Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

AR

Published by pronthippupae, 2018-07-27 12:18:57

Description: AR

Search

Read the Text Version

การพฒั นาสือ่ การสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลิตสอ่ื สามมิติระบบปฏิสัมพนั ธ์ เรอื่ ง หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมือถอื The development of teaching materials AR technology systems by producing three-dimensional interactive media The philosophy of Sufficiency Economy Using AR technology on mobile ชาตรี ชยั ลอม, กติ ตศิ กั ดิ์ คาผัด, เอกชัย ไก่แกว้ * ดารง สพุ ล, เรวัช จิตจง** บทคดั ย่อ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของส่ือการสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลิตส่ือสามมิติระบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้เทคโนโลยี AR บนมือถือ ๒) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศและ ครู วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ท่ีมีต่อส่ือการสอนระบบเทคโนโลยี AR ประชากรที่ใช้ในการศึกษาไดแ้ ก่ นกั ศึกษาสาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ครู วทิ ยาลัยเทคนิคแพร่ ผลการวิจัยพบว่า ๑) สื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลิตสื่อสามมิติระบบปฏิสัมพันธ์ เร่ือง หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมอื ถือ มปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ กบั ๗๕.๐๐/๗๕.๗๕ ๒) นกั ศึกษาสาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความพึงพอใจต่อสื่อการสอนระบบเทคโนโลยีAR โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ มคี ่าเฉล่ียเท่ากับ ๔.๗๑ (S.D.=๐.๔๙) และ ครู วิทยาลัยเทคนิคแพร่ มีความพึงพอใจต่อส่ือการสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเทา่ กับ ๔.๔๓ (S.D.=๐.๗๙)คาสาคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน, ระบบเทคโนโลยี AR, สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ__________________ * อาจารย์ประจาภาควชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลยั เทคนิคแพร่สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื ๒ ** อาจารย์ประจาภาควชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาแพร่สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคเหนือ ๒

Abstract This research aims to 1) to develop and find the efficiency of AR instructionalmedia by producing three-dimensional interactive media on sufficiency economyphilosophy. 2) To study the satisfaction of students in information technology andteachers of Phrae Technical College. The AR system used in the study is the studentsin the field of information technology and teachers of Phrae Technical College. The research found that: 1) The instructional media of AR technology by producing 3D interactivemedia on Sufficiency Economy Philosophy. Using mobile AR technology is 75.00/75.75 effective. 2) Information Technology Students Satisfaction with AR teaching media wasat the highest level of 4.71 (S.D. = 0.49). Satisfaction with the teaching materials ofthe AR technology is very high. The mean was 4.43 (S.D. = 0.79)Keywords: Computer Assisted Instruction, AR Technology, Information Technology บทนา กระแสสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Society) นับว่าเป็นกระแสที่มาแรงมากการศึกษานับเป็นกิจกรรมหน่ึงที่มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาร่วมผสมผสาน นับต้ังแต่การนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นส่ืออุปกรณ์ในการเรียนการสอน การจัดทาหลักสูตรวิชาคอมพิวเตอร์จนก้าวสู่การใช้คอมพิวเตอร์พัฒนาส่ือช่วยเสรมิ การเรยี นการสอนท่ีเรยี กว่า “สอ่ื คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” หรือที่รู้จักกันดีในช่ือ CAI–Computer Aided Instruction เม่ือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนามาถงึ ยคุ โลกไร้พรมแดนด้วยเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) การเรียนการสอนก็ได้ปรับเปล่ียนรูปแบบไปอย่างมาก โดยมีการนาบริการต่าง ๆ ของอินเทอร์เน็ตมาพัฒนาเป็นส่ือถ่ายทอดวชิ าการความรู้ตา่ ง ๆ เขา้ สู่ระบบ เพม่ิ ชอ่ งทางในการติดตอ่ สอ่ื สารระหว่างผสู้ อนและผู้เรยี น ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้นาเทคโนโลยี “Aurasma” มาพัฒนาส่ือการสอนระบบเทคโนโลยี AR ซึ่งเทคโนโลยีออรัสม่าเป็นแอพพลิเคชั่นสาหรับพัฒนาสื่อมัลติมีเดียท่ัวไป รวมท้ังส่ือดิจิตอลในโลกแห่งความจริงเสมือน (Augmented Reality: AR) เหมาะสาหรับการพัฒนาสื่อที่ใช้กับอุปกรณ์ประเภทSmart Device เช่น ไอโฟน ไอแพด รวมถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาต่าง ๆ ที่ใช้ระบบปฏิบัติการIOS และ Android คุณสมบัติพิเศษของออรสั ม่าจะเป็นตวั กลางสาหรบั การเชื่อมโยงโลกของความจริงและโลกความเสมือนจริงเข้าด้วยกัน โดยแสดงผลออกมาในรูปแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ที่มองเห็น ควบคุมและสัมผสั ไดผ้ า่ นทางหน้าจอ ทง้ั ท่ีเปน็ ภาพนงิ่ ภาพเคลื่อนไหว เสียง การเช่ือมโยงไปยังเว็บไซต์ตามที่กาหนดไว้๑ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ศิลปะการแสดงประจาชาติ ประเทศในประชาคมอาเซียน ดว้ ยเทคโนโลยอี อรสั ม่า๒ จากเหตผุ ลขา้ งตน้ ผวู้ ิจยั มีความสนใจทจ่ี ะพฒั นาส่ือการสอน โดยการสร้างส่ืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยเทคโนโลยอี อรสั ม่า เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และสนใจในบทเรียนมากยิ่งข้ึน มีการ

นาเทคโนโลยีใหมม่ าประยกุ ตใ์ ชก้ ับสอ่ื การเรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางเร่ิมต้นของการผลิตสื่อการเรียนการสอนให้มีความทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในปัจจบุ นั บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI)๓ เป็นกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอเน้ือหาเรื่องราวต่าง ๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรงและเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ CAI (Computer Assisted Instruction) หรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง ส่ือการเรยี นการสอนทางคอมพวิ เตอร์รูปแบบหน่ึงท่ีนิยมบันทึกลงบนแผ่น CDROM ซ่ึงสามารถนาเสนอสื่อประสม ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิที่ใกล้เคียงกับการสอนจริงมากท่ีสุด โดยมีเปา้ หมายสาคัญคอื สามารถดึงดูดความสนใจและกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการท่ีจะเรียนรู้ CAIจึงเป็นสื่อการศึกษายุคใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพมากและยังมีข้อได้เปรียบเหนือส่ืออ่ืน ๆ ด้วยกันหลายประการและสามารถตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างผู้เรียน ขณะเดียวกันผู้เรียนสามารถนา CAI ไปใช้เรียนด้วยตนเอง โดยปราศจากข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ในการดาเนินการศึกษาค้นคว้า CAIจึงเปน็ สอื่ สาคญั ที่ชว่ ยสง่ เสรมิ การเรียนรู้ในลักษณะท่ีเนน้ นกั เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางไดเ้ ป็นอย่างดี สมรกั แกว้ น่มิ ๔ รายงานผลการใช้บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง คอมพวิ เตอรช์ ้ัน ม.๑ผลการศกึ ษาค้นควา้ พบว่า ๑. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ืองคอมพวิ เตอร์เบอื้ งต้น สาหรับนกั เรียนชัน้ ม.๑ มปี ระสิทธภิ าพ ๘๘.๘๐/๘๕.๗๕ ๒. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นหลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรยี น อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .๐๑ ๓. นกั เรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี เร่ืองคอมพวิ เตอรเ์ บอ้ื งต้น โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากที่สุด จิตรลดา ศรีจนั ทรด์ ี๕ รายงานผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลการศึกษาพบวา่ ๑. ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ มปี ระสิทธภิ าพเท่ากับ ๘๔.๘๙/๘๕.๕๐ ๒. มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .๐๕ ๓. ผลการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ๐.๖๙๐๑ แสดงว่านักเรียนมคี วามรู้เพ่มิ ขึน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖๙.๐๑ ๔. ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรยี นบางไทรวิทยา สนง.เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต ๓ พบวา่ นกั เรียนมคี วามพงึ พอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยใู่ นระดับมาก

เศรษฐกจิ พอเพยี ง๖ เป็นหลักปรชั ญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์รมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช มพี ระราชดารสั แก่ชาวไทย นบั ตัง้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๑๗ เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจน ในวนั ท่ี ๔ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๔๐ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทยและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้งั แต่ระดับครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพ่ือให้ก้าวทันตอ่ โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์กรอบแนวคดิ ในการวิจัย ตวั แปรตาม ตัวแปรตน้ ๑) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของส่ือการการพฒั นาสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR สอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลิตสื่อสามโดยการผลิตสื่อสามมิติระบบปฏิสัมพันธ์เรื่อง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มติ ริ ะบบปฏสิ มั พนั ธ์ เรอ่ื ง หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจโดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมือถอื พอเพียง โดยใช้เทคโนโลยี AR บนมือถือ ๒) เพื่อ ศึก ษาคว ามพึง พ อ ใจขอ ง นัก ศึก ษา สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศและ ครู วิทยาลัยเทคนิคประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง แพร่ ทมี่ ตี ่อสือ่ การสอนระบบเทคโนโลยี AR๑. ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและครูวิทยาลยั เทคนิคแพร่๒. กลุม่ ตัวอยา่ งทที่ าการศึกษา ได้แก่ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคแพร่จานวน ๒๖ คน ได้มาจากการสุ่มอย่างเจาะจงเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการศึกษา ๑. สื่อสามมิติระบบปฏิสัมพันธ์ เร่ือง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้เทคโนโลยี ARบนมือถือ ๒. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น ๓. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ครูวิทยาลยั เทคนิคแพร่ ที่มีตอ่ ส่อื การสอนระบบเทคโนโลยี ARวธิ ีการสรา้ งเครอื่ งมือ ๑. การพฒั นาสอ่ื การสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลิตส่ือสามมติ ิระบบปฏิสัมพันธ์ เรื่องหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมือถอื ผ้วู ิจัยได้นาแนวคิดการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนแบบ IMMCAI เป็นการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภท การสอนเนื้อหาหรือความรู้ใหม่ (Instruction) โดยเน้นการสร้างจุดโต้ตอบและมัลติมีเดียในบทเรียนหรือเรยี กว่า Interactive MultiMedia Computer Assisted Instruction : IMMCAI๗

เร่มิ กาหนดวชิ า/หัวเร่ือง/วัตถุประสงค์และกลุม่ ผทู้ ดลองข้ันวิเคราะห์ (Analysis)๑.๑ ศึกษาขอ้ มลู วธิ กี ารสร้างและออกแบบสื่อการสอน จากผู้เช่ยี วชาญ เอกสาร และงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้อง๑.๒ วิเคราะห์เนอ้ื หา กาหนดขอบเขตของเน้อื หา กาหนดจดุ ประสงค์ และกาหนดโครงสร้างขั้นการออกแบบ (Design)๑.๓ การออกแบบหนา้ จอ (Story Board)ข้ันพฒั นา (Developing)๑.๔ เขียนสตอรี่บอร์ด เพื่อกาหนดรูปแบบและลาดับของการนาเสนอสื่อสามมิติระบบปฏิสัมพันธ์เรื่อง หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมอื ถือ๑.๕ นาเนื้อหาท่ีได้เขียนเป็นสตอรี่บอร์ดให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกต้องจากนั้นนาข้อเสนอแนะปรับปรุงแก้ไข เพ่ือสร้างส่ือสามมิติระบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมอืข้ันสรา้ ง (Implementation)๑.๖ สร้างสื่อสามมิตริ ะบบปฏสิ ัมพันธเ์ ร่ือง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมอื ถือ ๑) เขา้ ไปทเ่ี วบ็ ไซต์ https://studio.aurasma.com/landing

๒) ใหท้ าการสมัครสมาชกิ เพือ่ ใช้ในการเข้าใชง้ าน ๓) เมื่อสมัครสมาชิกเสรจ็ เรยี บรอ้ ย ให้เข้าสูร่ ะบบ ๔) หลงั จากเขา้ สู่ระบบ จะเจอกับหน้าแรกของโปรแกรม Arrasma ในหน้านีเ้ ป็นหน้าทแ่ี สดงส่ือที่ถูกสรา้ งขน้ึ มาจากผู้ใช้งานทั่วโลก เราสามารถสรา้ งส่อื และแกไ้ ขสื่อ รวมถงึ แก้ไขข้อมลู สว่ นตัวของผู้ใช้งานได้ผ่านทางหนา้ นี้

๕) การสร้างสอ่ื ๕.๑ ใหผ้ ใู้ ช้งาน คลิกไปท่ี +Create New Aura ๕.๒ ในหนา้ นโ้ี ปรแกรมจะให้เราทาการเพม่ิ Trigger คือรปู ที่จะเป็นตวั กาหนดว่าสือ่ ที่เราจะนาเสนอคืออะไร โดยรูปจะต้องมีความละเอียดของภาพที่เหมาะสม และมีสีสันที่มากพอสาหรับนามาทา Trigger ๕.๓ ใหก้ ดเคร่ืองหมาย + และนารปู เข้ามาจากเครือ่ งคอมพวิ เตอร์

๕.๔ เมอื่ ได้รปู ทตี่ ้องการ ให้กด Save และรอใหโ้ ปรแกรมอัพโหลดรูปจนเสร็จ ๕.๕ หลงั จากทีอ่ พั โหลดรปู เสร็จ จะแสดงตวั อยา่ งให้เหน็ ให้กด Next เพื่อไปขนั้ ตอนต่อไป ๕.๖ หน้าต่อมาคือหน้าเนอื้ หาท่เี ราตอ้ งการจะให้แสดง หรือเรยี กว่า Overlays ๕.๗ ในหน้า Overlays เราสามารถเพิ่มเนื้อหาได้โดยการกด + ด้านขวามือ โดยเน้ือหาสามารถ ใสไ่ ดท้ ง้ั รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว อนเิ มชน่ั และลกู เลน่ อน่ื ๆ

๕.๘ หลังจากที่เรานาไฟล์เนื้อหามาใส่ในโปรแกรมแล้ว เราจะสามารถจัดการกับรูปแบบของการแสดงผลของไฟล์เน้ือหานัน้ ได้ดงั น้ี - Initially hidden คือการสัง่ ให้ไฟลส์ ื่อถกู ซ่อนเอาไว้จนกว่าจะมกี ารเรยี กใชง้ าน - Fade in คือการสง่ั ใหเ้ ลน่ สือ่ หลังจากท่ีมีการทางานของโปนแกรม - Hide on screenshot/video คือการสั่งให้ซ่อนไฟล์สื่อนัน้ ๆ - Add Actions คอื การสร้างเง่อื นไขใหก้ ับส่อื ๕.๙ หน้าต่าง Add Actions -สว่ นที่ ๑- คือการกาหนดคาสั่งทรี่ บั ค่าของการทางานคร้ังแรก -ส่วนที่ ๒- จะเป็นคาส่ังต่อเนื่องจากส่วนที่1ว่าให้ประมวลผลอย่างไร หลังจากรับค่า ส่วนท่ี ๑ มาแลว้

-ส่วนที่ ๓- เป็นการเลือกตัวไฟล์ส่ือว่าจะให้คาส่ังที่ถูกตั้งค่ามาใน ๒ ส่วนแรก ทางาน ไฟลส์ ือ่ ตวั ไหน ๕.๑๐ เม่ือส่ือท่ีสร้างพร้อมท่ีจะเผยแพร่แล้ว ให้กด Next และตั่งช่ือพร้อมคาอธิบายด้านซา้ ยมือและกด Save เพื่อบันทกึ ๖) การเผยแพรส่ ื่อ ๖.๑ หลังจากบันทกึ เรยี บร้อยให้กด Unshare ๑ ครัง้ โปรมจะแสดงหน้า My Auras จะเห็นว่าส่ือพร้อมใช้งาน แต่ยังเป็นสถานะส่วนตัวต้องต้ังให้เป็นสาธารณะ โดยการดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ท่ีจะแกไ้ ข

๖.๒ ให้กด Next มาจนถงึ หนา้ สุดท้าย แลว้ กด Share กเ็ ปน็ อนั เสร็จสาหรบั การสร้างสื่อ ผา่ นโปรแกรม Aurasma ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation) ๑.๗ นาสือ่ การสอนระบบเทคโนโลยี AR ใหผ้ ู้เชีย่ วชาญพจิ ารณา ๑.๘ ดาเนนิ การหาประสิทธภิ าพของสอื่ การสอนระบบเทคโนโลยี AR ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีตั้งไว้ คือ ๘๐/๘๐ ซ่ึงนาไปทดลองใชก้ ับนกั ศกึ ษา แบบกลมุ่ เลก็ จานวน ๓ คน ท่ีไม่เคยเรียนวิชานี้มาก่อนและ ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ผลการทดลองพบว่ามีประสิทธิภาพเท่ากับ ๗๑.๓๐/๖๘.๓๓ จากนั้นผู้วิจัยได้นา ข้อมูลจากการทดลองใช้ไปปรับปรุงแก้ไขให้มีความเหมาะสมมากข้ึน ก่อนนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จานวน ๒๖ คน ผลการทดลองพบวา่ มีประสทิ ธภิ าพเทา่ กบั ๗๕.๐๐/๗๕.๗๕ ๑.๙ ปรับปรุงสื่อการสอนตามคาแนะนาของผู้เช่ียวชาญให้สมบูรณ์ พร้อมที่จะนาไปใช้ในการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนตอ่ ไป ๒. การสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ผวู้ ิจยั ได้ดาเนินการดังนี้ ๒.๑ ศกึ ษาเอกสารและตาราท่ีเกยี่ วข้องกับระบบเทคโนโลยี AR ๒.๒ ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากหนังสือ ตารา และเอกสารที่เกยี่ วขอ้ ง ๒.๓ วิเคราะห์เนือ้ หาตามจดุ ประสงค์จากแผนการจดั การเรยี นรู้ ๒.๔ สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมเน้ือหาตามจุดประสงค์ ๒.๕ นาแบบทดสอบที่สร้างข้ึนไปใหผ้ ู้เชีย่ วชาญจานวน ๓ คน พจิ ารณา ๒.๖ ปรับปรุงแบบทดสอบตามคาแนะนาของผเู้ ชีย่ วชาญ ๒.๗ นาแบบทดสอบไปทดลองใช้เพ่ือวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (P) และค่าอานาจจาแนก (r)๘ โดยพจิ ารณาว่าขอ้ ใดท่ีนักศกึ ษาตอบถูกมากตัดออก ขอ้ ใดที่นกั ศกึ ษาตอบถกู น้อยตัดออก ๒.๘ นาแบบทดสอบท่ีวิเคราะห์ได้ไปปรับปรุงใหม่ จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์นาไปใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนต่อไป

๓. การสรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจมีลักษณะเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า(Rating Scale) ๕ ระดับ๙ โดยกาหนดเกณฑ์การประเมินและดาเนนิ การดังนี้๕ หมายถงึ มรี ะดบั ความคดิ เหน็ อยู่ในระดบั มากท่ีสุด๔ หมายถึง มรี ะดบั ความคิดเหน็ อยใู่ นระดับ มาก๓ หมายถึง มรี ะดับความคดิ เหน็ อยู่ในระดับ ปานกลาง๒ หมายถึง มีระดบั ความคดิ เห็นอยูใ่ นระดับ นอ้ ย๑ หมายถงึ มีระดบั ความคิดเห็นอยู่ในระดบั น้อยทีส่ ดุ ๓.๑ ศึกษาเอกสารการสร้างแบบสอบถามท่ีเกี่ยวข้องกับส่ือการสอนระบบเทคโนโลยี AR ๓.๒ สรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจต่อสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR ๓.๓ นาแบบสอบถามความพงึ พอใจทีส่ รา้ งขึ้นใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญจานวน ๓ คน พิจารณา ๓.๔ ปรบั ปรงุ แบบสอบถามตามคาแนะนาของผ้เู ช่ยี วชาญ ๓.๕ นาแบบสอบถามไปทดลองใช้เพ่ือวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (P) และค่าอานาจ จาแนก (r) ๓.๖ ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามให้สมบูรณ์ก่อนนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตอ่ ไป ๔. รูปแบบการวิจัย ผู้วิจยั ได้วางแผนการทดลองโดยใชก้ ล่มุ เดียวมีลักษณะของการทดสอบนักศึกษาก่อนเรียน(Pre-test) ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน (Treatment) ทดสอบนักศึกษาหลังเรียน (Post-test)๑๐ ๕. วิธีดาเนนิ การทดลอง ๕.๑ นาแบบทดสอบก่อนเรียนไปทดสอบกับกลุ่มทดลอง (Try Out) ที่มีระดับผลการเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน จานวน ๓ คน จากนั้นนาผลมาปรับปรุงแก้ไขและนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จานวน ๒๖ คน ๕.๒ ดาเนนิ การสอนครงั้ ที่ ๑ กับกลุ่มทดลอง (Try Out) ท่มี รี ะดบั ผลการเรยี น เก่ง ปานกลาง อ่อน จานวน ๓ คน ท่ียังไม่เคยเรียนวิชาน้ี จากน้ันนาผลและข้อบกพร่องมาแก้ไขแล้วนาไปทดลองคร้ังท่ี ๒ กบั กล่มุ ตวั อยา่ ง ๒๖ คน ท่ียังไมเ่ คยเรียนวิชานี้ จานวน ๕ หน่วยการเรียน จากนั้นนาผลท่ีได้ไปพฒั นาส่อื การสอน ๕.๓ นาแบบทดสอบหลงั เรยี นไปทดสอบกบั กลุ่มทดลอง (Try Out) จานวน ๓ คน และนาผลนามาปรบั ปรุงแกไ้ ขและนาไปใชอ้ ีกกบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง จานวน ๒๖ คน ๖. การวิเคราะห์ข้อมูล ๖.๑ การหาค่าสถิติพ้ืนฐานคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนทไ่ี ด้จากการทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน๑๑ โดยใชส้ ตู รดงั น้ี ๖.๒ วิเคราะหข์ อ้ มลู เพือ่ หาประสทิ ธภิ าพ จากคะแนนทาแบบทดสอบระหว่างเรียนและคะแนนทาแบบทดสอบหาผลสัมฤทธห์ิ ลงั เรยี น โดยหาค่า E1/E2 ๑๒

๖.๓ วเิ คราะหข์ อ้ มูลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ๑) หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Consistency) ของแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธทิ์ างการเรยี นแตล่ ะขอ้ กับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง กาหนดเกณฑ์ค่า IOC. ต้ังแต่ ๐.๕ ขนึ้ ไปจงึ จะถอื วา่ มคี วามสอดคล้องกับผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง๑๓ ๖.๔ ค่าอานาจจาแนก สาหรับสถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์หาคา่ อานาจจาแนก๑๓ ๖.๕ ค่าสัมประสิทธ์ิความเช่ือม่ันของแบบทดสอบใช้สูตร KR-20 ของ KuderRichardson๑๓ ๖.๖ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่อง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ด้วยการทดสอบค่า (t-test)๑๑ ๖.๗ สรุปผลการวจิ ยั ทาการวเิ คราะห์ผลการทดสอบและสรุปผลการวิจัยรวมถึงรายงานการวิจัยผลการวิจัย ๑. การหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR ตามเกณฑม์ าตรฐานคอื ๘๐/๘๐ตารางที่ ๑ แสดงคะแนนจากการทาแบบทดสอบของนักศึกษากลุม่ ตัวอยา่ ง จานวน ๒๖ คน รายการ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลยี่ คดิ เป็นรอ้ ยละ ประสิทธิภาพคะแนนแบบฝึกหัด ๘๐ ๗๕.๐๐ ๗๕.๐๐ ๗๕.๐๐/๗๕.๗๕คะแนนจากแบบทดสอบ ๒๐ ๑๕.๑๕ ๗๕.๗๕ จากการดาเนินการเพ่ือหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้คือ ๘๐/๘๐ ซึ่งนาไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จานวน ๒๖ คน ผลการวเิ คราะห์พบว่ามปี ระสิทธภิ าพเทา่ กับ ๗๕.๐๐/๗๕.๗๕ ๒. ความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ท่ีมีต่อสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี ARตารางท่ี ๒ แสดงข้อมูลความพึงพอใจของนกั ศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลยั เทคนคิ แพร่ท่ีมตี ่อสอ่ื การสอนระบบเทคโนโลยี AR รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ X S.D. ความหมาย๑. ความสมบรู ณข์ องเนอ้ื หาสาระ ๑.๑ โครงสรา้ งของเน้ือหามีความกะทดั รดั ชัดเจน งา่ ยตอ่ การทา ๔.๕๗ ๐.๕๓ มากทีส่ ดุความเข้าใจ

รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ X S.D. ความหมาย ๑.๒ มเี นือ้ หาและสารสนเทศท่ีพอเพยี งสาหรบั การทาความเข้าใจ ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากที่สดุ ๑.๓ เน้ือหามีความสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคท์ ่ตี ้องการนาเสนอ ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากที่สดุ ๑.๔เรยี บเรยี งเน้ือหาไดถ้ ูกต้องตามหลกั การใชภ้ าษา ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากที่สดุ ๑.๕ จัดเรยี งหวั ขอ้ เน้ือหาเป็นระบบเดียวกัน ๔.๕๗ ๐.๕๓ มากที่สดุ ๑.๖ มีการจดั แบ่งหนว่ ยการเรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากท่สี ุด ๑.๗ มเี นื้อหาครบถ้วนครอบคลมุ ในรายวิชา ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก๒. ความคดิ สรา้ งสรรค์ ๒.๑ มคี วามคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรคก์ ่อใหเ้ กดิ องคค์ วามรใู้ หม่ ๆ ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากทส่ี ุด ๒.๒ มีการประยุกตใ์ ห้เกดิ ความรูแ้ ละสอดคล้องกับสภาพปจั จบุ ัน ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก๓. การจดั รูปแบบ ๓.๑ การจัดองค์ประกอบทางศิลปะในบทเรียนมีความเหมาะสม ๔.๒๙ ๐.๔๙ มากสะดดุ ตา นา่ สนใจ น่าตดิ ตาม ๓.๒ ภาพท่ีใช้ในบทเรียนมีความน่าสนใจ สอดคล้องกับเนื้อหา ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากทส่ี ุดและสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ๓.๓ ความชัดเจนของ FONT ๔.๕๗ ๐.๕๓ มากท่ีสุด๔. สว่ นประกอบด้านมัลตมิ เี ดีย ๔.๑ ออกแบบหนา้ จอเหมาะสม ง่ายต่อการใชง้ าน ๔.๘๖ ๐.๓๘ มากที่สดุ ๔.๒ สัดส่วนเหมาะสมสวยงาม ๔.๗๑ ๐.๗๖ มากที่สดุ ๔.๓ มีคุณภาพ ประกอบกบั บทเรยี นชดั เจน น่าสนใจ ชวนคิดน่าตดิ ตาม ๔.๘๖ ๐.๓๘ มากที่สดุ ๔.๔ เข้า – ออก บทเรียนไดส้ ะดวก ๔.๘๖ ๐.๓๘ มากที่สุด๕. ประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี น ๕.๑ สามารถนาไปใชใ้ นการเรยี นไดจ้ รงิ ๕.๐๐ ๐.๐๐ มากทส่ี ุด ๕.๒ได้สอื่ การเรียนร้ทู ท่ี นั สมัยโดยใช้ระบบเทคโนโลยี AR ๕.๐๐ ๐.๐๐ มากทส่ี ุด ๕.๓ สามารถพัฒนาใหเ้ กดิ การเรยี นรอู้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากที่สดุ ๕.๔ สามารถนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาต่อยอดได้ ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก จากตารางท่ี ๒ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศวิทยาลยั เทคนคิ แพร่ ในด้านต่าง ๆ ดังกล่าวพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มคี ่าเฉลีย่ เท่ากบั ๔.๗๑ (S.D.=๐.๔๙)

๓. ความพึงพอใจของครูวิทยาลัยเทคนิคแพร่ ทีม่ ีต่อสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี ARตารางที่ ๓ แสดงข้อมลู ความพึงพอใจของครูวิทยาลยั เทคนิคแพร่ ทมี่ ีตอ่ สื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR รายการ ระดบั ความพึงพอใจ X S.D. ความหมาย๑. ด้านหลักสตู รและการนาไปใช้ ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๑.๑ มีการจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศท่ีจาเป็นสาหรับครูในการ ๔.๔๓ ๐.๗๙ มากพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากทส่ี ุด ๑.๒ สร้างความตระหนักแก่ครูเก่ียวกับความสาคัญของการพัฒนา ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๔.๕๗ ๐.๕๓ มากทส่ี ุดหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากทส่ี ุด ๑.๓ สง่ เสริม สนับสนุนให้ครูปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากท่ีสุดกบั สภาพปัญหาและความต้องการของผู้เรยี น ผู้ปกครอง ชมุ ชน สงั คม ๑.๔ ครูผ่านการอบรม พฒั นาและมคี วามรเู้ กย่ี วกับการจัดทา ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๔.๒๙ ๐.๔๙ มากหลักสูตรและการนาหลักสตู รไปใช้ ๔.๗๑ ๐.๔๙ มากที่สดุ ๑.๕ จัดทาโครงสรา้ งหลักสตู ร สาระการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั ๔.๕๗ ๐.๕๓ มากที่สดุ ๔.๔๓ ๐.๗๙ มากเปา้ หมายและคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๑.๖ นาหลักสูตรไปใช้ในการวางแผนการจัดประสบการณ์ท่ีหลากหลาย สอดคลอ้ งกับความสามารถและความสนใจของผู้เรยี น ๑.๗ มกี ารนาผลการประเมินหลกั สูตรมาใช้ปรับปรงุ และพัฒนาดา้ นการนาหลกั สตู รไปใช้๒. ดา้ นการจัดการเรียนรู้ ๒.๑ จัดทาขอ้ มูลและใช้แหลง่ เรียนร้ตู า่ ง ๆ และใช้ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ในการจดั การเรียนการสอน ๒.๒ มกี ารวิเคราะห์ผลเพ่ือประมวลปัญหาและอปุ สรรคทเ่ี กดิ ขน้ึจากการจดั การเรียนรู้๓. การพัฒนาการใช้สื่อ และเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา ๓.๑ มกี ารส่งเสริมสนบั สนนุ ใหจ้ ดั หา ผลิต พัฒนาสอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ๓.๒ มีการวางแผนการใช้สือ่ นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ ๓.๓ ทาการผลิต พัฒนาส่ือ และนวตั กรรมการเรยี นการสอน ๓.๔ใช้สอ่ื นวัตกรรม อุปกรณเ์ ทคโนโลยี ประกอบการจัดประสบการณใ์ ห้ผเู้ รียนได้ปฏิบัติจริง๔. ดา้ นการวัดประเมนิ ผล ๔.๑ กาหนดระเบยี บการวัดผล ประเมินผลการเรียนร้ตู ามหลักสตู ร

รายการ ระดบั ความพึงพอใจ X S.D. ความหมาย ๔.๒ สามารถสรา้ งเครือ่ งมอื วัด ประเมินผลการเรยี นรูท้ ห่ี ลากหลายโดยยึดผู้เรียนเปน็ สาคญั ๔.๗๑ ๐.๗๖ มากทส่ี ดุ ๔.๓ นาผลการประเมนิ มาวเิ คราะห์เพื่อนาไปเป็นข้อมูลในการ ๔.๘๖ ๐.๓๘ มากท่สี ดุปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรใู้ ห้มคี ุณภาพ๕. ประโยชน์ตอ่ นักศกึ ษา บุคลากรครู และสถานประกอบการ ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๕.๑ ได้สื่อการเรียนรทู้ ีท่ ันสมัยโดยใช้ระบบเทคโนโลยี AR ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๕.๒ ใช้เป็นแนวทางในการผลิตส่ือประเภทแอนิเมชั่น เพื่อเป็นส่ือ ๕.๐๐ ๐.๐๐ มากที่สดุการสอนในรายวชิ าอืน่ ๆ และในงานส่ือโฆษณา การประชาสมั พนั ธ์ ๔.๔๓ ๐.๗๙ มาก ๕.๓ สามารถนาไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนไดจ้ ริง ๕.๔ นกั ศกึ ษามปี ระสิทธภิ าพการเรียนรทู้ ส่ี งู ข้ึน จากตารางที่ ๓ ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจของครูวิทยาลัยเทคนคิ แพร่ ในด้านต่าง ๆดงั กลา่ วพบวา่ ครูส่วนใหญม่ คี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมากมคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั ๔.๔๓ (S.D.=๐.๗๙)การอภปิ รายผลการวิจยั ๑. ผลการหาประสิทธภิ าพของสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลิตสื่อสามมิติระบบปฏสิ ัมพันธ์ เร่ือง หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง โดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนมือถือ พบว่ามปี ระสิทธิภาพเท่ากับ ๗๕.๐๐/๗๕.๗๕ ๒. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศวิทยาลยั เทคนคิ แพร่ ท่มี ีต่อสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ มคี า่ เฉลี่ย เท่ากบั ๔.๗๑ (S.D.=๐.๔๙) ๓. ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจของครูวิทยาลัยเทคนิคแพร่ ที่มีต่อสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ ๔.๔๓(S.D.=๐.๗๙)ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ๑. สื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR สามารถช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพทางการเรียนของผเู้ รียนสงู ขึ้น เนื่องจากส่อื การสอนได้สรุปรวมรวบเนอ้ื หาสาระท่ีหลากหลาย ประกอบกับมกี ารกาหนดขนั้ ตอนกิจกรรมการสอนอย่างมรี ะบบ สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์การเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ทาให้เกิดเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ผู้สอนควรเสริมเทคนิคการสอนและการใช้ส่ือประกอบการสอน เพื่อกระต้นุ การเรียนรูข้ องผ้เู รียน สง่ ผลให้ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนาการเรยี นรู้ มเี จตคตทิ ีด่ ตี ่อสอื่ การเรยี นการสอน ๒. ผู้สอนควรใช้เทคนิคหรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายกับผู้เรียนท่ีมีความแตกตา่ งกนั เน่ืองจากผู้เรียนอาจมีการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน การปรับกระบวนการสอนจะทาให้ผเู้ รยี นเกิดความสนใจส่งผลใหม้ ีการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง

๓. ก่อนใช้สือ่ การสอน ผ้สู อนควรเตรยี มความพรอ้ มโดยการศึกษาเน้ือหาสาระ วิธีการใช้งานและกจิ กรรมการสอน ตรวจสอบความสมบูรณข์ องส่อื อืน่ ๆ ทจี่ ะนามาใช้ประกอบการสอนเป็นอย่างดี เอกสารอา้ งอิง[๑] ไพฑูรย์ ศรฟี ้า. (2556). การพฒั นาส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส.์ (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา : gs.nsru.ac.th/files/1/55เนารุ่ง%20วิชาราช.pdf[๒] ณัฐมา ไชยวรโยธิน. (2556). การพัฒนาส่ือความจริงเสมอื น. (ออนไลน)์ . แหล่งท่มี า : edtech.tsu.ac.th/etmc/ejournalVol2/87-95.pd[๓] ชาญชัย สุขสกุล. (2549). การสรา้ งบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน วิชาจริยธรรมทางธรุ กิจ. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์.[๔] นายสมรกั แก้วน่ิม. (23 ก.ค. 2556, 08:46). รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรอ่ื ง คอมพิวเตอรช์ ้นั ม.1. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทมี่ า : http://www.yawi- pbn1.com/workteacher-detail_4[๕] จิตรลดา ศรจี ันทร์ดี. รายงานผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน เร่อื ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร. แหล่งทีม่ า : http://www.bangsaiwit.ac.th/workteacher-detail_4396[๖] เศรษฐกิจพอเพียง. มูลนธิ ชิ ยั พัฒนา (The Chaipattana Foundation). แหลง่ ทีม่ า : http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html[๗] ไพโรจน์ ตีรณธนากลุ และ ไพบูลย์ เกียรตโิ กมล, (2541). การพัฒนาแบบบทเรียนแบบ IMMCI. แหล่งท่มี า : pro.edu.snru.ac.th/UserFiles/งาน%20อ.ภทั รดร/.../บทที่%202.docx[๘] ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2543). เทคนคิ การวดั ผลการเรยี นรู้. (พมิ พค์ รั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ : สวุ ีรยิ าสาสน์ . แหลง่ ทีม่ า : https://sites.google.com/site/buengbang20/kar- hi-hetuphl/wikheraah-khxsxb[๙] บุญชม ศรีสะอาด, (๒๕๔๕ : ๑๐๓). การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจมลี ักษณะเป็น แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั . แหล่งท่ีมา : www.e- manage.mju.ac.th/openFile.aspx?id=MTM4Mjgz[๑๐] ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และ สุภาพ ฉัตราภรณ์. 2549: 55 การทดสอบก่อนเรียน (Pre- test) ทดสอบหลังเรียน (Post-test) (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/ 8247/7/Chapter3.pdf[๑๑] บุญชม ศรีสะอาด. 2543. การวจิ ยั เบื้องต้น. พมิ พ์ครง้ั ที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สวุ ีรยิ าสาสน.์[๑๒] ยงยุทธ สุทธชิ าติ, 2544 : 39-40. วิเคราะหข์ ้อมูล เพ่ือหาประสิทธภิ าพค่า E1 และ E2.[๑๓] ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ. (2553). เทคนิคการวจิ ยั ทางการศึกษา. (พิมพค์ ร้ังที่ 11). กรุงเทพฯ: สวุ ีรยิ าสาส์น. แหลง่ ท่ีมา : http://grad.vru.ac.th/pdf- journal/Journal%209_1/16.Chonkanit%20204-212.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook