Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทียบโอนความรู้

เทียบโอนความรู้

Published by wi.pawan, 2022-08-22 07:13:36

Description: 42.

Search

Read the Text Version

ท ี่ หัว เรือ่ ง ตัวชี้วดั เนอื้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) 3 วิธีการเลือกทา่ ทาง 1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ 3.1 วธิ กี ารออกกำลงั กายท่เี หมาะสม 5 ท่ใี ชใ้ นการต่อสูป้ ้องกัน ในการต่อสูป้ ้องกันตนเอง - การออกกำลงั กายด้วยมอื เปลา่ ตนเอง และครอบครวั และครอบครวั - การออกกำลงั กายด้วยอาวุธ 10 ที่เหมาะสม 2. สามารถเลอื กวิธกี ารตอ่ สู้ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ป้องกนั ตัวทีเ่ หมาะสมกับ 3.2 การเลือกวธิ กี ารตอ่ ส้ปู ้องกนั ตัว สถานการณ์ ทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ - การถูกจ ้ี - การถูกฉดุ - การถกู วิ่งราวทรัพย์ ฯลฯ หมายเหตุ รายวิชาเลือกน้ีประกอบด้วย 3 หัวเรื่อง จำนวน 90 ชั่วโมง ให้เทียบโอนได้ 2 หน่วยกิต 80 ช่ัวโมง เท่านัน้ 194 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เข้าส่หู ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชา ทช02012 การดำรงชีวติ ในปา่ จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคตทิ ี่ดีเก่ยี วกับการดูแล สง่ เสรมิ สุขภาพอนามัยและความปลอดภยั ใน การดำเนินชีวติ ศึกษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกับเร่ืองดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ของการดำรงชพี ในปา่ 2. การใช้ข้อมลู ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมต่อการจัดทำแผน 3. การมีสว่ นร่วมในการวางแผนตอ่ การฝึกปฏิบัติในการดำรงชพี ในป่า 4. การฝึกปฏบิ ตั ใิ นการดำรงชพี ในป่า 5. การประเมินผลจากการปฏิบตั ิมาพฒั นาตอ่ ตนเองและครอบครัว การจัดประสบการณ์การเรียนร้ ู จัดให้ผู้เรียนฝึกทักษะการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดทำแผน การดำรงชีพในป่า โดย ภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ัติในภาคสนาม การวัดและประเมินผล จากผลงานและการมีส่วนร่วมในข้ันตอนต่าง ๆ ของการจัดทำแผนและภาคสนามของการดำรงชีพ ในป่า แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณ์กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 195 เข้าสู่หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ทช02012 การดำรงชวี ิตในปา่ จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานท่ี 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีเก่ียวกับการดูแล ส่งเสริม สุขภาพอนามัยและ ความปลอดภยั ในการดำเนินชีวิต ที่ หัว เร่ือง ตัวชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 การดำรงชีพในป่า 1. อธบิ ายหลกั การดำรงชีพ 1. หลักการดำรงชพี ในป่า 3 ในปา่ 2 การใช้ข้อมูลธรรมชาติ 2. อธิบายความสำคญั ของ 2. ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน ์ 3 และส่งิ แวดลอ้ ม ข้อมลู การเตรยี ม ของขอ้ มูลดา้ น ความพร้อมตนเองและ - ประเภทของปา่ สิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชาต ิ - การหาทศิ การหานำ้ - พืชมพี ษิ และไมม่ พี ษิ - สัตว์มพี ษิ และไมม่ ีพษิ - การประกอบอาหาร - การถนอมอาหาร - การสร้างทพี่ กั อาศยั ชัว่ คราว 3 การวางแผน 3. วเิ คราะห์ และเตรียมข้อมูล 3. วิธกี ารวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่ือนำมาจัดทำ 3 ในการออกภาคปฏบิ ตั ิ แผนในการออกฝึกปฏบิ ัติภาคสนาม เพอ่ื จดั ทำแผนปฏิบัติ 4 เกดิ ความตระหนกั และ 4. การมีสว่ นร่วมในการออกฝกึ ปฏิบตั ิ 120 4 ฝึกปฏิบตั ิ มีสว่ นร่วมในการปฏบิ ตั ิ ภาคสนาม (10 วนั ทำการ) ภาคสนาม 5. นำแนวทางในการฝึก 5. ประเมินผลจากการออกฝกึ ปฏิบัตใิ น 1 5 การประเมนิ ตนเอง ปฏบิ ตั ิมาประยกุ ตใ์ ชก้ ับ ความรคู้ วามเขา้ ใจในการดำรงชีพในป่า ตนเองและครอบครวั สามารถแสวงหาพืชและสัตว์ นำมา ดัดแปลงเปน็ อาหาร เพือ่ ให้มีชีวติ อยู่ รอดในเหตกุ ารณค์ บั ขนั เฉพาะหนา้ ได้ หมายเหตุ รายวชิ านี้ประกอบด้วย 5 หวั เรอื่ ง จำนวน 130 ช่วั โมง ให้เทียบโอนได้ 3 หนว่ ยกติ 120 ชัว่ โมง เทา่ นั้น 196 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลุม่ เปา้ หมายเฉพาะ เข้าส่หู ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ า ทช02013 การปอ้ งกนั สาธารณภัย จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐาน 4.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเจตคติทดี่ เี กย่ี วกบั การดแู ล ส่งเสรมิ สุขภาพอนามัย และความปลอดภัย ในการดำเนินชีวติ ศึกษาและฝกึ ทักษะเกีย่ วกับเรอ่ื งดังตอ่ ไปน้ี 1. ความหมาย ความสำคญั การปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภัย 2. การใช้เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ และวิธีการปอ้ งกันภยั ประเภทตา่ ง ๆ 3. การวางแผนปฏบิ ัตงิ าน 4. การช่วยเหลือผู้ประสบภัยเบื้องต้น การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ จัดใหผ้ ูเ้ รียนฝึกทักษะการปฏิบัติจรงิ การซ้อมแผนปฏบิ ัติการโดยการเขา้ รว่ มสถานการณจ์ ำลอง การวัดและประเมนิ ผล - ทดสอบการปฏบิ ตั ิงานในหนว่ ยงาน - การจัดแผนปฏิบตั ิงานและการมอบหมายหน้าท ี่ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ 197 เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

รายละเอียด คำอธิบายรายวชิ า ทช02013 การป้องกนั สาธารณภยั จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับ ประถมศึกษามธั ยมศึกษาตอนตน้ และ มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานท่ี 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเจตคตทิ ีด่ เี กยี่ วกบั การดแู ล สง่ เสริม สุขภาพอนามัย และความปลอดภัย ในการดำเนนิ ชีวติ ที่ หัว เรื่อง ตัวช้ีวดั เน้อื หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 อัคคภี ัย 1.1 อธิบายเกย่ี วกบั การเกิด 1.1 ความหมายความสำคัญของ 10 อคั คีภยั การเกิดอคั คีภัย 1.2 องค์ประกอบของไฟ 1.3 ประเภทของไฟ(เชน่ ไฟฟ้าลัดวงจร อัคคีภัย นำ้ มัน) 1.2 วิเคราะห์สาเหตุแห่งการ 1.4 ชนิดของการเกดิ อคั คีภัย (เชน่ ฟ้าผา่ 20 เกิดอคั คีภัยและสามารถ การเผาไหม้) เลอื กใชเ้ คร่อื งมือดบั - สาเหตุทีเ่ กดิ อคั คภี ยั และการป้องกนั อัคคีภัย การเกิดอคั คีภยั + ลักษณะและปริมาณของไฟ - ชนิดของเชื้อเพลิงท่ีทำใหเ้ กิดอคั คภี ยั - ส่วนประกอบของวตั ถทุ ใี่ ห ้ เกดิ อคั คภี ัย - เครอื่ งมือและวธิ กี ารดับเมอ่ื เกดิ อัคคีภยั + เคร่อื งใช้ในการดับไฟในเบือ้ งตน้ + การใชผ้ า้ เปียกคลุม + การใช้ ซ.ี โอ.ท.ู 1.3 มแี นวทางในการปฏบิ ัติ 1.5 การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจรว่ มกับ 10 ไปสชู่ มุ ชมและสงั คม ชมุ ชน เพื่อให้เรยี นร้แู ละป้องกนั 1.6 การจัดทำแผนการเผชญิ เหตุ การเกิดอคั คภี ัย โดยวเิ คราะหช์ มุ ชน สร้างกระบวนการ มีส่วนรว่ มกับชมุ ชน 198 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรู้และประสบการณก์ ลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชีว้ ดั เน้อื หา จำนวน (ช่ัวโมง) 2. อุทกภยั 2.1 บอกวธิ กี ารปอ้ งกันน้ำท่วม 2.1 การปลูกตน้ ไม้ทดแทน 5 2.2 บอกสาเหตขุ องน้ำทว่ ม 2.2 การไมต่ ดั ไมท้ ำลายป่า 5 10 2.3 ชว่ ยเหลือชมุ ชน 2.3 การไมเ่ ผาปา่ และทำไร่เลื่อนลอย 3. วาตภยั เมื่อเกิดอทุ กภยั 10 10 3.1 บอกวธิ กี ารป้องกัน 3.1 การอพยพคนและขนย้าย เม่ือเกดิ วาตภัย 3.2 ติดตามขา่ วสาร แจ้งเตือน 3.2 การติดตามขา่ วสารของทางราชการ จากกรมอุตุ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณก์ ลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ 199 เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ า สค02007 การปลกู ฝังอดุ มการณ์รกั ชาติ จำนวน 1 หน่วยกิต ระดับประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐาน ท่ี 5.3 ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย มจี ิตสาธารณะ เพอื่ ความสงบสุขของสงั คม ศึกษาและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกับเร่อื งดงั ต่อไปนี ้ 1. อดุ มการณร์ กั ชาติเพื่อความมนั่ คง 2. การตระหนักและเหน็ คุณคา่ ต่ออดุ มการณร์ กั ชาต ิ 3. การวเิ คราะห์ผลกระทบจากปัญหาในเรื่องอดุ มการณ์รักชาติในประเทศไทย 4. การตระหนกั และเห็นคุณค่าต่ออุดมการณ์รกั ชาติ เพือ่ ความมั่นคง การจัดประสบการณก์ ารเรยี นร้ ู จัดให้ผู้เรียนฝึกทักษะการเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ ต่ออุดมการณ์รักชาติ ในประเทศไทย และ ตา่ งประเทศรวมท้งั ตระหนกั และเห็นคุณค่า การวดั และประเมินผล จากการวิเคราะหแ์ ละการมีสว่ นรว่ มในการเปรยี บเทียบของอดุ มการณร์ กั ชาตเิ พอื่ ความมน่ั คง 200 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เข้าสู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า สค02007 การปลูกฝังอดุ มการณร์ ักชาติ จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานที่ 5.3 จำนวน (ช่ัวโมง) ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย มจี ิตสาธารณะเพ่ือความสงบสขุ ของสังคม ท่ ี หัว เรอื่ ง ตวั ช้ีวดั เน้ือหา 1. การปลกู ฝังอุดมการณ ์ 1. อธบิ ายอดุ มการณร์ ักชาติ 1. ความหมายของอุดมการณ์, ชาต ิ 40 รกั ชาต ิ เพอ่ื ความมน่ั คง และความมนั่ คง 2. ตระหนกั และเหน็ คณุ ค่า 2. ประวตั ศิ าสตรข์ องไทยและต่างประเทศ ต่ออุดมการณร์ กั ชาติ ทเ่ี กีย่ วกับอุดมการณ์รกั ชาติ 3. วิเคราะห์ผลกระทบจาก เพือ่ การเปรยี บเทียบ ปญั หาในเร่อื งอุดมการณ ์ 3. ปัญหาอดุ มการณ์รักชาตขิ องประเทศ รักชาตใิ นประเทศไทย ไทยในอดตี และปจั จุบัน 4. ตระหนักและเห็นคณุ คา่ 4. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ ตอ่ อดุ มการณร์ กั ชาต ิ พระเจ้าอยู่หวั เพอ่ื ความมน่ั คง 5. พระราชบญั ญัตคิ วามมนั่ คง ความรักชาติฉบับปัจจุบนั แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรู้และประสบการณ์กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 201 เข้าส่หู ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551



รายวชิ าเลือก กลุม่ ผู้นำศาสนาอิสลาม ผู้สอนอิสลามศกึ ษา และผูเ้ รยี นอสิ ลามศกึ ษา

ชอื่ รายวชิ าเลือกกลมุ่ ผนู้ ำศาสนาอสิ ลาม ผสู้ อนอิสลามศกึ ษา และผูเ้ รยี นอิสลามศกึ ษา รหัส รายวิชา หน่วยกิต หมายเหต ุ พต12007 1. หลกั ภาษาอาหรบั 1 (วากยสัมพันธ์ อกั ขรวิธ)ี 2 พต12008 2. ภาษามาลายู 1 2 สค12015 3. อรรถาธบิ ายอัลกรุ อาน 1(อัตตฟั ซีร) 2 สค12016 4. หลักการอา่ นอลั กุรอาน 1(อัตตัฟซรี ) 1 สค12017 5. จริยธรรม 1 (อลั อัคลาก) 1 สค12018 6. ศาสนประวัติ 1 (อตั ตารคี ) 1 พต22008 7. หลักภาษาอาหรับ 2 (วากยสัมพนั ธ์ อักขรวธิ )ี 3 พต22009 8. ภาษามาลายู 2 2 สค22011 9. อรรถาธิบายอัลกุรอาน 2 (อตั ตารคี ) 2 สค22012 10. หลักการอา่ นอัลกรุ อาน 2 (อัตตัจวดี ) 2 สค22013 11. จริยธรรม 2 (อลั อัคลาก) 2 สค22014 12. ศาสนาประวัติ 2 (อัตตารีค) 2 พต32011 13. หลักภาษาอาหรบั 3 (วากยสมั พันธ์ อักขรวธิ ี) 4 พต32012 14. ภาษามาลายู 3 3 สค32019 15. อรรถาธบิ ายอลั กรุ อาน 3 (อัตตฟั ซีร) 4 สค32020 16. จริยธรรม 3 (อลั อัคลาก) 3 สค32021 17. ศาสนาประวตั ิ 3 (อัตตารีค) 3 สค32022 18. การแบ่งมรดก (อัลฟะรออิด) 2 สค32023 19. หลกั เกีย่ วกับวัจนธรรม (มุสตอลาฮหะดิษ) 3 204 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความรแู้ ละประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า พต12007 หลกั ภาษาอาหรบั 1 (วากยสัมพันธ์ อกั ขระวธิ )ี จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติเกี่ยวกับการฟัง พูด อ่านเขียนภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อสาร ในชวี ติ ประจำวนั ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ภาษา และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกีย่ วกบั เรือ่ งดงั ตอ่ ไปน ้ี ศึกษา ฝึกทักษะกระบวนการทางภาษา ฟัง พูด ดู อ่าน เขียน คำ ประเภทของคำ ประโยค น้ำเสียง คำส่ัง คำขอร้อง การตีความ สื่อข้อความ ถ้อยคำ ประโยคและเร่ืองราวสั้น ๆ การออกเสียง บทอ่าน หลักการอ่าน หลกั การเขียน ความตอ้ งการ ความรสู้ กึ คำอธิบาย คำบรรยาย การพูดแสดง ความรูส้ กึ การขอและการใหข้ อ้ มลู ง่าย ๆ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ การใช้ภาษาอาหรับในการศึกษา และส่ือสารในชีวิตประจำวัน มีความเข้าใจ มีทักษะ การใช้ภาษาอาหรับในการศึกษาสื่อสาร และสร้างความสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน ได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และถกู ต้องตามหลกั ภาษา การจัดประสบการณ์การเรยี นร ู้ จัดให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาอาหรับเบ้ืองต้น และสามารถ พูด อ่าน เขียน และสื่อสารประโยค ง่าย ๆ ในชวี ติ ประจำวัน การวัดและประเมนิ ผล จากการสังเกตผลงาน และการทดสอบหลังเรียน โดยใช้เครื่องมือท่ีหลากหลาย เช่น แบบสังเกต แบบประเมนิ การตรวจผลงาน และแบบทดสอบ แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความร้แู ละประสบการณก์ ลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 205 เขา้ สู่หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า พต12007 หลักภาษาอาหรับ 1 (วากยสมั พนั ธ์ อักขระวิธี) จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคตเิ กย่ี วกบั การฟัง พูด อา่ นเขียนภาษาตา่ งประเทศ เพื่อการส่อื สารใน ชีวติ ประจำวันได้ถกู ต้องตามหลกั ภาษา และวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ท่ ี หวั เรอ่ื ง ตวั ช้ีวัด เนอื้ หา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 คำและประเภทของคำ 1. ใช้ จำแนกคำ และ 1. การใชค้ ำและประเภทของคำ 10 ประเภทของคำไดถ้ ูกต้อง - คำนาม ตามหลกั ภาษา - คำกริยา 15 - คำวิเศษ, วล ี 2 ประเภทของคำนาม 2. สามารถจำแนกประเภท 1. การแยกประเภทของคำนามแบ่ง ของคำนามและนำไปใช้ ตามเพศ ประกอบประโยคไดอ้ ยา่ ง - คำนามเพศชาย ถกู ต้องตามหลกั ภาษา - คำนามเพศหญงิ 10 2. ประเภทของคำนามแบง่ ตามพจน ์ - เอกพจน ์ - ทวพี จน ์ - พหพู จน ์ - พหพู จนเ์ พศชาย - พหพู จน์เพศหญิง - พหูพจนเ์ ปลีย่ นรูป 3 คำกริยา 3. สามารถบอกความหมาย 3. การแยกประเภทคำกรยิ า การผนั กรยิ า แยกประเภท และนำคำ ตามสรรพนามแตล่ ะประเภท กริยาไปใชป้ ระกอบประโยค - กรยิ าอดีต ได้ถกู ต้องตามหลักภาษา - กริยาปจั จุบนั , อนาคต - กริยาทีเ่ ปน็ คำส่งั - การผนั คำกริยาตามสรรพนาม แตล่ ะประเภท 206 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ล่มุ เปา้ หมายเฉพาะ เข้าสู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ที่ หัว เรอ่ื ง ตัวช้วี ัด เน้ือหา จำนวน (ชว่ั โมง) - การเปล่ยี นกรยิ าใหเ้ ป็น คำนาม 10 4 คำวเิ ศษ,วล ี 4. สามารถ บอกคำนยิ าม 4. การใชค้ ำวิเศษ,วลี ประกอบประโยค เปรยี บเทยี บ จำแนก บอกความหมายของ 10 คำวิเศษ วลี และนำไปใช้ แต่งประโยคไดถ้ กู ตอ้ ง ตามหลักภาษา 10 5 ประโยคและส่วนประกอบ 5. สามารถบอกสว่ นประกอบ 5. การแต่งประโยคในภาษาอาหรับ ของประโยค ของประโยค ระบุ จำแนก - ภาคประธาน และกระจายส่วนประกอบ - ภาคแสดง ของประโยคได้\\ - กริยา 15 - ประธาน - กรรม 6. ประเภทของประโยค 6. สามารถเขยี นประโยค 6. การเขียนประโยคประธาน อยา่ งง่ายไดถ้ ูกต้อง และประโยคกรยิ า 7. การอา่ นคำ ,ประโยค, 7. สามารถอ่านภาษาอาหรบั 7. การอา่ นคำ ประโยค, เรอ่ื งส้ัน และเร่อื งสัน้ ไดถ้ ูกต้อง แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความร้แู ละประสบการณก์ ลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ 207 เขา้ ส่หู ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า พต12008 ภาษามลายู 1 จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติเกี่ยวกับการฟัง พูด อ่านเขียนภาษาต่างประเทศ เพ่ือการสื่อสาร ในชวี ิตประจำวันได้ถูกตอ้ งตามหลักภาษา และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกบั เร่อื งต่อไปน้ ี ศึกษาและฝึกทักษะ กระบวนการทางภาษาเก่ียวกับการฟัง พูด อ่าน และเขียน พยัญชนะ สระ ประโยค จำนวนนับ วนั เดือน และเนอื้ หาง่าย ๆ ในภาษามลายู เขยี นเกีย่ วกับ คำ ประโยค และเน้อื หาในภาษามลายทู ่ีเกีย่ วกบั ตนเอง บา้ น เพอ่ื น โรงเรียนและอาชีพ เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าความสำคัญและมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียน พยัญชนะ ประสม สระ คำประโยค จำนวนนับ วันเดือนและเน้ือหาในภาษามลายู นำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค ์ และมปี ระสทิ ธภิ าพ การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกทักษะ กระบวนการทางภาษาเก่ียวกับการฟัง พูด อ่าน และเขียน พยัญชนะ สระ ประโยค จำนวนนับ วัน เดอื น และเนื้อหาง่าย ๆ ในภาษามลายู และใช้ภาษามลายูในการสอื่ สารโดยใชส้ ือ่ ทีเ่ หมาะสม ทั้งจากสถานการณจ์ ริงหรอื จำลอง การวดั และประเมินผล จากการสังเกต และวัดจากผลงาน แบบฝึกหัด การทดสอบหลังเรียนโดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เชน่ แบบสงั เกต แบบทดสอบ แบบประเมิน และการตรวจผลงาน เป็นต้น 208 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรแู้ ละประสบการณ์กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ เข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชา พต12008 ภาษามลายู 1 จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติเก่ยี วกับการฟัง พดู อา่ นเขียนภาษาต่างประเทศ เพื่อการส่อื สารใน ชีวติ ประจำวนั ได้ถูกต้องตามหลักภาษา และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ท ี่ หวั เร่ือง ตัวช้วี ัด เน้ือหา จำนวน (ชวั่ โมง) 1 พยญั ชนะ และสระ 1. รู้และเขา้ ใจกระบวนการฟัง 1. พยญั ชนะและสระ การฟัง การพดู 80 การฟัง พดู อา่ นและเขยี น พดู อ่าน และเขยี น การอ่าน และการเขียน พยญั ชนะ สระ คำ - พยัญชนะในภาษามลายู ประโยค และเน้อื หา - สระในภาษามลาย ู ในภาษามลาย ู - การประสมพยัญชนะ 2 ภาษาน่ารู้ การเขียน 2. ภาษานา่ รู้ คำ ประโยค และเน้ือหา การฟงั การพดู การอ่าน และ การเขียนคำ ประโยคและเนื้อหาใน ภาษามลายทู ่ีเก่ยี วข้องกบั - ตนเอง - บ้าน - เพือ่ น - โรงเรยี น 3 สนกุ กบั ตัวเลข จำนวนนบั 2. เหน็ คุณค่าในการใช้ 3. สนุกกบั ตัวเลข วันและเดอื น วนั และเดอื น พยัญชนะ สระ ประสม - การฟงั การพูด การอา่ น และ คำ ประโยค จำนวนนับ การเขยี นจำนวนนบั ในภาษามลายู วนั เดอื น และเนือ้ หา - การฟงั การพูด การอ่าน และ งา่ ย ๆ การเขยี น วัน เดือนในภาษามลายู - ประโยชน์และความสำคัญของ พยญั ชนะ สระ คำ ประโยค จำนวนนบั วัน เดือน และเนื้อหา งา่ ย ๆ ในภาษามลายู แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ล่มุ เป้าหมายเฉพาะ 209 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวช้ีวัด เนื้อหา จำนวน (ช่วั โมง) 4 คุณค่าภาษามลายู 3. รแู้ ละเขา้ ใจกระบวนการฟัง 4. พยญั ชนะและสระ การฟงั การพูด พดู อ่าน และเขยี น การอา่ น และการเขยี น พยญั ชนะ สระ คำ - พยญั ชนะในภาษามลาย ู ประโยค - สระในภาษามลาย ู - การประสมพยัญชนะ 5 ภาษามลายูคู่ชีวิต 4. เห็นคุณคา่ และมที กั ษะ 5. ภาษาน่ารู้ ในการใช้คำประโยคเนอื้ หา การฟงั การพูด การอ่าน และการเขยี น ในภาษามลาย ู คำ ประโยคและเน้อื หาในภาษามลาย ู ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับ 6 ภาษามลายูกับการศกึ ษา - ตนเอง อิสลาม - บา้ น - เพ่อื น - โรงเรยี น 7 ประโยคสนทนา 6. สนุกกับตัวเลข วนั และเดือน - การฟงั การพดู การอา่ น 8 เน้อื หาแสนสนกุ และการเขียนจำนวนนบั ใน ภาษามลายู 9 คำศพั ทน์ า่ รู้ - การฟัง การพดู การอ่าน และการเขียน วนั เดือนใน ภาษามลาย ู - ประโยชน์และความสำคัญของ พยญั ชนะ สระ คำ ประโยค จำนวนนับ วนั เดือน และเน้ือหา งา่ ย ๆ ในภาษามลาย ู 210 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความรู้และประสบการณ์กล่มุ เป้าหมายเฉพาะ เขา้ สหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ า สค12015 อรรถาธบิ ายอลั กรุ อาน 1 (อตั ตัฟซีร) จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณคา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องท้องถนิ่ และประเทศไทย ศกึ ษาและฝึกทักษะเกีย่ วกบั เรื่องต่อไปน ้ี ศึกษาประวัติความเป็นมา ความสำคัญของอัล-กุรอาน เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำหลัก คำสอนในอัล-กรุ อานไปสู่การปฏิบัตติ ่อตนเองและในชีวิตประจำวัน เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะในการอ่านและท่องจำอัล-กุรอานอย่างถูกต้องและนำมา ปฏบิ ตั ใิ นชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ให้ผู้เรียนฝึกอ่าน อธิบายและสรุปความหมายของอัล-กุรอาน จากส่ือต่าง ๆ เป็นการเพ่ิมทักษะใน อรรถาธบิ ายสเู ราะฮไฺ ด้ถกู ตอ้ ง นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันได ้ การวดั และประเมินผล ประเมินจากการสังเกตการณ์อ่าน การเข้าร่วมกิจกรรม ทดสอบความสามารถในการท่องจำและจาก การรายงาน แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณก์ ลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 211 เขา้ สูห่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า สค12015 อรรถาธิบายอลั กุรอาน 1 (อตั ตัฟซีร) จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่าและสบื ทอด ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของทอ้ งถ่ินและประเทศไทย จำนวน ที่ หัว เร่ือง ตวั ช้ีวดั เน้อื หา (ช่วั โมง) 1 การทอ่ งจำสเู ราะฮ ์ 1. ทอ่ งจำสูเราะฮท์ ีก่ ำหนด 1. การทอ่ งจำในสเู ราะฮ ์ 20 - อลั ฟาตฮิ ะห ์ - อนั นาส - อลั ฟาลกั - อลั อิคลาส - อัล ละหบั ฮ ฺ - อลั เกาษรั 2 หลกั คำสอนซูเราะห์ - อลั มาอูน 30 - อลั กุรออ็ ยซ ์ - อลั ฟลิ - อลั หมู าซะฮฺ - อัล อศั ร์ - อัล ตากาษรุ 2. อรรถาธบิ ายอลั กอุ านตาม 2. หลกั คำสอนท่ไี ด้รับจากอลั กรุ อาน ซูเราะห์ที่กำหนด ในซูเราะห์ - อลั ฟาติฮะห ์ - อัน นาส - อัล ฟาลัก - อัล อคิ ลาส - อลั ละหับฮ ฺ 212 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ล่มุ เป้าหมายเฉพาะ เขา้ สูห่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ที ่ หัว เรอื่ ง ตวั ชี้วดั เน้อื หา จำนวน (ชั่วโมง) - อัล เกาษรั - อลั มาอนู - อัล กุรอ็อยซ์ - อลั ฟลิ - อลั หมู าซะฮ ฺ - อลั อัศร์ - อลั ตากาษุร 3 หลักคำสอนอายะฮอ์ ัลกุ 3. อรรถาธิบายอายะฮอ์ ัลกุ 3. หลักคำสอนทีไ่ ด้รบั จากอายะห ์ อาน อานในเร่ืองท่ีกำหนด อลั กุรอาน เกี่ยวกับเร่ือง - การปฏบิ ัตติ ่อตนเอง - การปฏบิ ัตติ อ่ กลมุ่ เพอื่ น - การปฏิบัติต่อสังคมใกลต้ วั แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรู้และประสบการณ์กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ 213 เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชา สค12016 หลกั การอา่ นอลั กุรอาน 1 (อัตตัจวีด) จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่าและสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องทอ้ งถ่ินและประเทศไทย ศกึ ษาและฝึกทักษะเก่ยี วกับเรื่องตอ่ ไปน ้ี ศึกษาประวัติความเป็นมา ความสำคัญและการอ่าน การท่องจำ คุณค่าของการอ่านอัล-กุรอาน เพ่ือให ้ มีความร้คู วามเขา้ ใจและนำไปสู่การปฏิบตั ติ อ่ ตนเองในชวี ิตประจำวนั เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะในการอ่านและท่องจำอัล-กุรอานอย่างถูกต้องตามหลักการ อ่านและนำมาปฏิบตั ิในชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างถกู ต้อง การจดั ประสบการณ์การเรยี นร้ ู ให้ผู้เรียนฝึกอ่านตามหลักการอ่านอัล-กุรอาน เป็นรายวิชาที่เน้นให้ผู้เรียนศึกษา และฝึกทักษะจากส่ือ ต่าง ๆ เป็นการเพ่ิมทักษะในการอ่านตามหลักการ สามารถท่องจำ และอรรถาธิบายสูเราะฮฺได้ถูกต้อง นำไปใช้ประโยชน ์ ในชวี ติ ประจำวันได้ การวดั และประเมนิ ผล ประเมินจากการสังเกตการณ์อ่าน การเข้าร่วมกิจกรรม ทดสอบความสามารถในการท่องจำและจาก การรายงาน 214 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความร้แู ละประสบการณก์ ลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า สค12016 หลกั การอ่านอลั กรุ อาน 1 (อตั ตจั วีด) จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่าและสบื ทอด ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่นและประเทศไทย ท ่ี หัว เรอ่ื ง ตัวชว้ี ัด เน้อื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1 การอา่ นในสเู ราะฮ์ 1. สามารถอ่านตามกฎและ 1. การเรียนรู้การอา่ นสูเราะฮ ์ หลกั การอา่ นในสเู ราะฮท์ ี่ - อัล ฟาติฮะห์ 20 กำหนดไดถ้ กู ต้อง - อัน นาส - อลั ฟาลกั - อลั อคิ ลาส - อัล ละหบั ฮฺ - อัล เกาษรั - อลั มาอูน - อลั กรุ อ็อยซ ์ - อัล ฟิล - อัล หูมาซะฮฺ - อัล อัศร์ - อลั ตากาษุร - อฎั ฏูฮา - อัล ลัยล - อชั ชมั ซ - อลั บะลดั - อัล ฟัจร - อัล ฆอซียะอ ์ - อัล อะอฺลา - อฏั ฏอริก - อัล บุรจู - อัลอินชกิ อก - อลั มุฏอฟฟีฟนี - อลั อินฟีฏอร แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความร้แู ละประสบการณก์ ลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ 215 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ี่ หวั เรือ่ ง ตัวช้ีวดั เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 2 หลกั การอ่านพยญั ชนะ 2. สามารถอธบิ ายหลักการ 2. หลกั การอ่าน 20 การประสมคำ สระ/ อ่านพยญั ชนะ การประสม - พยญั ชนะ เครอ่ื งหมาย อายะห์/ คำ สระ/เครือ่ งหมาย - พยัญชนะกอลกอเลาะ สเู ราะฮฮฺ อายะห/์ สเู ราะฮฮฺ - พยญั ชนะทสี่ ะกดด้วยวาวท่ีมสี ระ ฟัตฮ์และฎอมมะอ ์ - พยญั ชนะท่ีสะกดด้วยยา และทม่ี ี สระกัสเราะหแ์ ละฟตั ฮ ์ - พยัญชนะอลฟิ ลามเกาะมารยี ะห ์ และซัมซยี ะห์ - พยัญชนะนนู สากินะหแ์ ละตนั วนี - พยญั ชนะท่ีมมี มี ซากนิ ะฮฺ - พยัญชนะที่ออกเสียงหนกั /เบา - พยญั ชนะทีเ่ ร่ิมต้นสูเราะห ์ - สระฟตั ฮ์ กสั เราะฮแ์ ละฎอมมะอ์ เสียงสั้น/ยาว - สระทอ่ี า่ นเสยี งส้ัน - เคร่ืองหมาย - เครื่องหมายฟัตตะห ์ - เคร่อื งหมายเสียงยาว - ประสมพยญั ชนะ 2 ตัวข้ึนไป - อาลฟี ท่ีเขียนหลงั วาว - การวาคอฟทพี่ ยัญชนะมสี ระตนั วีน ลงทา้ ยดว้ ยอลิฟและคำที่ลงท้าย ดว้ ยตามัรบูตะห์ 216 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ล่มุ เป้าหมายเฉพาะ เข้าสหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธิบายรายวิชา สค12017 จรยิ ธรรม 1 (อัลอคั ลาค) จำนวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั ประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ เเละสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของทอ้ งถ่นิ และประเทศไทย ศึกษาเเละฝกึ ทักษะเกย่ี วกบั เรอ่ื งดังตอ่ ไปนี้ ความสำคญั ของจรยิ ธรรมอิสลามเกยี่ วกับความหมาย หลกั จรยิ ธรรมจากท่านรสลู มารยาททีด่ ี มารยาทตอ่ ตนเอง มารยาทในครอบครัว มารยาทต่ออัลกุรอ่าน ดูอาอ์ในชีวิตประจำวัน เเบบอย่างจริยธรรมของท่านรสูล หลักจริยธรรม ความกตัญญูต่อครูอาจารย์ ความกตัญญูต่อพ่อเเม่ การเอ้ือเฟื้อเผื่อเเผ่ ความซ่ือสัตย์ การตรงต่อเวลา ระเบยี บวินยั เมตตากรุณา ความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อมั่น พึงพอใจ ชื่นชมในการปฏิบัติตามมารยาทต่าง ๆ ในการ ดำเนนิ ชวี ิตเพ่ือการอยรู่ ่วมกนั ได้อยา่ งสนั ตสิ ุข การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร ู้ รายวิชาอัคลากเป็นรายวิชาท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีจริยธรรมอิสลาม โดยให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า อภิปราย วิเคราะห์ เเละยกตัวอย่างที่สอดคล้องกับจริยธรรมอิสลาม มีการเเลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันเเละกัน สรุปเป็นองค์ความรู้ และนำไป ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน การวดั เเละประเมนิ ผล ประเมินจากการสังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม การเเสดงความคิดเห็น การมีจริยธรรมในการเรียนร้ ู ผลงานท่ีเป็นรายงาน และทดสอบยอ่ ย แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณ์กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 217 เข้าสู่หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า สค12017 จรยิ ธรรม 1 (อัลอัคลาค) จำนวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ ค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของทอ้ งถิ่นและประเทศไทย ที ่ หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวัด เน้อื หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 ความหมายเเละความ 1. อธิบายความหมายเเละ 1. ความหมายและความสำคัญของ 20 สำคัญของจรยิ ธรรม อิสลาม ความสำคญั ของจรยิ ธรรม จรยิ ธรรมอสิ ลามในเร่อื ง อิสลามได ้ - มารยาทตอ่ ตนเอง - มารยาทในครอบครัว 20 2 การปฏิบัติตนตาม - มารยาทต่ออัลกุรอา่ นดูอาอ ์ จริยธรรมอิสลาม ในชวี ิตประจำวนั 2. ปฎบิ ัติตนและแนะนำผู้อ่นื 2. เเบบอยา่ งทางจริยธรรมของท่านรสลู ให้ปฏิบตั ิตามหลัก เกย่ี วกับ จริยธรรมอสิ ลามได ้ - ความกตญั ญตู อ่ ครบู าอาจารย ์ - ความกตัญญูตอ่ พ่อเเม่ - การเอ้อื เฟ้ือเผอ่ื เเผ่ - ความซอ่ื สตั ย์ - การตรงตอ่ เวลา - ระเบยี บวนิ ยั - เมตตากรณุ า - ความรับผิดชอบ 218 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณ์กล่มุ เปา้ หมายเฉพาะ เข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า สค12018 ศาสนประวัติ 1 (อตั ตารคี ) จำนวน 1 หน่วยกิต ระดับประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของท้องถ่ินและประเทศไทย ศึกษาและฝึกทักษะเกย่ี วกับเร่ืองต่อไปนี้ ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย อธิบาย ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อิสลาม ประวัตินบีมูฮัมหมัด (ซล) ตระกูลนบี การรับวะห์ยู การฮิจเราะฮฺของท่าน จริยวัตร วิถีชีวิต ต้ังแต่วัยหนุ่มจนถึงเป็น รสูล คุณลักษณะรสูล บทบาทหน้าที่ รสูลท่ีควรรู้จัก คุละฟาอุรรอชีดีน อาหรับที่สูญพันธ์ อาหรับที่คงอยู่ เผ่ากุร็อยช์ ปชี ้าง เศาะหะบะฮฺรบั อิสลาม การทำสงคราม ผนู้ ำรฐั สถาปนารฐั อสิ ลาม สนธิสัญญา คณุ ลกั ษณะของรสูล นบีมูฮัมหมัด สน้ิ ชีวติ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการศึกษาประวัตินบีและรสูล และสามารถนำ ความรมู้ าเป็นแบบอยา่ งในการนำไปใช้และปฏบิ ัตใิ นชวี ิตประจำวัน การจดั ประสบการณ์การเรยี นร ู้ จัดให้ผู้เรียนศึกษาส่ือต่าง ๆ เช่น หนังสือ ผู้รู้ เพื่อทำความเข้าใจ แสดงความคิดเห็น เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขนึ้ พรอ้ มท้ังเปรยี บเทียบ นำมาสรุปแนวทางในการนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน การวัดและประเมินผล ประเมินจาการสังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การสรุปจาการทำรายงานและผล จากการทดสอบ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความรูแ้ ละประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 219 เขา้ สู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า สค12018 ศาสนประวัติ 1 (อตั ตารคี ) จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของท้องถิ่นและ ประเทศไทย ที ่ หัว เร่ือง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา จำนวน (ชวั่ โมง) 1. ความสำคัญของ 1. อธิบายประวัติศาสตร์ใน 1. ความสำคัญ และประวัตศิ าสตรใ์ น 15 ประวตั ิศาสตร์อสิ ลาม สมยั ทา่ นนบีและรสูล สมยั ทา่ นนบีและรสูล สมยั ท่านนบี รสลู และ คลุ ะฟาอรุ รอชีดนี - ความหมาย - ความสำคญั 2. อธิบายประวัตศิ าสตร์ใน 2. คลุ ะฟาอรุ รอชีดนี - ความหมาย สมัยคลุ ะฟาอรุ รอชีดนี - ความสำคัญ - ความเป็นมา - ชอ่ื คุละฟาอรุ รอชีดนี - ผลงาน 10 2. วิถชี ีวิตอสิ ลาม 3. จริยวัตรของท่านนบีและรสลู 3. อธบิ ายจริยวตั รของท่าน - การกล่าวสลาม - การพดู นบแี ละรสลู - การใหท้ าน - การพง่ึ ตนเอง - การรบั ประทานอาหาร - การเร่ิมจากขวาก่อน 4. คณุ ลักษณะของรสูล - ซดิ ดกิ 4. อธิบายในเรื่อง - อามานะฮฺ - ตับลฆี คณุ ลกั ษณะของรสูล - ฟาตอนะฮฺ 220 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณก์ ลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ เข้าสู่หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชวั่ โมง) 3 คุณค่าการศกึ ษาประวตั ิ 5. อธิบายวิถชี ีวติ ตาม 5. วิถชี ีวิตตามแนวทางศาสดา เศาะหะ 15 และวถิ ีชวี ติ อิสลาม แนวทางศาสดา เศาะหะ บะฮฺ และคุณลักษณะคุละฟาอรุ รอชดี นี บะฮฺ และคุณลักษณะ คลุ ะฟาอุรรอชีดีน 6. อธิบายคุณลกั ษณะของ 6. คณุ ลักษณะของผู้นำและผตู้ ามในทัศนะ ผู้นำและผู้ตามในทัศนะ อสิ ลาม อสิ ลาม 7. อธิบายความจำเป็นในการ 7. ความจำเป็นในการมผี ู้นำ มผี ้นู ำ 8. อธิบายบทบาทหนา้ ทข่ี อง 8. บทบาทหนา้ ที่ของผู้นำและผ้ตู าม ผ้นู ำและผู้ตาม แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณ์กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 221 เขา้ สู่หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ า พต22008 หลักภาษาอาหรับ 2 (วากยสมั พนั ธ์ อักขระวิธี 2) จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติเกยี่ วกับภาษา ทา่ ทาง การฟัง พูด อ่าน เขยี น ภาษาตา่ งประเทศ ด้วยประโยคท่ีซับซ้อนในชีวิตประจำวัน และงานอาชีพของตนได้ถูกต้องตามหลักภาษา วัฒนธรรม และกาลเทศะ ของเจา้ ของภาษา ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกยี่ วกับเรอ่ื งดงั ตอ่ ไปนี ้ ศึกษา ฝึกทักษะกระบวนการทางภาษา ฟัง พูด ดู อ่าน เขียน น้ำเสียง คำส่ัง คำขอร้อง การตีความ ส่ือข้อความ ถ้อยคำ การให้ข้อมูลกิจวัตรประจำวัน และเร่ืองราวส้ัน ๆ การออกเสียง บทอ่าน หลักการอ่าน หลักการเขียน ความต้องการ ความรู้สึก คำอธิบาย คำบรรยาย การพูดแสดง ความรู้สึก การขอและการให้ข้อมูล และการสรา้ งความสมั พันธ ์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ การใช้ภาษาอาหรับในการศึกษา และส่ือสารในชีวิตประจำวัน มีความเข้าใจ มีทักษะ การใช้ภาษาอาหรับในการศึกษาส่ือสาร และสร้างความสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน ได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา การจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้ ู จัดให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาอาหรับในการศึกษา และสามารถสื่อสาร สร้างความสัมพันธ ์ ในชีวิตประจำวัน การวัดและประเมินผล จากการสังเกตผลงาน และการทดสอบหลังเรียน โดยใช้เคร่ืองมือท่ีหลากหลาย เช่น แบบสังเกต แบบประเมนิ การตรวจผลงาน และแบบทดสอบ 222 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณก์ ล่มุ เป้าหมายเฉพาะ เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า พต22008 หลักภาษาอาหรบั 2 (วากยสัมพันธ์ อักขระวิธี 2) จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติเกี่ยวกับภาษา ทา่ ทาง การฟงั พดู อา่ น เขียน ภาษาต่างประเทศ ด้วยประโยคท่ีซับซ้อนในชีวิตประจำวัน และงานอาชีพของตนได้ถูกต้องตามหลักภาษา วัฒนธรรม และกาลเทศะ ของเจ้าของภาษา ท ่ี หัว เร่อื ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หา จำนวน (ชัว่ โมง) 1 คำและประโยค 1. ใชค้ ำและประโยค 1. การใชค้ ำและประโยค 20 ไดถ้ ูกตอ้ ง - คำส่ัง ตามหลกั ภาษา - คำขอร้อง - ภาษาทา่ ทาง น้ำเสียง 2 การตคี วามและการส่ือ - ความรสู้ ึกของผู้พูด 15 ความหมาย - คำแนะนำจากอลั กรุ อาน/อลั หะดษี 15 3 เรียงความ, ส่อื ความ 2. สามารถ ตคี วามสอื่ ความ 2. การตคี วามสอ่ื ความเก่ียวกับ ในรูปแบบต่าง ๆ ไดถ้ ูก - คำ ตอ้ งตามหลักวิชาการ - ประโยค - บทความ - เร่อื งราว - เร่อื งเล่า 3. สามารถนำเสนอข้อมลู 3. การนำเสนอ เรือ่ งราวสนั้ ๆ หรือกจิ วัตร - ขอ้ มลู เรอื่ งราวสน้ั ๆ หรอื กจิ วัตร ประจำวัน รวมทง้ั ประจำวัน เหตุการณ์ทวั่ ไปได้ถกู ต้อง - เหตุการณ์ทัว่ ไปในรปู ประโยค, เรื่องราว, เร่อื งเล่า แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรูแ้ ละประสบการณ์กลุม่ เปา้ หมายเฉพาะ 223 เข้าสหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ที ่ หัว เรอื่ ง ตัวช้วี ัด เนื้อหา จำนวน (ชว่ั โมง) 4 อา่ นจับใจความ 4. สามารถ อ่านออกเสียง 4. การอา่ นออกเสียงคำ ประโยค บทอา่ น 10 คำ ประโยค บทอ่าน ได้ถูกตอ้ งตามหลักการอา่ นออกเสยี ง ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การ 15 อ่านออกเสยี ง 5 กระบวนการเขยี น 5. สามารถเขียนสอื่ 5. การใช้กระบวนการเขียนในรปู แบบ ความ อธิบายความรสู้ กึ - การส่ือความตามหลักภาษา ไดถ้ ูกต้องตามหลกั - แสดงความต้องการ ความรูส้ ึก 25 จินตนาการ - การอธิบายความ - การรายงาน โดยใชค้ วามรู้และ ประสบการณก์ ารเขียนที่สัมพันธ ์ กับชีวติ จริง 20 6 หลกั ภาษาอาหรบั พืน้ ฐาน 6. สามารถใชภ้ าษาอาหรบั 6. การใชภ้ าษาอาหรับเป็นพื้นฐาน เปน็ พน้ื ฐาน เพอื่ การเรยี น เพ่ือการเรยี นรูใ้ นระดบั ทส่ี ูงข้นึ รู้ในระดับท่ีสูงขนึ้ อย่างคล่องแคล่ว ถกู ตอ้ ง ตามหลักภาษา 7 ภาษาอาหรับเพอ่ื การ 7. สามารถใช้ภาษาอาหรับ 7. การใช้ภาษาอาหรบั เพือ่ การสื่อสาร ส่ือสาร เพอ่ื การสือ่ สารได้ถกู ตอ้ ง 224 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชา พต22009 ภาษามลายู 2 จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และ เจตคตเิ ก่ียวกบั ภาษาท่าทาง การฟังพูด อ่าน เขยี น ภาษาต่างประเทศ ด้วยประโยคท่ีซับซ้อนในชีวิตประจำวันและงานอาชีพของตนได้ถูกต้องตามหลักภาษา วัฒนธรรม และกาลเทศะ ของเจา้ ของภาษา ศึกษาและฝึกทกั ษะเก่ยี วกบั เรื่องต่อไปนี้ การใช้ภาษาท่าทางในการสื่อความหมาย วิธีการรับ-ตอบ โทรศัพท์อย่างง่าย ๆ การแสดงความรู้สึก ดีใจ เสียใจ เข้าใจ พอใจ ไม่พอใจ ให้กำลังใจ สนใจ และไม่สนใจ วิธีการพูดแทรก พูดขอบคุณ และการตอบรับ วิธีการพูดแสดงความคิดเห็น ความต้องการ และการเสนอให้ความช่วยเหลือผู้อ่ืน พร้อมกับการตอบรับ รวมทั้งลักษณะ ของประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำส่ัง และประโยคอุทาน ซ่ึงใช้ในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ลักษณะและการใช้ประโยคความรวม (Ayat Majmuk) ในรูปต่างคำกริยา คำนาม คำสันธาน คำอุทาน คำเชื่อม โดยสามารถนำไปใช้ในการเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน และการประกอบอาชีพ การอ่านข่าวสาร ข้อมูล จากสอ่ื ประเภทต่าง ๆ การอ่านสลากสินคา้ และการตีความหมายของสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั สถานการณ์รวมทัง้ เข้าใจการใช้อินเตอร์เนต็ เพ่ือสืบคน้ ขอ้ มลู การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1. ฝึก ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษามลายูในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้สถานการณ์จำลอง และหรือ สื่อทเ่ี หมาะสม 2. ฝึก ฟัง พูด อ่าน เขียน จากสถานการณ์จำลองโดยใช้สื่อต่าง ๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับ สถานการณ์ การวัดและประเมนิ ผล 1. การสังเกตจากการฟัง พดู อา่ น เขียน 2. ตรวจสอบจากการนำไปใช้ ได้ถูกตอ้ ง และเหมาะสมตามสถานการณ์ 3. สามารถใชภ้ าษาในการสอ่ื สารในชีวิตประจำวนั ได้ถกู ต้อง และเหมาะสมตามสถานการณ์ แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความร้แู ละประสบการณ์กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ 225 เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า พต22009 ภาษามลายู 2 จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และ เจตคติเกี่ยวกับภาษาท่าทาง การฟังพูด อ่าน เขียนภาษาต่างประเทศ ด้วยประโยคที่ซับซ้อนในชีวิตประจำวันและงานอาชีพของตนได้ถูกต้องตามหลักภาษา วัฒนธรรม และกาลเทศะของ เจา้ ของภาษา ที ่ หัว เรอื่ ง ตัวชีว้ ดั เนื้อหา จำนวน (ช่วั โมง) 1 ภาษาทา่ ทางในการสื่อสาร 1. สามารถใช้ภาษาในการ 1. ภาษาตามมารยาทสงั คมเพื่อสรา้ ง 80 ในชีวิตประจำวนั ส่ือสารในชีวิตประจำวนั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลใน ไดถ้ ูกตอ้ ง สถานการณ์ต่าง ๆ ดงั น้ี - การทกั ทาย การกล่าวลา เชน่ Selamat pagi, Selamat petang Selamat malam Selamat tinggal Apa khabar - การแนะนำตนเองและผ้อู นื่ เช่น Yusof : Selamat pagi, nama saya Yusof Ahmad: Selamat pagi, nama saya Ahmad, Apa khabar 2. ภาษาท่าทางทใ่ี ชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ ดงั นี ้ - ท่าทางทส่ี อื่ ความหมายทางภาษา เชน่ กวกั มือ : Mari ke sini โบกมอื : Selamat tinggal ชสู องน้วิ : Berjaya - ท่าทางการปฏบิ ตั ติ ามวัฒนธรรม มลายู สัมผสั มอื : Assalamu alaikum 226 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลุม่ เป้าหมายเฉพาะ เข้าส่หู ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ที ่ หวั เรื่อง ตัวช้วี ัด เนือ้ หา จำนวน (ชวั่ โมง) - คำศัพทส์ ำนวน ประโยคและทา่ ทาง ท่ีใชก้ ารสอ่ื สารในโอกาสตา่ ง ๆ เช่น Selamat Hari Raya, Selamat Tahun Baru 2. การโตต้ อบโทรศัพท ์ 2. สามารถรบั -ตอบโทรศัพท์ 1. คำศพั ทส์ ำนวนประโยคตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ น ดว้ ยภาษามลาย ู การสอื่ สารในการรบั โทรศพั ท์อยา่ งง่าย อย่างงา่ ยได้ ๆ รวมกนั การรบั ฝากขอ้ ความ ทางโทรศพั ท์ เชน่ - Adakah Saudari/Saudara Rohani/Rahman ada dirumah? - Ya, saya sedang bercakap - Dia sudah keluar 2. การรบั ฝากข้อความทางโทรศพั ท ์ A: Selamt pagi, Boleh saya bercakap dengan Wanida? B: Maaf encik/cik dia tidak ada sekarang, anda ingin tinggal pesan?. A. Ya. Saya Sofia tolong bagi tahu dia, telefon saya di nombor 0897656665. 3 การแสดงความรสู้ ึกต่าง ๆ 3. สามารถใช้ภาษามลาย ู 1. คำ วลี ประโยค บทสนทนาที่แสดง ในการแสดงรูส้ กึ (ดีใจ อารมณ์ความรู้สกึ ตา่ ง ๆ เชน่ เสียใจเขา้ ใจ พอใจ - พอใจ/ไม่พอใจ ไมพ่ อใจ ใหก้ ำลังใจ สนใจ Bagus/Baik sekali และไมส่ นใจ) Sangat Bagus พูดแสดงความคดิ เหน็ Menarik sekali และแสดงความตอ้ งการ Tidak bagus ในสถานการณต์ ่าง ๆ Tidak baik Kurang menarik Saya tidak setuju/kurang setuju แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ 227 เขา้ สู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท่ ี หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ัด เน้ือหา จำนวน (ชว่ั โมง) 4. สามารถบอกลักษณะของ - สนใจ/ไม่สนใจ ประโยคในภาษามลายู Saya berminat dalam (ประโยคบอกเลา่ ประโยค permainan… คำถาม ประโยคปฏิเสธ Saya tidak suka… ประโยคคำสงั่ ประโยค Saya tidak peduli apa อทุ าน) และสามารถนำไป kata orang ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ 4 การพูดแสดงความคดิ 5. สามารถพดู แสดงความ 1. ภาษาเพอื่ แสดงความคดิ เหน็ ในรปู แบบตา่ ง ๆ คิดเห็นและแสดงความ ความต้องการ ต้องการในสถานการณ์ - การแสดงความคิดเหน็ เชน่ ตา่ ง ๆ A: Udara di Bangkok lebih panas daripada udara di Yala. B: Saya fakir begitu/Saya tidak fakir begitu/Saya setuju dengan awak. 2. การแสดงความต้องการและตอบรับ เชน่ - Saya minta kopi satu lagi. - Saya mahu pergi ke …… - Saya rasa awak patut ikut saya. - Saya nak ….. 5 ประโยคตา่ ง ๆ ในภาษา 6. สามารถบอกลกั ษณะของ 1. ประโยคคำถามคำท่ีใชใ้ นการต้ังคำถาม มลายู ประโยคในภาษาอังกฤษ ไดแ้ ก่ Siapa, Kenapa, Bagaimana, (ประโยคบอกเลา่ /ประโยค Bila,apa, Berapa, Mengapa, เชน่ คำถาม/ประโยคปฏิเสธ) - Nama dia Siapa? - Kenapakah Ahmad gagal 7. สามารถบอกลกั ษณะ dalam ujian itu ? ของประโยคความรวม - Bagaimanakah rupa hantu ? (Ayat Majmuk) - Kamu pergi ke Bangkok bila? สามารถนำไปใช ้ - Yang di atas meja itu apa ? ในชวี ติ ประจำวนั - Harga seluar ini berapa? 228 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณก์ ล่มุ เป้าหมายเฉพาะ เข้าสูห่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ที ่ หวั เรื่อง ตัวชี้วัด เนอื้ หา จำนวน (ชั่วโมง) - Mengapakah baju awak ini basah ? 2. ประโยคปฏเิ สธ รูปแบบประโยคปฏเิ สธและคำกรยิ า ทใ่ี ช้ เชน่ - Mereka bukan guru. - Lelaki yang berbaju merah itu bukan ayah saya. - Sungai di belakang rumah saya tidak dalam sangat. 3. ประโยคคำสั่ง รูปแบบประโยคคำสงั่ ท่ใี ช้ เชน่ - Jangan tolak meja itu ke situ. - Silalah datang ke rumah saya jika ada masa lapang. - Tolong buang sampah ke dalam tong sampah. 6 ประโยคความรวม 8. สามารถบอกลกั ษณะ 1. เนอื้ หาประโยคความรวม (Ayat Majmuk) ของประโยคความรวม (Ayat Majmuk) ดงั น ้ี (Ayat Majmuk) Ayat Tunggal 1. Ayat tunggal terdiri daripada satu subjek dan satu predikat. 2. Ayat ini juga dikenali sebagai ayat mudah atau ayat selapis. Contoh : Lelaki gemuk itu\\ sedang menembak burung. Subjek = Lelaki gemuk itu Predikat = sedang menembak -burung. แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความรูแ้ ละประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 229 เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ท ่ี หัว เรื่อง ตัวชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน (ชัว่ โมง) Ayat Majmuk 1. Ayat Majmuk ialah ayat yang mengandungi dua atau lebih ayat-ayat tunggal disambungkan oleh perkataan Kata Hubung seperti dan, atau, kecuali, tetapi, sambil, seraya dan lain-lain. 2. Ayat ini juga dikenali sebagai ayat Selapis. Contoh : A) Razak mengambil sebuah buku cerita. (Ayat Tunggal) B) Razak membaca buku itu. (Ayat Tunggal) C) Razak mengambil sebuah buku cerita lalu membaca buku itu. (Ayat Majmuk) 230 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณก์ ลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ เขา้ สูห่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า สค22011 อรรถาธิบายอัลกุรอาน 2 (อัตตฟั ซีร) จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณค่าและสืบทอด ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศในทวปี เอเชีย ศึกษาและฝึกทกั ษะเก่ียวกับเร่อื งดังต่อไปน้ ี ศึกษา อธิบาย และสรุป ความหมาย ความเป็นมา และความสำคัญของอัล-กุอาน สูเราะฮฺ อัซซัลซะละฮฺ อัลอาฎียาต อัลกอริอะฮฺ อัตตะกาษุร อัลฮุมะซะฮฺ อัลฟัยลฺ อัลบัยยินะฮฺ อัลก็อดฺรฺ อัลอะลัก อัตตีน อัชชัรหฺ อัฎฎุฮา อลั ลยั ลฺ อัชชัมสฺ อลั บะลดั อัลฟัจรฺ อัลฆอชียะฮฺ เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะในการอ่านและท่องจำอัล-กุรอานอย่างถูกต้อง และนำมา ปฏิบตั ใิ นชวี ิตประจำวันได้อยา่ งถูกต้อง การจดั ประสบการณก์ ารเรียนร ู้ รายวิชาอรรถาธิบายอัลกรุ อาน เป็นรายวิชาทีเ่ น้นใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการอรรถาธิบาย สามารถทอ่ งจำอลั กรุ อานได้ถกู ตอ้ งตามหลกั และนำมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ การวัดและประเมินผล ประเมินจากการสังเกต การเข้าร่วมกิจกรรม การอ่าน ความสามารถในการท่องจำ มีทักษะในการอ่าน จากการทดสอบ และจากการทำรายงาน แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 231 เข้าสหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา สค22011 อรรถาธิบายอัลกุรอาน 2 (อัตตัฟซรี ) จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณคา่ และสบื ทอด ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศในทวปี เอเชยี ท่ี หัว เรอ่ื ง ตวั ช้ีวัด เนื้อหา จำนวน (ชวั่ โมง) 1 ทอ่ งจำตามสูเราะฮฺที่ 1. สามารถทอ่ งจำตาม 1. การท่องจำตามสูเราะฮฺทีก่ ำหนด 30 กำหนด สูเราะฮทฺ ก่ี ำหนด - อัซซลั ซะละฮฺ ไดถ้ กู ตอ้ ง - อลั อาฎียาต - อลั กอรอิ ะฮฺ - อัตตะกาษุร - อลั ฮมุ ะซะฮ ฺ - อัลฟลี ฺ - อัลบยั ยินะฮ ฺ - อัลกอ็ ดฺรฺ - อัลอะลกั - อัตตนี 30 - อชั ชรั หฺ - อฎั ฎฮุ า - อลั ลัยลฺ - อชั ชมั สฺ - อัลบะลัด - อลั ฟัจญรฺ - อัลฆอชียะฮ ฺ 2 อรรถาธบิ ายอัลกรุ อาน 2. สามารถบอกควาหมาย 2. การอธบิ ายความหมาย และความ อธิบายความหมาย สำคัญของอลั กุรอานและสเู ราะฮ ฺ ความสำคัญของ - อซั ซัลซะละฮ ฺ อลั -กรุ อานและสเู ราะฮ ฺ - อลั อาฎยี าต ท่ีกำหนดได้ถกู ต้อง - อัลกอรอิ ะฮฺ - อตั ตะกาษรุ 232 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ล่มุ เปา้ หมายเฉพาะ เข้าสู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

ที ่ หัว เรอื่ ง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน (ชวั่ โมง) - อลั ฮมุ ะซะฮ ฺ - อัลฟลี ฺ - อลั บัยยนิ ะฮฺ - อัลก็อดรฺ ฺ - อัลอะลกั - อัตตนี - อชั ชัรห ฺ - อัฎฎุฮา - อัลลัยลฺ - อชั ชัมสฺ - อลั บะลัด - อลั ฟัจญร ฺ - อลั ฆอชียะฮ ฺ 3. หลักคำสอนของสเู ราะฮฺ 3. สามารถบอกหลกั คำสอน 3. หลักคำสอนของสเู ราะฮ ฺ 20 และนำหลักคำสอนของสู - อัซซัลซะละฮ ฺ เราะฮทฺ ีก่ ำหนดมาปฏิบตั ิ - อลั อาฎียาต ตอ่ ตนเอง ครอบครวั และ - อัลกอรอิ ะฮ ฺ ชุมชน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง - อตั ตะกาษุร - อลั ฮมุ ะซะฮ ฺ - อัลฟีล ฺ - อลั บัยยนิ ะฮ ฺ - อลั กอ็ ดฺร ฺ - อัลอะลกั - อัตตีน - อชั ชรั หฺ - อฎั ฎฮุ า - อัลลยั ล ฺ - อัชชมั ส ฺ - อลั บะลดั - อัลฟัจญรฺ - อลั ฆอชยี ะฮฺ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความรู้และประสบการณ์กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 233 เข้าสหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวิชา สค22012 หลกั การอา่ นอัลกุรอาน 2 (อัตตัจวดี ) จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คุณค่าและสืบทอด ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศในทวีปเอเชยี ศึกษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกบั เรื่องดังต่อไปน้ี ศึกษา อธิบาย สรุป ความหมาย ความเป็นมา และความสำคัญของหลักการอ่านพยัญชนะท่ีเร่ิมต้น สูเราะฮฺ วิธีการวากัฟคำท่ีลงท้ายด้วยฟัตหาตัยน์และตาอฺมัรบูเฏาะห์ การออกเสียงคำ (‫ )ْانا‬กฎของอิซฮาร์ อิซฮา ร์มุตลัก อิซฮาร์กอมารีย์ และอิซฮาร์อาม อิดฆาม อิดฆอมมุตะมาซิลัยนฺ อิดฆอมมุตะกอริบัยนฺ อิดฆอมมุตะญา นิสัยนฺอัตตาม อิดฆอมมุตะญานิสัยนฺอันนากิส อิดฆอมอัชชัมซียะฮฺ อิดฆอมอัลอาม หลักการอ่าน อัซ-ซักตฺ (การหยุด) เครือ่ งหมายการหยดุ กฎการอ่าน อิสตอี าซะฮฺ บัสมะละฮ ฺ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะในการอ่านและท่องจำอัล-กุรอานอย่างถูกต้องตาม หลกั การอา่ นและนำมาปฏิบัติในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้อง การจัดประสบการณ์การเรียนร ู้ รายวิชาหลักการอ่าน เป็นรายวิชาที่เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติ มีทักษะในการอ่าน ได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน และนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ การวัดและประเมินผล ประเมินจากการสังเกต การเข้าร่วมกิจกรรม การอ่าน ปฏิบัติ มีทักษะในการอ่านจากการทดสอบ และจากการทำรายงาน 234 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า สค22012 หลักการอ่านอัลกรุ อาน 2 (อตั ตจั วดี ) จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและสืบทอด ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของประเทศในทวปี เอเชีย ท ี่ หวั เร่ือง ตัวช้ีวัด เนอ้ื หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 หลักการอา่ นอายะห/์ 1. สามารถอา่ นออกเสยี ง 1. การอา่ นตามหลกั การ 80 สูเราะฮทฺ ก่ี ำหนด พยญั ชนะ คำและซเู ราะฮฺ - พยญั ชนะเร่ิมต้นสเู ราะฮฺ ทกี่ ำหนดไดถ้ กู ตอ้ งตาม หลกั การอา่ น - วิธกี ารวากฟั คำทลี่ งทา้ ยด้วย ฟัตหาตัยน ์ และตาอ ฺ มัรฺบูเฏาะฮฺ - การออกเสยี ง - กฎของอซิ ฮารฺ - อซิ ฮารมฺ ฏุ ลกั - อซิ ฮารฺอิดฆอม - อซิ ฮารอฺ าม 2. อา่ นตามหลักการอิดฆาม - อดิ ฆอมมุตะมาซิลยั นฺ - อิดฆอมมุตะกอริบยั นฺ - อดิ ฆอมมุตะญานิสยั น ฺ อตั ตาม - อดิ ฆอมมุตะญานิสัยนฺอนั นากสิ - อดิ ฆอมอัลอาม 3. อา่ นตามหลักการ - อซั -ซักตฺ - การหยดุ - เคร่ืองหมายการหยุด - กฎการอา่ น อิสตอี าซะฮฺ - บสั มะละฮ ฺ แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความร้แู ละประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 235 เขา้ ส่หู ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า สค22013 จรยิ ธรรม 2 (อลั อคั ลาก) จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณคา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศในทวีปเอเซีย ศกึ ษาและฝึกทักษะเกี่ยวกบั เรอ่ื งดงั ต่อไปน ี้ ความสำคัญของจริยธรรมอิสลามเกี่ยวกับการทักทาย การแต่งกาย การทำความสะอาด มารยาท ในห้องเรียน มารยาทในการรับประทานอาหารและการดื่ม มารยาทในการนอนและตื่นนอน และมารยาทในการปฏิบัต ิ ต่อ ครู และผู้อาวุโส มารยาทในการเข้าห้องน้ำ การเย่ียมเยียน การสนทนา การเลือกคบเพื่อน มารยาทในการอ่าน อลั กรุ อาน การละหมาดในมัสยดิ การเคารพสทิ ธิของเพือ่ นบา้ น เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อมั่น พึงพอใจ ช่ืนชมในการปฏิบัติตามมารยาทต่าง ๆ ในการ ดำเนินชวี ิตเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อยา่ งสนั ติสขุ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ รายวิชาอัลอัคลาก เป็นรายวิชาท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีจริยธรรมอิสลาม โดยให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า อภิปราย วิเคราะห์ และยกตัวอย่างที่สอดคล้องกับจริยธรรมอิสลาม มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน สรุปเป็นองค์ความรู้ และนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั การวดั และประเมินผล ประเมินจากการสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การมีจริยธรรมในการเรียนรู้ ผลงาน ทีเ่ ป็นรายงาน และทดสอบยอ่ ย 236 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความรแู้ ละประสบการณก์ ลุม่ เปา้ หมายเฉพาะ เข้าสู่หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า สค22013 จริยธรรม 2 (อลั อัคลาก) จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของประเทศในทวีปเอเซีย ที่ หัว เรอ่ื ง ตวั ช้วี ัด เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 จรยิ ธรรมประจำวนั 1. สามารถอธบิ ายความ 1. ความสำคญั ของจรยิ ธรรมอิสลาม 20 หมาย ความสำคญั ของ ในเรอ่ื ง จรยิ ธรรมอิสลามในเร่ือง - การทักทาย 2 การปฏิบัตติ นตาม ท่กี ำหนดได้ถกู ตอ้ งตาม - การแตง่ กาย 30 จริยธรรมอิสลาม หลกั การศาสนาอสิ ลาม - การทำความสะอาด 2. สามารถปฏบิ ตั ิตนและ 2. การปฏิบตั ิตามจริยธรรมอสิ ลาม แนะนำผูอ้ นื่ ใหป้ ฏบิ ตั ิ ในเร่อื งเกีย่ วกบั ตามจริยธรรมอสิ ลาม - มารยาทในห้องเรยี น - มารยาทในการรับประทานอาหาร 30 3 เช่อื มัน่ และพงึ พอใจใน และการดื่ม จรยิ ธรรมแห่งอิสลาม - มารยาทในการนอนและตน่ื นอน - มารยาทในการปฏิบัตติ ่อครู และ ผูอ้ าวโุ ส - มารยาทในการเข้าหอ้ งน้ำ - การเยย่ี มเยียน - การสนทนา - การเลอื กคบเพ่อื น 3. มคี วามตระหนกั และ 3. การปลูกฝงั ความพึงพอใจและช่นื ชม เชอื่ มนั่ ต่อการปฏบิ ตั ติ น ในการปฏิบตั ิตนตามหลักการอิสลาม ตามหลักจรยิ ธรรมอสิ ลาม เก่ยี วกับ - เรือ่ งการทักทาย - การแต่งกาย แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรู้และประสบการณ์กล่มุ เป้าหมายเฉพาะ 237 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ่ี หวั เรื่อง ตวั ช้ีวดั เนอ้ื หา จำนวน (ชัว่ โมง) - การทำความสะอาด มารยาทในท่ ี สาธารณะ - การปฏิบัติตนผอู้ าวุโส - การใช้ชวี ติ ร่วมกบั ผูอ้ ืน่ - มารยาทในการอา่ นอัลกรุ อาน - การละหมาดในมสั ยิด - การเคารพสิทธขิ องเพ่ือนบา้ น 238 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรู้และประสบการณ์กลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ เขา้ สู่หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า สค22014 ศาสนประวัติ 2 (อัตตารีค) จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ของประเทศในทวีปเอเซีย ศกึ ษาและฝึกปฏิบตั ิเกย่ี วกับเรอื่ งดงั ตอ่ ไปน้ี เรียนรู้เกี่ยวกับศาสนประวัติสมัยต่าง ๆ ได้แก่ สมัยคอลีฟะฮผู้ทรงธรรมท้ังสี่ สมัยคอลีฟะฮราชวงค์ อุมัยยะห์ และสมัยคอลีฟะฮราชวงค์อับบาซียะห์ อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ เก่ียวกับการปกครอง สภาพสังคม ศิลป วัฒนธรรม วิธีการทางประวัติศาสตร์ การนำเสนอเหตุการณ์ต่าง ๆ การเปรียบเทียบเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ซุนนะฮฺของท่านนบีมูฮัมหมัด สภาพการปกครอง สภาพทางสังคม ศิลป วัฒนธรรม มองท้องถิ่นตนเองในยุคสมัย ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับหลักการของศาสนาอิสลาม ผลงานจุฬาราชมนตรี และบุคคลสำคัญ ทม่ี ีบทบาทตอ่ ศาสนาอสิ ลามในประเทศไทย เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เก่ียวกับศาสนประวัติสมัยต่าง ๆ ได้แก่ สมัยคอลีฟะฮราชวงค์อุมัยยะห์ และสมัยคอลีฟะฮราชวงค์อับบาซียะห์ อยธุ ยา ธนบุรี และรตั นโกสินทร ์ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร ู้ จัดให้ผู้เรียนศึกษาสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือ ผู้รู้ เพ่ือทำความเข้าใจ แสดงความคิดเห็นเหตุการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี กิดข้นึ ในแตล่ ะสมัย พรอ้ มทั้งเปรียบเทียบ นำมาสรปุ แนวทางในการนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั การวดั และประเมนิ ผล ประเมินจากการสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การสรุปจากการทำรายงาน และ ผลจากการทดสอบ แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความร้แู ละประสบการณก์ ล่มุ เปา้ หมายเฉพาะ 239 เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

รายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชา สค22014 ศาสนประวัติ 2 (อตั ตารีค) จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ของประเทศในทวีปเอเซยี ท่ ี หวั เรื่อง ตวั ช้ีวดั เนื้อหา จำนวน (ช่วั โมง) 1 ชวี ประวตั ขิ องทา่ น 1. สามารถบอก วิเคราะห์ 1. ชวี ประวตั ขิ องคอลฟี ะฮผทู้ รงธรรม 20 คอลฟี ะฮผู้ทรงธรรมทงั้ ส ่ี สงั เคราะหช์ วี ประวัตแิ ละ ทง้ั สีด่ ้าน ความสำคญั ของคอลฟี ะฮ - ความสำคญั ท้งั ส่ีโดยสงั เขปได้ - ตระกลู - การใหส้ ตั ยาบัน - คำปราศรัย - การดำรงตำแหน่ง - ผลงานและคุณความดี 20 - เหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร ์ - รูปแบบการนำเสนอเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางประวัตศิ าสตร ์ - การเปรียบเทียบเหตกุ ารณท์ าง ประวัตศิ าสตร์อสิ ลามสมัยส ่ี คอลีฟะฮ - ซนุ นะฮขฺ องทา่ นนบีมูฮมั หมดั (ซล.) เกย่ี วกับการบรหิ ารและการปกครอง 2 ประวัตศิ าสตร์สมัย 2. สามารถบอกความเปน็ มา 2. ประวัตศิ าสตร์สมยั ราชวงคอ์ มุ ัยยะห ์ คอลีฟะฮราชวงคอ์ มุ ยั ยะห ์ อธบิ ายประวัตศิ าสตร์ เกีย่ วกับ สมัยราชวงคอ์ ุมยั ยะห ์ - ตระกูล ได้ถูกต้อง และนำมา - การใหส้ ตั ยาบนั เปรยี บเทียบประยุกต ์ - การดำรงตำแหน่ง, ผลงาน ใช้กบั ชวี ติ ประจำวันได ้ - เหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตร์ - รูปแบบการนำเสนอเหตุการณต์ า่ ง ๆ ทางประวัตศิ าสตร ์ 240 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ี่ หวั เรอ่ื ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หา จำนวน (ช่ัวโมง) - การเปรยี บเทียบเหตกุ ารณท์ าง ประวัตศิ าสตร ์ - การเมอื งการปกครอง - แม่ทพั คนสำคัญ 20 - ความเจริญก้าวหน้าในดา้ นต่าง ๆ - สาเหตแุ หง่ การล่มสลาย 3. ระบบการปกครอง 3. สามารถวเิ คราะหป์ จั จยั 3. ประวตั ศิ าสตร ์ สภาพสังคม ดา้ นการเมอื งการปกครอง - การเมอื งการปกครอง ศิลปวฒั นธรรมชายแดน ทมี่ ีผลกระทบต่อ - สภาพทางสงั คม ศลิ ปวฒั นธรรม ภาคใต้ ในยุคสโุ ขทัยและ วฒั นธรรม ของท้องถ่ินตนเองในยุคสมัย 20 อยุธยาตอนต้น การเปลย่ี นแปลงวิถีชวี ติ - สุโขทัย ของมุสลมิ ไดถ้ ูกตอ้ ง - อยธุ ยา - ปจั จยั ทมี่ ีผลกระทบตอ่ วฒั นธรรมท ี่ สอดคล้องกบั หลักการของ ศาสนาอสิ ลาม - จุฬาราชมนตรีและบคุ คลสำคญั ทมี่ ีบทบาทต่อศาสนาอสิ ลาม ในประเทศไทยในสมยั อยุธยา 4 ศาสนประวตั ใิ นยุคสมยั 4. สามารถอธิบายประวตั ิ 4. ประวตั ศิ าสตร์เกยี่ วกับ อยธุ ยา และธนบรุ ี สภาพสังคมในสมัย - ระบบการปกครอง สภาพทางสงั คม อยธุ ยาและกรุงธนบุรไี ด ้ ศิลปวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่นตนเอง ในยคุ สมยั - อยุธยา - ธนบรุ ี - ปจั จยั ที่มผี ลกระทบตอ่ วัฒนธรรม ที่สอดคลอ้ งกบั หลกั การของศาสนา อสิ ลาม - ความสัมพนั ธ์กับตา่ งประเทศ - กิจการด้านศาสนา แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากความรูแ้ ละประสบการณก์ ลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ 241 เข้าสู่หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

ท ่ี หัว เรอ่ื ง ตัวชว้ี ดั เนื้อหา จำนวน (ช่วั โมง) 5 ประวตั ิศาสตร์ในยคุ 5. สามารถ บอก อธบิ าย 5. ประวตั ศิ าสตร์สมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร ์ รัตนโกสนิ ทร ์ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เกี่ยวกบั เร่อื ง เปรยี บเทียบ เหตกุ ารณ์ - ผลงานจฬุ าราชมนตรี เกย่ี วกับ ระบบการ - บุคคลสำคญั ที่มีบทบาทต่อ ปกครอง สภาพสงั คม ศาสนาอสิ ลามในประเทศไทย ศลิ ปวัฒนธรรมชายแดน ในสมัยธนบุรแี ละรัตนโกสินทร ์ ภาคใต้ ในยุค - ระบบการปกครอง สภาพทางสงั คม รตั นโกสินทรไ์ ดถ้ ูกต้อง ศิลปวัฒนธรรมของทอ้ งถน่ิ ตนเอง อิสลามในประเทศไทย ในยคุ สมัยรตั นโกสนิ ทร์ และปัจจัย ในสมยั อยธุ ยา ทีม่ ีผลกระทบตอ่ วัฒนธรรม 242 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากความร้แู ละประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เข้าสหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า พต32011 หลักภาษาอาหรับ 3 (วากยสมั พันธ,์ อักขรวธิ ี) จำนวน 4 หนว่ ยกิต ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติเกีย่ วกับภาษา ทา่ ทาง การฟงั พูด อา่ น เขียน ภาษาต่างประเทศ ด้วยประโยคท่ีซับซ้อนมากข้ึนในชีวิตประจำวัน และงานอาชีพของตน ถูกต้องตามหลักภาษา วัฒนธรรม และกาลเทศะ ของเจา้ ของภาษา ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเก่ียวกับเรื่องดังตอ่ ไปนี้ ศึกษา ฝึกทกั ษะการใช้ภาษา การฟงั นำ้ เสยี ง การแสดงความรู้สึก คำบรรยาย วิธีการรายงาน ประสบการณ์ กระบวนการเขียน หลักการเขียน การช้ีแจง การแสดงความคิดเห็น กระบวนการทางภาษา และกระบวนการเขียน ตามหลกั ภาษาในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ อธิบายเรอ่ื งราวต่าง ๆ โดยใช้ภาษาอาหรับเป็นเคร่ืองมอื เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจการเรียนรู้ การตีความ และใช้เทคโนโลยีทางการส่ือสาร และสารสนเทศ ทางการศึกษา และสอื่ สารในชวี ติ ประจำวนั โดยใชภ้ าษาอาหรับเปน็ เคร่อื งมอื การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษา และฝึกทักษะการใช้ภาษาอาหรับในการแสดงความคิดเห็น การเขียนเรื่อง การเล่าเร่ืองง่าย ๆ การอธิบายเชิงสร้างสรรค์ ตลอดจนการใช้ภาษาอาหรับเป็นเคร่ืองมือเพื่อการสื่อสาร การประกอบ อาชพี ในชวี ติ ประจำวันได ้ การวดั และประเมินผล จากการสังเกต ผลงาน และการทดสอบหลังเรียน โดยใช้เคร่ืองมือท่ีหลากหลาย เช่น แบบประเมิน การตรวจผลงาน แบบทดสอบ และแบบสังเกต แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากความร้แู ละประสบการณก์ ลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ 243 เข้าสูห่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook