Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice แนวปฏิบัติที่ดี การส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ TREES Model

Best Practice แนวปฏิบัติที่ดี การส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ TREES Model

Published by pankpank1201, 2022-08-23 20:19:57

Description: Best Practice แนวปฏิบัติที่ดี การส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ TREES Model

Keywords: best practice

Search

Read the Text Version



ชอ่ื ผลงาน “แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี” การส่งเสรมิ การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ๒ และส่งิ แวดล้อมโดยใช้ TREES Model ประเภทผลงาน แนวปฏบิ ตั ิทีด่ ีเปน็ รายดา้ น  ด้านที่ ๑ โภชนาการและสุขภาพอนามยั  ด้านที่ ๒ การสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษา  ด้านที่ ๓ การส่งเสริมอาชพี  ด้านที่ ๔ การอนรุ ักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น  ดา้ นท่ี ๕ คณุ ธรรมและจริยธรรม  ดา้ นที่ ๖ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม โรงเรยี น หมอ่ มเจา้ เจรญิ ใจ จติ รพงศ์ ทอี่ ยู่ หมบู่ า้ นง้อมเปา ตำบล ขนุ นา่ น อำเภอ เฉลิมพระเกียรติ จงั หวดั นา่ น รหสั ไปรษณยี ์ ๕๕๑๓๐ สังกัด สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาน่าน เขต ๒ ช่ือผเู้ สนอผลงาน นางสาววันเพญ็ ไผทพิทกั ษ์วงค์ โทรศัพทม์ อื ถอื ๐๖๓ - ๒๖๙๔๙๓๕ ชอ่ื ผเู้ สนอผลงาน นางสาวสวุ นนั ท์ แปงอุด โทรศัพทม์ ือถือ ๐๖๒ - ๖๑๐๒๐๖๙ ๑. ความสำคัญของ “แนวปฏิบัติท่ีดี” ทน่ี ำเสนอ โรงเรียนหม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์ ตั้งอยู่เลขที่ ๒๐๙ หมู่ ๑ หมู่บ้านง้อมเปา ตำบลขุนน่าน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต ๒ เปิดสอนในระดับอนบุ าลจนถงึ ช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น เป็นโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) อำเภอเฉลิมพระเกียรตินับเป็นอำเภอตั้งที่อยู่ตามแนวตะเข็บชายแดนประเทศไทย-ลาว ซึ่งได้รับผลกระทบทางด้าน มลพษิ ทางอากาศโดยแหลง่ ทม่ี าคือ โรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ นจากถา่ นหนิ ลิกไนต์ มีฐานการผลติ ตงั้ อยูท่ เี่ มืองหงสา ของแขวงไซ ยะบุรี ประเทศลาว โดยมีระยะทางจากโรงไฟฟ้าพลังงานกระแสไฟฟ้า ห่างจากใจกลางเมืองหงสาประมาณ 10 กิโลเมตร และ ห่างจากชายแดนไทย ที่จงั หวัดนา่ นประมาณ 30 กิโลเมตร และผลกระทบจากมลพษิ ทางอากาศ ทั้งฝนุ่ P.M. 2.5 และก๊าซพิษ ต่างๆ จากโรงงาน อีกทั้งยังโลหะหนักเข้าสู่แหล่งน้ำในพื้นที่ชุมชนที่ชาวบ้านใช้ (คณะทำงานติดตามการลงทุนข้ามพรมแดน (Extra-Territorial Obligations: ETOs Watch),2561) ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนแล้วเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยตรง ของมนุษย์ สตั ว์ และพืชผลทางการเกษตร ไม่เพียงเท่านน้ั ยงั มมี ลพษิ ทางอากาศจากการเผาป่าเพอื่ ทำไร่ ทำสวน ซึ่งเป็นกิจวัตร ประจำปีที่ชาวบ้านต้องทำเพื่อหาเลีย้ งชีพ อีกทั้งยังมีมลพิษทางอากาศจากการเผาไหม้กำจัดขยะตามบ้านเรือน สถานที่ทำงาน อย่างเช่นโรงเรียนของเรา กม็ กี ารกำจดั ขยะด้วยวิธีการคัดแยกขยะตามประเภทท่ีขายได้เพ่ือรวบรวมขายให้ทางผู้รับซื้อของเก่า ขยะที่ขายไม่ได้จำเป็นต้องเผาทิ้งเพื่อลดปรมิ าณขยะในโรงเรียนและเป็นการจัดการให้เกิดทัศนียภาพที่ดใี นการมองเห็น แต่น่ัน เป็นเพยี งการแกป้ ัญหาในเบอื้ งตน้ ซ่ึงไม่ใชเ่ ป็นการแก้ปัญหาในระยะยาวทำใหไ้ มเ่ กดิ ความย่ังยนื และไม่มีประสทิ ธิภาพ จากปญั หาดังกล่าวน้ี ทางโรงเรียนจึงเลง็ เหน็ ความสำคัญของสขุ ภาพของผู้คนท่ดี ำเนินชีวิตในพ้นื ท่ีดงั กลา่ ว หากผู้คนใน พ้นื ทีไ่ ม่ร่วมกันแก้ปญั หาอีกไมน่ าน คงเกดิ ปญั หาระบบทางเดินหายใจและอาจร้ายแรงถงึ ขั้นเป็นโรครา้ ยในอนาคตสืบเน่ืองจาก เกิดการสะสมสารพษิ ในร่างกายในระยะเวลานาน ในการนี้ทางโรงเรียนจงึ ได้นำแนวทางการแก้ปัญหาผ่านการ SWOT วิเคราะห์ ปญั หา ไปจนถงึ การสรา้ ง TREES Model ซึ่งเปน็ กระบวนการเรียนรู้เพ่ือสง่ เสรมิ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

โดยผา่ นแกป้ ัญหาการจัดการขยะภายในโรงเรียน โดยการเห็นคณุ ค่า จนถึงการทำให้เกิดประโยชนส์ งู สุด และเกดิ ความภาคภมู ิใ๓จ ในผลงานของตัวเอง และสามารถเผยแพร่แบ่งปันความรู้ share จากประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ Learning by doing ความรูส้ ่คู รอบครัว และชุมชนตอ่ ไปได้ อีกทั้งยงั เป็นกระบวนการและวธิ ีการสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี น ครู และชมุ ชนได้ตระหนัก และเหน็ ความสำคญั ของการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ซงึ่ เปรียบดงั “ต้นไม้” ทเ่ี ป็นดั่งลมหายใจของสิ่งมีชีวิต ทั้งปวง โดยการนำวงจรคุณภาพของ Edward Demming (PDCA) มาดำเนินการและพัฒนาอย่างครบวงจรต่อเนื่องจนพบวิธิี ปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ ซ่ึงเป็นกิจกรรมการเรียนรทู้ ่มี ุ่งพฒั นาใหน้ ักเรียนมีความรับผดิ ชอบต่อสิ่งแวดล้อมที่สง่ ผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตท้ัง มวล ทง้ั มนษุ ย์ พืช และสตั ว์ โรงเรียนหม่อมเจ้าเจริญใจ จติ รพงศ์ จึงเลง็ เห็นว่า กระบวนการส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยใช้ TREES Model เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมท่ีดีเกิดผลลพั ธ์ชัดเจนทั้งในรปู ธรรม อาทิ ในเรื่องของปริมาณขยะที่ลดลง โดยผ่าน กระบวนการ 3Rs คอื การลดการใช้ การนำกลับมาใช้ใหม่ ใช้ซ้ำ การเปลีย่ นขยะใหก้ ลายเป็นประโยชนส์ ูงสุดทง้ั ได้ผลงานช้ินงาน เช่น ได้ปุ๋ยจากใบไม้ ได้กระดาษสาตกแต่งชิ้นงาน ตกแต่งห้องเรียนจากกระดาษที่ใช้แล้วทั้งสองหน้า ซึ่งมีผลทำให้นกั เรียนเกดิ ความภาคภูมิใจในฝีมือของตนเองท่ีลงมือทำด้วยตนเองทุกกระบวนการโดยมคี รูเป็นโค้ชคอยช้ีแนะแนวทาง ทั้งนี้ในอนาคตยัง สามารถตอ่ ยอดเป็นอาชีพได้ ทงั้ น้ียงั มีการเพม่ิ พ้ืนที่ป่าผา่ นการเพิม่ พื้นที่สเี ขียวโดยการยิงหนงั สตกิ๊ เมลด็ พันธุ์พืชที่มีอยู่ในท้องถิ่น ตามป่าชุมชน และผลลัพธ์ในนามธรรม นั่นคือ เมื่อสามารถเปลี่ยนขยะมาทำให้เกิดเป็นประโยชน์ก็เป็นการช่วยลดมลพิษทาง อากาศ เป็นผลทำให้ผู้คนในชมุ ชนไดร้ ับสารพิษทางอากาศลดลงและยงั มีปริมาณตน้ ไม้ทเ่ี พิม่ ข้ึนทกุ ปีคอยช่วยฟอกอากาศทำให้ ชาวบ้านในชุมชนบ้านง้อมเปาได้ตระหนักว่าหากไร้ป่าก็ไร้ซึ่งภูมิคุ้มกันของปอด และระบบทางเดินหายใจ จึงเป็นเหตุผลให้รู้ คุณคา่ และใชท้ รัพยาการธรรมชาติในชุมชนบา้ นเกิดของตนเองใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุดนั่นเอง ๒. วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน ๒.๑ เพอื่ ลดปริมาณขยะในโรงเรียนหมอ่ มเจา้ เจริญใจ จติ รพงศ์ ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนรู้คุณค่าและเห็นประโยชน์สูงสุดของขยะโดยการลดการใช้ ใช้ซ้ำและนำกลับมา ใชใ้ หม่ จนเกิดผลงานของตนเองก่อใหเ้ กดิ ความภาคภมู ใิ จในตวั เอง ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนรู้จักแบ่งปัน ความรู้ผ่านประสบการณ์การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ จริง เผยแพร่สู่ครอบครัว และชมุ ชนต่อไป ๒.๔ เพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงภัยเงียบซึ่งมาในรูปแบบมลพิษทางอากาศ จนถึงการกระตุ้นให้เกิด การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจากโรงเรียนสูช่ ุมชน เชงิ ปรมิ าณ ร้อยละ ๘๐ ของนักเรยี นโรงเรยี นหมอ่ มเจ้าเจรญิ ใจ จิตรพงศ์ ไดเ้ ข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรผู้ า่ นประสบการณ์ตรง ผ่าน กระบวนการ TREES Model และเผยแพร่ความรู้สคู่ รอบครวั และชุมชนตอ่ ไป เชิงคุณภาพ คณะครู นักเรียนและผู้ปกครองในชุมชนรู้คุณค่าและเห็นความสำคัญของการใช้ประโยชน์สูงสุดของ ทรพั ยากรธรรมชาติที่มอี ยู่ในท้องถิ่น จนถึงการตระหนักถึงความสำคัญของการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจาก โรงเรียนสูช่ มุ ชน ๓. กระบวนการผลติ งานหรอื ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน กระบวนการในการออกแบบผลงานหรือนวัตกรรมของโรงเรียนหม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์ เพื่อแก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดยการเร่ิมตน้ จากการอยากเปลย่ี นขยะใหก้ ลบั มามมี ูลค่า คุณค่า และสามารถมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ซึ่งทางโรงเรยี นหมอ่ มเจา้ เจริญใจ จติ รพงศ์ มกี ระบวนการแก้ไขปญั หาดงั ต่อไปน้ี

๓.๑ เครอ่ื งมือหรอื นวัตกรรมทใี่ ช้ ๔ TREES Model การดำเนินการแก้ปัญหาทางโรงเรียนได้นำแนวทางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพเป็นเครื่องมือในการ ประเมนิ SWOT ช่วยให้รู้ถึงจุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอปุ สรรค การบรหิ ารจัดการให้เกิดประสทิ ธิภาพเป็นไปตามแผนปฏิบัติ งาน เดมมิ่ง (Demingin Mycoted, ๒๐๐๔) ได้กล่าวไว้ว่า การจัดการอย่างมีคุณภาพเป็นกระบวนการที่ดำเนินการต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลผลิตและบริการที่มีคณุ ภาพขึ้น โดยหลักการที่เรียกวา่ วงจรคุณภาพ (PDCA) หรือวงจรเดมมิ่งซ่ึงประกอบด้วย ๔ ขน้ั ตอนคอื การวางแผนการปฏบิ ัติตามแผนการตรวจสอบและการปรบั ปรุงแกไ้ ขดังน้ี Plan คือ กำหนดสาเหตุของปัญหาจากนน้ั วางแผนเพอื่ การเปลยี่ นแปลงหรือทดสอบเพอื่ การ ปรบั ปรงุ ใหด้ ีขน้ึ Do คือ การปฏบิ ัตติ ามแผนหรือทดลองปฏบิ ัตเิ ปน็ การนำร่องในส่วนย่อย Check คอื ตรวจสอบเพอ่ื ทราบว่าบรรลผุ ลตามแผนหรือหากมีส่ิงใดท่ที ำผดิ พลาด หรอื ได้เรียนร้อู ะไร มาแลว้ บ้าง Act คือ ยอมรับการเปล่ยี นแปลง หากบรรลผุ ลเปน็ ทนี่ า่ พอใจหรือหากผลการปฏิบตั ไิ มเ่ ปน็ ไปตามแผน ใหท้ ำซ้ำวงจรโดยใช้การเรียนรูจ้ ากการกระทำในวงจรที่ได้ปฏบิ ัติไปแลว้ ซ่งึ ในการจัดประสบการณ์การเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนผา่ น TREES Model น้นั จะสามารถอธบิ ายวธิ ีการและกระบวนการได้ ดังนี้ T = Trash คือ ขยะในโรงเรยี นทม่ี ากมาย การบรหิ ารจดั การขยะดว้ ยวิธกี ารเผากำจัดต้นเหตุของการ เกดิ มลพิษทางอากาศ R = Reduce ,Reuse, Recycle คือ การลดการใช้อย่าสิ้นเปลือง ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ ทำให้เกิดความ ภาคภูมใิ จในผลงานตนเอง E = Experience คอื การสรา้ งประสบการณ์ตรงการเรยี นร้ผู ่านการลงมอื ทำ โดยการนำขยะมาเปลยี่ นเป็น ประโยชน์ เช่น ทำปยุ๋ จากใบไม้ ทำสมุดโนต้ จากกระดาษหน้าเดียว และทำกระดาษสา จากกระดาษสองหนา้ เปน็ ต้น E = Environment คอื เรยี นรู้การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม S = Share คอื นำความรู้ผ่านการลงมือปฏบิ ตั ิไปขยายสู่ครอบครัวและชุมชน

การจัดกิจกรรมตาม TREES Model จงึ นบั ไดว้ า่ เป็นอีกหน่งึ นวัตกรรมทท่ี ำใหน้ ักเรยี นได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตร๕ง ไปจนถงึ การแบง่ ปันความร้สู ู่เพอื่ นๆ ครอบครวั และชุมชนต่อไป นำไปสู่การเหน็ คุณคา่ และใช้ประโยชนส์ งู สดุ จากขยะ อกี ท้ังยัง มกี จิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนได้เพ่ิมพ้ืนที่ป่า เลง็ เห็นความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน ซ่ึงเปน็ การสร้างจิตสำนึกใน การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจากโรงเรียนสชู่ มุ ชนร่วมอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มในชุมชน ๓.๒ การสรา้ งเครื่องมอื หรือนวตั กรรม ข้ันที่ ๑ วเิ คราะหป์ ญั หาดว้ ยเคร่อื งมอื SWOT คณะครูร่วมกับนักเรยี น ผปู้ กครอง ร่วมกันวเิ คราะห์ถึงปญั หาโดยการ SWOT สรปุ ไดด้ ังน้ี จดุ แข็ง = โรงเรยี นและชมุ ชนเรามที รัพยากรธรรมชาตมิ ากมาย ท้ังใบไม้ มลู วัว จดุ อ่อน = นกั เรยี นขาดวนิ ัยในการแยกขยะ และการกำจดั ขยะทีไ่ ม่มปี ระสทิ ธภิ าพ โรงเรียนอยู่ติดชายแดนไทย-ลาว ซึ่งเสี่ยงมลพษิ ทางอากาศจากโรงไฟฟฟา้ หงสา โอกาส = โรงเรียนอยู่ในอยู่ในเขตพนื้ ท่ีตดิ ชายแดนลาวซงึ่ มกี ารคา้ ขายท่ตี ลาดชายแดนในทกุ วันเสาร์ อุปสรรค = ขาดเครื่องมือทจี่ ำเปน็ ท่จี ะเปลยี่ นขยะเปน็ ของใช้ ของมีประโยชน์ ขั้นที่ ๒. คิดนวตั กรรมและสรา้ งเครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการแก้ไขปญั หา ขั้นท่ี ๓. สร้างสรรคผ์ ลงาน เมื่อทราบถึงปัญหา จึงได้ค้นคว้า จนเกิดมาเป็น นวัตกรรมในการแก้ปัญหา คือ TREES Model จนทำให้ขยะกลายมา เปน็ ของทีส่ ามารถนำกลับมาทำให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้ ดงั นี้ 1. การทำกระดาษสารีไซเคลิ จากกระดาษทีใ่ ช้แล้วทง้ั สองหนา้ 2. การทำสมุดเล่มเลก็ สมุดโน้ต สมุดวาดเขียน สมุดบันทึก จากกระดาษท่ีถกู ใช้แลว้ หนึง่ หน้าโดยมีกระดาษสารีไซเคลิ มา เป็นหน้าปก

๖ 3. การทำปยุ๋ หมักจากใบไมแ้ ละเศษวัชพืชแบบไม่พลิกกอง สตู รจากมหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ 4. การกระจายเมล็ดพันธุไ์ ม้ให้เจรญิ เตบิ โตกระจายทว่ั ป่าชุมชน จากกิจกรรม “ยิงหนงั สติก๊ ส่งน้องกลบั สู่ป่า” เพ่ือเพม่ิ พ้ืนที่ สีเขียวในปา่ ชมุ ชนบ้านง้อมเปา 5. กิจกรรมสร้างสรรคผ์ ลงานจากขยะอกี มากมาย โดยผ่านกระบวนการ 3Rs พร้อมท้งั มกี าร share ความรูส้ ่ชู ุมชน ขัน้ ท่ี ๔. ประเมนิ ผล ผเู้ รียนทุกคนท่เี ข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรูผ้ ่าน TREES Model สามารถร่วมทำกจิ กรรมผ่านประสบการณ์ลงมือ ทำจริงได้ทกุ คน และมีความสุขสนกุ สนานเน่ืองจากได้เรยี นรูผ้ ่านการเล่น ทั้งการทำกระดาษสารีไซเคลิ จากกระดาษใช้แล้วสอง หน้า สมุดเล่มเล็ก รวมถึงการสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการ มีผลงานฝีมือตนเองเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง อีกทั้งยัง

สามารถนำความรเู้ รือ่ งการทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลกิ กองสูตรของมหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ซง่ึ เปน็ มหาวิทยาต้นแบบด้านการทำเกษตรอ๗ยู่ แล้วนัน้ ขยายสู่ครอบครวั และชุมชนตอ่ ไป อีกท้ังยงั คงสามารถต่อยอดไปเปน็ อาชพี ไดอ้ ีกดว้ ย ๓.๓ การรวบรวมข้อมลู จากผลการปฏิบัติงานของนักเรยี นหากมีข้อเสนอแนะ หรือข้อคิดเห็นจากนกั เรียนจะให้นักเรียนบันทกึ ลงในสมดุ โน๊ตของตนเอง โดยมีครูเกบ็ สถติ ิเพ่อื แกไ้ ขปญั หาไปทลี ะข้อๆ ๓.๔ การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมทกุ คนมีความสุขสนุกสนาน เพลดิ เพลินไปเนือ่ งจากไดเ้ รียนรผู้ ่านการเล่น ท้ังการทำกระดาษสารี ไซเคิลจากกระดาษใช้แล้วสองหน้า สมุดเล่มเล็ก รวมถึงการสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการ มีผลงานฝีมือตนเองเกิดความ ภาคภูมิใจในตัวเอง อีกท้งั ยงั สามารถนำความรู้เรือ่ งการทำปุ๋ยหมกั แบบไมพ่ ลิกกองสูตรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ซึ่งเป็นมหาวิทยา ตน้ แบบดา้ นการทำเกษตรอยแู่ ลว้ น้นั ขยายสู่ครอบครัว และชุมชนตอ่ ไป อกี ทงั้ ยังคงสามารถต่อยอดไปเปน็ อาชีพได้อกี ด้วย อีท้ัง คนในชมุ ชนตระหนกั ถงึ ปญั หามลพษิ ทางอากาศจากการเผาไหม้ท้ังในบ้านเรอื น สวน ไร่ จากภาพรวมกิจกรรมดังกลา่ วผู้เรยี น ครู ผปู้ กครองได้เหน็ ถงึ ความสำคัญของป่าซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติทต่ี อ้ งรกั หวงแหน และดแู ลเพ่ิมปรมิ าณของพืน้ ทีป่ ่าใหเ้ พ่ิมมาก ขึ้นหรือเพียงแค่ใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุดก็เป็นการช่วยลดการตัดไม้ ลดการเผา ซึ่งเหล่านี้ล้วนเป็นการร่วมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มทง้ั สิ้น ๔. ผลการดำเนนิ การประโยชน์ทไี่ ด้รับ ๔.๑ ผลการดำเนินงาน จากผลการดำเนนิ งานตามกระบวนการสง่ เสริมการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมโดยใช้ TREES Model เปน็ อกี หนงึ่ กิจกรรมทีด่ เี กิดผลลพั ธช์ ัดเจนท้งั ในรูปธรรม และนามธรรม ดงั นี้ ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลงด้วย กระบวนการ คือการลดการใช้ การนำกลับมาใช้ใหม่ ใช้ซ้ำ นักเรียนรคู้ ุณคา่ และเหน็ ประโยชน์สูงสดุ ของขยะโดยมชี น้ิ งาน เชงิ ประจกั ษ์ เช่น ได้ปยุ๋ จากใบไม้ ไดก้ ระดาษสาตกแตง่ ซ่งึ ทำมาจากกระดาษทใ่ี ชแ้ ลว้ ท้ังสองหน้า ความรูท้ ไ่ี ดจ้ าก ประสบการณ์การเรียนรู้การลงมือปฏิบัตจิ รงิ ในครัง้ นส้ี ามารถแบง่ ปนั ความรู้ส่คู รอบครวั และชมุ ชนอีกท้งั ยงั สามารถตอ่ ยอดเปน็ อาชพี ได้ในอนาคต ทงั้ น้ียงั มกี ารเพิม่ พน้ื ทป่ี ่าผ่านการเพ่มิ พนื้ ที่สเี ขียวโดยการยิงหนงั สตก๊ิ เมลด็ พันธุ์พืชที่มอี ยูใ่ น ทอ้ งถิน่ ตามป่าชมุ ชน และผลลัพธใ์ นนามธรรม นัน่ คอื เมอ่ื สามารถเปล่ียนขยะมาทำให้เกิดเป็นประโยชน์ก็เป็นการช่วยลด มลพษิ ทางอากาศ เปน็ ผลทำให้ผู้คนในชมุ ชนได้รับสารพิษทางอากาศลดลงและยังมีปรมิ าณตน้ ไมท้ ีเ่ พมิ่ ขนึ้ ทกุ ปีคอยช่วย ฟอกอากาศทำให้ชาวบ้านในชมุ ชนบา้ นงอ้ มเปาได้ตระหนกั รู้ถึงภัยเงยี บซงึ่ มาใบรูปแบบมลพิษทางอากาศว่าหากไรป้ า่ กไ็ ร้ ซง่ึ ภูมิคมุ้ กนั ของปอด และระบบทางเดนิ หายใจ จึงเป็นเหตุผลให้รคู้ ุณคา่ และใช้ทรัพยาการธรรมชาติในชุมชนบา้ นเกดิ ของตนเองให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ น่นั เอง ๔.๒ ประโยชน์ที่ได้รับ - ปรมิ าณขยะ ในโรงเรยี นหม่อมเจ้าเจรญิ ใจ จิตรพงศ์ลดลง - นกั เรียนรคู้ ุณค่าและเหน็ ประโยชน์สงู สุดของขยะโดยลดการใช้ ใช้ซ้ำ และนำกลบั มาใช้ใหม่ และเกิดความภาคภูมใิ จในผลงานของตวั เอง ทงั้ ยงั สามารถต่อยอดเป็นอาชพี ในอนาคตได้อกี ดว้ ย - นักเรยี นรูจ้ กั แบง่ ปันความรู้ผ่านประสบการณ์การเรยี นร้โู ดยการลงมือปฏบิ ตั จิ ริงเผยแพร่สู่ครอบครัว และชมุ ชนตอ่ ไป - นักเรยี น ครู และผู้ปกครองมีความตระหนักรถู้ ึงภยั เงียบซงึ่ มาในรปู แบบมลพษิ ทางอากาศ จนถงึ การ กระตนุ้ ให้การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจากโรงเรียนส่ชู มุ ชน

๕. การเผยแพร่ “แนวปฏบิ ัติท่ดี ”ี ๘ ๑. การเผยแพร่ “แนวปฏบิ ัติท่ีด”ี บนเว็บไซต์ Youtube ๒. การเผยแพร่“แนวปฏบิ ัติท่ดี ี” เพจ Facebook โรงเรยี นหม่อมเจ้าเจรญิ ใจ จิตรพงศ์ ๖. ปัจจัยความสำเรจ็ จากนวตั กรรม TREES Model นักเรียนมากวา่ 80% ไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นร้ผู า่ นประสบการณ์การลงมอื ทำ เกดิ ความสนุกสนานสามารถนำความรู้ได้ได้รับไปแบ่งปันต่อเพื่อนๆ ครอบครัวและชุมชน ส่งผลทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างร้คู ุณคา่ และได้ประโยชน์สงู สุด เกิดความภาคภมู ิใจในตวั เองและผลงานของตนเอง ได้ตระหนกั ถงึ ผลกระทบจากขยะและ เกิดความคิดสร้างสรรคเ์ พื่อต่อยอดกิจกรรมต่างๆ อาทิ การทำป๋ยุ หมกั การผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์จากขยะให้เกิดคุณค่าสู่ มลู คา่ ตอ่ ยอดการเรียนสอู่ าชพี ในอนาคตได้ ๗. บทเรียนทไี่ ด้รบั ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ ขอ้ สรุป การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏบิ ัติจริง ในสถานที่จริงของนักเรียน ทำให้นักเรียนสามารถเข้าใจได้ง่าย และสามารถ ถา่ ยทอดความรสู้ ู่ครอบครัว ชมุ ชนได้ และยังคิดต่อยอดจากกจิ กรรมต่างๆที่ทำเพ่ือทำให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะท่ัวไป - การที่จะสร้างสรรคผ์ ลงานจากกระดาษสาเพื่อส่งเสริมจินตนาการนกั เรียนจะต้องมกี ารเตรียมแผงใส่กระดาษา สาให้เพียงต่อตอ่ จำนวนนกั เรยี น และตอ้ งมวี ิธีการทำใหแ้ ห้งไวขึ้น - การจดั ทำปยุ๋ หมกั จะต้องมกี ารจัดเตรยี มมูลววั ให้เพยี งพอกบั ปรมิ าณใบไม้ เศษวสั ดุ ขอ้ เสนอแนะสำหรับการจดั ทำครงั้ ต่อไป - การจดั กจิ กรรมตา่ งๆ สามารถเพิ่มเติมการบูรณาการการเรยี นรู้รายวิชาอืน่ ๆได้ ปญั หาและอปุ สรรค - การจดั กจิ กรรมตา่ งๆ สามารถเพิม่ เตมิ การบูรณาการการเรียนรู้รายวชิ าอ่ืนๆได้ ๘. เอกสารอ้างอิง [1.] กรมสุขภาพจิต. (2544). คมู่ ือดูแลสขุ ภาพจิตเด็กวยั เรยี นสำหรบั ผู้ปกครอง. กรุงเทพฯ: บริษัทวงศก์ มล โปรดกั ชั่น จำกดั [2.] ศนู ย์บรกิ ารสาธารณสุข 17. ( 2565,18 สิงหาคม ) . แนวคิด 3RS รักษ์โลก. shorturl.at/LMRZ3 [3.] มหาว ิทยาลัยร ามคำแหง . (2565,18 สิง หาคม ). ก ร ะ บว น ก ารเร ียนร ู้และก ร ะบวนก าร คิดขอ งเด็ก . http://old-book.ru.ac.th/e-book/e/EE353(48)/EE353-4.pdf [4.] คณะทำงานติดตามการลงทุนข้ามพรมแดน Extra-Territorial Obligations: ETOsWatch,2561) .รายงานการลงทุน โดยตรงของไทยในต่างประเทศ ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อมและการละเมิดสิทธิมนุษยชน . เชียงใหม่: หุ้นส่วนสามัญ โค- ขยนั มเี ดยี ทมี .