศชาตติ อ่ ไป แตข่ ณะเดยี วกนั พอ่ แมซ่ ง่ึ เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามสำ� คญั อยา่ งสงู ตอ่ การสง่ เสรมิ เลย้ี งดู พฒั นาเดก็ รอบดา้ น และให้โอกาสมีประสบการณช์ วี ิตในดา้ นตา่ งๆตลอดชว่ ง 15 ปีแรกของชวี ิต จ�ำเปน็ ตอ้ งคน้ คว้าหาความรู้ เพ่ือนำ� ไปใชใ้ นการเลยี้ งดแู ละพฒั นาเดก็ ตอ่ ไป ในการทำ� งานนี้ ตอ้ งขอขอบคณุ ทมี บรรณาธกิ ารทกุ ชว่ งวยั ทกุ ทา่ นทเี่ สยี สละเวลาอนั มคี า่ รวบรวม ความรู้ทที่ นั สมยั ข้อมูลสำ� คญั เรยี บเรียงจนผู้ท่ตี ั้งใจอา่ นจะเข้าใจได้ง่าย ทัง้ น้ีเพือ่ ประโยชนท์ ่มี ตี ่อเด็ก ตอ่ พอ่ แม่ ต่อผูท้ ท่ี �ำงานเกยี่ วข้องกับเดก็ ทกุ ภาคส่วน ท่ีสำ� คญั คือ ประโยชนท์ ีจ่ ะมีตอ่ สงั คม และต่อประเทศ ชาติของเรา (ศ.คลนิ ิก พญ.วินดั ดา ปิยะศิลป์) ประธานวิชาการ ราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทย์แหง่ ประเทศไทย 4

สารบัญ สารจากประธานราชวิทยาลยั กุมารแพทยแ์ ห่งประเทศไทย หนา้ บทนำ� 3 4 บทที่ 1 ความสำ� คญั ของช่วงวัย 0-3 ปี 7 ความรักความผกู พนั ตารางตรวจสขุ ภาพ มาตรฐานราชวิทยาลยั กมุ ารแพทย์ พ.ศ.2557 8 9 บทที่ 2 พฒั นาการของเดก็ อายุ 0-3 ปี 10 ด้านกลา้ มเนื้อมดั ใหญ่ ดา้ นกลา้ มเนือ้ มดั เล็ก 10 ด้านการช่วยเหลอื ตวั เอง 11 ดา้ นสตปิ ัญญา 12 ดา้ นภาษาและการพดู ส่ือสาร 13 ตารางพฒั นาการ มาตรฐานราชวิทยาลัยกมุ ารแพทย์ พ.ศ.2557 14 ดา้ นอารมณ ์ 16 ดา้ นสงั คม 17 ดา้ นบคุ ลิกภาพและคุณธรรม 20 20 บทท่ี 3 อาหารและการสง่ เสรมิ พฤติกรรมการกิน ท่ีเหมาะสมของทารกและเดก็ เลก็ 22 6 เดอื นแรก: อาหารทีเ่ หมาะสมและดที ีส่ ดุ คือ นมแม่ 22 การเตรียมตัวเล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่ในกรณีท่ีแมต่ ้องไปท�ำงาน 24 6 เดือน-3 ป:ี เร่ิมอาหารตามวัยและข้อควรคำ� นงึ 26 พฤติกรรมด้านการกิน 27 ข้อแนะนำ� เพอื่ สง่ เสริมพฤติกรรมการกนิ ท่เี หมาะสม 30 เตรยี มความพร้อมใหล้ กู ในการเลกิ ใชข้ วดนมท่ีอายุ 1-1½ ปี 30 5

บทท่ี 4 การเจรญิ เติบโต หนา้ การติดตามการเจรญิ เตบิ โตจากกราฟแสดงการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ไทย 32 บทที่ 5 การเล้ียงดแู ละการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ 34 ครอบครัวคณุ ภาพ 38 บทบาทพอ่ แม่ สง่ เสรมิ ความมัน่ คงทางจิตใจ 38 ส่งเสรมิ พัฒนาการทเี่ หมาะสม 38 เทคนคิ การฝกึ ฝนทัว่ ไป 40 เทคนิคการฝึกฝนการพูด การส่อื สารและพฒั นาการดา้ นภาษา 41 การเล่นเพ่ือกระต้นุ พัฒนาการ: เล่นอย่างไรจึงจะสรา้ งสรรค ์ 42 สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 42 การนอน 43 ฝกึ ฝนขบั ถา่ ย 47 แนวทางดแู ลสุขภาพฟนั และชอ่ งปาก 49 การป้องกันอุบัตเิ หตุ 52 การเลือกพ่เี ลีย้ งเด็ก 53 ครอบครวั ใหญจ่ ดั การอย่างไรดี 54 วินยั เรม่ิ ท่ีบ้าน 55 เตรียมลูกไปโรงเรยี น 55 การดูแลผวิ ในทารก 56 การตรวจสุขภาพและการสร้างเสริมภมู คิ มุ้ กันโรค 57 ตารางการฉดี วคั ซีน มาตรฐานราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ พ.ศ.2560 59 61 ตอนที่ 6 ปัญหาทพี่ บบอ่ ยในเด็กอายุ 0-3 ป ี 63 ปญั หาการนอน 65 ปัญหาการขบั ถ่าย ปัญหาการกนิ 65 ปัญหาพฒั นาการ 67 ปัญหาพฤติกรรมทพ่ี บบ่อย 69 70 เอกสารอา้ งองิ 74 85 6

ความส�ำคญั ของชว่ งวยั 0-3 ปี บทท่ี 1 ความสำ� คญั ของช่วงวยั 0-3 ปี ชว่ งวยั 3 ปแี รกของชวี ติ เดก็ เปน็ รากฐานทส่ี ำ� คญั ของสขุ ภาพในทกุ มติ ติ อ่ ชว่ งชวี ติ ทเี่ หลอื ของเดก็ เปน็ ระยะทเ่ี ดก็ เจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ และมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งมากมายของพฒั นาการในทกุ ๆ ดา้ น จะเห็นได้วา่ สัดส่วนร่างกายเดก็ มีการเพิ่มอยา่ งกา้ วกระโดดทั้งน�้ำหนกั ความยาวตวั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เสน้ รอบศรี ษะซง่ึ บง่ บอกถงึ การเตบิ โตของสมองของเดก็ และจากเดมิ ทเี่ ดก็ ยงั ทำ� อะไรเองไมไ่ ดต้ อ้ งพง่ึ พา ผู้ใหญ่ท้งั หมดในการดำ� รงชวี ติ เดก็ สามารถเคลอ่ื นไหวไดเ้ อง หยิบอาหารกนิ เอง ดม่ื นมเอง ชี้บอกความ ต้องการ พดู ส่ือสารอยา่ งง่ายๆ ได้ แกป้ ญั หาเล็กนอ้ ยด้วยตัวเองได้ ผเู้ ลย้ี งดหู ลกั เปรยี บเสมอื นเปน็ กญุ แจดอกแรกทจ่ี ะเปดิ โลกการเรยี นรขู้ องเดก็ และเปน็ เสมอื นโลก ใบแรกของเดก็ นบั ตงั้ แตเ่ ดก็ เกดิ อกี ดว้ ย เปน็ ทง้ั แหลง่ อาหาร แหลง่ ความรกั เปน็ พนื้ ทป่ี ลอดภยั แหลง่ การ เรียนรู้ และนำ� พาให้เดก็ ไวว้ างใจท่ีจะเชอื่ มโยงตอ่ ไปยงั คนอนื่ ดังน้ันในเดก็ วัย 3 ขวบปีแรก ผู้เลี้ยงดจู ึง มีความสำ� คญั อย่างยิ่งยวด เพราะเดก็ จะรบั รู้ เรียนรู้ เลียนแบบ และเชือ่ มโยงกบั โลกภายนอกรอบๆ ตัว จากปฎิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับผู้เล้ียงดู ซ่ึงความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับผู้เลี้ยงดูเกิดข้ึนตลอดเวลาผ่าน การสัมผัส และดแู ลใกล้ชดิ โดยการให้นม ให้อาหาร ท�ำความสะอาดร่างกาย โอบอมุ้ หรอื พดู คยุ ฯลฯ ซ่ึงจะสะท้อนให้เห็นถึงความรัก ความผูกพันที่มีต่อเด็กอยู่ตลอดเวลาผ่านทางการเอาใจใส่ การสังเกต ความตอ้ งการ และพยายามเขา้ ใจสญั ญาณทเ่ี ดก็ ส่งออกมาผ่านการร้องและการเคลอื่ นไหว ท�ำให้ผเู้ ลี้ยง ดเู ขา้ ใจและตอบสนองต่อความต้องการนน้ั ๆ ได้อย่างถูกต้อง อนั จะช่วยให้เด็กคอ่ ยๆ เรยี นรวู้ ่า ผูเ้ ลยี้ งดู นอกจากจะตอบสนองความตอ้ งการได้แล้ว ยงั ทำ� ใหเ้ พลิดเพลนิ สบายกาย และสบายใจไดอ้ ีกดว้ ย เม่ือ พฤติกรรมของผู้เล้ียงดูแสดงออกซ�้ำๆ จนท�ำให้เด็กมีความสุข พอใจกับสิ่งที่ตนเองได้รับการตอบสนอง จะพัฒนาเปน็ ความม่นั ใจและไว้วางใจ ซึ่งถอื วา่ เปน็ รากฐานทสี่ ำ� คัญของชวี ติ ในช่วงตอ่ ๆ ไปดว้ ย 7

ความสำ� คญั ของชว่ งวยั 0-3 ปี ความรกั และความผกู พนั การใหค้ วามรัก ความอบอนุ่ และความมั่นคงทางจติ ใจแก่เดก็ อยา่ งสม�ำ่ เสมอ ตลอดเวลาที่พ่อแม่ ลกู อยดู่ ว้ ยกนั จะทำ� ใหเ้ ดก็ รสู้ กึ วา่ ตวั เขามคี ณุ คา่ ทำ� ใหเ้ ขามคี วามมน่ั ใจในตนเอง มองโลกในแงด่ ี มอี ารมณ์ แจม่ ใส เขา้ ใจความรู้สึกของผ้อู ื่น สามารถสร้างสมั พันธภาพ และท�ำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้ดี ควบคุมอารมณ์ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และมคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่ ซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานทสี่ ำ� คญั ในการพฒั นาคณุ ธรรมในตวั เดก็ ต่อไป พ่อแม่ทีเ่ ลีย้ งลูกดว้ ยตนเอง มคี วามไวตอ่ ความต้องการ และการแสดงออกของลูก มีปฏิสมั พันธ์ ทด่ี ีและแสดงความรักตอ่ ลกู อย่างสมำ�่ เสมอ โดยการกอด อุ้ม สมั ผัส พูดคุย ช่นื ชม และเลน่ กบั ลกู ใน บรรยากาศครอบครวั ทีอ่ บอ่นุ ปราศจากความรุนแรง จะช่วยส่งเสริมให้เกดิ ความรกั ความผูกพนั ที่ม่ันคง ระหว่าง พอ่ แม-่ ลกู บคุ ลกิ ภาพของพ่อแมท่ อี่ บอุ่น เยอื กเยน็ อารมณด์ ี เป็นมิตร ยิ้มแยม้ แจม่ ใส ปรับตวั งา่ ย สังคมดี ไมม่ ีปญั หาทางจิตใจ คอื ไมข่ ้ีกงั วล หรือมีอารมณซ์ ึมเศรา้ จะเลย้ี งดลู ูกใหเ้ กิดความรกั ความผกู พนั ได้งา่ ย ในทางตรงข้าม พอ่ แมท่ ี่เครยี ด เศร้าโศก วิตกกงั วล จะไม่สามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของลกู ได้ อย่างเหมาะสม ส่งผลท�ำใหเ้ ด็กเฉือ่ ยชา ซึมเศรา้ มคี วามกงั วล และส่งผลกระทบต่อระบบการกิน การ นอน หากปัญหาเรอ้ื รังไมไ่ ดร้ ับการช่วยเหลืออาจสง่ ผลท�ำให้พฒั นาการลา่ ชา้ ได้ เดก็ ทถี่ กู เลยี้ งดโู ดยปลอ่ ยปะละเลย พอ่ แมไ่ มค่ อ่ ยสนใจ พอ่ แม-่ ลกู มคี วามผกู พนั ทไี่ มม่ น่ั คง เดก็ จะ เติบโตมาเปน็ คนทไี่ ม่คอ่ ยเชื่อใจใคร เกบ็ ตวั เจา้ อารมณ์ ชอบบงั คบั ใหค้ นอ่ืนท�ำตามทต่ี นเองตอ้ งการ ไม่ ค่อยเข้าใจจิตใจคนอน่ื ทำ� ใหไ้ มค่ ่อยมเี พือ่ น ทำ� งานรว่ มกับผอู้ น่ื ได้ไม่ดี ดังนัน้ ความรักและความผูกพัน จึงเป็นพืน้ ฐานที่สำ� คญั ในการเล้ียงดใู หเ้ ด็กเติบโตอย่างมีบุคลกิ ภาพท่ีสมบรู ณ์ 8

ความสำ� คญั ของชว่ งวัย 0-3 ปี ก�ำหนดการดแู ลสขุ ภาพเด็กไทย มาตรฐานราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2557 9

พฒั นาการของเดก็ อายุ 0-3 ปี บทท่ี 2 พฒั นาการของเด็กอายุ 0 - 3 ปี ดา้ นกลา้ มเนือ้ มดั ใหญ่ กล้ามเนื้อมดั ใหญจ่ ะพฒั นาเป็นลำ� ดับข้นั ตอนตอ่ เน่อื งกนั เชน่ จะชนั คอ (1-3 เดอื น) ไดก้ ่อนพลกิ คว�ำ่ /หงาย (4-5 เดอื น) น่งั ได้ (5-7 เดือน) ก่อนทจ่ี ะคลานและเกาะยนื (7-9 เดอื น) เกาะเดนิ (10 เดอื น) กอ่ นท่ีจะยนื เอง (12 เดอื น) เดินได้เอง (12-15 เดอื น) ก่อนวง่ิ (18 เดือน) เกาะราวขึน้ บนั ไดหรือเตะบอล (19-21 เดือน) กอ่ นเดินลงบันไดพร้อมเกาะราวหรือขว้างลกู บอล (2 ป)ี ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ า่ กลา้ มเนอื้ มดั ใหญจ่ ะพฒั นาจากสว่ นหวั ไปสสู่ ว่ นขา ในขณะทเี่ ดก็ ปกตบิ างรายอาจ ข้ามพัฒนาการบางขั้นตอนไปได้ เช่น หลงั จากที่ลูกนัง่ ได้ ลูกอาจไม่คลาน แตจ่ ะเริม่ คุกเขา่ แล้วเกาะยืน ได้เลย เปน็ ต้น พอ่ แมท่ ช่ี ว่ ยเหลอื ลกู มากจนเกนิ ไป เชน่ ไมค่ อ่ ยใหล้ กู นอนควำ่� เมอ่ื ตนื่ นอน อมุ้ ตลอดเวลา หรอื ไม่ ใหโ้ อกาสลกู ในการเคลอื่ นไหวอยา่ งเพยี งพอ อาจทำ� ใหล้ กู มพี ฒั นาการดา้ นกลา้ มเนอื้ และการเคลอ่ื นไหว ลา่ ช้าได้ ดังนัน้ พอ่ แมค่ วรส่งเสรมิ ให้ลกู มโี อกาสเคล่ือนไหว และใชก้ ล้ามเนอ้ื สว่ นต่างๆ ของตนเองตาม วยั และหลกี เลยี่ งไม่ให้ลูกใชร้ ถหดั เดิน เพราะนอกจากไมไ่ ด้ช่วยลกู ให้เดินไดด้ ว้ ยตัวเอง แตก่ ลับยง่ิ ทำ� ให้ มพี ัฒนาการด้านกล้ามเน้อื มดั ใหญล่ ่าช้าได้ ลูกมกั เดนิ ดว้ ยปลายเท้า เสีย่ งต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ วิธีสังเกตวา่ พัฒนาการดา้ นกล้ามเน้อื มัดใหญ่ลา่ ชา้ หรือเคลือ่ นไหวผดิ ปกติ เชน่ อายุ 5 เดอื น แลว้ ยงั คอไมแ่ ข็ง หรอื มีพฒั นาการไวเกนิ ไป เช่น พลกิ คว่ำ� /หงายไดก้ อ่ นอายุ 3 เดอื น หรือมคี วามตงึ ตวั ของกลา้ มเน้ือนอ้ ย เชน่ รูส้ ึกวา่ ลูกตวั ออ่ น หรอื มีความตงึ ตัวของกล้ามเนอื้ มากเกนิ ไป เชน่ ตัวเกร็ง อ้มุ จดั ทา่ ได้ยาก เวลาจับยืนแลว้ ปลายเทา้ ชอบจกิ พ้ืน มีการถนดั ของการใชแ้ ขนขาข้างใดขา้ งหน่ึงกอ่ นอายุ 18 เดอื น ควรรบี พาลกู ไปพบกมุ ารแพทยเ์ พอื่ หาสาเหตุ และวางแผนการดแู ลรกั ษาอยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป 10

พัฒนาการของเด็กอายุ 0-3 ปี ด้านกล้ามเนอ้ื มดั เลก็ กล้ามเน้ือมัดเล็กจะพัฒนาได้ต้องอาศัยการมองเห็น เด็กใช้กล้ามเนื้อมือส�ำหรับการช่วยเหลือ ตนเองและแก้ไขปัญหาต่างๆโดยท�ำงานประสานกับสายตา พัฒนาการด้านกล้ามเน้ือมัดเล็กจะเริ่มจาก การเคลื่อนไหวของลกู ตา เชน่ ลูกอายุ1 เดือน สามารถจ้องมองวัตถุท่หี ่างจากใบหนา้ ประมาณ 8 น้วิ ได้ และจะค่อยๆ มองตามวัตถผุ ่านแนวก่งึ กลางตวั ที่อายุ 2 เดือน จนมองตามในแนวราบ 180 องศา และ ควา้ จบั กร๋งุ กรง๋ิ ไดท้ ีอ่ ายุ 4 เดือน ลกู จะเอ้ือมมือหยิบของทอี่ ายุ 6 เดอื น ถอื ก้อนไม้มอื ละก้อนท่ีอายุ 8 เดอื น ถอื กอ้ นไม้ 2 ก้อนเคาะกนั ที่อายุ 10 เดอื น หยบิ กอ้ นไมใ้ ส่ถว้ ยท่อี ายุ 12 เดือน ตอ่ ก้อนไม้ 2 กอ้ น ในแนวตง้ั และขดี เส้นยุง่ ๆ ทอ่ี ายุ 18 เดือน จนตอ่ ก้อนไม้ 6 ก้อนในแนวตั้ง หรอื 4 กอ้ นในแนวนอนเป็น รถไฟไดท้ อี่ ายุ 2 ปี กลา้ มเนอื้ มดั เลก็ จะพฒั นาจากสว่ นตน้ ของลำ� ตวั แขนขาไปสสู่ ว่ นปลาย เชน่ นำ� กอ้ นไหมพรมมาไว้ ที่ระดับสายตา โดยห่างจากใบหน้าสัก 8-12 นว้ิ ทอ่ี ายุก่อน 4 เดือน ลกู จะมองตามการเคล่อื นไหวของ กอ้ นไหมพรมในแนวราบได้ แต่ยังไมส่ ามารถควา้ จับไหมพรมได้ แตท่ ่พี ออายุ 4-6 เดอื นถา้ วางก้อนไหม พรมไว้บนโตะ๊ เดก็ จะพยายามยดื ตวั ขยบั หัวไหล่ และเอ้อื มมือไปยงั ทิศทางทีไ่ หมพรมวางอยไู่ ด้ เป็นตน้ นอกจากน้ี กลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ ยงั คอ่ ยๆพฒั นาจากการทำ� งานทหี่ ยาบไปสงู่ านทล่ี ะเอยี ดมากขนึ้ ตาม ลำ� ดบั เชน่ อายุ 6-7 เดือน จะหยบิ ก้อนไม้โดยอุง้ มอื ท�ำงานรว่ มกับนิ้วหัวแมม่ อื อายุ 7-9 เดอื นจะหยิบ ก้อนไมโ้ ดยใช้บริเวณของนิ้วหวั แมม่ ือและนวิ้ มืออืน่ ๆชว่ ยในการหยิบจับได้ เป็นตน้ การหยบิ ของช้นิ เลก็ ก็จะมีการพัฒนาอย่างเปน็ ล�ำดับขนั้ ตอนเช่นเดยี วกนั ได้แก่ อายุ 6-7 เดอื น จะพยายามเขย่ี ของชนิ้ เลก็ ๆ เข้ามาอยใู่ นฝ่ามือ แตเ่ ม่ือลกู อายุ 9-12 เดอื น จะหยิบเม็ดยาด้วยปลายนว้ิ หวั แมม่ อื และปลายนว้ิ ชไี้ ด้ เปน็ ตน้ (ซงึ่ พอ่ แมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตทุ เ่ี กดิ จากการหยบิ ของทมี่ ขี นาด เลก็ เขา้ ปากจนอาจทำ� ใหล้ กู เกดิ การสำ� ลกั ไดใ้ นชว่ งวยั น)้ี ทงั้ นกี้ ารพฒั นาของกลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ จากสว่ นตน้ ไปสสู่ ว่ นปลายไดอ้ ยา่ งละเอยี ดมากขนึ้ จะทำ� ใหล้ กู สามารถสำ� รวจสงิ่ ตา่ งๆ ดว้ ยการใชน้ ว้ิ มอื ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� จนกระท่งั สามารถทดแทนการน�ำนิ้วมอื เขา้ ปากได้ นอกจากน้ีพัฒนาการดา้ นกล้ามเน้อื มดั เล็กยงั มคี วาม สัมพันธ์กับพฒั นาการด้านสติปญั ญาที่ไม่ใช้ทกั ษะด้านภาษาของลกู ด้วย วิธสี ังเกตวา่ พัฒนาการดา้ นกล้ามเน้ือมดั เล็กล่าช้าผดิ ปกติ เชน่ ลกู อายุ 3 เดือน แล้วยังกำ� มือ ตลอดเวลา อาจมคี วามผดิ ปกตทิ างระบบประสาท หรอื ลกู อายุ 6 เดอื น แลว้ ยงั ไมค่ วา้ ของหรอื เออ้ื มหยบิ ของ อาจบ่งถึงความผิดปกตขิ องกลา้ มเนอื้ มดั เล็ก สายตา และ/หรือมสี ตปิ ัญญาบกพร่อง ดงั น้นั พอ่ แม่ ควรรบี พาลูกไปพบกมุ ารแพทย์เพอ่ื หาสาเหตุ และวางแผนการดูแลรกั ษาอยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป 11

พัฒนาการของเด็กอายุ 0-3 ปี ดา้ นการชว่ ยเหลือตวั เอง การชว่ ยเหลอื ตวั เองตอ้ งอาศยั ความสามารถของดา้ นตา่ งๆมาทำ� งานรว่ มกนั ทง้ั กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ มดั เลก็ ภาษาและการพดู สอื่ สาร รวมทง้ั สติปญั ญาของเดก็ อีกดว้ ย นอกจากนย้ี ังขึ้นอยกู่ บั วธิ ีการท่ีพ่อแมเ่ ล้ียง ดูและสิง่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมท่ีเดก็ อาศยั อยู่รว่ มด้วย พ่อแมต่ ้องฝึกฝนส่งเสรมิ ใหล้ ูกช่วยเหลือตัวเองใหม้ าก ทีส่ ดุ จนสามารถทำ� ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว เพิม่ ความภมู ใิ จในตนเอง และลกู จะปรับตวั อยใู่ นสังคมไดง้ ่าย การช่วยเหลอื ลูกในการทำ� กิจวตั รประจ�ำวันมากเกนิ ไป พบไดบ้ อ่ ยในสังคมไทย ลูกอายุ 5 เดอื น ควรฝึกให้ถือขวดนมเอง เพราะลูกสามารถเอามือมาจับกนั ตรงกลางได้ ลกู อายุ 6เดอื น กค็ วรฝึกใหห้ ยบิ ขนม หรอื อาหารชิ้นเลก็ ๆ เขา้ ปากดว้ ยตัวเอง เพ่ือส่งเสริมใหล้ ูกมสี ว่ นรว่ มในการกินอาหารเอง ลูกอายุ 16 เดอื น ควรฝึกให้ถือถว้ ยด่ืมน้ำ� เอง ชว่ ยงานบ้านง่ายๆ เชน่ เกบ็ ของเลน่ เขา้ ท่ี ท้งิ ขยะ เปน็ ต้น ลกู อายุ 18 เดอื น จะใช้ช้อนตักอาหารกินเองไดบ้ า้ ง อายุ 21 เดอื น ควรฝึกถอดเสื้อผ้าเอง จนอายุ 2 ปี ควรฝึก ใหล้ ูกลา้ งและเช็ดมือเองได้ ให้ใสเ่ สอ้ื ผ้า แปรงฟันโดยพอ่ แม่คอยชว่ ยเหลอื เลก็ น้อย พ่อแม่ที่คิดผิดว่าโตขึ้นก็ท�ำเองได้ หรือละเลย หรือไม่ให้ความส�ำคัญกับการฝึกให้ลูกช่วยเหลือ ตัวเองตามวัย จะส่งผลทำ� ใหล้ ูกช่วยเหลอื ตัวเองได้นอ้ ย ท�ำช้า ไม่สมวัย อาจท�ำให้พฒั นาการด้านกล้าม เนอื้ มดั ใหญ่ มดั เล็ก ภาษาและการพูดส่ือสาร การแกป้ ัญหา ท�ำไดน้ ้อยกวา่ เด็กในวยั เดยี วกัน นอกจาก น้ีลูกจะขาดความมั่นใจ และความภาคภูมิใจในตนเอง จนอาจพึ่งพาพ่อแม่ไปจนถึงวัยเรียน หรือวัยรุ่น ได้ เน่ืองจากติดนิสัยท่ีไม่ต้องฝึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ซ่ึงหากลูกรับผิดชอบต่อตัวเองได้น้อย ก็จะ ย่ิงเปน็ การยากสำ� หรบั ลูกในการมคี วามรับผดิ ชอบในเร่ืองอ่ืนๆ โดยเฉพาะหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบในการ เรยี นหนงั สอื การเลน่ รวมทั้งหน้าทต่ี ่อครอบครัว และสงั คมในภายภาคหน้าดว้ ย 12

พฒั นาการของเด็กอายุ 0-3 ปี ดา้ นสติปญั ญา พ่อแม่ทุกคนต้องการให้ลูกฉลาด เรียนรู้ได้ ซ่ึงพัฒนาการด้านสติปัญญาน้ันเป็นผลรวมของ พฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ไดแ้ ก่ พฒั นาการดา้ นภาษา และการพดู สอ่ื สารโดยเฉพาะพฒั นาการดา้ นความเขา้ ใจ ภาษา จะมคี วามสัมพนั ธก์ บั พัฒนาการดา้ นสติปัญญามากทีส่ ุด และสัมพันธ์กบั พัฒนาการดา้ นกล้ามเนอ้ื มดั เลก็ ทง้ั ดา้ นการชว่ ยเหลอื ตวั เอง การเลน่ และการแกป้ ญั หาของลกู ดว้ ย ดงั นนั้ การสง่ เสรมิ ทกั ษะตา่ งๆ ตามทร่ี ะบุไวข้ า้ งตน้ การเลน่ อา่ นหนงั สือ หรือรอ้ งเพลงไปพรอ้ มกบั ลูก ฝึกฝนใหช้ ่วยเหลอื ตัวเองตามวัย จะเป็นการส่งเสรมิ พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญาท่ีดีต่อไป อายุนอ้ ยๆมกั เล่นของเลน่ ผา่ นทางระบบประสาทสมั ผสั ท้งั หา้ ไดแ้ ก่ การมอง การได้ยิน การดม กลิน่ การรบั รส และการสมั ผสั ร่วมกบั การเคลือ่ นไหว เชน่ อายุ 4 เดอื นจะเร่มิ ใช้มอื ควา้ จบั ของเล่นได้ หรือ อายุ 8-10 เดือน เมือ่ จบั ก้อนไมไ้ ดอ้ าจน�ำมาเข้าปาก เคาะกัน เคาะกบั โต๊ะ หรอื น�ำมาโยนทง้ิ ได้ ซ่ึง ยงั เปน็ การเลน่ ที่ผา่ นทางระบบประสาทสมั ผัสทง้ั หา้ และทอ่ี ายุ 12 เดอื น จะเร่ิมเล่นของเล่นเหมาะสม ตรงกับวัตถปุ ระสงคข์ องของเล่นนั้นๆ เช่น ลูกบอลใช้กล้ิงหรอื โยน แก้วน้ำ� ใช้ส�ำหรับดืม่ เปน็ ตน้ แตถ่ า้ ลูกอายุ 12 เดือน แล้วยังเล่นของเล่นโดยน�ำมาเคาะ หรือเอาของเล่นเข้าปากอาจพบในเด็กที่มีปัญหา พฒั นาการ หรือสติปัญญาลา่ ช้าได้ อายุ 12-14 เดอื น จะเรม่ิ เล่นเลยี นแบบงา่ ยๆ ได้ เช่น ตอ่ กอ้ นไมต้ ามทพี่ ่อแม่ต่อใหด้ ู หลงั จากนน้ั อายุ 16-18 เดือน จะเรม่ิ เล่นสมมุตงิ า่ ยๆ โดยการเล่นของเลน่ ขนาดเลก็ ทีเ่ หมอื นของจรงิ เช่น น�ำขวดนม พลาสติก หรือช้อนป้อนใหต้ กุ๊ ตาได้ หรอื ยกโทรศพั ทข์ องเล่นท�ำท่าเหมอื นพูดคุยกับพอ่ แม่ได้ เปน็ ตน้ แต่ พออายุ 18-20 เดอื น การเล่นสมมตุ จิ ะมีความซบั ซ้อนเพิ่มขน้ึ อาจใช้สิง่ ของทว่ั ไปมาเล่นสมมุตแิ ทนของ เล่นขนาดเลก็ อนั เดมิ เชน่ น�ำกอ้ นไม้มาเลน่ สมมตุ เิ ป็นอาหารแลว้ จงึ ปอ้ นใหต้ ๊กุ ตา น�ำกลว้ ย หรอื ไมม้ าเลน่ สมมุติเป็นโทรศพั ท์ น�ำแทง่ ไมม้ าเลน่ สมมุติเปน็ เคร่ืองบินพรอ้ มกับท�ำทา่ ประกอบอยา่ งเหมาะสม เป็นตน้ วธิ สี งั เกตวา่ พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาลา่ ชา้ หรอื ผดิ ปกติ ในกรณที ลี่ กู สอื่ ภาษาและสอื่ สารไดช้ า้ ใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั ใหญเ่ ล็กไดต้ ่�ำ ชว่ ยเหลอื ตนเองไดน้ ้อย เล่นไมเ่ ปน็ หรอื อายุ 1-2 ปี แลว้ ยงั น�ำสงิ่ ทไ่ี มใ่ ช่ ของเล่น เช่น เชอื ก ไม้ ก้อนหิน เศษดนิ โซ่ สร้อยลกู ปดั หนังสอื หรือแผน่ ซดี ที น่ี ำ� มาถือไวเ้ ฉยๆ แต่ไม่ได้ อ่าน หรือดอู ยา่ งมีเป้าหมาย หรือนำ� สิ่งต่างๆ ท่ีระบุไวม้ าวางเรียง หรอื ซ้อนกัน หรอื เล่นของเล่นอย่างไม่ เหมาะสม เชน่ หงายทอ้ งรถยนต์ แล้วหมุนลอ้ รถซ�้ำๆ หรือหมกมุน่ กบั การเลน่ ตอ่ ก้อนไม้ จ๊กิ ซอว์ หรือเล โก้ ชอบดสู ่ืออเิ ล็กทรอนกิ สผ์ า่ นจอตามล�ำพงั มากจนเกนิ ไปจนไมส่ ามารถทำ� กจิ กรรมท่นี า่ สนใจอย่างอนื่ รว่ มกบั คนในครอบครัวได้ รวมทง้ั ชอบวง่ิ ไล่เด็กคนอนื่ ไปมา พอ่ แมค่ วรรีบพาลกู ไปพบกุมารแพทยเ์ พ่ือ หาสาเหตุ และวางแผนการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมต่อไป 13

พฒั นาการของเด็กอายุ 0-3 ปี ดา้ นภาษาและการพูดส่ือสาร ภาษาประกอบด้วยความเข้าใจภาษาและการแสดงออกทางภาษา เป็นวิธีการสื่อให้คนรอบตัว เข้าใจความต้องการของตนด้วยวิธีต่างๆ เช่น การพูดออกเสียง ภาษาท่าทาง และภาษากาย เป็นต้น พัฒนาการด้านภาษาและการพูดส่ือสารของลูกจะเกิดได้ดีจะต้องมีสิ่งต่อไปนี้ คือ ลูกจะต้องได้ยินเสียง ก่อนที่จะหัดพูดได้ เรียนรู้ค�ำศัพท์ต่างๆ มีความต้องการที่จะส่ือสารโต้ตอบกับพ่อแม่ และจ�ำเป็นต้องมี พ่อแม่ทชี่ อบพูดคุยกับลกู รวมทั้งมอี วยั วะทใ่ี ชใ้ นการเปลง่ เสยี งปกติ ทารกจนถึงอายุ 2 เดือนจะเรมิ่ เลน่ เสยี งในล�ำคอซงึ่ มักเป็นเสยี งร้องไห้ เรอ ไอ หรอื หาว หลงั จาก น้นั เมือ่ อายุ 2-3 เดอื นไปแล้วจงึ เร่ิมยิม้ ทกั พ่อแม่ ส่งเสียงออ้ แอ้ หรือ อ/ู อา ซ่ึงเป็นเสยี งสระ พยายามพูด ส่ือสารกับพ่อแม่ พอเม่ืออายุ 4 เดือนลูกจะเงียบฟังเมื่อพ่อแม่คุยด้วย และพร้อมทั้งจะส่งเสียงโต้ตอบ เมื่อพ่อแมห่ ยุดพูด หลังจากนัน้ เม่ืออายุ 5-6 เดอื น ลกู จะเริม่ เล่นเปา่ น�ำ้ ลาย เลน่ เสยี งบรเิ วณริมฝีปาก ซึ่ง ประกอบด้วยเสยี งพยัญชนะ และเสียงสระ เช่น “บา” “ดา” “กา” “มา” ดงั นน้ั หากพอ่ แมเ่ ล่นเสยี งกบั ลกู บ่อยๆ ลกู จะท�ำเสียงหลายพยางค์ เชน่ “ดาดาดา” “บาบาบา” เมือ่ อายุ 8 เดือน จนสามารถเรียกพ่อ แม่ได้เมอื่ อายุ 10-12 เดือน ลูกจะพูดคำ� ท่มี ีความหมายได้ 1 ค�ำ เมอ่ื อายุ 12-15 เดอื น ซงึ่ ลกู จะค่อยๆ เรยี นรคู้ �ำศัพทเ์ พมิ่ ข้ึนอย่างมาก จนมีคำ� ศพั ท์อยา่ งน้อยประมาณ 50 ค�ำ เม่ืออายุ 2 ปี และจะเรมิ่ นำ� ค�ำ ศัพท์ที่มีความหมายแตกตา่ งกนั มาตอ่ กนั ได้ เช่น ขอนม กนิ ข้าว ไปเที่ยว เป็นตน้ เด็กจะเข้าใจภาษาก่อนท่ีจะพูดได้เหมาะสม ต้ังแต่แรกเกิดจะเร่ิมตอบสนองต่อเสียงได้ และหัน เมื่อได้ยินเสียงของพ่อแม่เมื่ออายุ 4 เดือน หันตามเสียงเรียกชื่อเมื่ออายุ 6 เดือน จนท�ำตามค�ำสั่งที่มี ท่าทางประกอบได้เมื่ออายุ 12 เดือน เชน่ ลูกย่นื ของให้พอ่ แม่ เมอื่ พ่อแม่แบมือเพื่อขอของจากลกู อายุ 14

พัฒนาการของเด็กอายุ 0-3 ปี 18 เดอื น ลกู จะชรี้ ูปภาพตามคำ� บอก หรือชี้อวัยวะได้ 1-2 สว่ น จนชีร้ ูปภาพตามค�ำบอก และอวัยวะได้ หลายส่วนเม่ืออายุ 2 ปี ซงึ่ จะเห็นได้ว่าพัฒนาการด้านภาษาและการพดู สอื่ สารนน้ั จะต้องพัฒนาไปตาม ลำ� ดับข้ันตอนตามที่ระบไุ วข้ า้ งตน้ วธิ สี งั เกตวา่ พฒั นาการดา้ นภาษาลา่ ชา้ หรอื ผดิ ปกติ เชน่ ลกู ไมต่ อบสนองตอ่ เสยี งตงั้ แตแ่ รกเกดิ หรอื สงสัยวา่ ลกู จะไม่ไดย้ นิ ยังไมพ่ ูดเล่นเสยี งบริเวณริมฝปี าก ทอี่ ายุ 10 เดอื น ไมพ่ ูดค�ำท่มี ีความหมาย เลย ท่อี ายุ 15-18 เดอื น ยงั ไม่พดู 2 คำ� ต่อกัน ทอี่ ายุ 2 ปี หรอื มพี ฒั นาการดา้ นภาษาถดถอยไมว่ า่ อายุ ใดกต็ าม หรือพัฒนาการด้านภาษาไม่เป็นไปตามล�ำดับข้ันตอนที่ต่อเนื่องกันตามปกติ เช่น ลูกอายุ 2 ปี สามารถทอ่ งจำ� ก-ข-ค A-B-C นบั 1-20 หรอื พดู ชอื่ ยหี่ อ้ รถยนตต์ า่ งๆ ได้ แตห่ ลกี เลยี่ งการมองหนา้ สบตา ไม่บอกความตอ้ งการของตนเอง ไม่ทำ� ตามคำ� ส่ังงา่ ยๆ ไม่เรยี กพอ่ แม่ หรอื พดู คำ� ที่ไมม่ ีความหมายหรอื มี ความหมายอยู่บ้างแต่มีลักษณะจ�ำกัด ปราศจากความต้ังใจในการติดต่อส่ือสารกับคนอื่น อาจเป็นการ พูดตามสิ่งที่เคยได้ยินมา ซ่ึงผิดปกติส�ำหรับพัฒนาการด้านภาษาและสังคมในลูกอายุ 2 ปี เน่ืองจากมี ความเขา้ ใจภาษา และการแสดงออกทางภาษาโดยใช้ภาษาท่าทางจำ� กดั มลี ักษณะผดิ ปกติ ไม่เหมาะสม ตามวัย ซ่งึ ลกั ษณะของพัฒนาการท่เี บี่ยงเบนอย่างผดิ ปกติ โดยเฉพาะในด้านภาษาและสงั คมนีม้ กั พบได้ บอ่ ยในเดก็ โรคออทสิ ตกิ เปน็ ตน้ พอ่ แมค่ วรพาลกู ไปปรกึ ษากมุ ารแพทยเ์ พอ่ื ไดร้ บั การตรวจประเมนิ อยา่ ง ละเอียดตอ่ ไป 15

16

พฒั นาการของเดก็ อายุ 0-3 ปี ด้านอารมณ์ พน้ื ฐานทางอารมณ์ของทารกมีความแตกตา่ งระหวา่ งเด็กแต่ละคน เปน็ ผลมาจากพนั ธกุ รรมและ สภาพแวดล้อมขณะทอี่ ยู่ในครรภ์ ส่งผลท�ำให้ทารกแรกเกดิ แสดงพฤติกรรมทแี่ ตกตา่ งกนั ทง้ั ท่ีถกู เลย้ี งดู โดยผเู้ ลยี้ งคนเดยี วกนั หรอื ในบา้ นเดยี วกนั กต็ าม เมอื่ สงั เกตทารกในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การเคลอ่ื นไหว ความ สม่�ำเสมอของการท�ำงานในระบบต่างๆ ของรา่ งกาย การตอบสนองตอ่ สงิ่ กระตุน้ ความสามารถในการ ปรบั ตวั ความรนุ แรงของปฏกิ ริ ยิ าตอบสนอง สมาธิ ความวอกแวก ลกั ษณะของอารมณท์ แี่ สดงออก ฯลฯ จะสามารถแบ่งทารกออกเปน็ 4 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ กล่มุ เด็กเล้ยี งง่าย พบไดม้ ากที่สุดประมาณร้อยละ 40 ของเด็กท้งั หมด เด็กกลุม่ น้จี ะมีลักษณะ การท�ำงานของร่างกายสมำ�่ เสมอ เป็นเดก็ อารมณด์ ี กนิ งา่ ย หลบั งา่ ย ขบั ถา่ ยเป็นเวลา ปรับตวั งา่ ย เด็ก กลุ่มนี้จงึ เล้ียงดูงา่ ย ทำ� ให้พ่อแมไ่ มเ่ ครียด มคี วามสบายใจ และมั่นใจในการดแู ล เพราะรู้สกึ วา่ การเล้ียง ลกู น่ีไม่ยาก กลุ่มเด็กเล้ียงยาก พบได้รอ้ ยละ 10 ของเดก็ ทง้ั หมด เด็กกลุ่มนีจ้ ะมีลักษณะตรงกนั ขา้ มกบั เดก็ ในกล่มุ แรก คือ มีระบบการท�ำงานของรา่ งกายไม่สมำ�่ เสมอ มกั ตอบสนองตอ่ สิ่งตา่ งๆ ทีเ่ ข้ามากระตุ้น ด้วยวธิ กี ารถอยหนี และมีปฏิกิริยารุนแรง ปรบั ตวั ยาก อารมณเ์ สีย หงุดหงิดงา่ ย โวยวายเก่ง สง่ ผลท�ำให้ พอ่ แมเ่ กดิ ความวติ กกงั วล ไมม่ ่นั ใจว่าควรตอบสนองต่อความตอ้ งการของเดก็ อย่างไร เนื่องจากคาดเดา อะไรเกย่ี วกบั ลกู คนนไ้ี ดย้ าก ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งการกนิ การนอน หรอื การขบั ถา่ ยทไี่ มเ่ ปน็ เวลา หากพอ่ แม่ มคี วามอดทนสูง ใจเยน็ ยอมรบั ลักษณะพ้ืนฐานทางอารมณ์ของเดก็ และมผี ู้ใหค้ วามช่วยเหลอื และคอย ใหก้ ำ� ลงั ใจ กจ็ ะทำ� ใหไ้ มเ่ กดิ ปญั หาในการเลย้ี งดเู ดก็ แตถ่ า้ พอ่ แมใ่ จรอ้ น ไมม่ กี ำ� ลงั ใจ หมดความอดทนใน การดูแลและปล่อยให้เป็นหนา้ ท่ีของผู้อืน่ ในการเลย้ี งลูกแทน ก็จะย่ิงท�ำให้พ่อแม่ไม่เขา้ ใจลูก และกอ่ ให้ เกิดปัญหาสมั พนั ธภาพระหวา่ งพอ่ แมก่ ับลูกตอ่ ไปได้ กล่มุ ที่ปรบั ตัวช้า พบได้ร้อยละ 15 ของเด็กท้งั หมด เด็กกล่มุ นเ้ี ปน็ คนเฉย เครยี ดงา่ ย ปรับตวั ช้า และถอยหนีเมื่อเผชิญต่อสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคย แต่ปฏิกิริยาตอบสนองจะน้อยกว่ากลุ่มเด็กเล้ียงยาก หลายคนเรียกเดก็ กล่มุ น้วี ่าเดก็ ขอี้ าย ถ้าพ่อแม่เข้าใจลักษณะพื้นฐานทางอารมณข์ องลกู ให้เวลาในการ ปรับตัว ร่วมกบั การใหโ้ อกาสในการฝกึ ทกั ษะตา่ งๆ เพ่ิมขน้ึ จะช่วยท�ำใหเ้ ดก็ สามารถพัฒนาต่อไปไดด้ ี กลมุ่ ทอี่ ยใู่ นระดบั เฉลย่ี ปานกลาง หรอื มผี สมหลายๆ แบบ พบไดร้ อ้ ยละ 35 ของเดก็ ทงั้ หมด เดก็ กลมุ่ น้ีจะมอี าการผสมหลายๆ แบบ แต่อาการไมม่ ากในแต่ละอย่าง เดก็ แตล่ ะคนมลี กั ษณะเฉพาะและความตอ้ งการแตกตา่ งกนั ไป เดก็ จะสามารถปรบั ตวั ไดด้ เี พยี งใด ขนึ้ อยกู่ บั การตอบสนองของพอ่ แมท่ ส่ี อดคลอ้ งกบั พนื้ ฐานทางอารมณข์ องเดก็ พอ่ แมค่ วรเขา้ ใจธรรมชาติ ของลูก และใหก้ ารตอบสนองอย่างมีคุณภาพเหมาะสม การปรับตัวเข้าหากนั ของทั้งสองฝ่ายนี้ จะชว่ ย 17

พฒั นาการของเด็กอายุ 0-3 ปี ท�ำให้การเล้ียงดูมีความราบร่ืนขึ้น ตัวอย่างเช่น การเล้ียงดูเด็กกลุ่มเลี้ยงยาก หากพ่อแม่มีความอดทน และเลย้ี งดลู กู แบบมนั่ คง สมำ่� เสมอ ลกู กจ็ ะปรบั ตวั ไดด้ ขี นึ้ ไมม่ ปี ญั หา พอ่ แมก่ จ็ ะเลยี้ งดลู กู ดว้ ยความเขา้ ใจ ไม่โทษตนเองวา่ เป็นพ่อแม่ทีไ่ ม่ดี หรอื โทษเดก็ เปน็ ต้น ดงั นน้ั ความเหมาะสมระหวา่ งบคุ ลิกภาพของพ่อ แมก่ ับเดก็ (goodness of fit) มคี วามสำ� คัญและส่งผลตอ่ ลักษณะการเล้ียงดู และการปรบั ตวั ของเด็กว่า จะเตบิ โตขึ้นมาอย่างไรต่อไป ทารก 0-1 ปีจะเร่ิมสร้างความไว้วางใจพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูได้แล้ว ซ่ึงเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการ พฒั นาใหท้ ารกเกดิ ความเชอ่ื ม่ัน และรจู้ กั ควบคมุ ตนเองในช่วงขวบปที ่ี 2 ตอ่ ไป ความใกล้ชิดผูกพันท่ีมั่นคงของพ่อแม่ลูกเป็นส่ิงส�ำคัญในช่วงวัยนี้ โดยการตอบสนองต่อความ ต้องการของลกู อย่างสม�่ำเสมอและเหมาะสมเพอ่ื เสรมิ สร้างความร้สู ึกไว้วางใจโดยเฉพาะในชว่ ง 6 เดือน แรก การสมั ผสั ลกู บอ่ ยๆ ดว้ ยความรกั อาจเปน็ การอมุ้ หรอื นวดตวั เบาๆ เปน็ การชว่ ยใหท้ ารกรสู้ กึ ปลอดภยั นอนหลับดี และน้ำ� หนกั ขึน้ ดดี ้วย ความคดิ ทวี่ า่ การอมุ้ ทำ� ใหเ้ ดก็ ตดิ มอื นนั้ เปน็ ความเขา้ ใจทผ่ี ดิ พอ่ แมค่ วรเลน่ กบั ลกู เพอื่ สง่ เสรมิ ความ ผกู พัน เช่น รอ้ งเพลงหรอื เลน่ จ๊ะเอ๋ เปน็ ต้น และไมค่ วรเปล่ยี นผู้เล้ียงดบู ่อยๆ เพราะอาจกระทบต่อการ สรา้ งความผกู พันได้ 18

พัฒนาการของเด็กอายุ 0-3 ปี อายุ 6 เดอื นขน้ึ ไปจะเร่มิ มกี ารแสดงอารมณ์โกรธเมอ่ื ไมพ่ อใจหรอื ถกู ขัดใจ พอ่ แมไ่ มจ่ ำ� เปน็ ต้อง ตามใจหรือพยายามปกป้องลูกโดยการช่วยเหลือหรือป้องกันลูกจากความรู้สึกโกรธ หงุดหงิด แต่ควร เปดิ โอกาสให้ลกู เรยี นรู้ประสบการณน์ ี้ในสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม เช่น เม่อื ลูกหิวแล้วโกรธ ร้องไห้ พ่อแม่ สามารถฝกึ ใหล้ กู รอคอยในระยะเวลาสน้ั ๆ กอ่ นใหน้ ม หรอื อาหาร เพอื่ ฝกึ ใหล้ กู หดั รอคอย ควบคมุ อารมณ์ ตวั เอง และหาทางออกอน่ื ๆ เพอื่ ชว่ ยใหต้ วั เองสงบ เชน่ เดก็ บางคนอาจหนั ไปสนใจเลน่ ของเลน่ อนื่ ๆ หรอื ดดู นวิ้ เพอื่ ชว่ ยผอ่ นคลายตนเอง เปน็ ตน้ นอกจากอารมณโ์ กรธ ทารกวยั นเี้ รม่ิ พฒั นาอารมณก์ ลวั หรอื วติ ก กังวล เชน่ กลวั เสียงดัง กลวั คนแปลกหน้า กลัวการพลัดพรากแยกจาก ซ่ึงถอื ว่าเป็นพฒั นาการปกตติ าม วยั พ่อแมไ่ ม่ควรขู่ลกู ดว้ ยเสียงดงั หรอื แกลง้ หนีจากไป หรอื เร่งลูกใหเ้ ผชิญกบั ความกลัว เช่น การให้คน แปลกหนา้ อุ้มในทนั ที แตค่ วรให้ความมั่นใจแกล่ กู ว่าปลอดภยั ชมเชยใหก้ �ำลังใจ และฝกึ ลกู ทลี ะนอ้ ยให้ สามารถเผชญิ และเอาชนะความกลัวได้ในท่ีสุด ส่ิงส�ำคัญคือ พ่อแม่ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกในการควบคุมอารมณ์อย่างเหมาะสม สร้าง บรรยากาศในบา้ นใหอ้ บอ่นุ แวดล้อมดว้ ยความรักและความสุข วัย 1-3 ปี เป็นวยั ทเี่ ด็กเร่ิมเดินได้ พูดได้บ้าง อยากร้อู ยากเหน็ อยากส�ำรวจสิ่งต่าง ๆ มากข้นึ เด็ก ถกู เรยี กรอ้ งใหค้ วบคมุ ตวั เองมากขนึ้ เชน่ การควบคมุ การขบั ถา่ ย เดก็ อาจมพี ฤตกิ รรมตอ่ ตา้ นมากขนึ้ เพอื่ พัฒนาความเปน็ ตัวของตัวเอง (autonomy) วัยนี้จะสับสนระหว่างความต้องการเป็นอิสระกับการท่ีต้องพึ่งพาผู้ใหญ่ พ่อแม่ควรเข้าใจและ ยอมรับ ปฏิบัติต่อลูกอย่างสม�่ำเสมอด้วยความสงบและให้ความรักโดยไม่มีเงื่อนไข พ่อแม่ยังคงต้องให้ เวลาส่วนตัวหนง่ึ ต่อหน่งึ กับลกู ทกุ วัน วธิ ีสังเกตวา่ พฒั นาการดา้ นอารมณเ์ บ่ยี งเบน ล่าช้าหรือผิดปกติ เชน่ เด็กไมแ่ สดงอารมณห์ รอื แสดงอารมณ์รนุ แรงกว่าปกติ เชน่ ร้องไห้อาละวาดรนุ แรง ไม่ผกู พัน ไม่ตดิ แม่ หรอื กลวั สิง่ ต่างๆรุนแรง กวา่ เดก็ อ่นื เชน่ กลวั เสยี งดัง กลัวความมืด กลัวการพลัดพรากแยก จาก เป็นต้น พ่อแม่ควรเข้าใจและตอบสนองด้วยความสงบ เห็นใจ และให้ก�ำลังใจลูกในการท่ีจะเอาชนะความกลัวสิ่งต่างๆ อย่างค่อย เปน็ ค่อยไป ถ้าไม่ดขี นึ้ พ่อแมค่ วรพาลกู ไปปรกึ ษากุมารแพทยเ์ พอ่ื ได้ รบั การตรวจประเมินอยา่ งละเอียดต่อไป 19

พัฒนาการของเด็กอายุ 0-3 ปี ด้านสงั คม เมอ่ื ลกู อายุ 3 เดอื นขน้ึ ไป พยายามเลยี้ งดโู ดยจดั กจิ วตั รประจำ� วนั ใหส้ มำ่� เสมอ เชน่ เวลากนิ เวลา นอน รวมถึงกิจกรรมต่างๆ ก่อนนอน เพื่อช่วยให้ลูกเกิดความรู้สึกปลอดภัย คาดเดากิจวัตรประจ�ำวัน และสามารถควบคุมตัวเองได้ดีขน้ึ แมว้ า่ ลกู อายุ 0-1 ปจี ะเลน่ แบบตา่ งคนตา่ งเลน่ กต็ าม แตก่ ส็ ามารถเลยี นแบบพข่ี องตวั เองงา่ ยๆ จงึ ควรสง่ เสรมิ ใหล้ กู มโี อกาสไดพ้ บหรอื เลน่ กบั เดก็ อนื่ เพอ่ื ใหล้ กู ไดส้ งั เกตและเลยี นแบบการเลน่ ของเดก็ อน่ื แตก่ ไ็ ม่ควรกังวลมากถา้ ลกู ยังไมส่ ามารถทำ� ตามเด็กวัยเดยี วกนั ได้ เด็กวัย 1-3 ปีนจี้ ะเล่นแบบต่างคนต่างเล่น พอ่ แม่จึงไม่ควรคาดหวงั วา่ เด็กจะเลน่ ด้วยกนั อย่างดี หรือจะตอ้ งแบง่ ปนั ของเล่นกนั ควรค่อยๆ สอนใหล้ ูกร้วู ธิ ีทจี่ ะเล่นหรือมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ ับผู้อน่ื อย่างเหมาะ สม เชน่ การผลดั กนั เล่นในเกมง่ายๆ สอนการแบง่ ปันทลี ะน้อยโดยทล่ี กู และเพอื่ นควรมีของเล่นของตัว เองอย่างพอเพียง และอาจมีการแบ่งกันใช้ของเล่นบางส่วน เด็กวัยนี้ชอบท�ำอะไรซ�้ำๆ ไม่ชอบเปลี่ยน แปลงกจิ วตั รประจำ� วนั จงึ ควรชว่ ยเด็กให้รสู้ กึ มนั่ คงขึ้นโดยการจดั ตารางกจิ วัตรให้สมำ�่ เสมอ ดา้ นบุคลิกภาพและคณุ ธรรม ทารก 0-1 ปี แมว้ า่ จะยังไมเ่ ขา้ ใจภาษาแต่ทารกยงั ตอ้ งการการย้มิ และชมเชยจากพอ่ แม่ แมว้ า่ จะเป็นการท�ำอะไรส�ำเร็จเพียงเล็กน้อย เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง พ่อแม่ควรเปิดโอกาส ให้เดก็ เรียนรู้ท่จี ะอยู่คนเดยี วตามลำ� พังบ้าง และพอโตขึ้นควรสอนให้เดก็ รับผิดชอบ เช่น ท่ี 4 เดอื นให้ หดั ถอื ขวดนมเอง ทอ่ี ายุ 1 ปีใหห้ ัดเกบ็ ของเล่น เปน็ ตน้ พ่อแมค่ วรแสดงใหล้ กู เหน็ ว่าการกระทำ� ของเขาสามารถส่งผลใหผ้ ู้อื่นร้สู ึกดี มีความสุข หรอื เศรา้ เสยี ใจได้ เชน่ พดู กบั ลกู วา่ “ตไี มไ่ ด้ แมเ่ จบ็ นะ” พรอ้ มกบั การแสดงสหี นา้ ประกอบดว้ ย เปน็ ตน้ การสอน ใหล้ กู เข้าใจความรูส้ กึ ผอู้ ่นื เปน็ พ้ืนฐานของการพัฒนาดา้ นคณุ ธรรมตอ่ ไป เรม่ิ ฝกึ วินยั งา่ ยๆ โดยการสอนให้ลูกรู้ว่าอะไรท�ำได้ หรอื ทำ� ไม่ได้ เช่น พูดวา่ “ไม”่ พรอ้ มทัง้ แสดง สีหนา้ ท่าทางประกอบ แต่ไม่ควรหา้ ม หรอื พดู วา่ “ไม”่ พร่ำ� เพร่ือเกินไป สอนมารยาททางสงั คมโดยการเป็นตัวอย่างทดี่ ใี นชีวติ ประจ�ำวนั เชน่ การพดู “ขอบคณุ ” “ชว่ ย หน่อยสิจะ๊ ” ไม่ใช่ออกคำ� สง่ั แตอ่ ยา่ งเดยี ว ลูกวัย 1-3 ปี ควรให้ส�ำรวจหรือท�ำอะไรด้วยตัวเองตามท่ีต้องการ โดยจัดมุมปลอดภัยให้ เปิด โอกาสใหล้ กู ไดต้ ดั สนิ ใจบางสงิ่ บางอยา่ งดว้ ยตวั เองบา้ ง ถา้ ลกู ทำ� งานหรอื เลน่ อะไรทอ่ี าจจะยากเกนิ ความ สามารถทจ่ี ะทำ� โดยลำ� พงั พอ่ แมอ่ าจใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในบางขน้ั ตอน และปลอ่ ยใหเ้ ดก็ ทำ� ตอ่ เองจนสำ� เรจ็ วิธีการเหลา่ นเี้ ปน็ การช่วยพฒั นาความเป็นตัวตนและเสริมสร้างความมนั่ ใจของลูก 20

พฒั นาการของเดก็ อายุ 0-3 ปี หดั ใหร้ บั ผดิ ชอบผลของการกระทำ� ของตวั เอง โดยพจิ ารณาจากความสามารถตามวยั ดว้ ย เชน่ ถา้ ลกู ท�ำน�้ำหกใสพ่ ืน้ อาจใหล้ กู ชว่ ยหยบิ ผ้ามาใหแ้ ม่เช็ดพนื้ หรือช่วยแมเ่ ช็ดด้วยบางส่วน เปน็ ต้น นอกจาก นี้ควรฝึกให้ลูกชว่ ยงานบ้านง่ายๆ ตามความสามารถ เช่น เอาเส้ือผา้ ใสต่ ะกร้าผ้า เปน็ ตน้ โดยท�ำให้ลกู ดู เปน็ ตัวอย่างกอ่ น หรือชว่ ยกนั ท�ำในระยะแรก และปลอ่ ยให้ลกู ทำ� เองในที่สดุ ให้กำ� ลังใจและชมเชยเมื่อ ลูกท�ำได้ส�ำเร็จ ระมัดระวังค�ำพูดต�ำหนิลูกอย่างไม่เหมาะสม เพราะลูกอาจฝังใจและรู้สึกไม่ดี เช่น ไม่ ควรตำ� หนิวา่ “งก” หรอื “เหน็ แก่ตวั ” ถ้าเด็กไมแ่ บ่งของเลน่ ใหเ้ พอื่ น หรือ “โง่” เวลาเด็กทำ� อะไรไมไ่ ด้ เปน็ ต้น การสอนใหล้ ูกเขา้ ใจความรู้สกึ ของผ้อู ่ืนเปน็ สงิ่ ส�ำคัญมากในการพฒั นาดา้ นคณุ ธรรม โดยสอนให้ ลูกรูจ้ กั ความร้สู กึ ชนิดต่างๆ เชน่ เศร้า ดีใจ โกรธ เสียใจ เป็นต้น ตวั อย่างเช่น หากลูกก�ำลงั หงุดหงดิ โกรธ อยู่ พอ่ แมอ่ าจพูดว่า “หนูก�ำลังโกรธ” หรือพอ่ แม่อาจเปน็ ตวั อย่างเอง เช่น ขณะทแี่ มร่ สู้ ึกโกรธ แม่พดู ให้ลกู รูว้ า่ “แม่กำ� ลงั ร้สู กึ โกรธอยู”่ เมือ่ จะสอนใหล้ กู ท�ำในสง่ิ ทถี่ ูกต้องกค็ วรจะบอกเหตผุ ลงา่ ยๆสัน้ ๆไป พรอ้ มกนั และพอ่ แม่ต้องจัดการกบั พฤตกิ รรมท่ไี มเ่ หมาะสมของลูก โดยเนน้ ใหล้ ูกเขา้ ใจถงึ ความร้สู ึกของ คนทไ่ี ด้รับผล กระทบจากการกระทำ� ของเขา เช่น “พ่เี ขาคงเจบ็ ที่ถกู หนหู ยิก น่าสงสารพ่เี ขานะ” การฝึกวนิ ัยในเดก็ วยั 0-3 ปีนี้ โดยการกำ� หนดกฎเกณฑ์ใหล้ กู รู้วา่ อะไรท่ีลูกท�ำได้หรอื ทำ� ไม่ได้ กฎ เกณฑ์ต่างๆ เหล่านี้ควรเหมาะสมกับวัย อธิบายให้ลูกเข้าใจอย่างชัดเจน และใช้ปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ ควรชมเชยหรือให้รางวัลเพอ่ื ช่วยให้ลกู ท�ำตามกฎเกณฑ์มากกวา่ การใชก้ ารลงโทษ ฝึกมารยาทจากสถานการณ์จริงทั้งที่บ้านและนอกบ้าน ควรอธิบายก่อนว่าพ่อแม่ต้องการให้ลูก ปฏิบตั อิ ย่างไร โดยบอกส้ันๆ ง่ายๆ ทีละ 1-2 อย่างกอ่ น เชน่ สอนใหล้ กู สวสั ดี หรอื ขอบคุณ ฯลฯ อาจใช้ การเลน่ สมมุติในการช่วยสอนเรื่องมารยาทดว้ ย 21

อาหารและการสง่ เสรมิ พฤติกรรมการกิน บทที่ 3 อาหารและการส่งเสรมิ พฤตกิ รรม การกินทีเ่ หมาะสม อายุ 6 เดือนแรก: อาหารทเ่ี หมาะสมและดที ีส่ ุด คอื นมแม่ น�้ำนมแม่ เป็นอาหารตามธรรมชาติ ท่ีมีสารภูมิคุ้มกันและสารอาหารครบถ้วน ปกป้องเด็กจาก โรคติดเชอ้ื โรคภมู แิ พ้ และพบวา่ เด็กทีก่ นิ นมแมอ่ ยา่ งเดยี วใน 6 เดอื นแรกจะมรี ะดับสตปิ ญั ญาดีกวา่ เดก็ ที่กนิ นมววั ดังน้นั นมแมค่ วรเป็นอาหารมอ้ื แรกของลกู กินนมแม่อยา่ งเดียวในชว่ งอายุ 6 เดอื นแรก และ เรม่ิ อาหารตามวยั ทอี่ ายุ 6 เดือน รว่ มกับการกินนมแม่ควบค่ไู ปด้วยจนลูกอายุ 1-2 ปี นมผงดัดแปลงส�ำหรบั ทารก: เมือ่ แม่ไมส่ ามารถเล้ยี งลกู ด้วยนมแม่ แม้ว่าปัจจุบันจะมีการปรับปรุงคุณภาพของนมผงดัดแปลงฯ ให้มีความใกล้เคียงนมแม่ แต่ก็ยัง เทยี บกับคณุ ประโยชนข์ องนมแมไ่ มไ่ ด้ อยา่ งไรกต็ ามถ้าไมส่ ามารถใหน้ มแม่ไดจ้ รงิ ๆ ก็สามารถน�ำนมผง ดดั แปลงฯมาเลยี้ งลกู ได้ โดยตอ้ งพจิ ารณาเลอื กชนดิ นมผงใหต้ รงกบั วยั เดก็ และชงใหถ้ กู สดั สว่ นซง่ึ มรี ะบุ ทขี่ า้ งบรรจุภณั ฑ์ และไมจ่ ำ� เปน็ ทเี่ ดก็ ต้องกนิ นมผงยี่ห้อเดียวตลอดไป คณุ แม่สามารถเปลีย่ นชนดิ นมผง เปน็ ยี่ห้ออนื่ ได้ทนั ทตี ามความเหมาะสม การใหน้ มแม่ หลงั คลอดเปน็ เวลาสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะฝกึ หดั ใหล้ กู กนิ นมแม่ ใหใ้ ชห้ วั นมแมก่ ระตนุ้ บรเิ วณรมิ ฝปี าก บนของลูก เม่ือลูกอ้าปากกว้างให้ดันตัวลูกเข้าหาเต้านม โดยให้อมหัวนมให้ลึกจนถึงลานหัวนม ล้ินลูก จะวางอยู่ใต้ลานนม ริมฝีปากคล่ีบานรอบเต้านม ขณะท่ีลูกดูดนมแม่จะมองเห็นการเคลื่อนไหวของขา กรรไกรลูกบริเวณกกหู แก้มลูกจะโปง่ พอง และมีระยะหยุดเพ่อื กลนื นำ�้ นม ปริมาณน้�ำนมแม่ นอกจากข้นึ กบั สขุ ภาพกายและใจของแม่แล้ว ยังสมั พนั ธก์ ับการดดู นมของลูก ด้วย ดังนนั้ การช่วยใหน้ �้ำนมแมม่ ามากพอ คอื การให้ลูกมีโอกาสดดู นมแมท่ นั ทหี ลังคลอด การทล่ี กู ได้ ดูดบ่อย และลกู ได้ดดู นมแม่นานพอในแต่ละมื้อ ท่าทางทด่ี ใี นการใหน้ มแม่ คือ ล�ำตวั แม่งอเลก็ นอ้ ย ถา้ แมต่ ้องกม้ มากหรือโน้มตวั มากระหว่างให้ นม ควรหาหมอนชว่ ยรองปรบั ระดบั ลำ� ตวั ลกู ศรี ษะของลกู ควรอยใู่ นแนวเดยี วกบั ลำ� ตวั ลำ� ตวั ของลกู หนั เข้าหาเต้านม ไม่ควรให้ลูกนอนหงายแลว้ หันมาดดู นม การจดั ทา่ ดดู นมให้ถูกตอ้ งจะช่วยใหก้ ารให้นมลูก 22

อาหารและการส่งเสริมพฤติกรรมการกิน เปน็ ไปดว้ ยความสบายตวั ทงั้ แมแ่ ละลกู แมไ่ มค่ วรรสู้ กึ เจบ็ ทห่ี วั นมขณะทใ่ี หน้ มลกู ถา้ แมร่ สู้ กึ เจบ็ ใหถ้ อน นมแม่ออกจากปากลูกก่อน และลองเร่มิ ใหม่ และถา้ ลูกดูดนมสกั พักแลว้ ไม่ยอมดูด การใช้วิธบี บี น�ำ้ นม เข้าปากลกู จะชว่ ยกระตุ้นให้ลูกดูดตอ่ ได้ เริ่มดูดนม แมอยา งถูกตอ ง ภาพท�ี 2 ภาพที� 1 นว�ิ วางขอบบนลานนม หัวนมและจมูกลกู อยใู่ นแนวเดยี วกนั คางชดิ เต้านม ประคองเต้านมให้สมั ผสั ปาก ลกู จะอ้าปาก กะใหร้ มิ ฝีปากล่างแตะลานนม ให้จดุ แตะ หา่ งจากหัวนมประมาณอย่างน้อย 1 นวิ� หรอื เทา่ ทีม� ากได้ คลนิ กิ นมแม สถาบันสขุ ภาพเด็กแหงชาติมหาราชนิ ี คลินกิ นมแม สถาบนั สุขภาพเด็กแหงชาตมิ หาราชินี ภาพที� 3 ภาพท�ี 4 บบี เตา้ นมตามภาพ ดันปากลูกเข้าหาเต้านม หัวนมจะไล้ ประคองเต้านมสกั พัก จนลกู เริม� ดดู นมเป็นจังหวะ ไปตามเพดานปากลกู คลินกิ นมแม สถาบันสขุ ภาพเด็กแหง ชาตมิ หาราชินี คลินกิ นมแม สถาบันสุขภาพเดก็ แหงชาตมิ หาราชินี เม่อื จ�ำเปน็ ตอ้ งใชน้ มผงดดั แปลงสำ� หรบั ทารก การชงนม: ควรชงนมเมือ่ ลกู หิว และกอ่ นน�ำนมไปให้ลูกกิน ควรหยดนมลงบนหลงั มอื ของตัวเอง เพ่ือเชค็ อณุ หภูมขิ องนมว่าพอเหมาะสำ� หรับลกู หรือยงั ขณะใหน้ มควรยกขวดนมใหเ้ อียงสงู พอทีจ่ ะใหม้ ี น้ำ� นมเตม็ หัวจกุ นม เพอ่ื มิให้ลูกดูดลมจากขวดเขา้ ไปในกระเพาะอาหาร การทำ� ความสะอาดขวดนม: ควรลา้ งขวดนมดว้ ยนำ�้ ยาลา้ งขวดนมกอ่ น แลว้ นำ� ทงั้ ขวดนมและจกุ นมมาตม้ ในนำ้� ทเี่ ดอื ดแลว้ นาน 10 นาที การใช้วธิ ลี วกนำ้� ร้อนไมเ่ พียงพอในการทำ� ความสะอาด เพราะ ไม่รอ้ นพอและนานพอที่ก�ำจดั เช้อื โรคทป่ี นเป้ือนบริเวณขวดนมและฝาจุก 23

อาหารและการส่งเสริมพฤตกิ รรมการกนิ ระยะเวลาการใหน้ มลูกและการจบั เรอ ใน 3 เดือนแรก การตื่นกินนมของลูกในช่วงกลางวันกับกลางคืนแทบจะไม่แตกต่างกัน จึงควร ระวังไมป่ ้อนนมถ่เี กินไป ควรมชี ว่ งหา่ งระหว่างม้ือนมประมาณ 2½ -3 ช่วั โมง เน่อื งจากธรรมชาติของ วยั น้นี อกจากใช้การดดู เพ่อื การกินนมแล้ว ยังใชก้ ารดดู เพอื่ การผอ่ นคลายตนเองอกี ดว้ ย ดงั นัน้ แมว้ า่ ลกู จะอมิ่ แลว้ แต่เมื่อแม่เอานมเขา้ ปาก ลูกกจ็ ะดดู นมได้อกี จนอาเจยี นหรือส�ำรอกออกมา เม่อื ดูดนมอิม่ แลว้ ควรอุ้มลูกไล่ลมทุกครัง้ โดยใหศ้ รี ษะสงู กว่ากระเพาะ อาจใชเ้ วลานานถึง 10-15 นาทใี นแตล่ ะครง้ั กอ่ นทจี่ ะปลอ่ ยลกู นอนตอ่ ภายใน 1 ชวั่ โมงหลงั ดดู นมเสรจ็ ไมค่ วรใหล้ กู นอนควำ�่ เพราะ กระเพาะอาหารที่มีนมเตม็ อยู่นั้นอาจจะรบกวนการหายใจของลูกได้ ถา้ ลกู สามารถหลบั ยาวหลงั มอ้ื นมในชว่ งกลางคนื กไ็ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งปลกุ ลกู ขนึ้ มากนิ นม เมอ่ื ลกู หลบั เต็มทแ่ี ละหลบั ยาว ร่างกายของลูกจะหล่งั ฮอรโ์ มนสำ� หรับการเจรญิ เตบิ โต ทำ� ให้เจรญิ เตบิ โตดี การเตรยี มตวั เลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่ ในกรณีทแ่ี ม่ตอ้ งไปทำ� งาน 1. เรมิ่ เก็บตุนน�ำ้ นมแม่ โดยบีบใส่ภาชนะท่สี ะอาด เช่นแกว้ มฝี าปิด ขวด หรอื ใสถ่ งุ เก็บน�้ำนมแม่ เก็บไวใ้ นชอ่ งแชแ่ ข็ง 2. นำ�้ นมแมท่ เี่ กบ็ ตนุ เกบ็ แชแ่ ขง็ ตเู้ ยน็ ประตแู ยก จะเกบ็ ไดน้ าน 3 เดอื น ถา้ เปน็ ชอ่ งแชแ่ ขง็ ประตู เดยี ว เกบ็ ไดน้ าน 2 สปั ดาห์ และถ้าเป็นตู้เย็นช่องธรรมดา เก็บได้นาน 3 วัน อณุ หภูมหิ อ้ ง ( <25 C) ~ 4 ช�วั โมง ตู้แช่แขง็ ( -70 °C) สาํ หรับ 6 เดอื น ทารกปกติ ตู้แช่แขง็ ประตแู ยก 3 เดือน ตธู้ รรมดา ( 4 °C) 3-5 วัน ขอขอบคณุ คุณ Amy Spangler ที�อนญุ าตให้ใชภ้ าพในหนงั สอื Amy Spangler’s breastfeeding a parent’s guide , 1995 24

อาหารและการสง่ เสริมพฤตกิ รรมการกนิ 3. เมื่อจะนำ� มาใช้ ใหว้ างในต้เู ยน็ ชอ่ งธรรมดากอ่ นเพอื่ ใหน้ มท่แี ช่แขง็ แลว้ คอ่ ยๆ ละลาย ไมค่ วร นำ� ไปแชแ่ ขง็ ซำ้� อกี จากนน้ั จงึ นำ� นมแมใ่ สข่ วดหรอื แกว้ แลว้ นำ� ไปอนุ่ ดว้ ยนำ้� รอ้ นพอประมาณ หา้ มนำ� นม มาอุน่ รอ้ นในไมโครเวฟเพราะภูมติ า้ นทานในน้�ำนมแมจ่ ะสญู เสียไป นมแมท่ กี่ ินไมห่ มด ควรท้ิงไป 4. เรมิ่ ใหน้ ำ�้ นมแมท่ เี่ กบ็ ตนุ มาปอ้ นลกู กอ่ นไปทำ� งาน 2 สปั ดาหเ์ พอ่ื ใหล้ กู คอ่ ยๆคนุ้ เคยกบั ขวดนม 5. การป้อนนมแม่ทเี่ ก็บไว้ ควรใชช้ ้อนป้อน หรอื ใชแ้ ก้วใสน่ มขนาดเล็ก หรอื ใส่ขวดนม 6. การให้เดก็ กินนมแม่จากขวดนมน้นั ควรเรม่ิ เมือ่ เด็กอายุ 6 สปั ดาหห์ รอื 2 เดือน ภายหลังท่ี น้�ำนมแม่มีปริมาณมากพอ และลูกดูดนมจากเต้าได้แล้ว เพ่ือช่วยป้องกันปัญหาที่เด็กอาจสับสนวิธีการ ดูดนมจากเตา้ แม่และจากขวดนม วิธกี ารบีบเกบ็ น�้ำนม เกบ็ น้�ำนมแม่ในต้เู ยน็ 25

อาหารและการสง่ เสริมพฤตกิ รรมการกิน ปอ้ นน�ำ้ นมแมด่ ว้ ยแก้ว อายุ 6 เดือน-3 ป:ี เรม่ิ อาหารตามวยั และขอ้ ควรค�ำนึง อาหารตามวัย คือ อาหารที่ให้เด็กเพ่ิมเป็นม้ือ ควบคู่กับนมแม่หรือนมผงดัดแปลงส�ำหรับทารก ทั้งนี้ เพื่อให้เด็กได้สารอาหารครบถ้วน เนื่องจากสารอาหารในนมแม่เร่ิมมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ของลูก ตารางแสดง สัดสว่ นและปรมิ าณอาหารต่อม้อื ตามวัยเด็ก 6 เดือน – 2 ปี อายุ จ�ำนวนม้อื /วัน สัดสว่ นและปริมาณอาหาร/ม้ือ ผลไม้ 6 เดือน 1 ข้าวบด 3-4 ช้อนโต๊ะ + ไขแ่ ดงสกุ ½ ฟอง หรือ เน้ือ ผลไม้บด เชน่ กล้วย มะละกอ 7 เดอื น สตั วห์ รือตบั บด 1 ช้อนโตะ๊ + ผักบด ½ ช้อนโตะ๊ + 1-2 ช้ิน 8-9 เดอื น น้ำ� มัน ½ ชอ้ นชา 12 เดือน 1 ขา้ วบด 3-4 ชอ้ นโตะ๊ + ไข่สกุ ½ ฟอง หรือ เนื้อสตั ว์ ผลไม้สกุ นิ่ม 1-2 ชนิ้ หรือตบั บด 1 ชอ้ นโตะ๊ + ผกั สุกบด 1 ชอ้ นโตะ๊ + น้�ำมนั ½ ชอ้ นชา 2 ขา้ วบดหยาบ 4 ชอ้ นโต๊ะ + ไข่สุก ½ ฟอง หรือ เนื้อ ผลไม้สุกนิม่ 2-3 ช้ิน สัตว์หรอื ตับบด 1 ชอ้ นโต๊ะ + ผกั สุก 1 ชอ้ นโตะ๊ + น�ำ้ มัน ½ ชอ้ นชา 3 ขา้ วบดหยาบ 4 ช้อนโตะ๊ + ไข่สุก ½ ฟอง หรือ เนอื้ ผลไม้สุกนิม่ 3-4 ชนิ้ สัตว์หรอื ตับบด 1 ช้อนโตะ๊ + ผกั สกุ 1½ ช้อนโตะ๊ + นำ้� มนั ½ ชอ้ นชา 1-2 ปี 3 ขา้ วสวย 6 ชอ้ นโต๊ะ(หรือ1ทัพพี) + ไขส่ กุ ½ ฟอง ผลไมส้ ุกนมิ่ 3-4 ชิ้น หรือ เนอื้ สัตวห์ รือตบั บด 1 ช้อนโตะ๊ + ผกั สุก 1 ทัพพี + น้ำ� มัน 1 ½ ชอ้ นชา 26

อาหารและการสง่ เสรมิ พฤติกรรมการกนิ ขอ้ ควรคำ� นึงในการใหอ้ าหารตามวัย สิง่ ต่อไปน้ีคอื เรอ่ื งที่ต้องค�ำนึงเมือ่ จะใหอ้ าหารเสรมิ ตามวยั เหมาะสมกบั วัย เหมาะสมกบั ความหวิ -อ่ิมของเด็ก เริม่ มอื้ แรกทีอ่ ายุ 6 เดอื น ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการเด็กที่เริ่มน่ังไดเ้ อง คอตง้ั ตรงมน่ั คง ความสามารถในการควบคุมกลา้ มเน้อื มอื และตาท�ำงาน ประสานกันดี เดก็ ควา้ ของ หยบิ ของ ถือของ และน�ำของเขา้ ปากไดค้ ลอ่ งอย่างมเี ป้าหมายชัดเจน กลา้ ม เนอื้ ช่องปากในการคีย้ ว การกลนื ท�ำไดด้ มี ากขึ้น โดยท่อี าหารจะเรมิ่ มคี วามหยาบขนึ้ ตามล�ำดบั เม่ือเดก็ โตขึน้ ฝึกเด็กนัง่ กนิ เป็นทีแ่ ละใช้เวลาในการกนิ อาหาร/ม้ือ ไม่เกิน 30 นาที โดยท่ีมอื้ อาหารควรหา่ งจาก ม้อื นมอย่างน้อย 2-3 ช่ัวโมง สดั สว่ นและปรมิ าณอาหารเพยี งพอตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของเดก็ (ดงั แสดงในตารางดา้ นบน) และ เมอ่ื เดก็ กินอาหารตามวยั ได้เพยี งพอในแต่ละม้ือ ควรลดจ�ำนวนมื้อนมทใี่ ห้เด็ก เชน่ เมอ่ื เดก็ อายุ 9 เดอื น ไดร้ บั อาหารตามวยั 2 มอ้ื จำ� นวนมอ้ื นมจะลดลงเหลอื วนั ละ 3-4 ครงั้ หรอื เดก็ อายุ 1-2 ปี ควรกนิ อาหาร วนั ละ 3 มอ้ื และลดจำ� นวนมอื้ นมเหลอื วนั ละ 2-3 ครงั้ ปรมิ าณนมทตี่ อ้ งการในเดก็ วยั เตาะแตะประมาณ 500 ซีซี/วัน สะอาดและปลอดภัย ควรล้างมือก่อนให้นมหรืออาหารลูกทุกครั้ง และต้องไม่ลืมล้างมือก่อน เตรยี มนม หรอื เตรียมอาหาร เลือกด่ืมนมชนดิ ใดดีเมื่อลูกโตแลว้ เมือ่ ลูกกนิ ข้าวเป็นอาหารหลกั วันละ 3 มือ้ นมจะกลายเป็นอาหารเสรมิ พอ่ แมส่ ามารถเลือกใช้ นมผสมดดั แปลงสำ� หรับเดก็ โตหรอื นมพาสเตอไรซ์ หรอื นมยูเอชทกี ไ็ ด้ พฤติกรรมด้านการกนิ ของทารกและเดก็ เลก็ พฤติกรรมการกินและการเติบโตท่ีสมวัย ของเด็กจะเกิดขึ้นได้ ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่าง พอ่ แมแ่ ละเดก็ ซงึ่ เปน็ ขบวนการทสี่ มั พนั ธแ์ ละเชอื่ มโยงกนั ระหวา่ งพฒั นาการและลกั ษณะของเดก็ แตล่ ะ คนกบั ลกั ษณะและทกั ษะในการจดั การของพอ่ แม่ ซง่ึ ทง้ั พอ่ แมแ่ ละเดก็ ตา่ งกม็ ขี อบเขตความรบั ผดิ ชอบ คนละส่วนกัน โดยท่ีพ่อแม่ท�ำหน้าท่ีจัดการเร่ืองอาหารและเอื้ออ�ำนวยให้บรรยากาศระหว่างม้ืออาหาร เปน็ มติ รและผ่อนคลาย ส่วนตวั เด็กเป็นผทู้ รี่ ับผิดชอบการกนิ วา่ จะกินมากนอ้ ยเทา่ ไรในแตล่ ะมือ้ วัยทารกถึง 6 เดือนแรก นมคืออาหารท่ีเหมาะ แต่เม่ือเด็กโตขึ้นตามล�ำดับ เด็กจะสามารถกิน อาหารที่มคี วามหยาบ และหลากหลายชนดิ มากขน้ึ ดงั นน้ั เมือ่ อายุ 1-2 ปี เด็กจะเปน็ ผ้เู ลอื กวา่ จะกนิ อะไรจากอาหารท่ีผู้เล้ียงดูได้จัดเตรียมไว้ พฤติกรรมและทักษะการกินในช่วงอายุ 0- 2 ปีแรก จึงเป็น รากฐานสำ� คัญอย่างยงิ่ ของพฤตกิ รรมด้านการกนิ เมอ่ื เขา้ สู่วยั เดก็ โต เชน่ การเคย้ี วอาหาร และไม่อมขา้ ว การน่งั กินอาหารเป็นที่ การตกั ขา้ วกินเอง หรือการเข้าใจมารยาทบนโต๊ะอาหาร เปน็ ต้น 27

อาหารและการส่งเสริมพฤตกิ รรมการกิน นอกจากน้ี พฤตกิ รรมการกนิ ของเดก็ เลก็ ยงั มคี วามหมายมากกวา่ เรอื่ งการไดร้ บั สารอาหารเพอื่ การ เจรญิ เตบิ โตของเดก็ ซงึ่ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ ทง้ั ตวั เดก็ เองและผเู้ ลยี้ งดู เนอ่ื งจากเวลาสว่ นใหญข่ องเดก็ เลก็ ๆ ในแตล่ ะวนั ใชไ้ ปกบั เรอ่ื งกนิ คอ่ นขา้ งมาก ภาพทเี่ ราจะพบเหน็ ไดบ้ อ่ ยๆ ขณะทผี่ เู้ ลยี้ งดใู หน้ มเดก็ คอื แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดจู ะอมุ้ เดก็ เขา้ ตกั ประสานสายตาระหวา่ งกนั รวมทง้ั อาจมเี สยี งพดู คยุ กบั เดก็ รว่ มดว้ ย เปน็ รปู แบบหนง่ึ ในการถา่ ยทอดความรกั จากพอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดไู ปยงั เดก็ อนั จะนำ� ไปสพู่ ฒั นาการทดี่ ขี องเดก็ ในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฒั นาการด้านสงั คมและอารมณ์ ขณะเดยี วกนั เมอ่ื เดก็ โตข้นึ เดก็ จะก้าว ยา่ งเขา้ สกู่ ารพฒั นาความเปน็ ตวั ของตวั เอง และตอ้ งการจะจดั การสงิ่ ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง (Independence & Self-regulation) ดงั นนั้ การจดั การดา้ นการกนิ ดว้ ยตนเองของเดก็ เปน็ หนงึ่ ในพฒั นาการทช่ี ว่ ยเตมิ เตม็ การเรมิ่ เปน็ ตวั ของตวั เองของเดก็ อายุ 2-3 ขวบ (Autonomy) และถา้ ผเู้ ลยี้ งดมู คี วามเขา้ ใจเรอ่ื งพฒั นาการ ดา้ นการกนิ ในเดก็ เลก็ กจ็ ะสามารถปรบั เปลยี่ นการเลย้ี งดทู เ่ี ออื้ ใหเ้ ดก็ ไดพ้ ฒั นาทกั ษะการกนิ ตามวยั อยา่ ง เหมาะสม และยงั ช่วยให้เดก็ มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์และสังคมทดี่ ขี น้ึ ด้วย 28

อาหารและการส่งเสรมิ พฤติกรรมการกิน พัฒนาการตามวัยท่เี ก่ียวขอ้ งกับทักษะการกินและลักษณะอาหาร อายุ (เดือน) ลกั ษณะอาหาร พฒั นาการดา้ นกล้ามเนือ้ ทักษะกล้ามเนือ้ ปากใน ลกั ษณะอาหาร การกนิ 4-6 อาหารเหลว • ชันคอได้มนั่ คง • ดดู กลนื มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ อาหารบดละเอยี ดกึง่ เหลว • ทรงตัวพอได้ • กินอาหารโดยใช้การดูดกลืน • ควา้ ของ และเรม่ิ ถอื ของโดยมกี ารชว่ ย มากกวา่ การบดเคย้ี ว 6-9 อาหารบดละเอียดกึ่งเหลว • นงั่ ได้เอง • ใช้กรามบดเคี้ยวอาหารใน • ถอื ขวดนมไดเ้ อง ลักษณะขึ้นๆ ลงๆ • ใช้นิ้วมือหยิบของได้คล่อง หยิบ • สามารถกดั และปลอ่ ยเปน็ จงั หวะ อาหารและเริ่มหยิบเอาหารเข้าปาก • ใช้ริมฝีปากบนในการจัดการ กินเอง อาหารในชอ้ น • กนิ อาหารจากช้อน • เริม่ จบิ น้�ำจากแก้วได้แต่ยังหก 9-12 อาหารบดหยาบ ข้นๆ • ใช้นิ้วหยิบอาหารได้คล่อง และถือ - ด่ืมน�้ำจากแก้วได้เอง โดยมีคน แกว้ เอง ชว่ ยเหลอื • ใชน้ ิ้วหวั แมม่ ือและน้วิ ชี้ได้ดี - เริ่มหัดใช้หลอดดูดน�้ำ - จับชอ้ น โดยใช้มอื ก�ำ - กนิ อาหารจากชอ้ นได้ดขี ้นึ 12-18 เคย้ี วอาหารท่ีนมุ่ ๆ • เอาอาหารเขา้ ปาก • ใชฟ้ นั และกรามบดเคย้ี วไดห้ ลาย หรือกรุบกรอบ • กินอาหารด้วยตัวเองได้คล่องแคล่ว ทศิ ทาง มากขึน้ กว่าเดิม • ใช้หลอดดูดน�ำ้ 18-24 เคีย้ วอาหารทีเ่ ปน็ ช้ิน • จัดการกินอาหารได้ด้วยตัวเอง โดย • ใชก้ รามบดเคยี้ วทำ� ไดท้ กุ ทศิ ทาง มีความแข็ง ได้ดขี ึน้ ใช้ช้อน ใช้มือหยบิ และดืม่ น�้ำจากถว้ ย • กินอาหารได้เรียบร้อยมากขึ้น หกเลอะเทอะนอ้ ยลง (ดัดแปลงจากเอกสารอ้างองิ ท่ี 9) 29

อาหารและการส่งเสริมพฤติกรรมการกนิ ข้อแนะน�ำสำ� หรบั พ่อแม่เพอื่ ส่งเสรมิ พฤตกิ รรมการกนิ ทเ่ี หมาะสม 1. ควรสงั เกตเห็นหรอื ทราบวา่ ลกั ษณะใดของลกู ที่เปน็ การสง่ สญั ญาณว่าหวิ หรืออม่ิ 2. เตรียมอาหารในลักษณะที่ลกู ชอบ แตเ่ หมาะสมและไดส้ ดั สว่ นในแต่ละวยั ของลูก 3. น�ำเสนออาหารชนดิ ใหมๆ่ มาให้ลกู โดยทอี่ าจต้องลองซ�้ำๆหลายสิบครงั้ ก่อนทลี่ กู จะยอมรบั 4. น่งั กนิ อาหารใหเ้ ป็นท่ี ไมค่ วรมสี ิ่งเรา้ ทท่ี ำ� ใหเ้ ด็กวอกแวก เช่น โทรทัศน์ หรอื ส่ือผา่ นจอตา่ งๆ 5. สร้างบรรยากาศการกินท่ีเป็นมิตร สบายๆ เป็นภาวะปกติ หลกี เล่ียงการ ดุ ขู่หรอื บังคบั 6. ใช้เวลาในการกินอาหารแตล่ ะมอ้ื ประมาณ 30 นาที กินได้เท่าไรก็เท่านั้น 7. ใหโ้ อกาสหรอื สนับสนนุ ให้เดก็ ได้กนิ ด้วยตนเอง 8. ลกู กำ� ลงั พฒั นาทกั ษะการกนิ ตอ้ งยอมรบั วา่ ลกู จะกนิ หกเลอะเทอะ (ภายใตพ้ นื้ ทท่ี พี่ อ่ แม่ กำ� หนด) 9. เลิกนมมอ้ื ดกึ เม่อื ลูกอายุ 6-9 เดือน และเมอ่ื ลกู อายุ 9-12 เดือนควรฝึกลกู ใหด้ ืม่ นำ้� และ นมจากแกว้ หรือดดู หลอดเพ่ือการเลกิ ใช้ขวดนมทอ่ี ายุ 1-1½ ปี การเตรียมความพร้อมให้ลูกเลกิ ใชข้ วดนมท่อี ายุ 1- 1½ ปี เมอ่ื ลกู อายุ 4-6 เดอื น พอ่ แมจ่ ะเหน็ วา่ ทกั ษะกลา้ มเนอื้ มดั ใหญข่ องลกู พฒั นาขน้ึ มาก คอตง้ั ตรงได้ ดี ล�ำตัวเรมิ่ ทรงตวั ได้ดขี นึ้ การใชม้ ือในการไขวค่ ว้า หยบิ ถือของกเ็ กง่ ขนึ้ ขณะเดียวกนั ทกั ษะการใช้ล้ิน ใช้ริมฝีปากในการตวัดและกวาดอาหารก็เร่ิมพัฒนาข้ึนตามล�ำดับ ดังน้ันในวัยน้ีพ่อแม่จึงควรเร่ิมที่จะให้ ลกู ไดม้ ีโอกาสฝึกทักษะการกินอาหารทไ่ี ม่ใช่เพยี งแคน่ ม และฝึกการกินในรปู แบบทไ่ี มใ่ ชก่ ารดูดจากเต้า นมแม่หรอื จากขวดนมเทา่ นนั้ หลงั อายุ 4-6 เดือน คอ่ ยๆ ฝึกใหเ้ ด็กหลบั ด้วยตัวเอง ไม่หลับคาเตา้ หรือหลับไปพรอ้ มการดูดขวด นม จะชว่ ยใหเ้ ดก็ คอ่ ยๆ แยกแยะไดร้ ะหวา่ งการนอนและการกนิ ลดหรอื เลกิ นมมอ้ื ดกึ โดยเรม่ิ จากการที่ ไมต่ อ้ งปลุกเด็กมากนิ นมในกรณีทเี่ ด็กวยั นบ้ี างคนสามารถหลบั ยาวตอ่ เนือ่ งกันนาน 5-6 ช่วั โมง แต่ส่วน ใหญ่ (รอ้ ยละ 80) เดก็ จะหลบั ยาวต่อเน่ืองในตอนกลางคืนไดด้ เี ม่อื อายุ 9 เดอื น เปน็ ตน้ ไป อายุ 6 เดือน ฝกึ ให้กนิ นมและนำ�้ จากแกว้ ฝกึ ใหก้ ินอาหารจากช้อน เร่มิ ใหอ้ าหารที่มคี วามหยาบ เพิ่มขนึ้ ตามล�ำดบั เพอื่ ฝึกทกั ษะการใชก้ ล้ามเน้อื ช่องปากและการใช้ฟนั ขากรรไกรในการบดเค้ยี ว อายุ 9-12 เดือน ค่อยๆ ให้โอกาสเดก็ ได้ฝกึ ทกั ษะในการจดั การด้านการกินด้วยตนเอง เช่น ใช้ หลอดดดู น�ำ้ ดืม่ น้�ำเองโดยถอื แก้ว 2 หู หยบิ จบั อาหารเขา้ ปากด้วยตนเอง เมื่อให้อาหารตามวัยในแต่ละม้ือ และเด็กสามารถกินได้ตามปริมาณที่ต้องการของแต่ละช่วงวัย แล้ว ใหล้ ดนมลงทลี ะมือ้ ดงั นนั้ เมอื่ เด็กอายุ 1 ปี เด็กจะกนิ อาหาร 3 มือ้ นมวันละ 2-3 ครงั้ และมีผล ไม้วนั ละ1-2 ครัง้ ปญั หาส�ำคัญท่ีสุดในการท่เี ด็กเลิกกินนมขวดไมไ่ ด้ เน่อื งจากความใจออ่ นของผ้เู ลี้ยงดู 30

อาหารและการสง่ เสรมิ พฤติกรรมการกนิ ท่ีมไิ ด้คิดถงึ อนั ตรายท่เี กิดจากการกนิ นมขวดนานเกนิ ไปน่นั เอง เช่น กินแตน่ มไมย่ อมกินข้าว กินนมมาก ไปทำ� ให้อ้วน กินนมหวานและหลบั คาขวดนมทำ� ใหฟ้ นั ผุ ติดการดดู จากขวดจนเป็นนสิ ยั กจ็ ะยิ่งเลกิ ยาก ขึ้น เป็นตน้ 31

การเจริญเตบิ โต บทท่ี 4 การเจรญิ เติบโต ในเดก็ วยั 3 ขวบปแี รกมกี ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทเี่ ปลยี่ นแปลงเรว็ มาก และมปี จั จยั ทอี่ าจ ส่งผลกับการเจรญิ เติบโตในเดก็ แตล่ ะคนต่างกัน เชน่ พนั ธกุ รรม ฮอรโ์ มน การเล้ียงดู การเจบ็ ปว่ ย และ สารอาหาร เป็นต้น ดังนั้นการเฝ้าระวังและติดตามการเจริญเติบโตในเด็กวัยนี้จึงมีความส�ำคัญอย่างย่ิง และควรทำ� ต่อเน่ืองเปน็ ระยะๆ การติดตามการเจริญเติบโตท�ำได้โดยการใช้กราฟแสดงการเจริญเติบโตของเด็กไทย ส�ำนัก โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2558 ซง่ึ แบง่ ตามเพศและอายุ (ดงั แสดงในแผนภาพ ดา้ นลา่ ง) หรอื พอ่ แมส่ ามารถใชโ้ ปรแกรม KhunLook หรอื KidDiary จากอปุ กรณโ์ ทรศพั ทม์ อื ถอื ซงึ่ เปน็ โปรแกรมเพอื่ ใชใ้ นการตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โตของลกู และดแู ลสขุ ภาพลกู ดว้ ยตวั พอ่ แมเ่ องทสี่ ะดวกมาก ขนึ้ เปน็ โปรแกรมทพี่ ฒั นารว่ มกนั ระหวา่ งบคุ ลากรจากNECTECและทมี แพทยจ์ ากหนว่ ยงานสาธารณสขุ เพอื่ สขุ ภาพทด่ี ขี องเดก็ ไทย ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งใชใ้ นการพจิ ารณาการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ประกอบดว้ ย อายุของเดก็ ณ.วนั ทที่ ำ� การประเมนิ น้�ำหนักตัว (กโิ ลกรัม) ความยาวตัว (เซนตเิ มตร) และเสน้ รอบศีรษะ (เซนติเมตร) จากนนั้ นำ� ขอ้ มลู ดงั กล่าวที่วดั ไดใ้ นอายนุ ั้นๆ ไปลงผลในกราฟการเจริญเติบโต จะช่วยให้ผู้ เล้ียงดูจัดการกับสุขภาพเด็กได้อย่างเหมาะสมต้ังแต่เนิ่นๆ โดยท่ัวไปเด็กเล็กอาจพบมีการเปล่ียนแปลง ของเสน้ การเจรญิ เติบโตจากกราฟได้มาก น้ำ� หนักตัวเด็ก เปลยี่ นแปลงไดง้ ่ายท่สี ุด จงึ มปี ระโยชน์ในการประเมนิ ภาวะโภชนาการในเด็ก • ทารกคลอดครบกำ� หนด มนี ำ้� หนกั แรกเกดิ เฉลย่ี 3 กโิ ลกรมั และใน 7-10 วนั แรกหลงั เกดิ เดก็ อาจมีน�ำ้ หนกั ลดลงได้รอ้ ยละ 7-10 เมอ่ื เทยี บกบั นำ� หนกั แรกเกิด เนอ่ื งจากเด็กยงั กนิ นมไดไ้ ม่ดี และจาก การขับถา่ ยทีบ่ อ่ ยท้งั ปัสสาวะและถ่ายขี้เทา จากน้ันน�ำ้ หนกั เด็กจะค่อยๆ เพิม่ เฉล่ยี 20-30 กรัม/วัน • อายุ 4 เดอื น จะมีนำ้� หนกั ตวั เปน็ 2 เท่าของนำ้� หนักแรกเกดิ • อายุ 1 ปี จะมีนำ้� หนักเป็น 3 เท่าของน้�ำหนกั แรกเกิด ประมาณ 9-10 กโิ ลกรมั • อายุ 2 ปี จะมนี ้ำ� หนักเปน็ 4 เท่าของนำ้� หนกั แรกเกดิ 32

การเจริญเติบโต ความยาวตวั เดก็ ในเด็กเล็กน้อยกว่า 2 ปี ควรวดั ความยาวในท่านอน เพราะเดก็ ยังยืนเองไม่ได้ และแม้วา่ เม่อื เด็กยืนไดแ้ ลว้ เด็กมักจะไม่รว่ มมอื ในการยืนนิง่ ๆ เพอื่ วัดความสูง • เดก็ ทารกคลอดครบก�ำหนด มคี วามยาวเฉลีย่ 50 เซนตเิ มตร • เม่อื อายุ 1 ปี เดก็ จะมคี วามสูงเป็น 1.5 เท่าของความยาวแรกคลอด ประมาณ 75 เซนติเมตร เส้นรอบศีรษะเดก็ บอกถึงการเจรญิ เติบโตของสมองทางอ้อม • ทารกคลอดครบก�ำหนด มเี สน้ รอบศรี ษะประมาณ 35 เซนตเิ มตร • อายุ 4 เดือน มเี ส้นรอบศีรษะ 40 เซนตเิ มตร • อายุ 1 ปี มเี ส้นรอบศรี ษะ 45 เซนตเิ มตร • อายุ 2 ป ี มเี ส้นรอบศีรษะ 47 เซนตเิ มตร เมื่อไรทคี่ วรปรึกษาแพทยเ์ ร่อื งการเจรญิ เติบโต แมว้ า่ เปน็ ปกตทิ เ่ี ดก็ 2 ขวบปแี รกจะมกี ารเปลยี่ นแปลงของนำ�้ หนกั ความยาว และเสน้ รอบศรี ษะ ค่อนข้างมากก็ตาม แต่ถ้าเด็กมีการเจริญเติบโตที่เบ่ียงเบนเพ่ิมข้ึนหรือลดลงของเส้นเปอร์เซนต์ไทล์บน กราฟการเจรญิ เตบิ โตมากกวา่ 2 เสน้ หลกั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความยาวตวั ทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามกรรมพนั ธข์ุ อง ครอบครัว หรือเดก็ มนี ำ้� หนกั ความยาว และเส้นรอบศีรษะไม่อย่บู นเปอรเ์ ซนไทล์ใกล้เคียงกนั บนกราฟ ควรปรึกษาแพทย์ ซึง่ พ่อแมค่ วรจดบันทกึ ชนิดและปรมิ าณอาหารทีเ่ ดก็ กนิ ในแต่ละวนั สกั 2-3 วัน กอ่ น ไปพบแพทย์ จะชว่ ยใหแ้ พทย์สามารถใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� และรกั ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้ 33

ภาคผนวก กราฟน้ำ� หนกั ของเด็กหญิงไทยอายแุ รกเกดิ -5 ปีชดุ ใหม่ 34

ภาคผนวก กราฟความยาว/ความสงู ของเดก็ หญงิ ไทยอายแุ รกเกดิ -5 ปีชดุ ใหม่ 35

ภาคผนวก กราฟน้ำ� หนกั ของเด็กชายไทยอายแุ รกเกดิ -5 ปีชดุ ใหม่ 36

ภาคผนวก กราฟความยาว/ความสูงของเด็กชายไทยอายแุ รกเกดิ -5 ปีชดุ ใหม่ 37

การเลี้ยงดูและการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ บทที่ 5 การเล้ียงดูและการสร้างเสริมสุขภาพ ครอบครวั คุณภาพ การท่ีจะได้ลูกที่มีคุณภาพ คือ มีความสมบูรณ์ท้ังร่างกายและจิตใจนั้นต้องมาจากครอบครัวที่มี พ่อแม่ มคี วามพรอ้ มในหลายๆ ด้าน เชน่ 1. พร้อมทจี่ ะมลี กู 2. มีความพร้อมทางร่างกาย โดยเฉพาะในเร่ืองสุขภาพของแม่ โดยการตรวจหาเช้ือโรคที่อาจ ถ่ายทอดไปยังเด็กในครรภ์ได้ เช่น โรคตับอักเสบ โรคหัดเยอรมัน โรคซิฟิลิส โรคเลือดท่ีถ่ายทอดทาง กรรมพนั ธ์ุ เป็นต้น ในรายท่ีมโี รคประจ�ำตัว เช่น โรคลมชัก โรคหัวใจรวั่ ก่อนตั้งครรภค์ วรปรึกษาแพทย์ ประจำ� ตวั ก่อนตดั สนิ ใจ 3. พร้อมทางด้านการเงิน การเลย้ี งลูกให้มีคณุ ภาพเป็นเด็กดขี องครอบครัว เป็นพลเมืองดขี องประเทศชาตนิ นั้ ไมย่ ากแต่ก็ไมง่ ่ายนัก ตอ้ งอาศยั ความรู้ ความเขา้ ใจ การลงทนุ ในทกุ รปู แบบภายใตค้ วามรกั ความอดทน และความตงั้ ใจของพอ่ แม่ บทบาทพ่อแม่ ในสภาวะปจั จบุ นั พอ่ แมห่ ลายคไู่ มค่ อ่ ยมเี วลาอยรู่ ว่ มกบั ลกู หรอื ครอบครวั ตา่ งฝา่ ยตา่ งทำ� กจิ กรรม ของตนเอง ขาดการดูแลเอาใจใสซ่ ึง่ กันและกนั ส่งผลท�ำให้บรรยากาศในครอบครวั ไมม่ ีความสุข สงิ่ ทจี่ ะทำ� ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั มคี วามสขุ มบี รรยากาศนา่ อยู่ มไิ ดข้ นึ้ อยกู่ บั เวลาเพยี งอยา่ งเดยี ว แตข่ ึ้นกบั การปฏบิ ตั ิของคนในครอบครวั ไดแ้ ก่ 1. ตอบสนองความต้องการของกันและกันตามความเหมาะสม เช่น ให้ความรัก ความยอมรับ เข้าใจพน้ื ฐานทางอารมณ์ ความรู้สกึ นึกคดิ และใหเ้ กยี รตซิ ึง่ กนั และกัน 2. มีการพูดจาสือ่ สารทีด่ ีตอ่ กนั รับฟังและเขา้ ใจความต้องการของผ้อู ่ืน สามารถใชค้ ำ� พูดท่ีชว่ ย แก้ไขหรอื ลดความขัดแยง้ ใหค้ �ำช้แี นะ ให้ก�ำลังใจซึง่ กันและกนั 3. มกี ิจกรรมทำ� ร่วมกนั ท�ำให้เกดิ การพึง่ พาอาศยั ซงึ่ กันและกัน เปน็ รากฐานในการฝึกหดั แก้ไข ปญั หา สง่ ผลทำ� ให้เกิดความภาคภูมิใจ รสู้ ึกวา่ ตนมคี วามสำ� คญั และเปน็ สว่ นหน่งึ ภายในบ้าน 38

การเลยี้ งดูและการสร้างเสริมสุขภาพ 4. ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย พัฒนาทักษะหลายด้านและส่งเสริมให้เด็กมีประสบการณ์ชีวิต โดยตรงหลายรปู แบบ รวมทั้งควบคุมก�ำกับพฤตกิ รรมที่ไมเ่ หมาะสม 5. ฝกึ ทกั ษะการคดิ และลงมือแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ หลากหลายรปู แบบ 6. เปน็ ตน้ แบบทเี่ หมาะสมและเรยี กรอ้ งใหเ้ ดก็ เลน่ บทบาทใหต้ รงเพศ ตรงวยั ตรงกบั สถานการณ์ 7. เนน้ การเปน็ คนดโี ดยสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ชว่ ยเหลอื ตนเองใหม้ ากทสี่ ดุ และฝกึ ชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ มาตงั้ แต่ เล็กจนตดิ เปน็ นิสัย 39

การเล้ยี งดแู ละการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ หลักการดูแลลกู วัย 0-3 ปี เพอื่ การมีความม่ันคงทางจิตใจ 1. การใหค้ วามรกั ความอบอุน่ และความมัน่ คงทางใจแกล่ ูก ทำ� ให้ลกู รสู้ ึกมน่ั คงปลอดภัย โดย ใหค้ วามรักอยา่ งไมม่ เี ง่อื นไข แสดงออกผ่านทางรา่ งกายและค�ำพดู เชน่ พดู ว่า “พอ่ แมร่ กั ลกู นะ” กอด ลกู ปลอบลกู เม่ือลกู เจ็บหรอื กลัว ชมเชย ใหก้ �ำลังใจ รับฟงั ลกู ด้วยความเข้าใจ ท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน เช่น อ่านนทิ านให้ลูกฟัง เลน่ กบั ลูก เปน็ ต้น 2. เขา้ ใจธรรมชาติ พฒั นาการตามวยั ของลกู เนอ่ื งจากเดก็ แตล่ ะคนมลี กั ษณะเฉพาะตวั ทแี่ ตกตา่ ง กัน ไมม่ ีใครในโลกนี้ที่ดีสมบูรณ์แบบ พอ่ แม่ควรยอมรบั และชว่ ยเหลอื ใหล้ กู ไดพ้ ัฒนาเตม็ ทีต่ ามศักยภาพ ของตนโดยการส่งเสริมจดุ ดีและช่วยแก้ไขจุดดอ้ ย 3. การฝกึ วนิ ยั เชงิ บวก โดยการกำ� หนดขอบเขต กฎเกณฑ์ ฝกึ ฝนสมำ่� เสมอ ใหล้ กู ทราบวา่ สงิ่ ใดที่ เขาสามารถทำ� ไดห้ รอื ไมไ่ ด้ เปน็ พนื้ ฐานในการพฒั นาการควบคมุ ตนเองของเดก็ ซงึ่ เปน็ คณุ สมบตั ทิ จ่ี ำ� เปน็ สำ� หรับการอยู่รว่ มกนั ในสงั คม 4. การให้อสิ ระตามวัย พ่อแม่ควรให้โอกาสลูกในการทำ� สิง่ ตา่ งๆ อยา่ งอิสระตามวยั บา้ ง เพอ่ื ให้ ลกู ได้ฝกึ คดิ ตัดสินใจ แก้ปัญหา หรอื ลองผิดลองถูก เพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ ท�ำใหล้ กู สามารถพึ่งตนเอง มี ความรบั ผดิ ชอบ เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และมนั่ ใจในตนเอง อยา่ งไรกด็ พี อ่ แมก่ ย็ งั มหี นา้ ทก่ี ำ� กบั ดแู ล ให้ คำ� ปรกึ ษา และฝกึ ฝนลูกควบคู่กนั ไปด้วย 5. บรรยากาศในครอบครวั ทีด่ ี สงบสขุ ปราศจากความรุนแรง พอ่ แมม่ คี วามสมั พันธ์ที่ดีต่อกนั สามารถชว่ ยกนั แกป้ ญั หาหรอื ปรกึ ษาหารอื ได้ จะทำ� ใหล้ กู มคี วามรสู้ กึ มน่ั คงปลอดภยั อารมณด์ ี ไมเ่ ครยี ด และมีทศั นคติท่ดี ีต่อชวี ติ ครอบครัว 40

การเล้ียงดูและการสร้างเสริมสขุ ภาพ หลักการดแู ลลูกวยั 0 - 3 ปี เพอื่ การมพี ัฒนาการทด่ี ี พอ่ แม่หลายคเู่ ข้าใจผิด คิดวา่ ลกู วยั 0-3 ปี ยงั เล็กนัก ไม่จ�ำเป็นต้องฝึกฝนอะไร เพราะยงั ไมเ่ ข้าใจ ค�ำอธบิ ายและเหตุผล แตใ่ นความเป็นจริงแล้ว ลกู เรยี นรู้ได้มากผา่ นการฝึกฝน และการเปิดโอกาสให้ทำ� เพอ่ื พฒั นาความสามารถในดา้ นตา่ งๆ เช่น พฒั นาการดา้ นกลา้ มเนอื้ มดั ใหญ:่ ชนั คอ พลกิ ควำ่� /หงาย คบื นงั่ คลาน ยนื เดนิ วง่ิ ขนึ้ บนั ได ฯลฯ พัฒนาการดา้ นกล้ามเนอ้ื มดั เลก็ : จ้องหน้า มองตาม ควา้ จบั ของท้ังชนิ้ ใหญ่ และเลก็ การใชต้ า และมือทำ� งานประสานกนั จบั สเี ทยี นขดี เขียน ตอ่ ก้อนไม้ ฯลฯ พัฒนาการด้านการช่วยเหลอื ตัวเอง เชน่ การจับขวดนม หยบิ อาหารเขา้ ปาก ถอื ถ้วยดื่มน�ำ้ เอง เก็บของเลน่ เขา้ ท่ี ใช้ชอ้ นตักอาหารเข้าปาก ถอดเสื้อผา้ เอง ฯลฯ พฒั นาการดา้ นภาษาและการพูดสอ่ื สาร เชน่ หันเม่อื ไดย้ นิ เสยี ง รู้จกั ชอื่ เข้าใจท่าทางงา่ ยๆ ท�ำ ตามคำ� สง่ั ได้ ชร้ี ปู ภาพตามคำ� บอก ชี้อวัยวะ หวั เราะ เล่นเสยี ง พดู คำ� เด่ียวๆ ที่มีความหมาย จนพูด 2 คำ� ต่อกนั ได้ ฯลฯ พฒั นาการดา้ นสงั คมและการเลน่ เชน่ ยมิ้ ทกั ทาย จะ๊ เอ๋ บา๊ ยบาย สาธุ เลน่ ของเลน่ ไดอ้ ยา่ งเหมาะ สมตามหนา้ ท่ขี องของเล่น เล่นซอ่ นหา เลน่ สมมุติ ฯลฯ พฒั นาการดา้ นการควบคมุ ตนเอง เชน่ การกนิ การนอน การขบั ถา่ ย คอ่ ยๆ เปน็ เวลา และสมำ�่ เสมอ มากขน้ึ ฯลฯ 41

การเล้ยี งดูและการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ เทคนิคการฝกึ ฝนทั่วไป 1. ควรฝกึ ลกู ใหก้ นิ นอน ขบั ถา่ ยเปน็ เวลา และสมำ�่ เสมอ เพอื่ พอ่ แมจ่ ะไดด้ แู ลลกู งา่ ยขน้ึ และลกู จะสามารถปรับตัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. การจบั ให้ท�ำ เม่ือลูกทำ� ได้ ควรลดการช่วยเหลอื ใหน้ ้อยลง 3. การสอน อธบิ าย ควรใช้คำ� งา่ ยๆ บอกช้าๆ สอนสม�่ำเสมอ และทำ� ใหด้ เู ป็นตวั อย่าง เพ่ือใหล้ กู เข้าใจ และทำ� ตาม 4. เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี ลกู เรยี นรผู้ า่ นการเลยี นแบบ ทง้ั การพดู กริ ยิ ามารยาท การเคลอื่ นไหว และ พฤติกรรมของพ่อแม่ ทงั้ ทต่ี ั้งใจ และไม่ตงั้ ใจ 5. คอยใหก้ ำ� ลงั ใจ และแสดงความชน่ื ชมเปน็ ระยะ รวมทง้ั ควรปรบั และสอนเมอื่ ลกู มพี ฤตกิ รรม ไม่เหมาะสม 6. ใหโ้ อกาส และให้เวลาในการฝกึ สอน จนกว่าลูกจะสามารถท�ำเองได้ 7. ฝึกอยา่ งสมดุลไม่มากหรือน้อยเกินไป เทคนิคการฝึกฝนพฒั นาการด้านภาษาและการพูดส่ือสาร 1. พ่อแม่มีบทบาทส�ำคัญในการฝึกฝนพัฒนาการด้านภาษาและการพูดสื่อสารโดยผ่านการใช้ เวลาคณุ ภาพรว่ มกนั กบั ลูก เช่น เลา่ นทิ านใหล้ ูกฟงั เล่นกบั ลกู บอ่ ยๆ หรอื ร้องเพลงทเ่ี หมาะส�ำหรับเดก็ รวมท้งั มีการใช้ทา่ ทางประกอบ เพือ่ เพม่ิ ความสนใจให้ลูกจดจ่อท่ีจะเรยี นรูไ้ ปด้วยความสนกุ สนาน 2. พอ่ แม่ควรพูดกบั ลูกบ่อยๆ พากยก์ จิ กรรมตา่ งๆ ทที่ �ำรว่ มกันโดยพดู ใหก้ ระชับ เนน้ เสยี ง และ ค�ำ เช่น ถอดเส้ือ ถอดกางเกง อาบน�้ำ แตง่ ตัว เป็นตน้ 3. พอ่ แมค่ วรสอนคำ� ศพั ทจ์ ากสง่ิ ตา่ งๆ ในชวี ติ ประจำ� วนั หรอื รปู ภาพโดยเนน้ การมองหนา้ สบตา มองปาก เช่น นำ� สิ่งของทเี่ ด็กตอ้ งการมาใกลป้ ากของพ่อแม่ พรอ้ มทัง้ พูดค�ำนั้นออกมา 4. พ่อแม่ควรพูดออกเสียงใหช้ ัดเจน เช่น หากลกู เล่นเสยี ง พอ่ แมก่ ค็ วรท�ำเสียงสูงๆ ตำ�่ ๆ พูดคยุ กบั ลกู ไปด้วย หากลกู สามารถพูดได้เปน็ คำ� ๆ แล้ว พ่อแมก่ ็ควรพูดคุยดว้ ยการเน้นเสยี ง และค�ำสั้นๆ แลว้ ค่อยๆ ขยายใหย้ าวขึน้ เป็นวลี หรือประโยคตามลำ� ดับ 5. พอ่ แมค่ วรใหล้ กู มสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ และพยายามทจ่ี ะสอ่ื สารดว้ ยตนเอง ถามลกู วา่ ตอ้ งการ อะไร โดยใหล้ ูกใช้ภาษาทา่ ทาง หรอื บอกกอ่ นท่ีจะหยิบสิง่ ตา่ งๆ ใหล้ ูกทนั ที รวมทง้ั พ่อแมค่ วรถามความ เขา้ ใจภาษาของลกู โดยฝึกให้ลกู ช้ีสง่ิ ของ รปู ภาพ หรอื อวัยวะดว้ ย เปน็ ตน้ 6. พ่อแม่ควรลดการใช้สื่อผ่านจอทุกรูปแบบกับลูก แต่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์กับลูกผ่านการท�ำ กิจกรรมต่างๆ รว่ มกนั เพราะพัฒนาการดา้ นภาษาจ�ำเป็นต้องเป็นการส่ือสาร 2 ทาง มากกว่าทางเดียว 42

การเล้ยี งดูและการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ การเล่นเพื่อกระต้นุ พัฒนาการ: เล่นอยา่ งไรจงึ จะสรา้ งสรรค์ การเลน่ คอื การเรียนรู้ การเลน่ คือ การพฒั นาอย่างมชี วี ิตชีวา การเล่น คือ งานของเด็ก เด็กกบั การเล่นเปน็ สิง่ ทค่ี วบคกู่ ัน การเล่นเปน็ ส่วนหน่งึ ในชีวติ เด็กท่ีจำ� เปน็ ส�ำหรับการพฒั นาตลอด จนก่อให้เกดิ การเรยี นรู้ การฝึกทกั ษะ การแกป้ ญั หา เพอื่ ท่ีจะไดพ้ ัฒนาไปถงึ ทักษะทีซ่ ับซอ้ นได้ โภชนาการท่ี ดจี ำ� เปน็ สำ� หรบั พฒั นาการทางดา้ นรา่ งกายฉนั ใด การเลน่ ทส่ี รา้ งสรรคจ์ ำ� เปน็ สำ� หรบั พฒั นาการทางดา้ นจติ ใจ และสตปิ ญั ญาฉนั นนั้ ดงั นนั้ การเลน่ ทเ่ี หมาะกบั ชว่ งวยั หรอื พฒั นาการของเดก็ ยอ่ มจะสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ขบวนการ เรยี นรทู้ ต่ี อ่ เนอื่ ง ทสี่ ำ� คญั คอื พอ่ แม่ ตอ้ งมสี ว่ นรว่ มกบั ลกู ในการเลน่ ซง่ึ นอกจากเปน็ ชว่ งเวลาของครอบครวั ที่ ดที ี่สุดแล้ว พอ่ แมย่ ังจะได้เหน็ การพัฒนาของลกู ไปดว้ ย ด้านร่างกาย การเล่นเป็นการพัฒนากล้ามเน้ือทุกส่วนของร่างกาย ลูกท่ีได้เคลื่อนไหวขณะเล่นจะ ทำ� ใหก้ ลา้ มเนอ้ื ท�ำงานประสานกันไดด้ ี สง่ ผลให้เกดิ การพัฒนากล้ามเน้ือ ด้านจิตใจและอารมณ์ การเล่นจะชว่ ยสร้างจติ ใจทีด่ แี ละปรับอารมณ์ของลกู ได้ ลกู จะได้ร้จู ักการแก้ ปัญหา คลายความเครยี ด วติ กกงั วล สติปญั ญา การเล่นสอนให้ลูกได้มโี อกาสคดิ แสดงความเป็นตวั ของตวั เอง มคี วามคดิ ริเร่ิมและเสริม พฒั นาความเชื่อมน่ั ในตวั เอง รวมทั้งส่งเสริมให้เกดิ จินตนาการ รจู้ ักยดื หยนุ่ สง่ิ เหล่านี้จะเปน็ พน้ื ฐานในการ พฒั นาใหเ้ ตบิ โตเป็นผใู้ หญท่ มี่ ศี ักยภาพตอ่ ไป ดา้ นสังคม และศลี ธรรม รู้แพ้ รชู้ นะ ร้อู ภยั เปน็ ผลบวกทส่ี �ำคญั จากการเลน่ ลูกจะไดฝ้ กึ เมื่อไดเ้ ลน่ กบั เดก็ อ่ืน ลูกจะเรยี นรูก้ ารอยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ่นื เรียนรูท้ ีจ่ ะแบ่งปัน ถ้อยทถี ้อยอาศยั ฝกึ ให้รูจ้ ักการรอคอย เรยี น รูท้ ีจ่ ะปรับตวั เพื่อใหอ้ ยู่ในกลมุ่ เพอื่ นได้อยา่ งมีความสุข คุณลกั ษณะของของเล่นทด่ี ี มดี ังน้ี 1. เหมาะสมกบั วยั ความสามารถและความสนใจของลกู ของเลน่ ควรเหมาะกบั พฒั นาการของลกู ใน แต่ละช่วงวยั ของเล่นทง่ี ่ายเกนิ ไปลูกจะเบือ่ ตรงกันขา้ มของเลน่ ท่ียากไป ลกู จะท้อถอยไม่สนกุ กบั การเลน่ 2. ของเล่นที่เปดิ โอกาสให้ลกู ไดส้ �ำรวจจะพฒั นาประสาทสมั ผสั พฒั นาความคดิ การเลยี นแบบ การ สร้างจนิ ตนาการอย่างสรา้ งสรรค์ 3. ของเลน่ ทเี่ ลน่ ไดท้ กุ วยั เชน่ ฟตุ บอล ตกุ๊ ตา บลอ็ กไม้ โดยรปู แบบการเลน่ จะแตกตา่ งกนั ไปตามวยั 4. ทนทาน สามารถลา้ งและทำ� ความสะอาดได้งา่ ย 5. ปลอดภัย ปราศจากสารพิษ 43

การเลย้ี งดูและการสร้างเสรมิ สุขภาพ การเล่นทเ่ี หมาะสมกบั พัฒนาการของเด็ก แรกเกิด-3 เดอื น: ของเลน่ ท่ีเหมาะกบั ลูกวยั น้ี คอื ของเลน่ ทีก่ ระต้นุ ประสาทสัมผสั ทัง้ 5 ได้แก่ การมองเห็น การไดย้ นิ การสมั ผสั การดมกลิน่ การรบั รส เด็กแรกเกิดเร่มิ มองเห็นแลว้ ในระยะ 8-12 น้ิว ชอบสีสนั ที่สดใส ชอบมองการเคลอื่ นไหว ได้ยินเสยี งต้งั แต่อยู่ในครรภ์มารดา และจะมีการเปลย่ี นแปลง ท่ีแสดงให้เห็นในด้านการเคลอื่ นไหวเมอ่ื ได้ยินเสียง เช่น การหนั หาเสยี ง การขยับมอื ขยับเท้า แยกความ รสู้ กึ สมั ผสั ทแี่ ตกตา่ งและรบั รกู้ ลนิ่ ของพอ่ แมไ่ ปพรอ้ มกนั ดว้ ย การศกึ ษาในตา่ งประเทศพบวา่ เดก็ จะมกี าร ตอบสนองท่ีแตกต่างกันอย่างชัดเจนเมื่อได้กล่ินของคนเลี้ยงกับคนแปลกหน้า ดังน้ันในวัยนี้พ่อแม่และ คนเลี้ยงจึงเป็นของเลน่ ทดี่ ที ส่ี ดุ ลกู จะชอบมองหน้าคน พอ่ แม่ควรจะอมุ้ พูดคุยขณะก�ำลังเปลีย่ นผา้ ออ้ ม รว่ มกบั การมองหนา้ สบตา รอ้ งเพลงกลอ่ มลกู ดว้ ยนำ้� เสยี งสงู ๆ ตำ�่ ๆ โทนเสยี งทน่ี มุ่ นวล ลกู จะเพลดิ เพลนิ ประกอบการเล่นแบบไทยๆ เชน่ การเลน่ ปูไต่ จะเปน็ การกระตุ้นประสาทสมั ผัสทางผิวหนงั พัฒนาการ ดา้ นภาษาและการพูดสอ่ื สาร ทักษะดา้ นสงั คมโดยเฉพาะการมองหนา้ สบตา และการมีปฏสิ ัมพันธท์ าง สงั คมอยา่ งเหมาะสมกบั พอ่ แม่ การแขวนของเลน่ ชนดิ แขวนใหล้ กู ดู เชน่ แขวนปลาตะเพยี น ซงึ่ ขบวนการ เลน่ ดงั กลา่ วจะเสรมิ สรา้ งความรกั ความผกู พนั ตลอดจนชว่ ยใหล้ กู สามารถเรยี นรทู้ จี่ ะควบคมุ ตนเองไดด้ ี ขน้ึ นอกจากนนั้ ในบางครง้ั ลกู วยั นอี้ าจชอบมองกระจกดหู นา้ ตวั เองทเี่ ปลย่ี นแปลงไป บางคนจะยมิ้ บาง คนจะเป่าปากท�ำใหเ้ กิดการเรยี นร้ทู ี่จะเช่ือมโยงตัวเองกับสิ่งแวดลอ้ ม 4-6 เดอื น: ลูกวัยน้ีจะเริม่ มีการเลน่ อย่างมจี ดุ มงุ่ หมายและซับซอ้ นมากข้นึ ลกู เร่มิ มคี วามสังเกต มากขน้ึ สนใจในการเคลื่อนไหวของแขนและขาของตน ดังนน้ั การร้องเพลงที่มีการเคลือ่ นไหว เชน่ เพลง โยกเยกเอย จะเหมาะกบั ลกู ในชว่ งวยั น้ี ลกู จะเรม่ิ ควา้ ของใกลต้ วั และชอบทจ่ี ะสมั ผสั พนื้ ผวิ ทแ่ี ตกตา่ ง มี 44

การเลีย้ งดูและการสร้างเสริมสขุ ภาพ ความอยากรอู้ ยากเหน็ ในสิ่งรอบตัวมากขนึ้ กรุ๊งกรง๊ิ ทสี่ นั่ แลว้ เกิดเสยี ง ลกู วัยน้ีจะชอบเปน็ พเิ ศษ ดงั น้นั ต๊กุ ตานุ่มๆ ทีท่ �ำดว้ ยพื้นผ้าทแ่ี ตกต่างกันไป แขวนหรือวางของเล่นไว้ในระยะท่ลี ูกพอเออ้ื มถงึ แกวง่ ของ และล่อให้ลูกเอื้อมมอื ไปคว้าจะเปน็ การเปดิ โอกาสใหล้ กู ไดม้ ีพฒั นาการในการใชก้ ล้ามเนอื้ มดั เลก็ ถ้าพ่อ แม่สามารถทีจ่ ะเลน่ ร่วมไปกับการใชช้ วี ติ ประจำ� วันของลูก เชน่ การอาบน�้ำ การใส่ผา้ อ้อม จะเปน็ สง่ิ ท่ี ดีทส่ี ุด นอกจากน้ันลูกวัยนี้จะเรม่ิ เลียนแบบเสียงพดู คยุ พอ่ แมค่ วรพดู กบั ลกู โดยพยายามท�ำเสยี งบางคำ� ซ้�ำๆ เพอ่ื ให้เด็กตอบกลบั มา เช่น จา๋ จะ๊ เสียงพดู ควรเป็นเสียงท่ีลูกจะเลียนแบบไดง้ า่ ย แมว้ า่ ค�ำนั้นจะ ไม่มคี วามหมายก็ตาม 6-9 เดือน: ลูกวัยนี้เริ่มท่ีจะเคล่ือนไหวได้เอง เรียนรู้การใช้เหตุและผลง่ายๆ เร่ิมมีทักษะภาษา ทดี่ ขี น้ึ ดงั นน้ั กิจกรรมทีเ่ หมาะกบั ลกู วัยน้ีคอื การเลน่ จะ๊ เอ๋ เล่นตบแปะ การร้องเพลงท่มี ีการตอบสนอง พรอ้ มการทำ� ทา่ ทางประกอบ เชน่ เพลงนว้ิ โปง้ อยไู่ หน เพลงจบั ปดู ำ� เพลงทช่ี ว่ ยฝกึ กลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ เชน่ แมงมมุ ขยมุ้ หลงั คา การเลน่ กลงิ้ ลกู บอลจะชว่ ยสง่ เสรมิ พฒั นาการของกลา้ มเนอ้ื และปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ ง ลูกกบั ผู้อื่นดว้ ย ในช่วงตน้ ลูกจะสำ� รวจของเลน่ ด้วยปาก ดังนัน้ ตกุ๊ ตายางสำ� หรับกดั จงึ เหมาะกบั ลกู วัยนี้ ต่อมาเมื่อลกู เกง่ ข้ึนจะเริ่มใช้มือและนิ้วในการส�ำรวจสง่ิ ของ 9-12 เดอื น: ลกู วยั นจี้ ะเรมิ่ เรยี นรทู้ จ่ี ะสอื่ สารบทสนทนา งา่ ยๆ สน้ั ๆ ได้ ถงึ แมเ้ ขาจะยงั มหี รอื ไมม่ ี ค�ำพูด แต่เขาเรมิ่ ทจี่ ะเขา้ ใจภาษาทา่ ทางของพอ่ แม่ เราควรหดั ใหล้ ูกฝึกช้ีรปู ภาพจากหนงั สอื โดยจับมอื ลูกชที้ ร่ี ปู ภาพที่เราพูดชื่อ และใหล้ กู พดู ตาม ดังน้ัน หนงั สอื ภาพจึงเป็นของเลน่ ทีเ่ หมาะสมและลกู เองก็ จะมีความรสู้ กึ สนุกกับการเลน่ แบบนเ้ี ช่นกนั การร้องเพลงทม่ี ีภาษาคล้องจอง ภาษาซำ�้ ๆ กาเอย๋ กา ทอ่ ง บทกลอนกล่อมลกู จะชว่ ยสง่ เสรมิ ความเข้าใจภาษา และเปน็ การฝกึ ให้ลูกคนุ้ เคยกับฐานเสยี งต่างๆ ดว้ ย การเลน่ ตกุ๊ ตาหนุ่ โดยสมมตุ ิให้ตกุ๊ ตาพดู คุยกบั ลกู และให้เดก็ ตอบโต้ตกุ๊ ตา จะเปน็ การสง่ เสรมิ พฒั นาการ ทางภาษาไดอ้ ยา่ งดี ลกู วยั นจ้ี ะเรมิ่ เกาะยนื การใหข้ องเลน่ ลากจงู จะชว่ ยสง่ เสรมิ พฒั นาการของกลา้ มเนอ้ื มดั ใหญแ่ ละการท�ำงานประสานกนั ของกลา้ มเนือ้ ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างสมดุล 12-24 เดอื น: จุดเด่นของลกู วยั น้ีคอื ลกู เรม่ิ ทจี่ ะเคล่อื นไหวได้อย่างเป็นอิสระมากข้ึน เร่มิ มคี วาม เปน็ ตวั ของตวั เองอยากทจี่ ะทำ� สงิ่ ตา่ งๆ ดว้ ยตวั เอง มคี วามเขา้ ใจการสอ่ื สารกบั ผอู้ น่ื โดยมที า่ ทางประกอบ ต่อมาลกู เก่งขนึ้ จะสามารถเขา้ ใจการสอ่ื สารกับผ้อู ่ืนโดยไมม่ ที ่าทางประกอบได้เมอ่ื อายุขวบคร่ึง ถงึ วยั นี้ เกมทลี่ กู ชอบเลน่ คงหนไี มพ่ น้ เกมไลจ่ บั ในชว่ ง 1 ขวบตน้ ๆ บางครง้ั ลกู ยงั ชอบทจ่ี ะเคลอื่ นทโ่ี ดยการคลาน มากกวา่ เดินแม้วา่ วัยนจ้ี ะเรม่ิ ต้ังไขห่ รอื เดนิ ได้ 2-3 ก้าวก็ตาม โดยคุณคลานไลจ่ บั หรือถา้ ลูกเดนิ ได้แลว้ ก็ เดนิ ไลจ่ บั ลกู จะสนกุ สนานมากทเี ดยี วเพราะการเลน่ นนั้ เขา้ กบั พฒั นาการทล่ี กู เรมิ่ ทำ� ได้ นอกจากนนั้ การ เล่นเลยี นแบบยังเปน็ ส่งิ ท่ีลูกวยั นช้ี ืน่ ชอบ เชน่ เหน็ แมก่ วาดบา้ น ลูกจะกวาดตาม การรอ้ งเพลง ทำ� ทา่ ประกอบเข้าจังหวะเป็นการฝึกภาษาท่าทาง ท�ำให้ลูกได้รู้จักค�ำศัพท์ใหม่ๆ เพลงท่ีเหมาะกับวัยนี้ เช่น 45

การเลี้ยงดแู ละการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ เพลงร่างกายเรา เพลงชา้ งๆ การหัดตบมอื เข้าจงั หวะก็เปน็ อีกทกั ษะที่จะชว่ ยให้ลกู ไดฝ้ ึกการทำ� งานของ การเคลื่อนไหวต่างๆ ใหส้ มั พนั ธก์ ัน นอกจากนน้ั ควรอ่านหนังสอื ใหล้ กู ฟัง และให้ลกู มสี ่วนรว่ ม ลูกวยั น้ี จะชอบหนงั สือทีม่ ีรปู เดย่ี วเหมอื นจริง เชน่ รูปสัตว์ ผลไม้ ท่ีฉากหลังของภาพไมร่ กรงุ รงั เปน็ ต้น 46

การเล้ยี งดูและการสรา้ งเสริมสุขภาพ ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อผ่านจอเข้ามามีอิทธิพลอย่างมากต่อชีวิตประจ�ำวันของทั้งเด็กและ ครอบครวั ซงึ่ สอ่ื เหลา่ น้ี ได้แก่ โทรทัศน์ ดีวดี ี คอมพิวเตอร์ วดิ โี อเกม อนิ เตอร์เน็ต โทรศัพทม์ อื ถือ และ แทบ็ เลต็ จากการศกึ ษาวจิ ยั ในประเทศไทยพบวา่ พอ่ แมส่ ว่ นใหญม่ กั เลย้ี งลกู อยหู่ นา้ สอ่ื ผา่ นจอตงั้ แตล่ กู ยงั อายนุ อ้ ย โดยพบวา่ รอ้ ยละ 98 ของเดก็ อายุ 6 เดือนจะถกู เล้ยี งอยู่หน้าสอื่ ผา่ นจอเหลา่ นั้น ซง่ึ เปน็ เวลา ค่อนข้างมากเมื่อเปรียบเทียบกับกิจกรรมอ่ืนๆ ที่ลูกควรท�ำในแต่ละวัน นอกจากน้ีพ่อแม่ยังอาจปล่อย ให้ลูกได้รบั สอื่ เองตามล�ำพังโดยเฉพาะเวลาทพ่ี ่อแม่จำ� เป็นตอ้ งท�ำงานตา่ งๆ จงึ ท�ำให้เด็กยุคปัจจุบันขาด โอกาสในการทำ� กิจกรรมอนื่ ๆ ท่คี วรจะทำ� ในชวี ิตประจำ� วันมากขึน้ ราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย รวมทงั้ ราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทยใ์ นตา่ งประเทศ จงึ มีประกาศหา้ มมิให้เด็กชว่ ง 0-2 ปีแรกได้ใช้ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื สอ่ื ผ่านจอ ปัจจุบันยังไม่มีงานศึกษาวิจัยใดเลยท่ีสรุปได้อย่างชัดเจนว่าส่ือผ่านจอเพียงอย่างเดียวจะช่วย ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กท่ีอายุน้อยกว่า 2 ปีได้ แต่กลับพบว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์อาจส่งผลกระทบต่อ พฒั นาการ พฤติกรรมและสขุ ภาพของลกู ได้ ทงั้ ๆ ทสี่ ่อื นัน้ ถูกเปิดไว้เฉยๆ โดยท่ลี กู ไม่ได้ดกู ต็ าม เชน่ ลูก มีโอกาสได้เลน่ กบั พี่น้อง หรือพูดสือ่ สารกับพ่อแมล่ ดลง จนทำ� ให้มีพัฒนาการทางภาษาล่าช้า และอาจ มีระดบั สติปญั ญาลดลงได้ ส่อื ยงั มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอ้วน การทำ� งานของสมองทีเ่ กีย่ วกับการ บรหิ ารจดั การ หรอื การรคู้ ดิ ลดลง มปี ัญหาซน/สมาธสิ ั้น พฤติกรรมรุนแรง ก้าวร้าว และปญั หาการนอน เช่น ลูกต่อตา้ นไม่ยอมเข้านอน นอนหลับยากขน้ึ ทำ� ใหน้ อนหลับช้ากว่าปกติ จนส่งผลใหล้ กู นอนหลบั ไม่ เพียงพอได้ ในทางกลบั กนั สอ่ื ผา่ นจอโดยเฉพาะโปรแกรมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษากอ็ าจจะสง่ ผลดตี อ่ เดก็ ตง้ั แต่ วัยอนบุ าลได้ โดยช่วยสอนเก่ียวกับเรอ่ื งจ�ำนวน ตัวอักษรต่างๆ เพิ่มความพรอ้ มส�ำหรบั การเรยี นหนังสือ ในโรงเรียน รวมท้ังยังช่วยสอนเด็กเกี่ยวกับการเห็นอกเห็นใจผู้อื่น การยอมรับความแตกต่างระหว่าง บุคคล และการมีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ด้วย สื่อท่ีมีลักษณะสนับสนุนสังคมจะท�ำให้เด็กท�ำพฤติกรรมที่ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากข้ึน คำ� แนะน�ำสำ� หรับพอ่ แมเ่ กี่ยวกบั การให้ลูกได้รบั สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ย่างเหมาะสม 1. ควรหลีกเลยี่ งทีจ่ ะใหล้ กู ทมี่ ีอายนุ อ้ ยกว่า 2 ปี ไดร้ บั สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ลย ในขณะทล่ี กู ที่ มอี ายุตงั้ แต่ 2 ปีข้นึ ไปไม่ควรได้รับสือ่ อิเลก็ ทรอนิกสเ์ ป็นเวลามากกวา่ 1-2 ชั่วโมงต่อวัน 2. ควรเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ใี นการไดร้ บั สอ่ื ตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม รวมทง้ั ควรตระหนกั เกย่ี วกบั การได้ รบั ส่ือของตนเองร่วมด้วย และควรหลีกเล่ียงการไดร้ บั สือ่ โดยเฉพาะเมอ่ื มีเด็กเลก็ อยใู่ นห้องขณะนั้นด้วย 47

การเล้ียงดูและการสร้างเสริมสขุ ภาพ 3. ควรเลอื กโปรแกรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาของลกู มากกวา่ โปรแกรมทถี่ กู จดั อยใู่ นระดบั ทไ่ี ม่ เหมาะสมส�ำหรบั เด็ก เชน่ ส่ือท่มี คี วามก้าวร้าวรนุ แรง หรือมเี น้ือหาเกีย่ วกบั เรอ่ื งเพศ 4. ควรดูสื่อต่างๆ ไปพร้อมกบั ลูกดว้ ย เพอ่ื พูดคยุ เกยี่ วกับเนื้อหาทไี่ ด้รับร่วมกนั หากท�ำได้ 5. ควรมีความรู้เก่ียวกับส่ือสมัยใหม่ และสามารถให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำเก่ียวกับการได้รับส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ตา่ งๆ สำ� หรับลูกได้อยา่ งเหมาะสม 6. ควรท�ำให้ห้องนอนของลูกปราศจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เพ่ือลดโอกาสที่ลูกจะเข้าถึงสื่อต่างๆ ได้ง่ายขน้ึ รวมทั้งไมค่ วรให้ลูกได้รับสือ่ อย่างนอ้ ย 1 ช่วั โมงก่อนเขา้ นอน เพราะจะยงิ่ ท�ำใหล้ กู นอนหลับยากข้นึ 7. ควรมีทัศนคติท่ีถูกต้องว่าปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานจากงานศึกษาวิจัยต่างๆ ท่ีสนับสนุนว่าส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์สามารถสง่ เสรมิ พฒั นาการ หรือสตปิ ญั ญาของลกู ได้จรงิ โดยเฉพาะในเด็กเล็ก 8. ควรตงั้ กฎเกณฑใ์ นการได้รับส่ือประเภทต่างๆ อยา่ งเหมาะสม 9. ควรให้ความสำ� คัญกับการเลน่ ตามวยั ส�ำหรับเด็กเลก็ โดยหาของเลน่ ตา่ งๆ ใหล้ กู เล่นเองใกล้ กับบรเิ วณที่พ่อแม่กำ� ลังทำ� งานอยู่ และควรใหค้ วามส�ำคญั กับการท�ำกจิ กรรมตา่ งๆ ในครอบครวั ร่วมกัน โดยปราศจากสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พอื่ สง่ เสรมิ ใหล้ กู มพี ฒั นาการ และสตปิ ญั ญาทส่ี มวยั รวมทง้ั มจี นิ ตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ทกั ษะการแกป้ ญั หาต่างๆ และการคิดอย่างมีเหตุผล 10. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตควรตั้งไว้ในห้องน่ังเล่นเพื่อพ่อแม่จะได้เฝ้าระวังและ ติดตามการใช้คอมพวิ เตอร์ และอินเตอรเ์ น็ตของลกู ไดอ้ ย่างใกลช้ ดิ 11. ควรให้ความรู้ต่างๆ ท่ีจ�ำเป็นเก่ียวกับการได้รับสื่อแก่ลูกอย่างเหมาะสมตามวัย เพื่อให้ลูก สามารถมีวจิ ารณญาณ และรูเ้ ทา่ ทันวัตถปุ ระสงค์ และเนือ้ หาส�ำคญั จากส่อื ประเภทต่างๆ มากข้นึ โดยสรุปพ่อแม่ควรมีความตระหนักเก่ียวกับอิทธิพลของส่ือต่อลูก เน่ืองจากไม่ใช่สื่อทุกประเภท จะเปน็ สอ่ื ทมี่ คี ณุ ภาพ และสง่ ผลดตี อ่ พฒั นาการ พฤตกิ รรมและสขุ ภาพของลกู แตก่ ารจะหลกี เลยี่ งไมใ่ ห้ ลกู ไดร้ บั สอ่ื เลยไมน่ า่ จะเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏบิ ตั ิ ดงั นนั้ พอ่ แมค่ วรชว่ ยเหลอื ลกู ใหไ้ ดร้ บั สอ่ื ทมี่ คี ณุ ภาพ และ สรา้ งสรรคอ์ ยา่ งเหมาะสม รว่ มกบั ดู และพดู คยุ กบั ลกู เกยี่ วกบั รายการทลี่ กู ดไู ปดว้ ย ตลอดจนสามารถเฝา้ ระวงั และตดิ ตามปัญหาต่างๆ ทอ่ี าจจะเกดิ ข้นึ จากสอ่ื ประเภทตา่ งๆ ได้ต้ังแตร่ ะยะเร่ิมแรก เพอื่ สามารถ ใหก้ ารชว่ ยเหลือลกู ไดอ้ ย่างเหมาะสมตอ่ ไป 48

การเลยี้ งดแู ละการสร้างเสรมิ สุขภาพ การนอน การนอนเปน็ ชว่ งเวลาแหง่ ความสขุ และสำ� คญั กบั สขุ ภาพ การนอนหลบั ของคนเรานน้ั มอี ยู่ 2 ชนดิ คือ การหลับที่สนิทจริงๆ หรือการหลับลึกเป็นการนอนหลับที่การท�ำงานของสมองลดลง จะพบว่าลูก นอนหลับเงยี บ ใบหน้าสงบ ดวงตาปดิ สนทิ หายใจสม่ำ� เสมอ และการเคลิ้มหลับเป็นการนอนทยี่ งั มกี าร เคลอื่ นไหวของลกู ตา และสมองยงั มกี ารทำ� งาน การหายใจและชพี จรจะเรว็ ขน้ึ และไมส่ มำ�่ เสมอ ความฝนั มกั เกดิ ขนึ้ ช่วงนี้ ทส่ี �ำคญั วงจรการนอนของเด็กกับผใู้ หญจ่ ะไม่เหมือนกนั ช่วงตน้ ของเด็กทารก และสว่ น ใหญ่การนอนจะเปน็ การเคล้มิ หลับ แต่เม่ือเดก็ โตการเคลิ้มหลบั จะลดลง และเด็กจะค่อยๆ พฒั นาความ สามารถในการนอนหลบั เอง และนอนในเวลากลางคนื ไดน้ านขนึ้ เมอื่ อายเุ พมิ่ ขนึ้ ซง่ึ โดยทวั่ ไปเดก็ อายุ 3 เดอื นจะเรมิ่ มกี ารพฒั นาทกั ษะน้ี และสามารถกลอ่ มตวั เองใหห้ ลบั ตอ่ ไดเ้ มอ่ื ตนื่ กลางดกึ โดยไมต่ อ้ งอาศยั พอ่ แมช่ ว่ ย ดงั นนั้ ควรฝกึ วางลกู นอนหงายลงบนเตยี งนอนขณะครง่ึ หลบั ครงึ่ ตน่ื เพอ่ื ใหล้ กู กลอ่ มตวั เองจน หลบั ได้ ซงึ่ พอ่ แมไ่ ม่ควรใหน้ มทุกครง้ั ท่ลี กู ขยบั ตัว ปลอ่ ยให้ลกู หลับต่อด้วยตวั เองแล้วลูกจะมีสขุ ลกั ษณะ การนอนทดี่ ี ฮอรโ์ มนทมี่ ผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตมกั จะหลงั่ ในชว่ งของการนอน ดงั นนั้ จะสง่ ผลใหเ้ ดก็ มกี าร เจริญเติบโต และมีพฒั นาการทดี่ ีตามล�ำดับ จำ� นวนช่ัวโมงท่เี ดก็ ตอ้ งการนอนหลับในแต่ละวันแตกต่างกนั ไปแต่ละบคุ คล และลดลงตามวยั จำ� นวนช่ัวโมงท่ี อายุ พฤตกิ รรม ตอ้ งการนอนหลบั /วัน 0-1 ปี มักหลับตอนกลางวนั บอ่ ยคร้งั -นอนหลับตอนกลางวัน 2 คร้งั /วัน 12-16 1-2 ปี หลบั ตอนกลางวัน 1-2 คร้ัง/วัน 11-14 3-5 ปี หลบั ตอนกลางวนั 0-1 คร้งั /วนั 10-13 6-12 ปี ไม่จ�ำเปน็ ต้องหลบั ตอนกลางวนั 9-12 13-18 ปี ไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งหลบั ตอนกลางวนั 8-10 49

การเล้ียงดูและการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ • การสรา้ งสขุ นสิ ยั การนอนท่ดี ใี นเดก็ : พ่อแม่ควรสรา้ งสขุ นสิ ยั การนอนท่ดี สี ำ� หรับลูกดงั น้ี 1. ก�ำหนดเวลาเข้านอน และกจิ วตั รประจำ� วันกอ่ นนอนให้ชดั เจน 2. ปรบั เวลาเข้านอน และเวลาต่นื นอนทัง้ วันธรรมดา และวนั หยดุ ให้ต่างกันไม่เกิน 1 ชว่ั โมง 3. หลีกเล่ียงการนอนชดเชยในวันหยุด 4. ควรทำ� กิจกรรมเงียบๆ กอ่ นเวลาเข้านอน 30-60 นาที 5. หลกี เลี่ยงไมใ่ หห้ ิว งดอาหาร/ เครื่องดมื่ ที่มคี าเฟอีนก่อนเข้านอน 6. ห้ามใชย้ านอนหลบั หรอื ยาต่างๆ เพอื่ ช่วยให้นอนหลบั 7. ควรส่งเสริมให้ลกู ออกก�ำลงั กายทกุ วนั 8. ปรบั หอ้ งนอนใหเ้ งียบสงบ ไม่สวา่ งเกนิ ไป และมีอณุ หภมู พิ อเหมาะ 9. หากต้องนอนตอนกลางวัน ควรนอนส้นั ๆ ไมเ่ กนิ 3 ชั่วโมง และควรนอนตง้ั แต่ช่วงบ่ายต้นๆ 10. ไมค่ วรใชห้ อ้ งนอนเป็นท่ลี งโทษลกู 11. ควรใช้เตียงส�ำหรบั การนอนหลับเพยี งอยา่ งเดียว 12. ไมค่ วรมแี ละใช้อุปกรณ์ส่ืออิเลก็ ทรอนิกสต์ า่ งๆ ในหอ้ งนอน เพราะจะรบกวนการนอนของลูกได้ • พ่อแม่ควรจดั ระเบียบการนอนหลับ โดยเริม่ ฝึกไดต้ ้ังแต่แรกเกดิ ดงั น้ี แรกเกิด-4 เดอื น 1. ช่วงกลางวนั ไม่ควรปล่อยให้ลกู นอนหลบั ติดตอ่ กันนานเกิน 3-4 ชั่วโมง 2. หากท�ำได้ ควรให้ลูกนอนบนเตียง หรอื ที่นอนท่แี ยกต่างหากจากเตียงของพ่อแม่ 3. ให้ลูกนอนบนเตยี งของเขาในขณะท่ีง่วงแตย่ งั ต่นื อยู่ 4. ให้ลูกนอนหลบั ดว้ ยตัวเอง ไมต่ ้องอมุ้ กล่อม และไมใ่ ห้ดูดนมจนหลับ 5. ให้ลกู กล่อมตวั เอง อนุโลมให้จบั ผา้ อ้อม ดูดน้ิวมือ ในบางคร้ัง 6. หากจ�ำเป็นต้องให้นมกลางดกึ ควรใช้เวลาสั้นทสี่ ดุ กระตุน้ ลูกให้นอ้ ยที่สดุ 7. ถา้ ลกู รอ้ งหรอื ขยบั ตวั ควรปลอ่ ยใหล้ กู กลอ่ มตวั เองใหน้ อนหลบั ตอ่ ดว้ ยตวั เองกอ่ นทจ่ี ะเขา้ ไปปลอบ 4-6 เดอื น 1. หากลูกต่ืนขน้ึ มาร้องตอนกลางคนื ควรรอประมาณ 5 นาที ก่อนจะเขา้ ไปตอบสนอง เพ่อื ให้ ลูกหลบั ตอ่ ด้วยตวั เอง 2. ถา้ ยงั รอ้ งตอ่ อาจปลอบโยนโดยใช้เวลาใหน้ ้อยทส่ี ดุ พยายามหลีกเลยี่ งการกระตนุ้ หรอื อุ้มลูก อาจเริ่มดว้ ยการสง่ เสียงปลอบเบาๆ สัมผสั ตวั ลกู อย่างนมุ่ นวล หรือตบก้นเบาๆ 3. ลกู ในวยั นส้ี ามารถอยไู่ ดโ้ ดยไมต่ อ้ งการนมมอื้ กลางคนื ดงั นนั้ คอ่ ยๆ ลดความถี่ และจำ� นวนลง จนลกู สามารถนอนหลับยาวโดยไมต่ อ้ งต่นื มากนิ นมชว่ งกลางคนื ไดใ้ นทส่ี ดุ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook