วนิ ัย ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ว่าทเ่ี รือตรีทรงยศ พรานเน้อื
ข้าราชการไม่ว่าจะอยู่ในตาแหน่งใด ระดับไหน มหี น้าที่ อย่างไร ล้วนแต่มสี ่วนสาคัญอยู่ในงานของแผน่ ดินท้ังส้ิน ทุก คนจึงต้องต้ังใจปฏิบัติหน้าทีโ่ ดยเต็มกาลังความสามารถ ด้วย อุดมคติ ด้วยความเข้มแขง็ เสียสละ และระมัดระวังให้การทุก อย่าง ในหนา้ ท่ีเป็ นไปอย่างถกู ตอ้ งเท่ียงตรง ดว้ ย ความ ระลึกรตู้ วั อยู่เสมอว่า การปฏิบตั ิตวั ปฏิบตั งิ านของตนมีผล เก่ียวเน่ืองถึงสุขทุกขข์ องประชาชน ตลอดจนความเจริญ ข้ึนหรือเส่ือมลงของประเทศชาติ วังไกลกังวล วนั ท่ี ๒๕ มนี าคม พุทธศักราช ๒๕๕๗
ความหมายของวนิ ัย ◼ กฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบงั คบั ◼ ท่ีกาหนดให้ข้าราชการประพฤตปิ ฏบิ ัติ หรือละเว้นการ ประพฤตปิ ฏิบัติ ◼ ผู้ฝ่ าฝื น จะได้รับโทษตามที่กาหนดไว้
การรักษาวินัย เปรียบไดเ้ หมือนการขับรถไฟไปตามราง ผูบ้ ังคบั บัญชา = หวั รถจักร ผ้อู ยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชา = ตรู้ ถไฟ วนิ ัย = รางรถไฟ
วนิ ัยเส่ือม/หย่อนยาน
ความผดิ ทางวนิ ยั • ไมม่ ีอายุความ • การลงโทษต้องดาเนินกระบวนการตามกฎหมาย •ผู้ส่ังลงโทษตอ้ งเป็ นผู้บังคบั บัญชาทมี่ อี านาลลงโทษได้ • สภาพการเป็ นขา้ ราชการ - ขณะกระทาผดิ - ขณะลงโทษ 6
กระทาความผดิ วนิ ัย ขณะเป็ นพนักงาน ราชการ ต่อมาบรรจุเป็ นครูผู้ช่วยจะ นาเอาเร่ืองทท่ี าผดิ ตอนเป็ น พนักงานราชการ มาเป็ น เหตุสั่งลงโทษทางวนิ ัยได้ หรือไม่?
อุทาหรณ์ ■ ข้าราชการครู ตาแหน่งครูชานาญการพเิ ศษ ถูกธนาคารกรุงไทย จากดั (มหาชน) ฟ้องคดีต่อศาล ล้มละลายกลางให้เป็ นคนล้มละลาย เพราะเป็ นหนีเ้ กนิ หน่ึงล้าน บาท ถือเป็ นบุคคลมีหนี้สินล้น พ้นตัว และหนี้น้ันกาหนดจานวนได้โดยแน่นอน จึงถูกฟ้อง ให้ล้มละลาย และศาลล้มละลาย กลาง พิพากษาให้เป็ นบุคคลล้มละลาย ถือเป็ นผู้ขาด คุณสมบัติท่ัวไป ตามมาตรา ๓๐(๙) แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗) ผู้บังคับบัญชา จึงมคี าส่ังให้ออกจากราชการ แต่ได้ ต่อสู้ว่าผู้บงั คบั บญั ชาจะสั่งให้ออกราชการไม่ได้เพราะอยู่ใน ระหว่างการอทุ ธรณ์คดีต่อศาล ฎกี าคดียงั ไม่ถึงทส่ี ุด ศาลปกครองสูงสุดพจิ ารณาแล้วเห็นว่าเมื่อ ได้ลงช่ือในคาพิพากษาของ ศาลล้มละลายกลางแล้วก็ถือได้ว่ารับทราบคาพิพากษาแล้วจึงเป็ น ผู้ขาดคุณสมบัติการเป็ น ข้าราชการครูตามมาตรา ๓๐(๙) การออกคาส่ังให้ออกจากราชการ จึง ชอบด้วยกฎหมาย แล้ว (คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๔๔๖/๒๕๖๐)
“ลม้ ละลายตายทงั้ เป็น” (ตายหมู)่
มติ อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั เกย่ี วกบั กฎหมายและระเบยี บข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา คร้ังที่ 12/2555 วนั จนั ทร์ท่ี 12 พฤศจกิ ายน 2555 ■ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย เคยกระทา ความผิดฐาน ลักทรัพย์ศาลพิพากษาลงโทษจาคุก 2 เดือน ปรับ 2,000 บาท โทษจาคุกรอการลงโทษไว้ 2 ปี โดยขณะกระทามีอายุ 24 ปี บรรลุนิติภาวะ แล้ว ท้ังยังเป็ นผู้สอบแข่งขันได้และอยู่ระหว่างขึน้ บัญชี ผู้สอบแข่งขันใน ตาแหน่งครูผู้ช่วย จงึ เป็ นผู้บกพร่องในศีลธรรมอนั ดี ขาดคุณสมบัตทิ ่ัวไปท่ี จะเข้ารับราชการเป็ นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 30 (7) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. 2547
ข้อสังเกตุ ■การท่ีศาลมคี าพพิ ากษาถงึ ทส่ี ุดให้ลงโทษจาคุก 2 ปี ปรับ 2,000 บาท โดยโทษจาคุกรอการลงโทษไว้ 2 ปี จึงต้องถือว่า มิได้ถูก จาคุกจริง และไม่เป็ น ผู้ขาดคุณสมบัตติ ามมาตรา 30 (10)
กระทาผดิ อาญาขณะยงั ไม่บรรลนุ ิตภิ าวะ (มติ อ.ก.ค.ศ.วสิ ามญั เกย่ี วกบั กฎหมายและระเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คร้ังที่ 13/2558 วนั พธุ ท่ี 2 ธันวาคม 2558) ■ การทน่ี าย พ. กระทาความผดิ ดงั กล่าวในขณะทย่ี งั คงเป็ นผู้เยาว์ มอี ายุเพยี ง ๑๓ ปี เศษ ซ่ึงเป็ นวยั ท่ี มวี ุฒภิ าวะ วยั วุฒแิ ละ คุณวุฒิน้อย ยงั ไม่มคี วามรู้สึกผดิ ชอบชั่วดเี ท่าที่ควร ไม่รู้จักการยบั ย้งั ชั่งใจ ในส่ิงทตี่ นได้กระทาไป ซ่ึงใน การกระทาของเดก็ วยั นีว้ ญิ ญูชนคนทวั่ ไปต่างเข้าใจและยอมรับได้ ว่ามกั ทาไปด้วยความคกึ คะนอง อยากมี อยากได้ โดยยงั ไม่มีความสานึกตระหนักรู้จกั ผดิ ชอบชั่ว ดเี ท่าท่คี วร จึงทาให้เห็นว่าการกระทาของนาย พ. ในขณะน้ัน ย่อมกระทาไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และย่อมจะไม่ทราบและรู้เท่าทนั ได้ว่าการกระทาของตนน้ัน อาจส่งผลกระทบต่อชีวิตในอนาคต อย่างไรบ้าง ดงั น้ัน เม่ือเป็ นการกระทาในขณะทน่ี าย พ. ยงั เป็ นผู้เยาว์ มอี ายเุ พยี ง ๑๓ ปี เศษ จึงยงั ไม่ถือว่าเป็ นพฤตกิ ารณ์ทรี่ ้ายแรงถึงขนาดบกพร่องในศีลธรรมอนั ดีสาหรับ การเป็ นผู้ประกอบ วชิ าชีพครู ตามมาตรา ๓๐ (๗)
ในกรณีผถู้ ูกกล่าวหาถึงแก่ความตายระหวา่ งถูกดาเนินการทางวินยั ■ ต้องสั่งยุตกิ ารดาเนินการทางวนิ ัยทุกกรณไี ม่ว่า ร้ายแรง/ไม่ร้ายแรง ■ สาหรับในกรณีเป็ นการดาเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง ให้รวบรวมพยาน ต่อไปและทาความเห็นเพื่อเสนอเร่ืองให้กระทรวงเจ้าสังกัดพิจารณาในเรื่อง บาเหน็จบานาญของผู้น้ันต่ อไป (หนังสื อกระทรวงการคลัง ท่ี กค 0504/14556 ลงวนั ท่ี 25 พ.ค.2520)
เมื่อข้าราชการถูกล้างมลทนิ ให้ถือว่าไม่เคยถูก ■ ผ ล คื อ ห า ก อ ยู่ร ะ ห ว่า ง ถู ก ตัด ลงโทษทางวินัย เงินเดือนกไ็ ม่ถูกตดั อีกต่อไป มาก่อนเลย ■ ไม่สามารถขอรับเหรียญจกั รพรรดิ มาลาได้(เน่ืองจากการล้างมลทิน เป็ นการล้างเฉพาะโทษ ไม่ได้ลา้ ง ความผิด จึงถือไม่ไดว้ ่าเป็ นการรับ ราชการมาด้วยความเรียบร้อย อนั เ ป็ น คุ ณ ส ม บั ติ ใ น ก า ร ข อ รั บ พระราชทานเหรียญฯ)
เหรียญจกั รพรรดมิ าลา
จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวนิ ัยข้าราชการ เพื่อ 1. ให้ราชการดาเนินไปด้วยดมี ปี ระสิทธิภาพ 2. ความเจริญ ความสงบเรียบร้อยของ ประเทศชาติ 3. ความผาสุกของประชาชน 4. ภาพพจน์ช่ือเสียงท่ีดขี องทางราชการ
1. จิตใจ/ครอบครวั /ช่ือเสียง 2. เงินเดือน 3. บำเหน็จ/บำนำญ 4. ควำมรบั ผิดทำงอำญำ/แพ่ง 5. คณุ สมบตั ิกำรกลบั เขำ้ รบั รำชกำร
ผู้มหี น้าทรี่ ักษาวนิ ัย คือ 1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2. ผู้บังคบั บัญชา (ผอ.รร. ผอ.สพท เลขาธิการ กพฐ. รมว.ศธ.) 3. องค์กรกลางบริหารงานบุคคล (ก.ค.ศ.,กศจ.)
โทษทางวนิ ัยมี 5 สถาน 1. ภาคทณั ฑ์ ความผดิ วนิ ัยอย่างไม่ร้ายแรง 2. ตดั เงินเดือน ความผดิ วนิ ัยอย่างร้ายแรง 3. ลดเงนิ เดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก
การพจิ ารณาความผดิ ■การพจิ ารณาความผดิ จะใช้หลกั นิติธรรมพจิ ารณาว่า การ กระทาน้ันมีกฎหมาย บญั ญัติว่าเป็ นความผดิ วนิ ัยหรือไม่ และ หลกั มโนธรรมพจิ ารณาทบทวนให้รอบคอบโดยคานึงถึง ความเป็ นจริง ความถูกต้องเหมาะสมตามเหตุผลทค่ี วรจะเป็ น ในการพจิ ารณาความผดิ
การกาหนดโทษทางวนิ ัย ■ หลกั นิติธรรมเพื่อกาหนดโทษตามทกี่ ฎหมายกาหนด ■ หลกั มโนธรรมเพ่ือพจิ ารณาทบทวนให้รอบคอบตาม เหตุผล มใิ ห้ เป็ นไปโดย พยาบาท อคติ หรือโทสจริตหรือลงโทษผู้ทไี่ ม่มคี วามผดิ ■ หลกั ความเป็ นธรรมเป็ น การวางโทษให้ระดบั เสมอหน้ากนั ■ หลกั นโยบายของทางราชการในการลงโทษ ได้แก่ นโยบายของ รัฐบาล มตคิ ณะรัฐมนตรี
มาตรา 82 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวนิ ัยที่ บัญญตั ิเป็ นข้อห้าม และข้อปฏิบตั ิไว้ในหมวดนีโ้ ดยเคร่งครัด อยู่เสมอ
1. วนิ ัยต่อประเทศชาติ 2. วนิ ัยต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการ 3. วนิ ัยต่อผู้บงั คบั บญั ชา 4. วนิ ัยต่อผู้ร่วมงาน 5. วนิ ัยต่อประชาชน 6. วนิ ัยต่อตนเอง
วนิ ัยต่อประเทศชาติ - สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมุข ด้วยความบริสุทธ์ิใจ (ม.83)
“หน้าทร่ี าชการ” ก.พ.มแี นวทางการพจิ ารณา ดงั นี้ 1. พจิ ารณาจากกฎหมาย หรือระเบยี บ 2. มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง 3. พจิ ารณาจากคาส่ังหรือการมอบหมายของผู้บังคบั บญั ชา 4. พฤตินัย
หนา้ ทตี่ ามกฎหมาย หรอื ระเบยี บ ■ การสอบสวนความผดิ วินยั อยา่ งร้ายแรงแก่ขา้ ราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ซ่ึงกฎหมายกาหนดใหผ้ มู้ ีอานาจตาม มาตรา 53 เป็นผสู้ ง่ั แต่งต้งั คณะกรรมการสอบสวนวินยั อยา่ ง ร้ายแรง
หนา้ ที่ตามมาตรฐานกาหนดตาแหนง่ (ก.พ. ไดจ้ ดั ทาไวเ้ ปน็ บรรทัดฐาน ตามมาตรา 48 แหง่ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ทกุ ตาแหน่ง โดยกาหนดหน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบของตาแหน่ง ตลอดจนลักษณะงานที่ปฏิบัติ ไว้เป็นกรอบกวา้ ง ๆ) ■ ตาแหน่งประเภท วิชาการ ช่ือสายงาน ตรวจสอบภายใน ชอื่ ตาแหน่งในสายงาน นกั วชิ าการ ตรวจสอบภายใน ระดับตาแหน่ง ระดับปฏบิ ัตกิ าร ■ หน้าท่แี ละความรบั ผิดชอบหลัก ปฏิบตั ิงานในฐานะผู้ปฏบิ ัตงิ านระดบั ตน้ ท่ตี อ้ งใชค้ วามรู้ ความสามารถทางวชิ าการในการ ทางาน ปฏบิ ตั ิงานเกีย่ วกบั งานตรวจสอบภายใน ภายใต้การกากับ แนะนา ตรวจสอบ และปฏิบัตงิ านอน่ื ตามท่ี ได้รบั มอบหมาย
พจิ ารณาจากคาสั่งหรือการมอบหมายของผบู้ งั คบั บญั ชา คาสั่งโรงเรียนมธั ยมฮีน้อย ที่ ๑๙ /๒๕๖๒ เรื่อง การจดั เวรยามรักษาสถานทร่ี าชการ -------------------------
หน้าทโ่ี ดยพฤตนิ ัย (ใหพ้ จิ ารณาจากการที่ข้าราชการผนู้ น้ั ยอมเอาตัวเข้าไปผกู พนั กระทาการอยา่ งหนง่ึ อย่างใด ซ่งึ การเขา้ ไปกระทา การดังกลา่ วมลี กั ษณะเปน็ ทางราชการ อนั ถอื เปน็ หนา้ ที่ราชการโดยพฤตินยั ) ■ ตวั อยา่ งกรณมี หี น้าที่โดยพฤตนิ ยั นาง ก เจ้าหน้าท่ีการเงินซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติหน้าท่ีเกี่ยวกับเงิน งบประมาณ ได้ผูกพันตนรับฝากเงินนอกงบประมาณท่ีมิได้อยู่ในหน้าท่ีของตน โดยลงลายมือช่ือรับฝากเงินน้ันไว้ อย่างเป็นทางการในด้านหลังคู่ฉบับใบเสร็จรับเงิน ถือได้ว่านาง ก มีหน้าที่ราชการในเร่ืองเงินจานวนท่ีได้รับน้ัน เมื่อต่อมาปรากฏข้อเท็จจริงว่า นาง ก ได้นาเงินจานวนดังกล่าวไปใช้เป็นประโยชน์ส่วนตัวจึงถือได้ว่า นาง ก กระทาความผิดฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ เน่ืองจาก นาง ก. มีหน้าที่ราชการ ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพ่ือให้ตนเองไดป้ ระโยชน์ท่ีมิควรได้ โดยมีเจตนาทุจริต แม้ภายหลัง นาง ก จะอ้างว่าตนไม่ไดเ้ ป็นผู้มีหน้าที่รับฝาก เงินนอกงบประมาณก็ตาม แตก่ ารที่ นาง ก ได้ผกู พันตนเข้ารับฝากเงินนอกงบประมาณดังกล่าวโดยการลงลายมือ ชือ่ รบั ฝากเงินไว้อย่างเป็นทางการในด้านหลังคู่ฉบับใบเสร็จรับเงินจึงเป็นที่ประจักษแ์ ก่บุคคลท่ัวไปวา่ นาง ก. เป็น ผมู้ ีหน้าทีด่ งั กล่าวแล้ว
ความผดิ ทพ่ี บบ่อยครง้ั มาตรา 84 วรรค 3 ปฏิบตั ิหรอื ละเว้นการปฏิบัตหิ น้าที่ราชการโดยมิชอบ เพ่ือใหเ้ กดิ ความเสียหายอยา่ งรา้ ยแรงแก่ผูห้ นงึ่ ผูใ้ ด หรือปฏบิ ตั หิ รือละเว้น การปฏิบัตหิ น้าทร่ี าชการโดยทุจรติ ผ้ใู ดทุจรติ ตอ่ หน้าท่รี าชการ ถอื เปน็ ความผดิ วนิ ัยอย่างรา้ ยแรงโทษ ไล่ออกสถานเดียว ปรับปรงุ มติ ครม. กรณที จุ ริตตอ่ หนา้ ทีร่ าชการ (234/2536)
มติ ค.ร.ม.เมื่อวนั ท่ี 21 ธ.ค.2536 (นร 0205/ว 234 ลว. 24 ธ.ค.2536) - การลงโทษผู้กระทาผดิ วนิ ัยฐานทุจริต ควรลงโทษเป็ นไล่ออกจากราชการ - การนาเงนิ ทท่ี ุจริตไปแล้วมาคืนมเี หตุอนั ควรปรานีอื่นใด ไม่ เป็ นเหตุลดหย่อนโทษเป็ นปลดออกจากราชการ
ตวั อย่าง ทุจริตต่อหน้าทร่ี าชการ ■ มีหนา้ ที่ทาบญั ชีและรายงานต่าง ๆ พร้อมทาหนา้ ที่นาเงินรายไดแ้ ผน่ ดินส่งคลงั ดว้ ย แลว้ ทาการยกั ยอกเงินรายไดแ้ ผน่ ดินเป็นประโยชน์ส่วนตน (โทษ ไล่ออก) ■ เบียดยงั เงินหมวดค่าใชส้ อยเอาไปใชเ้ ป็นประโยชน์ส่วนตวั แลว้ ปลอมแปลงแกไ้ ข เอกสารการเงินของทางราชการ นอกจากน้ีไดย้ กั ยอกเงินเดือนและคา่ เช่าบา้ นของ ราชการไปใชป้ ระโยชน์ส่วนตวั (โทษ ไล่ออก) ■ แกไ้ ขและปลอมแปลงเช็คใหต้ นเป็นผรู้ ับเงิน แลว้ โอนเขา้ บญั ชีเงินฝากของ ตน (โทษ ไล่ออก)
ตวั อยา่ ง ■ ข้อเทจ็ จรงิ นายรักเป็นผูเ้ ก็บสมดุ คู่ฝากบัญชธี นาคารของโรงเรยี นทกุ บญั ชีไวค้ นเดียวเมอ่ื จะ เบิกเงินนายรกั จะให้เจ้าหน้าทีก่ ารเงนิ ลงลายมอื ชือ่ ในใบเบิกเงิน แลว้ นายรักจะลงจานวนเงนิ ภายหลงั เมื่อเจา้ หน้าท่ีการเงนิ ทกั ท้วงก็อ้างว่าเรง่ รีบและจะรบั ผดิ ชอบเอง หรอื บางครงั้ ก็แก้ไข จานวนเงินโดยไม่ไดบ้ อกกล่าวแกเ่ จา้ หน้าที่การเงินจนทาให้เงนิ ในบัญชีเงินกองทุนอาหาร กลางวนั บญั ชเี งนิ อาหารเสรมิ (นม) บัญชเี งนิ อดุ หนนุ นกั เรยี นยากจนและขยายโอกาสทาง การศึกษา เงนิ คา่ พาหนะนักเรยี นไปรบั บรกิ าร ทางสขุ ภาพขาดบัญชไี ปรวม 270,779 บาท ปรากฎว่าเงินจานวนดังกลา่ วนายรกั ได้ทยอยเบิกถอนไปหมุนเวยี นใช้เป็นประโยชน์สว่ นตัว นอกจากนี้ยังพบว่านายรกั ไดป้ ลอมลายมือช่อื ข้าราชการครูและนักการโรงซ่งึ เป็น ผใู้ ต้บงั คับบญั ชาไปขอกูเ้ งนิ ฉกุ เฉินจากสหรกร์ออมทรัพยค์ รู แลว้ ไมร่ บั ผดิ ชอบชาระหน้เี ป็นเหตุ ใหผ้ ู้ใตบ้ ังคับบัญชาเดือดรอ้ นอกี ท้งั ยังเปน็ ผแู้ ทนรับเงินชว่ ยค่าศึกษาบุตรของผใู้ ต้บังคบั บญั ชา แลว้ ไม่นาไปจา่ ยให้กับผู้มีสทิ ธจิ นตอ้ งมกี ารทวงถามเปน็ เวลานานจงึ ได้นามาคืนใหแ้ ก่ผูม้ สี ทิ ธิ ผดิ ฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ โทษไล่ออกจากราชการ
มาตรา ๘๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ ราชการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและ หน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาลโดยถือ ประโยชนส์ ูงสุดของผู้เรียน และไม่ใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่ทางราชการ การปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยลงใลไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติ คณะรัฐมนตรีหรือนโยบายของรัฐบาล ประมาทเลนิ เล่อหรือขาดการเอาใล ใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ อันเป็ นเหตุให้เกิดความ เสียหายแกร่ าชการอยา่ งร้ายแรงเป็ นความผิดวินัยอยา่ งร้ายแรง 35
ระเบียบแบบแผนของทางราชการ “ แบบแผน” คือขนบธรรมเนียมท่ีกำหนดไว้ หรอื เคยประพฤติปฏิบตั ิสืบต่อกนั มำ 1. เป็ นระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำรทวั่ ไป 2. กำหนดหนำ้ ท่ีทวั่ ไปท่ีทกุ คนตอ้ งปฏิบตั ิตำม 3. ไมจ่ ำเป็ นตอ้ งกำหนดไวเ้ ป็ นลำยลกั ษณอ์ กั ษร ◼ ระเบียบกำรลำ/ระเบียบเกย่ี วกบั รถรำชกำร ◼ ระเบียบกำรแต่งกำย/ระเบียบบำ้ นพกั
ฐานไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ มติ ครม. แบบแผนทางราชการ เชน่ –ไมย่ น่ื ใบลาหลังกลับมาทางาน - ไม่ลงชื่อปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีราชการ - นารถยนต์ของทางราชการไปใชส้ ่วนตวั - จดั ให้มกี ารเรย่ื ไรโดยไม่ขออนุญาต - ไมแ่ จ้งผบู้ ังคับบญั ชาเม่ือตอ้ งหาคดอี าญา แพ่ง หรือล้มละลาย (มติครม.826/2482) - เสพสุรา ขับรถยนต์ (มติครม.156/2496)
กฎหมาย ระเบียบ มติ ครม.ทคี่ วรทราบ ■ขา้ ราชการผมู้ ีหนา้ ท่ีปฏิบตั ิราชการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง จะอา้ งวา่ ไม่รู้กฏหมายหรือระเบียบแบบแผนขอ้ บงั คบั อนั ตนจาตอ้ ง ปฏิบตั ิและอยใู่ นหนา้ ที่ของตนมิได้ (มติคณะรัฐมนตรี แจง้ ตาม หนงั สือกรมสารบรรณคณะรัฐมนตรีฝ่ ายบริหาร ท่ี น.ว. 89/2497 ลงวนั ท่ี 1 เมษายน 2497)
■ ข้าราชการทีป่ ฏิบตั งิ านในสถานศึกษา จะต้องมาถึง สถานศึกษา ก่อนเวลาทางานปกตอิ ย่างน้อย 15 นาที และกลบั หลงั เวลาทางานปกตไิ ม่น้อยกว่า 15 นาที (ระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยเวลาทางานและวนั หยดุ ราชการ ของสถานศึกษา พ.ศ. 2502 ข้อ 8)
■วนั ปิ ดภาคเรียนถือว่าเป็ นวนั พกั ผ่อนของนักเรียน ซ่ึง สถานศึกษาอาจอนุญาตให้ครู หยุดพกั ผ่อนได้ แต่ถ้ามรี าชการ จาเป็ น ครูต้องมาปฏบิ ัตริ าชการตามคาส่ังของทางราชการ (ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการกาหนดเวลาทางาน และวนั หยุดราชการของ สถานศึกษา พ.ศ. 2520 ข้อ 9)
■ขา้ ราชการเป็ นเจา้ มือ เดินขาย หรือเล่นสลากกินรวบตอ้ ง ถูกลงโทษอยา่ งนอ้ ยใหอ้ อกจากราชการ (มติคณะรัฐมนตรี แจง้ ตามหนงั สือกรมสารบรรณคณะรัฐมนตรีฝ่ ายบริหารท่ี น.ว. 280/2498 ลงวนั ท่ี 29 ธนั วาคม 2498)
■ ผใู้ ดลาป่ วยต่อเน่ืองกนั ต้งั แต่ 10 วนั ข้ึนไป ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาหรือผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมายไป สอบสวนใหไ้ ดค้ วามจริงวา่ ป่ วยจริงหรือไม่อยา่ งไร - การลากิจ ควรอนุญาตเฉพาะกรณีจาเป็นจริง ๆ ไม่ใช่ลากิจ เพ่ือไปรับจา้ งหารายไดพ้ เิ ศษ อยา่ งอ่ืน - ผบู้ งั คบั บญั ชาคนใดรู้เห็นเป็นใจอนุญาตใหข้ า้ ราชการลาเทจ็ ใหถ้ ือวา่ มีความผดิ ทางวินยั ดว้ ย (คาสง่ั นายกรัฐมนตรี แจง้ ตามหนงั สือกรมสารบรรณคณะรัฐมนตรี ฝ่ ายบริหารที่ น.ว. 128/2497 ลงวนั ท่ี 20 สิงหาคม 2497)
มาตรา ๘๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังของ ผู้บังคับบัญชาซงึ่ ส่ังในหน้าทร่ี าชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบยี บของทาง ราชการ โดยไม่ขัดขนื หรือหลีกเลี่ยง แตถ่ า้ เหน็ ว่าการปฏิบตั ติ ามคาส่ังนั้นละทาให้ เสียหายแก่ราชการ หรือละเป็ นการไม่รักษาประโยชนข์ องทางราชการละเสนอ ความเหน็ เป็ นหนังสือภายในเลด็ วัน เพอ่ื ใหผ้ ู้บงั คบั บัญชาทบทวนคาส่ังนั้นกไ็ ด้ และเมอื่ เสนอความเหน็ แล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายนื ยันเป็ นหนังสือใหป้ ฏบิ ัตติ าม คาส่ังเดมิ ผู้อยใู่ ตบ้ งั คับบัญชาละตอ้ งปฏบิ ัตติ าม การขัดคาส่ังหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังของผู้บังคบั บัญชา ซงึ่ ส่ังในหน้าทรี่ าชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการ อันเป็ น เหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง เป็ นความผดิ วินัยอยา่ งร้ายแรง 44
ขดั คาสั่งผู้บงั คบั บัญชาซึ่งสั่งการในหน้าท่ี ■ ต้องปฏิบัตติ ามคาส่ังของผู้บงั คบั บญั ชา ■ ถ้าเห็นว่าการปฏบิ ัตติ ามคาสั่งจะทาให้ราชการเสียหายจะเสนอความเห็น เป็ นหนังสือเพ่ือให้ทบทวนคาสั่งน้ันกไ็ ด้ ■ ถ้าผู้บังคบั บญั ชายืนยนั เป็ นหนังสือ กใ็ ห้ปฏบิ ัตติ าม ■ การไม่ปฏิบัตติ ามคาส่ังผู้บงั คบั บญั ชาจนทาให้ราชการเสียหายอย่างร้ายแรง เป็ นความผดิ วนิ ัยร้ายแรง
คำวินิจฉัยของศำลปกครอง กำรส่ังงำนของผ้บู ังคับบญั ชำด้วย ลำยลกั ษณ์อักษร หรือวำจำหรือผ่ำนช่องทำงต่ำง ๆ ( โทรศัพท์ , ไลน์, อีเมล ฯลฯ) ถือเป็นคำส่ังโดยชอบ เทียบคำพิพำกษำ ศำลปกครองสูงสุดท่ี อ.598/2557
■ หนงั สือสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ด่วนที่สุด ท่ี ศธ.04009/4680 เรื่อง การคดั เลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่ง ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา (สพท.) สงั กดั สพฐ. ปี 2561 ■ แจง้ ไปยงั ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา (สพป.) และ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา (สพม.) ทุกเขตทวั่ ประเทศ ■ หา้ มไม่ใหผ้ อู้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา และบุคลากรในสงั กดั เขา้ ไปมี ส่วนเก่ียวขอ้ ง หรือกระทาการใดๆ ท่ีมีเจตนาเป็นการกวดวชิ า จดั ทาเอกสาร จาหน่าย แจก หรือกระทากระบวนการอ่ืนใดที่ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ หรือเอ้ือประโยชนแ์ ก่ผเู้ ขา้ สอบโดยเดด็ ขาด
■ กระทรวงศึกษาธิการไม่อนุญาตให้ ครูสตรีเข้าประกวด นางงาม ตลอดจนการประกวดหรือแสดงแบบเครื่องแต่งกาย สตรี ไม่ว่าการประกวดน้ันจะเรียกช่ืออย่างไร และผู้ใดเป็ นผู้ จดั หาก ฝ่ าฝื นอาจได้รับการพจิ ารณาลงโทษถงึ ให้ออกจาก ราชการ (หนังสือกระทรวงศึกษาธิการที่ ศธ 1422/2504 ลงวนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2504)
ต้องตรงต่อเวลา อทุ ศิ เวลาให้แก่ทางราชการและ ผู้เรียน จะละทงิ้ หรือทอดทงิ้ หน้าทรี่ าชการโดยไม่มี เหตุผลอนั ควรไม่ได้ การละทงิ้ หน้าท่รี าชการจนทาให้ราชการเสียหาย อย่างร้ายแรงเป็ นความผดิ วนิ ัยอย่างร้ายแรง การละทิง้ หน้าท่รี าชการตดิ ต่อในคราวเดียวกนั เป็ นเวลาเกนิ กว่า 15 วนั เป็ นความผดิ วนิ ัยอย่าง ร้ายแรง
อทุ ิศเวลาของตน ไม่ว่าในเวลาราชการ และนอกเวลาราชการ ตลอดจนวนั หยุดราชการ
Search