Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทหารพระราชา

ทหารพระราชา

Published by sukworadet29, 2020-11-18 11:51:23

Description: ทหารพระราชา

Keywords: K.9

Search

Read the Text Version

ปกใน ปท พ่ี ิมพ : ๒๕๖๓ จาํ นวนทพ่ี มิ พ : ๒,๐๐๐ เลม คร้ังทพ่ี ิมพ :๑ จัดพิมพโดย : ศนู ยป ระสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ และความมน่ั คง กองบญั ชาการกองทพั ไทย พิมพที่ ๙/๑ หมู ๑๖ ถนนวิภาวดีรังสิต ต.คูคต อ.ลําลูกกา จังหวัด ปทุมธานี ๑๒๑๓๐ โทร./แฟกซ ๐๒ ๕๖๕ ๘๔๗๒ E-mail : [email protected] Website : www.rdpscc.rtart.mi.th Facebook : : บริษัท ดีคอมเมิรซ กรุป จํากัด (สํานักงานใหญ) เลขท่ี ๒๐๒ อาคารเลอ คองคอรด ช้ัน ๙ หอง ๙๐๔ ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กทม. ๑๐๓๑๐ โทร: ๐๒-๒๗๖-๕๑๖๗

คาํ นํา พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ รทรงเปน พระมหากษตั รยิ ผ ทู รงธรรมพระองคท รงครองแผน ดนิ และครองหวั ใจชาวไทยทงั้ มวลพระองคท รงงานดว ยความเพยี รเปน เวลายาวนาน ถงึ ๗๐ปไมมีทใ่ี ดในผนื แผนดินไทยท่ีพระบาทยาตราไปไมถ งึ การเสดจ็ ฯเย่ยี ม ราษฎรอยา งใกลช ดิ ของพระองคท าํ ใหเ กดิ ความผกู พนั ทางใจระหวา งพระราชา กบั ปวงประชาราษฎรเร่อื งเลา ตา งๆทที่ รงสดบั รับฟงเปน ขอมูลสาํ คญั สาํ หรบั โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ เพ่ือชวยใหราษฎรสามารถพ่งึ พาตนเอง ไดอยางย่ังยืน การทรงงานหนักของพระองคไดเปล่ียนพื้นท่ีแหงแลงกันดาร เปนพน้ื ทที่ าํ มาหากนิ เปลย่ี นชวี ติ คนไทยสว นใหญข องประเทศให“ พอมีพอกนิ ” และกา วไปสกู าร“กนิ ดีอยดู ”ี โดยในปจ จบุ นั ไดม หี นว ยงานทงั้ ภาครฐั และภาค เอกชนหลายๆหนว ยงานไดพ ยายามผลกั ดนั และขบั เคลอ่ื นการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยอยูบนพื้นฐานทางสายกลางคํานึงถึงความ พอประมาณความมีเหตุผลการสรางภูมิคุมกันที่ดีในหลายๆชองทางใหเกิด การพฒั นาอยา งเปน รปู ธรรมเกดิ ผลสมั ฤทธติ์ อ คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ ของประชาชน ทุกหมเู หลา ดา นการทหารโดยศนู ยป ระสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระ ราชดาํ รแิ ละความมนั่ คง : ศปร. ในฐานะทเี่ ปน หนว ยทหารของกองบญั ชาการ กองทพั ไทยกม็ สี ว นผลกั ดนั และขบั เคลอื่ นการบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งเชน เดยี วกนั โดยมภี ารกจิ ในการวางแผนอาํ นวยการประสาน งาน กํากับดแู ล และดาํ เนินการเกีย่ วกับ โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดําริ โครงการเพอ่ื ความมน่ั คงและโครงการพเิ ศษอน่ื ๆของกองบญั ชาการกองทพั ไทย รวมท้งั การบูรณาการ แผนงาน งานโครงการของเหลา ทพั และกองบญั ชาการ ตาํ รวจตระเวนชายแดนทง้ั ภายในและภายนอกประเทศใหส อดคลอ งตามแนว พระราชดาํ ริและยทุ ธศาสตรต ามความม่ันคงในการพัฒนา ๑สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ประเทศ และเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ  หนังสอื สบื สานรักษาตอยอดจากฟากฟา สูมหานทีในบทบาท ทหารพระราชาเปน หนงั สอื เลม แรกท่ีศปร.ดาํ เนนิ การบนั ทกึ ศาสตรพ ระราชา กบั การดาํ เนนิ งานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ รทิ เ่ี กดิ จากบทบาทของ ทหารในการขบั เคลอื่ นการพฒั นาจนเกดิ ผลสมั ฤทธขิ์ องโครงการซงึ่ หนงั สอื เลม น้ี จะชวยใหคนไทยไดเรียนรู พระราชวิริยะ อุตสาหะ พระราชดําริ และพระ ราชอจั ฉรยิ ภาพในการพฒั นาประเทศ ทาํ ใหค นไทยไดป ระจกั ษว า พระองคท รง เปน พระมหากษตั รยิ น กั พฒั นาผทู รงปฏบิ ตั ิพระองคท รงเปน ปราชญผ นู าํ หลกั คดิ และแนวปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาทส่ี อดคลอ งกบั ธรรมชาตมิ าใชกอ ใหเ กดิ ประโยชน แกม หาชนชาวโลก ศนู ยป ระสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ และความมัน่ คง ๒ สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

สารบญั เนื้อหา หนา ๑. สบื สาน รกั ษา ตอ ยอด สรางสขุ ปวงประชา ..................................๕ ๒. ศาสตรพระราชาสูการพฒั นาอยางย่งั ยืน ......................................๒๑ ๓. การบริหารทรพั ยากรน้ํา “ฝนหลวง”............................................๒๗ ๔. การบริหารทรัพยากรปาไม ..........................................................๓๗ ๕. การบรหิ ารทรัพยากรดิน ..............................................................๕๗ ๖. การบรหิ ารสาธารณสขุ .................................................................๗๑ ๗. การบริหารดานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ....................๘๕ ๘. บทสรปุ .........................................................................................๙๔ ๙. เอกสารอางอิง .............................................................................๙๖ ๓สบื สาน รักษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

เข่อื นภมู ิพล มงิ่ ขวัญของแผน ดิน กา วแรกท่ยี ั่งยนื

สืบสาน รักษา ตอยอด สรางสุขปวงประชา นบั ตง้ั แตเ สดจ็ ขน้ึ ครองราชยพ ระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดี ศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณพระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ตง้ั แตท รงพระเยาวทงั้ การเสดจ็ พระราชดําเนนิ ไปทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ แทนพระราชบดิ าและพระมารดาจนเมอื่ เจรญิ พระชนมายมุ ากขน้ึ พระราชกรณยี กจิ ท่ที รงปฏิบตั ิผานมากเ็ พิม่ มากขนึ้ นานปั การ จนทําใหป วงชนชาวไทยประจักษ ชดั ในพระราชวิรยิ ะ อุตสาหะ และพระราชหฤทัยอันมุงมน่ั ในการบาํ บดั ทกุ ข บาํ รุงสุขแกร าษฎร โดยทรงนอมนําแนวพระราชดาํ รแิ ละพระราชปณธิ านของ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร และสมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ิพ์ ระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปห ลวง มาทรงปฏบิ ตั ิ ดงั พระปฐมบรมราชโองการ “เราจะสบื สาน รกั ษา ตอ ยอด และ ครองแผน ดนิ โดยธรรม เพอ่ื ประโยชนส ขุ แหง อาณาราษฎรตลอดไป” • สบื สาน : นาํ องคค วามรู พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร มาสบื สานในการทรงงาน • รกั ษา : พระราชทานพระราชดาํ รแิ กห นว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งในการ ดูแลรักษาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ รและสมเดจ็ พระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ใหเกิด ความยั่งยืน • ตอยอด : สานตอโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถ บพติ รใหส มั ฤทธผ์ิ ลตามพระราชประสงคด วยพระราชหฤทัยอันมุงมั่นในการ สืบสาน รักษา และตอยอดพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทร มหาวชริ าลงกรณพ ระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงดําเนนิ ตามรอยเบอื้ งพระยคุ ลบาท ในการปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ทรงทมุ เทพระวรกายพระวริ ยิ ะอสุ าหะเพอื่ ชว ย เหลอื แกไ ขปญ หาและบรรเทา ความเดอื ดรอ นของราษฎรในทกุ ดา นอยา งตอ เนอ่ื งดงั นี้ ๕สืบสาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สูม หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๑. ดานการทหารและการบนิ พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงสนพระราชหฤทยั ใน วิทยาการดานการทหาร มาตั้งแตทรงพระเยาว นอกจากทรงรับการศึกษา และรับราชการทหารจากประเทศออสเตรเลียยังทรงพระราชวิริยะอุตสาหะ ในการเพ่ิมพูนความรู และพระประสบกาณดานการทหารอยูตลอดเวลา โดย หลงั สนิ้ สดุ การศกึ ษาดา นการทหารจากประเทศออสเตรเลยี แลว ยงั ทรงเขา รบั การฝกเพิ่มเติมระหวางม.ค.ถึงต.ค.๒๕๑๙และทรงศึกษางานทางการทหาร ในประเทศออสเตรเลยี โดยทนุ กระทรวงกลาโหม ทรงประจาํ การ ณ กองปฏบิ ตั ิ การทางอากาศพิเศษ การทําลายและยุทธวิธีรบนอก แบบหลักสูตร การลาดตระเวน และตนหนชั้นสูง พระองคทรงมีพระปรีชาชาญในวิทยาการ ดา นการบนิ ในระดบั สงู ทรงรอบรเู ทคนคิ สมยั ใหมท ง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ มชี ว่ั โมงการฝก บนิ อยา งตอ เนอื่ งและถอื วา เปน สง่ิ ทยี่ ากสาํ หรบั นกั บนิ ทวั่ โลกท่ี จะทําได พระองคทรงพระกรุณาธิคุณปฏิบัติหนาที่ครูการบินเคร่ืองบินขับไล แบบเอฟ ๕ อ/ี เอฟ ตงั้ แตว นั ที่ ๔ พ.ค. ๒๕๓๗ เปน ตน มา นบั เปน พระมหากรณุ าธคิ ณุ และเปน ความภาคภมู ใิ จอยา งยงิ่ ของกองทพั ไทยและปวงชนชาวไทย เมอื่ ครงั้ พระองคย งั ทรงเปน สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ทรงดาํ รง พระยศทางทหารของ ๓ เหลาทัพ คือ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก และไดท รงเขา รว มปฏบิ ตั กิ ารรบในการตอ ตา นการกอ นการรา ยบรเิ วรณภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทยรวมทงั้ คมุ กนั พน้ื ทบ่ี รเิ วณรอบ คายผอู พยพชาวกมั พชู าท่ีเขาลา น จังหวดั ตราด ๖ สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๗สบื สาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๒. ดา นพระพุทธศาสนา พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั เสดจ็ พระราชดําเนนิ แทน พระองคไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจทางศาสนาเปนประจําอยางสม่ําเสมอ อาทิ ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรี รัตนศาสดารามตามฤดูกาลเสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคไปทรงบําเพญ็ พระราชกุศลในวนั สาํ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา อาทิ วนั มาฆบูชา วนั วสิ าขบชู า วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา และการถวายกฐินหลวงตามวัดตา งๆ รวมถงึ การเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปในการพระราชทานถว ยรางวลั การทดสอบการอญั เชญิ พระมหาคัมภีรอัลกุรอานระดับประเทศ นอกจากนี้ ยังทรงแสดงพระองค เปนพุทธมามกะท่ีวัดพระศรีรัตนศาสดารามเมื่อวันที่๓ม.ค.๒๕๐๙กอนเสด็จ พระราชดําเนนิ ไปทรงศกึ ษาตอ ทป่ี ระเทศองั กฤษพระองคท รงมพี ระราชศรทั ธา ทรงออกผนวชในพระบวรพระพทุ ธศาสนา เมอื่ วนั ท่ี ๖ พ.ย. ๒๕๒๑ ณ พนั ธสมี า วัดพระศรรี ตั นศาสดารามโดยมสี มเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ(วาสนมหาเณร) เปนพระราชอุปธยาจารย ไดรับถวายพระสมณนามวา “วชิราลงกรโณ” และไดป ระทบั อยู ณ วดั บวรนเิ วศวหิ าร ตลอดจนทรงลาสกิ ขาใน วนั ที่ ๒๐ พ.ย. ๒๕๒๑โดยระหวา งทรงผนวชไดท รงศกึ ษาและปฏบิ ตั พิ ระธรรมวนิ ยั อยา งเครง ครดั พระราชกรณยี กจิ ดา นพระพทุ ธศาสนาอ่ืนอาทิเปนองคป ระธาน คณะกรรมการอํานวยการกอสรางพระพุทธรูปเขาชีจรรย ณ เขาชีจรรย ตําบลจอมเทยี น อําเภอสตั หบี จังหวัดชลบรุ ี ทีจ่ ัดสรา งข้ึนเพ่ือนอ มเกลา นอม กระหมอมถวายพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาสท่ีทรงครองสริ ริ าชสมบัติ ครบ ๕๐ ป พ.ศ. ๒๕๕๙ และเพื่อเปน ศนู ยรวมของผูม จี ิตศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตลอด จนเปน สถานทีด่ ําเนนิ กิจกรรมทางศาสนา และขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดี งามของไทยโดยสมเดจ็ พระญาณสงั วรสมเดจ็ พระสงั ฆราชสกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงเปนผูอ ปุ ถมั ภในการดําเนินการกอสรา ง ๘ สืบสาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ทมี่ า : http://www.dhammathai.org/ ทม่ี า : http://www.dhammathai.org/ ๙สบื สาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๓. ดานการตางประเทศ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระวิริยะอุตสาหะ ประกอบพระราชกรณยี กจิ สําคญั ๆในการเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั ประเทศตา งๆ เสมอมาไดเ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ แทนพระองคพ ระบาทสมเดจ็ ไปทรงเยอื นมติ ร ประเทศทั่วทุกทวีปอยางเปนทางการเปนประจําทุกปๆละหลายคร้ัง เชน เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยือนประเทศอิตาลี และทรงพบพระสันตะปาปา เมอ่ื วนั ท่ี ๑๔ กนั ยายน ๒๕๒๕ ระหวา งวนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ ถงึ ๘ มนี าคม ๒๕๓๐ เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงเยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี อยา งเปน ทางการทรงพบ นายเตงิ้ เสย่ี วผงิ ณ มหาศาลาประชาคม กรงุ ปก กงิ่ และทรงเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ทรงเยอื นประเทศญป่ี นุ ทรงพบสมเดจ็ พระจกั รพรรดแิ ละสมเดจ็ พระจกั รพรรดนิ ี เม่ือวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๓๐ โดยประเทศตางๆท่ีเสด็จพระราชดําเนินไป ทรงเจรญิ สมั พนั ธไมตรใี นฐานะผแู ทนพระองคและในสว นของพระองคเ องมอี กี เปน จาํ นวนมากทง้ั นใี้ นการเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปประเทศนนั้ พระองคจ ะทรง เตรียมพระองคดวยการศึกษาเก่ียวกับประเทศที่จะเสด็จพระราชดําเนินไป ทรงเยอื นอยา งละเอยี ดทกุ ครง้ั โดยระหวา งทท่ี รงประทบั อยใู นประเทศดงั กลา ว ก็จะทรงมุงม่ันสรางสานเจริญทางพระราชไมตรี และมีความสนพระทัย ที่จะเสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตรกิจการดานตางๆ เพื่อทรงนํากลับมา ปรับและประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในการพัฒนาประเทศตอไป ในอนาคต ๑๐ สืบสาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๑๑สบื สาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๔. ดา นเกษตรกรรม เมื่อครั้งดํารงพระราชอิสริยยศเปนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จพระราชดําเนินแทน พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร ในการพระราชพธิ ีพืชมงคล ณ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เปน ประจํา รวมทั้ง ทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณียกจิ ดา นเกษตรกรรมแทนพระองคมาโดยตลอดและ ทรงตดิ ตามความกา วหนา ดา นการชลประทาน การสรา งเขอ่ื นตา งๆโดยพระราชทาน แนวพระราชดาํ รใิ หก รมชลประทานแกป ญ หาตามทช่ี าวบา นกราบทลู ทาํ ใหม นี าํ้ ใช ในการเกษตรอยางอุดมสมบูรณ และชวยบรรเทาปญหาอุทกภัยในฤดูฝน พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงบาํ เพญ็ พระราชกรณยี กจิ เพอ่ื สง เสรมิ ดา นการเกษตรกรรมอนั เปน อาชพี หลกั ของปวงชนชาวไทยตลอดมา อาทิ เสด็จพระราชดําเนินในการพระราชพิธีพืชมงคล และทรงมีพระราชดําริ ใหจ ดั ตง้ั โครงการคลนิ กิ เกษตรเคลอื่ นทใ่ี นพระบรมราชานเุ คราะห ตงั้ แต พ.ศ.๒๕๔๕ เพอ่ื ชว ยเหลอื ราษฎรในทอ งถน่ิ ใหไ ดม เี ทคโนโลยกี ารเกษตรแผนใหม เพอ่ื นาํ มา ปรับปรุงงานเกษตรกรรมของตนเองใหดียิ่งข้ึน นอกจากน้ันพระองคทรงเปน ประธานในการทํานาสาธิตโดยใชปุยหมัก ณ ตําบลดอนโพธิ์ทอง อําเภอเมือง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เมอื่ วนั ที่ ๒๘ ม.ี ค.๒๕๕๙ ซงึ่ ในการน้ี ยงั ทรงปฏบิ ตั กิ ารสาธติ การทํานาดวยพระองคเอง ทรงถอดฉลองพระบาท ถลกพระสนับเพลา ทรงพระดําเนินลุยโคลน หวานพันธุขาวปลุก และปุยหมักในแปลงนาสาธิต โดยมิไดม กี าํ หนดการไวกอ น นาํ พาความชื่นชม ปลาบปลืม้ ปต ิ และซาบซึง้ ใน พระราชจรยิ วตั รแกบ รรดาขา ราชการและประชาชนเปน อยา งยงิ่ ปฏบิ ตั กิ ารสาธติ การทํานาดวยพระองคเอง ทรงถอดฉลองพระบาท ถลกพระสนับเพลา ๑๒ สืบสาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ทรงพระดําเนินลุยโคลน หวานพันธุขาวปลุก และปุยหมักในแปลงนาสาธิต โดยมิไดมีกําหนดการไวกอนนําพาความชื่นชมปลาบปล้ืมปติและซาบซ้ึงใน พระราชจริยวัตรแกบรรดาขา ราชการและประชาชนเปน อยา งยง่ิ นอกจากนพ้ี ระองคย งั ทรงมพี ระราชดํารทิ เ่ี กย่ี วขอ งกบั การพฒั นา แหลงนํ้าในหลายพ้ืนท่ี และไดทรงพระราชทานที่ดินสวนพระองค ในพื้นท่ี สวนบานกองแหะ หมูท่ี ๔ ตําบลโปงแยง อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม จาํ นวน ๑,๓๕๐ไร ใหก บั กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพอ่ื พฒั นาเปน ศนู ยก ารเรยี นรู เศรษฐกจิ พอเพยี งบนพน้ื ทสี่ งู ประจาํ ภาคเหนอื ใหแ ก เกษตรกรอยา งครบวงจร ภายใตช่ือ “โครงการเกษตรวิชญา” เพ่ือดําเนินการในลักษณะคลินิกเกษตร เพอื่ เผยแพรผ ลงานวจิ ยั และเทคโนโลยกี ารเกษตรจากศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาหว ย ฮองไครอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ในรูปแบบของศูนยบริการและถายทอด เทคโนโลยีชุมชน เปนศูนยฝกอบรมและวิจัยพัฒนาการเกษตรใหเหมาะสม กบั พน้ื ที่สง ผลใหร าษฎรเกดิ ความรกั ความหวงแหนทรพั ยากรปา ไมและเรยี นรู การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มที่ย่ังยนื ท่ีมา : www.thairath.co.th ๑๓สบื สาน รักษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๕. ดา นการกีฬา พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ทั้งในฐานะผูแทนพระองคและในสวนของพระองคเองอาทิการพระราชทาน ไฟพระฤกษก ฬี าเยาวชนแหง ชาติพระราชทานพระราชวโรกาสใหน กั กฬี าเยาวชน แหง ชาตเิ ขา เฝา ทลู ละอองธลุ พี ระบาทรบั พระราชทานรางวลั นกั กฬี ายอดเยยี่ ม รบั พระราชทานพรและทรงแสดงความชน่ื ชมยนิ ดที น่ี าํ ความสาํ เรจ็ นําเกยี รตยิ ศ มาสตู นเองสวู งศต ระกลู และประเทศชาติพระราชกรณยี กจิ ดา นการกฬี าอนื่ ๆ อาทิ เม่อื ธ.ค.๒๕๔๑ ไดเ สด็จพระราชดําเนินแทนพระองคไปทรงประกอบพธิ ี เปด กฬี าเอเซยี นเกมสท าํ ใหน กั กฬี ามขี วญั และกาํ ลงั ใจในการแขง ขนั ประสบชยั ชนะ นําเหรียญรางวัลสูประเทศไทยเปนจาํ นวนมาก นอกจากน้ีพระองคท รงเปน ประธานในกจิ กรรม “ปน เพอ่ื แม Bike forMom”ปน จกั รยานเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง เน่ืองในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ๑๒ ส.ค. ๒๕๕๘ โดยวตั ถปุ ระสงคน อกจากจะใหป ระชาชนแสดงออก ถึงความจงรักภกั ดตี อ สถาบนั พระมหากษัตริย แสดงออกถงึ ความรกั ทีม่ ีตอแม ของตนและแมข องแผน ดนิ แลว ยงั เปน การสง เสรมิ สขุ ภาพในการรว มออกกาํ ลงั กาย ทาํ ใหส ขุ ภาพรา งกายสมบรู ณแ ขง็ แรงและปลกู ฝง ใหป ระชาชนรกั การออกกาํ ลงั กาย รวมถงึ การเสรมิ สรา งความมนี า้ํ ใจเปน นกั กฬี าอกี ดว ย อกี ทง้ั ยงั มีกจิ กรรม “ปน เพือ่ พอ Bike For Dad” เนอ่ื งในโอกาส มหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๕ ธ.ค.๒๕๕๘ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ รโดยพระบาท สมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงนําขบวนผทู ม่ี าเขา รว มกจิ กรรมปน จกั รยาน เฉลมิ พระเกยี รติ เพ่ือแสดงความจงรกั ภักดี กตัญู กตเวทีตอ พระมหากษตั รยิ  รว มเทดิ ทูนพระคุณพอ และเพือ่ แสดงพลงั ความสามัคคีของชาวไทยทง้ั ชาติ ๑๔ สืบสาน รักษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ที่มา : www.thairath.co.th ท่ีมา : http://www2.maehongson.go.th/ ที่มา : http://www2.maehongson.go.th/ ที่มา : www.thairath.co.th ๑๕สืบสาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๖. ดา นการศกึ ษา พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงกอ ตง้ั โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา ในพนื้ ทท่ี อ งถนิ่ ทม่ี คี วามทรุ กนั ดาร ๖ โรงเรยี น ไดแ ก โรงเรยี นมธั ยมพชั รกติ ยิ าภา ในจงั หวดั นครพนม จงั หวดั กาํ แพงเพชร และจงั หวดั สรุ าษฏรธ านี โรงเรยี นมธั ยม สริ วิ ณั วรี ในจงั หวดั อดุ รธานี จงั หวดั สงขลา และจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ทรงรบั โรงเรยี น ไวในพระราชปู ถัมภ ทรงพระราชทานวัสดุอุปกรณการศึกษาทีม่ ีความทนั สมัย เชน อปุ กรณค อมพิวเตอร พรอมทงั้ ทรงตดิ ตามผล สวนในดา นอดุ มศกึ ษา พระองคไ ดท รงเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ เพอื่ พระราชทานปรญิ ญาบตั รใหแ กบ ณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ตา งๆปล ะเปน จาํ นวนมากโดยในปพ.ศ.๒๕๕๓ไดท รงมพี ระราชดาํ ริ ใหจัดตั้ง “มูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร หรือ ม.ท.ศ.” เพอื่ เสริมสรา งโอกาสทางการศกึ ษาใหแ ก เยาวชนผยู ากไร แตม ีผลเรียนท่ีดี มีความประพฤตทิ ด่ี ี ใหไดร ับโอกาสทางการ ศกึ ษาจนถงึ ขน้ั สงู สดุ ตามความสามารถของผรู บั ทนุ เพอื่ เปน การสรา งทรพั ยากร บุคคลของประเทศชาติใหมคี วามรู ความสามารถ มศี ักยภาพยิง่ ขึน้ ไป ๑๖ สืบสาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๗. ดานการแพทยและสาธารณสขุ พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงตระหนกั วา สขุ ภาพ พลานามัยของประชาชนเปนปจจัยและพลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ จึงสนพระราชหฤทัยในการประกอบพระราชกรณียกิจดานการแพทยและ สาธารณสขุ โปรดใหส รา งโรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราช ๒๑ แหง ทวั่ ประเทศ เพอ่ื ใหก ารรกั ษาพยาบาล ผเู จบ็ ปว ยในถน่ิ ทรุ กนั ดาร โดยทพี่ ระองคท รงเปน องค นายกกติ ตมิ ศกั ดขิ์ องมลู นธิ โิ รงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราชทรงประกอบพธิ เี ปด โรงพยาบาลทกุ แหง และทรงเยย่ี มโรงพยาบาลอยา งสมา่ํ เสมอรวมทงั้ พระราชทาน พระราชทรัพยสนับสนุนใหมีอุปกรณการแพทย เครื่องมือเครื่องใชท่ีทันสมัย นอกจากน้ีพระองคทรงเปนองคประธานในการจัดสราง “มลู นธิ กิ าญจนบารม”ี ศนู ยบ าํ บดั รกั ษาผปู ว ยโรคมะเรง็ แบบครบวงจรแหง แรกใน ประเทศไทย เพอื่ ถวายเปน พระราชกศุ ลแด พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในมหามงคลวโรกาส เถลิงถวัลราชสมบัติเปนปท่ี๕๐โดยพระกรุณาโปรดเกลาฯใหคณะกรรมการ ของโครงการ กาญจนบารมี ดาํ เนนิ การจดั ตง้ั มลู นธิ กิ าญจนบารมขี น้ึ ในวนั ท่ี ๑๕ ก.ค.๒๕๔๐ ๑๗สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๘. ดานสิ่งแวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ทรงสบื สานแนวพระราชดาํ ริ ดา นการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มของพระบาทสมเดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทไ่ี ดพ ระราชทานไว เพือ่ ใหราษฎรอยูด ีกินดี แกไขปญ หาความเส่ือมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ครอบคลุมท้ังดานดิน น้ํา ปา พระองค ทรงเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร บานคํานํ้าสราง ตําบลคอเหนือ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ยโสธร วนั ท่ี ๒๘ พ.ย.๒๕๔๓ ไดพ ระราชทานพระราชดาํ รใิ ห พฒั นาและปรบั ปรงุ พนื้ ที่ ดว ยการขดุ ลอกหนององึ่ ทเี่ ปน พน้ื ทส่ี าธารณประโยชน พรอ มการพฒั นาปรบั ปรงุ ดนิ และพนื้ ทแี่ หง แลง ดว ยการปลกู ปา และหญา แฝก รวมถึงการฟนฟูสภาพปาโดยรอบหนองอึ่งในพนื้ ทกี่ วา ๓,๐๐๖ไร โดยราษฎร ไดเ ขา มามสี ว นรว มและรว มใจกนั พฒั นาพน้ื ทโ่ี ดยรอบหนององ่ึ ซง่ึ พน้ื ทห่ี นององึ่ มีแมน้ําสองสายมาบรรจบกัน คอื แมน าํ้ ชแี ละลาํ นา้ํ ยัง พื้นทด่ี งั กลา วเปนทล่ี มุ ตํ่าและเปนเสนทางนํ้าไหลผาน ทําใหประสบกับปญหานํ้าทวมในชวงฤดูฝน เพื่อความอยูรอด ชาวบานจึงตองบุกรุกปา สรางท่ีอยูอาศัย ทําไรเล่ือนลอย บางสวนตอ งยา ยถิ่นฐานออกไปทํางานในเมอื ง ๑๘ สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

สบื สาน รกั ษา ตอยอด สรา งสุข ปวงประชา ๑๙สบื สาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

จากนภา ผา นภผู า สูมหานที

ศาสตรพระราชาสกู ารพัฒนาอยางย่ังยืน ดนิ แดนสวุ รรณภมู แิ หง นี้เปน ดนิ แดนทม่ี สี ถาบนั พระมหากษตั รยิ  อยคู กู บั ประวตั ศิ าสตรช าตมิ าอยา งยาวนานเมอ่ื ใดกต็ ามทปี่ ระเทศชาตมิ วี กิ ฤติ พระราชาก็คดิ หาหนทางแกป ญ หาไวใหเสมอๆเพ่ือนําประเทศชาตพิ ฒั นาไปสู ความเจริญรงุ เรืองทัดเทยี มกบั นานาชาติ “การพัฒนาประเทศ จาํ เปนตอง ทาํ ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอ งสรา งพนื้ ฐานคอื ความพอมีพอกนิ พอใชของประชาชน เปน เบอ้ื งตน กอ น โดยใชว ธิ กี ารและอปุ กรณท ป่ี ระหยดั แตถ กู ตอ งตามหลกั วชิ า เม่อื ไดพ ้นื ฐานม่นั คงพรอ มพอควรและปฏบิ ัติไดแลว จงึ คอยสรา งคอยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขน้ั ทส่ี งู ขน้ึ โดยลาํ ดบั ตอ ไปหากมงุ แตจ ะทมุ เท สรา งความเจรญิ ยกฐานะทางเศรษฐกจิ ขน้ึ ไดร วดเรว็ แตป ระการเดยี วโดยไมใ ห แผนปฏบิ ตั กิ ารสมั พนั ธก บั สภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลอ ง ดว ยจะเกดิ ความไมส มดลุ ในเรอ่ื งตา งๆไดซง่ึ อาจกลายเปน ความยงุ ยากลม เหลว ในทสี่ ดุ ” พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลเดชมหาราช บรมนาถบพติ รพระราชทานพระราชดาํ รสั หลกั ปรชั ญา“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ครงั้ แรก ในงานพระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อวันพุธ ท่ี ๑๘ ก.ค.๒๕๑๗ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ รหรอื ทเี่ รยี กวา “ศาสตรพ ระราชา” นนั้ ครอบคลมุ ทง้ั “พระราชดาํ ร”ิ คอื แนวคดิ และปรชั ญา “พระราชดาํ รสั ” คอื คําสั่งสอน ตักเตือน ใหสติ “พระราชกรณียกิจ” คือ หลักการทรงงาน และ “พระราชจริยวัตร” ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ตลอดระยะเวลา ๗๐ ป ทผี่ า นมา ซง่ึ ปวงพสกนกิ ร ชาวไทย ไดน อ มนาํ มาเปน แนวทางทด่ี ใี นการประพฤตติ น รวมทงั้ รฐั บาลและ ขา ราชการไดน อ มนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นการบรหิ ารราชการแผน ดนิ เพอื่ สรา งชาติ และพัฒนาประเทศอยางสมดุลและยั่งยนื ๒๑สืบสาน รักษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

หนงั สอื เลม นเี้ ปน ความตงั้ ใจของศปร.ทจี่ ะเรยี บเรยี งและถา ยทอด องคค วามรขู องโครงการอนั เนอื่ งมาจากจากพระราชดาํ ริโดยมเี นอื้ ความทคี่ รอบคลมุ ครบถว น เขา ใจงา ย มภี าพประกอบทส่ี อื่ ความหมายใหช วนศกึ ษา ซงึ่ องคค วามรู ตามศาสตรพ ระราชาแบง เปน ๑๓ ดา น ดงั นี้ ดา นทรพั ยากรนา้ํ ดา นทรพั ยากรปา ไม ดานทรัพยากรดิน ดานการเกษตร ดานการสงเสริมอาชีพ ดานสาธารณสุข ดา นสวสั ดกิ ารสงั คม ดา นการศกึ ษา ดา นคมนาคม ดา นการสอ่ื สาร ดา นสง่ิ แวดลอ ม และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดานนวัตกรรมและหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อนั เปน แนวทางในการปฏบิ ตั ศิ าสตรพ ระราชาสกู ารปฏบิ ตั ิ อยางย่งั ยืนไปสกู ารพัฒนาเศรษฐกิจยคุ ไทยแลนด๔.๐เปนการพฒั นาเพอื่ กา ว เขา สสู งั คมโลกทง้ั ในระดบั ภมู ภิ าค และในระดบั โลก โดยเนน การนอ มนาํ พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทใ่ี ห “ประชาชนเปน ศนู ยก ลาง” ของการพฒั นามาเปน แนวทาง ในการดาํ เนนิ งาน โดยไมใหเกิดความขดั แยง ในพื้นที่ ประชาชนมสี วนรว ม และ ไดป ระโยชนจ ากการพฒั นาอยา งแทจ รงิ ใหม คี วามอยดู กี นิ ดี โดย ศปร. ไดเ ชอ่ื มโยง “ศาสตรพ ระราชา” ในเรอื่ งหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง(SEP-Sufficiency Economy Philosphy) กบั เปา หมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื (SDGs-Sustainable Development Goal) ทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ ในการพฒั นา โดยหนงั สอื เลม น้ี เปน การรวบรวมองคค วามรตู ามศาสตรพ ระราชาในบทบาททหารพระราชา ๕ ดา น จากทงั้ หมด๑๓ดา นทส่ี นองโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดํารใิ นการบรหิ าร จดั การโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ รใิ นบทบาทของกองบญั ชาการกองทพั ไทย เหลา ทพั และกองบญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดนโดยในแตล ะดา นจะนาํ เสนอ ภาพรวมของโครงการการดาํ เนนิ งานและผลสมั ฤทธข์ิ องโครงการทส่ี าํ คญั ไวดงั น้ี ๑.ดานทรัพยากรนํ้า โดยการบริหารจัดการโครงการฝนหลวง จากฟากฟา ลงภผู า ผา นทงุ นา สมู หานที เปน ขนั้ ตอนการทาํ ฝนหลวง ๓ ขนั้ ตอน คอื ๒๒ สืบสาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ขน้ั ตอนท่ี ๑ กอ กวน ขนั้ ตอนที่ ๒ เลย้ี งใหอ ว น และขน้ั ตอนที่ ๓ โจมตี ๒. ดา นทรพั ยากรปา ไม โดยการบรหิ ารจดั การฝายชะลอความชมุ ชนื้ (Check Dam) หรือ ฝายแมว เปนการใชวัสดุธรรมชาติที่หางายในทอง ถ่ิน เชน กอนหินและไม เพ่ือกอเปนฝายขวางรองนํ้าหรือหวยเล็กๆทําหนาที่ กกั กระแสน้ําไวใ หไ หลชา ลงและใหน ้าํ สามารถซมึ ลงใตผ วิ ดนิ สรา งความชมุ ชน้ื ใน บรเิ วณนนั้ อกี ทงั้ ยงั ชว ยดกั ตะกอนดนิ และทรายไมใ หไ หลลงสแู หลง นาํ้ เบอ้ื งลา ง ๓. ดา นทรพั ยากรดนิ โดยการบรหิ ารจดั การหญา แฝกใหเ กดิ ประโยชน สงู สดุ ซงึ่ เปน การปลกู หญา แฝกตามแนวระดบั เพอื่ ชว ยชะลอความชมุ ชนื้ ไวใ นดนิ โดยรากของหญาแฝก จะขยายออกดานขางเปนวงเสนผาศูนยกลางไมเกิน ๕๐ เซนติเมตร และจะแทงลงไปเปนแนวลึกใตดิน ๑-๓ เมตร แลวสานกัน เปนแนวกําแพงดดู ซับความชุมชื้นใหแ กผิวดิน ๔. ดา นการสาธารณสขุ โดยการบรหิ ารจดั การโครงการ อสม. ๕. ดา นการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม โดยการใช กงั หันชยั พฒั นา เพ่ือการบรหิ ารจดั การ “ ทฤษฎีใหม ยดื หยนุ ได และตองยดื หยนุ เหมือนชวี ิตของเรา ทกุ คนตองมียดื หยุน ” พระราชดาํ รชั ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ณ สวนสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี จงั หวดั เพชรบรุ ี เมอ่ื วนั ท่ี 14 กรกฏาคม พ.ศ. 2541 ๒๓สบื สาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

การจดั การนํา้ ตามศาสตรพระราชา จากนภา ผา นภผู า สมู หานที ศาสตรพ ระราชาไมเ พยี งแตจะชวยจัดการเรื่อง ดิน น้าํ ปา ยงั สามารถชวยแกไ ขปญ หาเศรษฐกจิ และสังคมไดในเวลาเดียวกนั ตน นา้ํ อนุรักษ ฟนฟู กลางนํ้า การกกั เกบ็ นํา้ จดั การใชประโยชน ปลายน้าํ บําบดั ปอ งกนั ๒๔ สบื สาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ภมู ิศาสตรข องพระราชา ดา นทรพั ยากรนา้ํ การบรหิ ารจดั การนาํ้ อยา งองคร วม แกไ ขปญ หาอยา ง เปน ระบบ จากนภา ผา นภผู า สมู หานที ดา นทรพั ยากรปา ไม ปลูกปาโดยไมตองปลูก ปลูกปาในใจคน ปลูกปา ๓ อยาง ไดประโยชน ๔ อยา ง ทาํ ใหเกดิ การพฒั นา และการอนุรักษปาไมท ยี่ ง่ั ยืน ดา นทรัพยากรดนิ ฟนฟูและพัฒนาทรัพยากรดิน คือ การใชหญาแฝก ปองกันการชะลางพังทลายของดิน และชวยเก็บ ความชมุ ช้นื ไวใ นดิน ดา นสาธารณสขุ ประชาชนเขา ถงึ ระบบการแพทย และการสาธารณสขุ โดยเฉพาะผทู ม่ี ฐี านะยากจน และขาดความรใู นการ ดแู ลรักษาตนเอง ดา นอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ ม การใชท รพั ยากรธรรมชาตชิ ว ยธรรมชาติ ใชเ ทคโนโลยี ราคาถกู ไมซ บั ซอ น แตม ปี ระสทิ ธภิ าพ ๒๕สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

โครงการพระราชดาํ ริ “ฝนหลวง”

โครงการฝนหลวง เปลยี่ นเมฆจากฟากฟา เปน ธาราชโลมดิน ฝนหลวง ลดภัยแลง เพิ่มสมดุล พลิกฟนคืนความอุดมสมบูรณ ขึ้นมาอีกคร้ังไมเ พยี งแตป ระโยชนต อ เหลา พสกนกิ รชาวไทยหากแตย งั มคี ณุ คา อเนกอนนั ตย ง่ิ ตอ มวลมนษุ ยชาติ โครงการฝนหลวงเปน โครงการทก่ี อ กาํ เนดิ จาก พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทที่ รงหว งใยในความทกุ ขย ากของพสกนกิ ร ในทองถิ่นทุรกนั ดารซึ่งตอ งประสบปญหาขาดแคนนา้ํ เพอ่ื อุปโภคบริโภคและ ใชใ นการเกษตรอนั เนอื่ งมาจากภาวะแหง แลง ทม่ี สี าเหตจุ ากความผนั แปรและ คลาดเคลอื่ นของฤดกู าลตามธรรมชาติกลา วคอื ฤดฝู นเรม่ิ ตน ลา ชา เกนิ ไปหรอื หมดเร็วกวา ปกติ หรอื ฝนทิ้งชว งยาวในชว งฤดูฝน เปน ตน ความทกุ ขย ากของราษฏรน้ีมไิ ดร อดพน สายพระเนตรพระกรรณ ของพระองคไปได จากการเสดจ็ พระราชดําเนินไปเยย่ี มเยียนพสกนิกร เมอื่ ป พ.ศ. ๒๔๙๘ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดทรงรับทราบถึงความเดือดรอน ทกุ ขย ากของราษฎรและเกษตรกรทข่ี าดแคลนนา้ํ อปุ โภค บรโิ ภค และการเกษตร จงึ ไดม พี ระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทาน โครงการพระราชดาํ ริ “ฝนหลวง” ใหก บั ม.ร.ว. เทพฤทธิ์ เทวกลุ ไปดาํ เนนิ การ ซงึ่ ตอ มา ไดเ กดิ เปน โครงการคน ควา ทดลอง ปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงข้ึนในสังกัด สํานักปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณเม่ือป พ.ศ.๒๕๑๒ ดวยความสําเร็จของโครงการ จึงได ตราพระราชกฤษฎีกา กอต้ังสํานักงานฝนหลวงข้ึนในป พ.ศ.๒๕๑๘ ในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อเปน หนวยงานรองรับโครงการพระราชดําริ ฝนหลวงตอไปจนถึงปจจบุ นั โครงการฝนหลวงพระราชบนั ทกึ ”พระราชทานผา นกองงานสว นพระองค แก นาย เมธา รัชตะปติ เมื่อวันท่ี ๓๐ เม.ย. ๒๕๔๓ ไดใหขอมูลเก่ียวกับท่ีมา และจดุ เรม่ิ ตน โครงการฝนหลวง ดงั น้ี ระหวา งวนั ท่ี ๒ ถงึ วนั ที่ ๒๐ พ.ย. ๒๔๙๘ ไดเ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงเยยี่ มเยยี น ๑๕ จงั หวดั ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๒๗สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ในวนั จนั ทรท ่ี๑๔พ.ย.๒๔๙๘โดยรถยนต(เดลาเฮยซดี านสเี ขยี ว) จากนครพนม ไปกาฬสนิ ธผุ า นสกลนครและเทอื กเขาภพู านทรงหยดุ อยา งเปน ทางการทที่ างแยก อาํ เภอกฉุ นิ ารายณแ ละสหสั ขนั ธณทนี่ น้ั ทรงสอบถามราษฎรเกย่ี วกบั ผลผลติ ขา ว ทรงคดิ วา ตอ งเสยี หายเพราะความแหง แลง แตต อ งทรงประหลาดพระราชหฤทยั ทรี่ าษฏรกราบบงั คมทลู วา เดอื ดรอ นเสยี หายจากนาํ้ ทว มทรงเหน็ วา เปน การแปลก เพราะพื้นที่ โดยรอบดคู ลายทะเลทรายทม่ี ีฝุน ฟงุ กระจายท่ัวไป แทท่ีจริงแลว ราษฎรเหลา นน้ั มที ง้ั นาํ้ ทว มและฝนแลง นน้ั คอื ทาํ ไมประชาชนของภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนอื จงึ ยากจนนกั ปญ หาหนงึ่ ทย่ี งั คงดาํ รงอยูคอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ทง้ั ภาคมชี อ่ื เสยี งวา เปน ภาคทแี่ หง แลง ขณะนน้ั ทรงแหงนพระพกั ตรข นึ้ ทอดพระเนตร ทอ งฟา และทรงพบวา มเี มฆจาํ นวนมากแตเ มฆเหลา นนั้ ถกู พดั ผา นพนื้ ทแี่ หง แลง ไปแลวพระองคทรงตรัสวา “ทําอยางไรจะดึงเมฆเหลาน้ีลงมาได” วิธีแก อยทู วี่ า จะทาํ อยา งไรทจี่ ะทาํ ใหเ มฆเหลา นนั้ รวมตวั ตกลงมาเปน ฝนในทอ งถนิ่ นน้ั ทรงบนั ทึกไววา ความคิดนัน้ เปน จดุ เริ่มตนของโครงการ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีเพยี งแตทรงเกิดประกายความคดิ ขนึ้ มาเทา นัน้ แตทรงขยาย ผลเพอื่ ใหเ กดิ ความเปน ไปไดในทางปฏบิ ตั อิ ยา งเปน รปู ธรรมเมอื่ เสดจ็ ฯกลบั ถงึ กรงุ เทพมหานครทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯใหม.ร.ว.เทพฤทธ์ิเทวกลุ เขา เฝา ฯ และพระราชทานแนวความคิดน้ี และพระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหฯ พณฯม.ล.เดชสนทิ วงศองคมนตรีอญั เชญิ เอกสารทท่ี รงศกึ ษาทบทวนแลว มาพระราชทานแกม.ร.ว.เทพฤทธ์ิเทวกุลไดศ ึกษาทบทวนและทาํ ความเขาใจ กบั เอกสารพระราชทานควบคกู นั ไปดว ยซง่ึ การปฏบตั กิ ารทดลองจรงิ ในทอ งฟา จงึ เรมิ่ ตน เปน ครง้ั แรกเมอื่ วนั ที่๑๙ถงึ วนั ท่ี๒๐ก.ค.๒๕๑๒ณสนามบนิ หนองตะกู วนอุทยานแหงชาตเิ ขาใหญ อําเภอปากชอง จงั หวัดนครราชสมี า ๒๘ สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

๒๔๙๘ ทรงพบเห็นวาภาวะแหง แลง ไดท วีความถ่ี และมีแนวโนว วาจะรุนแรงย่งิ ข้ึน ตามลําดบั จึงพระราชทานแนวคดิ “ทําใหเ มฆรวมตัวกันตกมาเปน ฝน” ๒๕๑๒ ทาํ การทดลองปฏบิ ตั กิ ารจรงิ บนทองฟาเปนครั้งแรก และเลอื กพืน้ ทวี่ นอุทยาน เขาใหญเ ปน พืน้ ที่ทดลอง โดยทดลองหยอดนํา้ แขง็ แหง ๒๕๑๘ ตราพระราชกฤษฏีกากอตง้ั สํานักงานปฏิบตั กิ ารฝนหลวงข้ึน ในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ ๒๕๔๒ มีการพฒั นาเทคโนโลยีและเทคนคิ ควบคูกนั โดยการดัดแปรงสภาพอากาศ ใหเกดิ ฝนโดยเทคโนโลยีฝนหลวง จากเมฆอุนและเยน็ พรอมกนั ๒๕๔๕ ครม.มีมตเิ ฉลิมพระเกียรติ รชั กาลที่9 เปน “พระบิดาแหง ฝนหลวง” พรอมกนั นี้ ไดกําหนดให 14 พฤศจกิ ายน ของทกุ ป เปน วนั พระบิดาแหง ฝนหลวง ๒๙สบื สาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูม หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

การทาํ ฝนหลวงเปน กรรมวธิ กี ารเหนยี่ วนาํ นา้ํ จากฟา จะตอ งใหเ ครอ่ื งบนิ ที่มีอัตราการบรรทุกมากๆ บรรจุสารที่ใชทําฝนหลวงข้ึนไปโปรยในทองฟา โดยดูจากความช้ืนของจํานวนเมฆ และสภาพของทิศทางลมประกอบกัน ปจ จยั สาํ คญั ทท่ี าํ ใหเ กดิ ฝนคอื ความรอ นชนื้ ปะทะความเยน็ และมแี กนกลนั่ ตัว ท่ีมีประสิทธิภาพในปริมาณท่ีเหมาะสม กลาวคือ เม่ือมวลอากาศรอนช้ืนที่ ระดับผวิ พ้นื ข้นึ สูอากาศเบ้ืองบน อุณหภูมิของมวลอากาศ จะลดตา่ํ ลงจนถงึ ความสงู ทรี่ ะดบั หนงึ่ หากอณุ หภมู ทิ ล่ี ดตา่ํ ลงนนั้ มากพอกจ็ ะทาํ ใหไ อนาํ้ ในมวลอากาศ อมิ่ ตวั จะเกดิ ขบวนการกลนั่ ตวั เองของไอนาํ้ ในมวลอากาศขน้ึ บนแกนกลน่ั ตวั เกดิ เปนฝนตกลงมา ฉะนัน้ สารที่ใชทําฝนหลวงแบง ไดเ ปน ๓ ประเภท คือ ๑. สารฝนหลวงสตู รรอ นเพอ่ื ใชก ระตนุ เรง เรา กลไกการหมนุ เวยี น ของบรรยากาศ ๒. สารฝนหลวงสตู รเยน็ ใชเ พอื่ กระตนุ กลไกการรวมตวั ของละอองเมฆ ใหโ ตขนึ้ เปน เมด็ ฝน ๓. สารฝนหลวงสตู รสรา งแกนกลนั่ ตวั ของอากาศ เพอื่ ใชก ระตนุ กลไก ระบบการกล่ันตัวใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น หลังจากเทคโนโลยีฝนหลวง ประสบความสาํ เรจ็ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงประดิษฐแผนภาพประมวล ข้ันตอนกรรมวิธี เทคโนโลยีฝนหลวง ทั้ง ๖ ขั้นตอน ไวใ น ๑ หนา กระดาษ พระราชทานแกน กั วชิ าการ และผเู กย่ี วขอ งใชเ ปน ตําราฝนหลวงจนถึงปจจุบัน และโปรดเกลาฯ ใหยอสวนแผนภาพดังกลาวสาํ หรบั พกพาตดิ ตวั เพอื่ เตอื นความจาํ นกั วชิ าการ และนกั บนิ ฝนหลวงใหป ฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนกรรมวธิ อี ยา งครบถว นเทคโนโลยกี ารทาํ ฝนหลวง นวตั กรรมใหม ใน พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร ท้ัง ๖ ขัน้ ตอน คอื ๓๐ สบื สาน รักษา ตอยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ข้ันตอนที่ ๑ กอกวนเพอื่ เรงใหเ มฆเกิดใหมกอตัวเร็วข้นึ ขั้นตอนที่ ๒ เรงการเจริญเติบโตของเมฆเกดิ ใหมและเมฆเดมิ ใหใหญข ึน้ ขั้นตอนท่ี ๓ โจมตดี ว ยเทคนิค “แซนดว ิช” เพ่อื เพิม่ ปริมาณฝนใหก ับพืน้ ที่ และเพือ่ ใหเ กิดการกระจายการตกของฝน ข้ันตอนที่ ๔ เพิ่มปรมิ าณนา้ํ ฝนทต่ี กลงสพู น้ื เพ่มิ เวลาฝนตก หยดุ การลอยตัวข้ึน เพมิ่ กระแสอากาศไหลลง เพิม่ ความชื้นสมั พทั ธ และลดการระเหยของหยดฝน ขั้นตอนท่ี ๕ โจมตเี มฆเยน็ ดว ยพลูซิลเวอรไอโอไดด กระตนุ ใหเ กิดการเปลยี่ นแปลงในกอนเมฆ ขั้นตอนที่ ๖ โจมตีเมฆเย็น แบบซปู เปอรแซนดว ิช ทาํ ใหมีระยะเวลา และปริมาณฝนตกในพ้นื ท่เี ปาหมายมาก และยาวนาน ๓๑สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

สํานักสทิ ธิบัตร กรมทรัพยส ินทางปญ ญา แหงประเทศไทย ไดทูลเกลาฯ ถวายสิทธิบตั ร “การดัดแปรสภาพอากาศใหเกิดฝน” เมื่อวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ๓๒ สบื สาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

บทบาททหารพระราชากับโครงการฝนหลวง ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกป “วันพระบิดาแหงฝนหลวง” ถอื เปน นบั ตง้ั แตเรมิ่ ปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวงในประเทศไทยสาํ เรจ็ เมอื่ ปพ.ศ.๒๕๑๒ เปน ตน มา จนกระทั่งในป พ.ศ. ๒๕๑๕ เม่ือกองทพั อากาศ เขา เร่ิมปฏิบตั ิการฝนหลวง ตลอด ๔๐ ปท่ีผา นมา จนถงึ ปจ จบุ นั กองทัพอากาศยงั คงปฏบิ ัติการฝนหลวง สนบั สนนุ การแกป ญ หาภยั แลง เพอ่ื บรรเทาความเดอื ดรอ นของพนี่ อ งประชาชน โดยตงั้ ฐานปฏบิ ตั กิ ารในภมู ภิ าคตา ง ๆ ทวั่ ประเทศ ในชว งเวลาตามความเหมาะสม ของสภาพอากาศ และตามการรอ งขอของพนี่ อ งประชาชน “เมอื่ มฝี นกม็ มี ากเกนิ พอ จนเกดิ ปญหานํา้ ทว ม เมือ่ หมดฝนกเ็ กดิ ปญหาภยั แลง ตามมา นี่จงึ เปนสาเหตุ หนงึ่ ของความยากจนของประชาชนเมอื่ แหงนมองทอ งฟา มเี มฆมากแตล มพดั พาผานไปไมตกเปน ฝนนา จะมวี ธิ ีบงั คับใหฝนตกสพู ืน้ ทแี่ หง แลงได” ๔ ทศวรรษ ทอ. รวมการปฏบิ ัติการ ฝนหลวงเฉลิมพระเกียรติ “พระบิดาแหงฝนหลวง”กองทัพอากาศเขารวมปฏิบัติการฝนหลวงคร้ังแรก เมอ่ื พ.ศ.๒๕๑๒ซง่ึ กองทพั อากาศเขา รว มปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ โครงการอนั เนอ่ื ง มาจากพระราชดาํ ริการทําฝนเทียม เปนครง้ั แรก เนอื่ งจากในปนั้น กระทรวง เกษตรและสหกรณไ มส ามารถจดั หาเครอ่ื งบนิ สนบั สนนุ ไดเ พยี งพอตอ การรอ งขอ ของราษฎรได พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรม นาถบพติ ร ซ่ึงทรงหว งใยตอความทุกขของพสกนกิ รอยูเปน นิจ ทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯใหมี “คณะปฏิบัติการฝนหลวงพิเศษ” (เดิมเรียกวา “ฝนหลวง พระราชทาน”) เพิ่มขึ้น ๑-๒ คณะ โดยขอความรว มมือจากเหลาทัพตา งๆ ใน การสนบั สนนุ เครอ่ื งบนิ และกองทพั อากาศไดส ง เครอื่ งบนิ ลาํ เลยี งแบบท๔่ี (C-123B) ซึ่งสามารถบรรทกุ สารเคมไี ดถึง ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ กโิ ลกรัม/เทย่ี วบนิ ตงั้ ฐาน ปฏิบัติการทก่ี องบนิ ๕๓ จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ และถอื วา เปนภารกจิ การ ปฏิบตั กิ ารฝนหลวงของกองทัพอากาศเปน ครั้งแรก ๓๓สืบสาน รักษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ในปจ จบุ นั กองทพั อากาศรว มปฏบิ ตั กิ ารกบั กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตรในโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ รโิ ครงการฝนหลวง โดยใหก ารสนบั สนนุ เครอ่ื งบนิ และเจา หนา ทเี่ ขา รว มปฏบิ ตั กิ ารดงั กลา วฯ ซง่ึ ไดม กี ารจดั ตง้ั ฐานปฏบิ ตั กิ าร ฝนหลวงในสนามบินตา งๆทั่วประเทศ และสนับสนุนเครือ่ งบินลําเลียง ดงั น้ี ๑. แบบท่ี ๒ ก (BT-67)จาํ นวน ๖ เครอื่ ง จากฝงู บนิ ๔๖๑ กองบนิ ๔๖ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ๒. เคร่ืองบนิ โจมตีและธรุ การแบบที่ ๒ (AU-23A) จํานวน ๔ เครือ่ ง จากฝงู บิน ๕๐๑ กองบนิ ๕ จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ ๓. เครอ่ื งบนิ โจมตแี บบที่ ๗ (ALPHAJET) จาํ นวน ๒ เครือ่ ง จาก ฝูงบิน ๒๓๑ กองบนิ ๒๓ จงั หวดั อดุ รธานี เขารวมการปฏิบัติการ จํานวน ๕ ฐานปฏิบัตกิ าร โดยเร่ิมปฏบิ ตั ิ การตงั้ แตวนั ท่ี ๒ มนี าคม พ.ศ.๒๕๕๘ จนถึงปจจุบนั ซงึ่ สามารถตอบสนองตอ ความตองการของราษฎรไดเปนอยา งดี ดา นงานวจิ ยั และพฒั นาตอ ยอด กองทพั อากาศ ไดจ ดั ตงั้ ศนู ยบ รรเทา สาธารณภัยกองทัพอากาศข้ึน และมอบหมายใหศูนยบรรเทาสาธารณภัย ปฏิบัติการรวมกับกรมฝนหลวงและการบินเกษตรในการจัดการบินทดสอบ โครงการวจิ ยั และพฒั นาพลสุ ารดดู ความชน้ื เพอ่ื ทาํ ฝนเมฆอนุ ซง่ึ เปน การพฒั นา และ วิจัยโดยศูนยวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีการบินและอวกาศ กองทพั อากาศ (ศูนยวิทยาศาสตรและ พฒั นาระบบอาวุธกองทพั อากาศเดิม) ดาํ เนนิ การพฒั นาพลสุ ารดดู ความชนื้ และอปุ กรณต ดิ ตงั้ กบั อากาศยานเพอื่ ใชท าํ ฝน ในสภาวะเมฆอุน มาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมีการวางแผนท่ีจะผลิตออกมา โดยใชสูตรผสมท่ีแตกตางกันทั้งหมด ๔ สูตร ท้ังน้ีทุกสูตรจะตองเหมาะกับ ภูมิอากาศของประเทศไทย และตองเปนสูตรเคมีใหมนอกเหนือจากท่ีมีการ ผลติ ออกมาและใชง านในการทาํ ฝนเทยี มของประเทศอน่ื อยแู ลว เพอ่ื จะไดม กี ารจด สทิ ธบิ ตั รสตู รของพลสุ ารดดู ความชนื้ ทว่ี จิ ยั และพฒั นาขน้ึ โดยประเทศไทยในอนาคต ๓๔ สืบสาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

หนว ยงานรวมสนองโครงการ กรมฝนหลวงและควบคมุ ไฟปา สาํ นักงานชวยเหลือและ บรรเทาสาธารณภัยศูนยบรรเทาสาธารณภยั กองบนิ ๑ จังหวดั นครราชสีมา กองบนิ ๑ จังหวัดนครราชสมี า กองบนิ ๒ จังหวัดลพบรุ ี กองบนิ ๒ จังหวัดลพบรุ ี กองบิน ๕ จังหวัดประจวบครี ีขันธ กองบนิ ๕ จังหวดั ประจวบครี ีขันธ กองบิน ๗ จังหวดั สุราษฏรธานี กองบนิ ๗ จังหวัดสุราษฏรธ านี ๓๕สืบสาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

โครงการพระราชดาํ ริ “ทรัพยากรปา ไม”

การบรหิ ารทรพั ยากรปาไม พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานแนวทางเก่ียวกับการพัฒนาทรัพยากรปาไมวา การพฒั นาปา ไมต อ งเรม่ิ ตน ดว ยการปลกู ฝง จติ สํานกึ ใหร าษฎรรกั และหวงแหน ตน ไมเ สยี กอ นโดยพระองคม พี ระราชดาํ รสั แกเ จา หนา ทป่ี า ไมเมอ่ื คราวเสดจ็ ไป หนว ยงานพฒั นาตน นาํ้ ทงุ จอ จงั หวดั เชยี งใหม ป พ.ศ.๒๕๑๙ ความตอนหนง่ึ วา “...เจา หนา ทป่ี า ไมค วรจะปลกู ตน ไมล งในใจคนเสยี กอ นแลว คนเหลา นน้ั จะพา กนั ปลกู ตน ไมล งบนแผน ดนิ และรกั ษาตน ไมด ว ยตนเอง...”และในการอนรุ กั ษท รพั ยากร ปาไมที่ย่ังยืนน้ัน คนกับปาไมตองอยูรวมกันอยางพึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน แนวพระราชดาํ รใิ นการจดั การทรพั ยากรปา ไม มไิ ดเ ปน กจิ กรรมทด่ี าํ เนนิ ไปอยา ง เปน เอกเทศ หากแตร วมเอางานพฒั นาทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งกนั ทงั้ หมดเขา ไปทาํ งานในพนื้ ที่ อยางประสานสัมพันธกัน เพื่อสรางความสมดุลแกธรรมชาติอยางย่ังยืน พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทานทฤษฏีการปลูกปา โดยไมตองปลูกตามหลักการฟนฟูสภาพปา ดวยกฎธรรมชาติ โดยอาศัยระบบวงจรปาไมและการทดแทนโดยธรรมชาติ และทฤษฏกี ารปลกู ปา ๓ อยา ง ไดป ระโยชน ๔ อยา ง คอื ไดไ มผ ล ไมส รา งบา น และไมฝน และปา ยังสามารถชว ยอนุรกั ษด ิน และตน นํา้ ลําธารอกี ดว ย ภาพจาก : thailandtourismdirectory.go.th ๓๗สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูม หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

สกงาวรนอพนันุรธักสษัตแวลปะา ระบบนิเวศวิทยา คนอยูกับปา การวิจัยดานปาไม ปลูกปาในใจคน กาทรดปแลทูกนปา กแาบรบใชวปนรเะกโษยตชรน ปาภูเขา พืขคลุมดิน ปลตูกอปงาปโลดูกยไม คฝวาายมชชะุมลชอ้ืน อนุรักษตนน้ํา เกษตร วิจัย สกาาธริพตแัฒลนะา ปรับปรุงดิน ปุยอินทรีย ๓๘ สบื สาน รกั ษา ตอยอด จากฟากฟา สูม หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

โครงการพระราชดําริดานทรัพยากรปาไม พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงสนพระทยั เรอื่ งการอนรุ กั ษ และพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมมาตั้งแตทรงพระเยาว ท้ังนี้จะเห็นไดจากพระราชดํารัสที่ พระราชทานแกค ณะกรรมการสโมสรไลออนสส ากลภาค ๓๑๐ ณ พระตาํ หนกั จติ รลดารโหฐาน เมือ่ วันที่ ๒๕ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๑๒ ความวา “ อาจมีบางคน เขา ใจวา ทาํ ไมถงึ สนใจเรอ่ื งชลประทาน หรอื เรอื่ งปา ไม จาํ ไดว า เมอ่ื อายุ ๑๐ ขวบ ทโ่ี รงเรยี นมคี รคู นหนงึ่ ซงึ่ เดย๋ี วนต้ี ายไปแลว สอนเรอ่ื งวทิ ยาศาสตร เรอ่ื งอนรุ กั ษด นิ แลวใหเขียนวา ภูเขาตองมีปาไมอยางน้ัน เม็ดฝนลงแลวชะดินลงมาเร็วทําให ไหลตามนา้ํ ไป ไปทาํ ใหเ สยี หาย ดนิ หมดภเู ขา เพราะไหลตามสายนาํ้ ไป กเ็ ปน หลกั ของปา ไมเ รอื่ งการอนรุ กั ษด นิ และเปน หลกั ของชลประทานทวี่ า ถา เราไมร กั ษป า ไม ขา งบนจะทาํ ใหเ ดอื ดรอ นตลอดตงั้ แตภ เู ขาจะหมดไปจนกระทง่ั การทมี่ ตี ะกอนลง มาในเขอื่ น มตี ะกอนลงมาในแมน า้ํ ทาํ ใหน าํ้ ทว มทนี่ ะเรยี นมาตงั้ แตอ ายุ ๑๐ ขวบ” แนวคดิ และทฤษฎกี ารพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดํารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร นน้ั จะทรง มงุ เนน ใหผ ลการดาํ เนนิ งานสปู ระชาชนโดยตรงในเบอื้ งแรก เพอื่ เปน การบรรเทา ปญหาความเดือดรอนเฉพาะหนา นั้นก็คือ “พออยู พอกิน” ในขณะเดียวกันก็ ทรงปพู ืน้ ฐานไวส าํ หรับการ “อยดู ี กินด”ี ตอ ไปในอนาคต โครงการอนั เนื่องมา จากพระราชดําริน้ัน มีอยูมากมายหลากหลายประเภทแตกตางกันไปตาม ลกั ษณะและวัตถุประสงคของโครงการ สวนมากจะเปนการแกไขปญหาและ พฒั นาดา นการทาํ มาหากนิ ของประชาชนเปน สาํ คญั ดงั ทท่ี ราบกนั ดวี า ประชากร ของประเทศไทยสวนใหญประกอบอาชีพการทําเกษตรกรรมเปนหลัก ดังน้ัน โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดํารจิ งึ เนน การพฒั นาปจ จยั พนื้ ฐานทสี่ ง ผลตอ การผลิตตางๆใหมีประสิทธิภาพสูงสุด เชน ดิน นํ้า ท่ีทํากิน ทุน ความรูดาน ๓๙สบื สาน รักษา ตอยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

เกษตรกรรมการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มเปน ตน แนวคิดและ ทฤษฎีพระราชทานพระราชดําริเพ่ือแกไขปรับปรุงและพัฒนาจะยึดถือหลัก สําคัญของความเรียบงาย ดังที่ทรงใชคําวา “Simplify” หรือ “Simplicity” คือ จะตองเรียบงาย ไมยุงยากซับซอน ท้ังแนวความคิด ดานเทคนคิ วิชาการ ตอ งสมเหตสุ มผลทําไดร วดเรว็ และสามารถแกไขปญ หาใหก อประโยชนไ ดจ รงิ ตลอดจนตอ งมงุ ไปสวู ถิ แี หง การพฒั นาแบบยงั่ ยนื อกี ทางหนงึ่ จากการทพี่ ระบาท สมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ได เสดจ็ ฯไปทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ และทรงเยย่ี มเยยี นราษฎรไดท รงทราบปญ หา ที่เกิดขึ้นดานทรัพยากรปาไม ไดมีพระราชหฤทัยที่มุงม่ันทจี่ ะแกไ ขปรบั ปรงุ สภาพปา ไมใ หอ ยใู นสภาพทส่ี มบรู ณด งั เดมิ แนวพระราชดาํ รเิ กย่ี วการพฒั นา ทรัพยากรปาไมทีก่ ลาวมาสรุปประเด็นได ดังนี้ ทม่ี า : gnews.apps.go.th ๔๐ สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูม หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

การอนุรกั ษทรพั ยากรปาไม นอกจากจะสง ผลตอ ความยง่ั ยนื ในการใชป ระโยชนค วามหลากหลาย ทางชีวภาพแลว ยังนําไปสูความสมดุลของน้ําในระบบนิเวศลุมนํ้า อันไดแก ปรมิ าณนาํ ในลาํ ธารทเ่ี พม่ิ ขน้ึ นา้ํ มคี ณุ ภาพดี และการไหลของนา้ํ มคี วามสมา่ํ เสมอ ซง่ึ จะชว ยลดความรนุ แรงในการไหลบา ของนาํ้ ในฤดฝู น และลดปญ หาการขาดแคลนนา้ํ ในชว งฤดแู ลง ไดอ ยา งยง่ั ยนื องคค วามรดู งั กลา วนส้ี ามารถประยกุ ตใ ชเ ครอ่ื งมอื ใหห นว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งนาํ ไปใชใ นเชงิ บรู ณาการในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ ม นอกจากนก้ี ารเผยแพรอ งคค วามรไู ปสสู ถาบนั การศกึ ษาในทกุ ระดบั ชน้ั ควรดาํ เนนิ การควบคกู นั ไป เพอื่ เปน การปลกู ฝง ใหเ ยาวชนไดต ระหนกั ถงึ คณุ คา จากการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มอยา งแพรห ลายตอ ไป ๔๑สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

การพัฒนาปาไมใ นเขตชลประทาน การพฒั นาปา ไมด ว ยนา้ํ ชลประทานโดยการปลอ ยนาํ้ จากอา งเกบ็ นาํ้ ลงสพู นื้ ทป่ี า ซง่ึ ในพน้ื ทใี่ หท าํ คนู าํ้ ระบบกา งปลา พน้ื ทป่ี า และพน้ื ทต่ี ามรมิ ลาํ หว ย ธรรมชาตจิ ะไดร บั นา้ํ ซมึ จากคนู าํ้ นี้ ในชว งทข่ี าดฝนและตลอดฤดแู ลง จะทาํ ใหป า ไม ในพน้ื ท่นี ี้ไดร บั นํา้ ตลอดป ซึง่ ตนไมจ ะเขียวชอุม ตลอดป นอกจากน้ีพน้ื ทด่ี นิ ยัง ชุมชืน้ ตลอดป นอกจากน้พี ้นื ที่ดนิ ยังชุม ช้ืนตลอดทง้ั ปอ ีกดวย บริเวณนี้จะเปน แนวปองกันไฟ (ปา เปย ก) ท้งั ผนื การพัฒนาปาไมนอกเขตชลประทาน การพฒั นาปา ไมน อกเขตชลประทานโดยการสรา งฝายเกบ็ นาํ้ ตามรอ งหว ย ธรรมชาติ พ้ืนท่ีน้ีจะไดรับนํ้าซึมจากฝายเก็บน้ําที่สรางขึ้น ฝายเก็บน้ําเหลานี้ ควรตอ ทอ ชกั นาํ้ ทง้ั สองฝง (อาจจะใชท อ ไมไ ผ) เพอ่ื ชกั นาํ้ จากเหนอื ฝายกระจายนาํ้ ออกไปตามสนั เนนิ เพอื่ ใหน าํ้ ซมึ ลงไปในดนิ เพม่ิ ความชมุ ชน้ื ในดนิ สาํ หรบั สนบั สนนุ การปลูกปาไมตามรองหวยธรรมชาติและชายเนนิ ตอ ไป ซึ่งตน ไมต ามรอ งหว ย และชายเนนิ น้ี จะเตบิ โตเรว็ คลมุ รอ งหว ยไวท าํ ใหพ น้ื ดนิ ชมุ ชน้ื ตลอดเวลา มลี กั ษณะ เปนแนวปองกันไฟ (ปา เปยก) เปนแนวไปตามรอ งหว ยตา งๆ การอยูรว มกนั คนอยูกบั ปา ไดอยา งยัง่ ยืน หมบู า นรอบบรเิ วณศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาหว ยฮอ งไครอ นั เนอ่ื งมาจาก พระราชดําริไดรับการถายทอดองคความรูจากการศึกษา ทดลอง และวิจัย และชมุ ชนไดม สี ว นรว มในการอนรุ กั ษท รพั ยากรปา ไม โดยไดป ระยกุ ตใ ชแ นวทาง การพฒั นาปา ไมต ามแนวพระราชดาํ รริ ว มกบั ศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดําริอยางตอเนื่อง จนสามารถเห็นผลท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาความแหง แลง ไดร บั การบรรเทาอยางเปน รูปธรรม อาทิ ระบบประปาภเู ขาทาํ ใหช มุ ชนมนี า้ํ ใชอ ยา งเพยี งพอ ชมุ ชนมคี ณุ ภาพชีวิต ๔๒๔๔ สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูม หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ทมี่ า : www.matichonweekly.com ทม่ี า : https://greennews.agency/?p=14992 ๔๓สบื สาน รกั ษา ตสบื อ สยานอรดักษาจตาอกยอฟดาจากกฟฟาากฟาสสมู ูมหหาานทนี ทใี นบในทบบทาทบาททหาทรหพารระพรารชะาราชา ๔๕

ทด่ี ขี นึ้ ภายใตก ารดาํ รงชวี ติ โดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ นบั ไดว า ความสําเร็จของการดําเนินงานของศูนยศึกษาการพัฒนาหวยอันเนื่องมาจาก พระราชดาํ รทิ มี่ งุ เนน ไปสคู วามเปน อยขู องราษฎรใ นชนบทนนั้ ไดส ง ผลดตี อ การ ดํารงชีวิตของราษฎรในพื้นที่อยางแทจริง องคความรูท่ีเกิดขึ้นจากการศึกษา ทดลอง วิจัย และสาธิตในศูนยฯนํามาซึ่งประโยชนนานาประการ เปนแหลง เรียนรูสําหรับประชาชนโดยทั่วไปท่ีสามารถเขาไปศึกษาดูงานไดตลอดเวลา เปน แหลง บรกิ ารองคค วามรทู กุ แขนงภายในพนื้ ทเ่ี ดยี วกนั เรยี กวา การใหบ รกิ ารองคค วามรู ณจุดเดียวจึงมีคณะบุคคลตางท้ังๆชาวไทยและชาวตางประเทศเดินทางไป ศึกษาดงู านอยา งตอ เนื่อง รูปแบบของการฟนฟูตนน้ําตามแนวพระราชดําริ โดยมีแนวคิด รวบยอด“ตน ทางเปน ปา ไมปลายทางเปน ประมงระหวา งทางเปน เกษตรกรรม” เปนแนวพระราชดําริท่ีผสมผสานสอดคลองกับหลักปฏิบัติในการจัดลุมน้ํา และการฟนฟูทรัพยากรปาไม ใหอุดมสมบูรณ แนวพระราชดําริท่ีผสมผสาน สอดคลองกับหลักปฏิบัติในการจัดลุมนํ้า และการฟนฟูทรัพยากรปาไมให อุดมสมบรู ณแนวพระราชดาํ รนิ ํามาซง่ึ ความยงั่ ยนื ของการดาํ รงชวี ติ ของชมุ ชน ที่อาศยั อยใู นพน้ื ทต่ี น นา้ํ ผลการดาํ เนนิ งาน จงึ ปรากฏใหเ หน็ อยา งเปน รปู ธรรม สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นพน้ื ทตี่ า งๆไดทงั้ การฟน ฟทู รพั ยากรปา ไมโดยชมุ ชน มสี ว นรว มโดยอาศัยหลักการดังกลาวและการเรียนรูแนวทางการดําเนินชีวิต ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในพนื้ ทศ่ี นู ยฯ ผลสาํ เรจ็ ดงั กลา วนบั ไดว า เปน ตน แบบแหง ความสําเรจ็ ของการจัดการตนนํ้าทีย่ งั่ ยนื ปลูกปา โดยไมตองปลูก คําวา “ปลกู ปา โดยไมต อ งปลกู ” เปนพระราชดาํ รสั ที่สะทอ นให เหน็ ความเขา พระทยั อยา งลกึ ซงึ้ ถงึ วถิ แี หง ธรรมชาติโดยทไี่ ดพ ระราชทานแนวคดิ วา บางครง้ั ปา ไมก เ็ จรญิ เตบิ โตขนึ้ เองตามธรรมชาตขิ อเพยี งอยา เขา ไปรบกวนและทาํ ลาย ๔๔ สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

โดยรเู ทาไมถ งึ การณ หากปลอ ยไวตามธรรมชาตริ ะยะเวลาหนึ่ง ปาไมก็จะขึ้น สมบรู ณเ อง การระดมปลกู ปา ดว ยความไมเ ขา ใจ เชน ปอกเปลอื กหนา ดนิ ซง่ึ มคี ณุ คา มากออกไป และปลกู พนั ธไุ ม ซง่ึ ไมเ หมาะสมกบั สภาพทอ งถน่ิ และระบบนเิ วศ บริเวณน้ัน นอกจากตนไมท่ีปลูกไวจะตายโดยไมไดประโยชนแลว ยังทําลาย สภาพแวดลอมอีกดวยแนวความคดิ ทีล่ ึกซง้ึ นี้จึงเปน พระราชดาํ รสั ที่ยึดถอื กัน ในหมูผูปฏิบัติงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ การปลูกปาตามแนว พระราชดํารนิ ีเ้ ปน การพฒั นาฟนฟูสภาพปา โดยวฏั ธรรมชาติดงั พระราชดํารสั เมอื่ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ความวา “ ในสภาพปา เตง็ รงั ปา เสอื่ มโทรมนน้ั ความจริงไมตองทําอะไร เพราะตอไมก็จะแตกก่ิงออกมาอีก ถึงแมตนไมสวย แตก็เปนตนไมใหญไดตามพ้ืนที่ ก็มีตนไมเล็กหรือเมล็ดก็งอกงามข้ึนมาอีก อยาใหใ ครบกุ รุกทําลายอกี ปา กจ็ ะกลบั คืนสภาพได” ๔๕สบื สาน รกั ษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ปลกู ปา ๓ อยา ง ไดป ระโยชน ๔ อยา ง พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพติ รพระราชทานพระบรมราโชวาทในวนั ปด การสมั มนาการเกษตรภาค เหนอื ณ สาํ นกั งานเกษตรภาคเหนอื จงั หวดั เชยี งใหม เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ.๒๕๒๔ ความวา “ แตป า ไมท จ่ี ะปลกู นนั้ สมควรทจ่ี ะปลกู ปา สาํ หรบั ใชไ มห นงึ่ ปาสําหรับใชผ ลหนง่ึ ปาสาํ หรับใชเปนฟนอยางหนง่ึ อันน้ีแยกออกเปน กวา งๆ ใหญๆ การทจ่ี ะปลกู ตน ไมส าํ หรบั ไดป ระโยชนดงั น้ีในคาํ วเิ คราะหข องกรมปา ไม รสู กึ จะไมใ ชป า ไมเ ปน สวนหรอื จะเปน สวนผลไมก ต็ ามหรอื เปน สวนไมฟ น กต็ าม นั้นแหละเปนปาไมที่ถูกตอง เพราะทําหนาท่ีเปนปาคือตนไม และทําหนาท่ี เปนทรัพยากรในดานสําหรับเปนผลท่ีมาเปนประโยชนแกประชาชนได” เรอ่ื งปา ๓อยา งคอื ไมฟ น ไมผ ลไมส รา งบา นประชาชนมคี วามรทู งั้ คนทอี่ ยบู นภเู ขา ท้ังคนท่ีอยใู นทรี่ าบ เขามคี วามรู เขาทาํ งานมาตง้ั หลายชว่ั คนแลว เขาทาํ กนั อยา งดี เขามีความเฉลยี วฉลาด เขารวู า ตรงไหนควรจะทาํ กสกิ รรม เขารวู า ทไ่ี หนควรจะเกบ็ ไมไ วแตว า ทเ่ี สยี ไปเพราะวา พวกทไ่ี มร ูเ รอ่ื งไมไ ดท ํามานานแลว ทงิ้ มานานแลว ท้ิงกสิกรรมมานานแลวก็ไมรูเรื่องแลวก็มาอยูในท่ีท่ีมีความสะดวกก็เลยทําให ลืมวาชีวิตมันเปนไปไดโดยที่ทํากสิกรรมท่ีถูกตอง” ประโยชนที่สี่ซึ่งเปนปจจัย สําคัญ คอื สามารถชวยอนุรกั ษดนิ และตนนํ้าลําธาร ทมี่ า : www.maทtiม่ีcาh:ownwwwe.mekatliyc.hcoonm.co.th ๔๖ สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ปลกู ปาทดแทน แนวพระราชดาํ รใิ นดา นนี้ประกอบดว ยการปลกู ปา ทดแทนพน้ื ท่ี ปา ไมถ กู บกุ รกุ แผว ถาง และพนื้ ทปี่ า เสอ่ื มโทรม การปลกู ปา บนภเู ขาสงู เนอื่ งจาก สภาพปาบนที่เขาสูงทรุดโทรม ซึ่งมีผลกระทบตอลุมนํ้าตอนลาง การปลูกปา เพอ่ื พฒั นาลมุ น้าํ และแหลง นํา้ ใหม นี ้ําสะอาดบรโิ ภคการปลกู ปา เพอื่ ใหร าษฎร ในทอ งทน่ี น้ั และเปน การสรา งความเขา ใจใหร าษฎรเหน็ ความสาํ คญั ของการปลกู ปา และการปลกู ปา เสรมิ ธรรมชาตเิ ปน การเพมิ่ ทอี่ าศยั แกส ตั วป า พระองคพ ระราชทาน แนวทางการปลกู ปา วา ควรพจิ ารณาดาํ เนนิ การปลกู ในพนื้ ทถี่ กู ลอบทาํ ลายไวแ ลว กอ น และการปลกู ปา ตามแนวถนนในเขตโครงการทก่ี อ สรา งไวแ ลว หรอื ทจ่ี ะกอ สรา ง ตอ ไป ซงึ่ ตน ไมบ างสวนถกู ทาํ ลายไป เนือ่ งจากการกอสรา งถนน ควรพิจารณา ดาํ เนนิ การปลกู ตน ไมช นดิ ทใ่ี ชป ระกอบในการทาํ อาหารได เชน ตน แคตน ขเ้ี หลก็ ตน มะรมุ ตน สะเดา ตน มะมว ง เปน ตน โดยปลกู ใหเ ปน ยอ มๆเพอ่ื ความสวยงาม และใชป ระโยชนไ ดดวย ปลูกปา ในใจคน ปาไมเปนปจจัยสําคัญของชีวิตมนุษยหากไมมีการปลูกจิตสํานึก ในการรกั ษาปา ไมใ หก บั ทกุ คนแลว จะทาํ ใหก ารดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ยเ ปน ไปดว ย ความยากลําบาก พระองคไดมีพระราชดํารัสพระราชทานแกเจาหนาท่ีปาไม ณ หนวยจัดการตนนํ้าทุงจอ อําเภอแมแจม จงั หวดั เชียงใหม วันเสาร ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๑๙ ความวา “เจาหนาท่ีปาไมควรจะปลูกตนไมลงบนแผนดิน และรกั ษาตน ไมด ว ยตนเอง”อนั เปน ปรชั ญาและทฤษฏกี ารพฒั นาปา ไมท ม่ี คี วาม ย่ังยืนอยางแทจริง เจาหนาที่ของรัฐดูแลรักษาปาไมดวยหนาท่ีพึงกระทํา แตชาวบานจะสามารถดูแลและหวงแหนปา ไมด ว ยจติ สาํ นกึ เพอื่ รกั ษาปจ จยั แหง ชวี ติ ของตนเอง พระองคม พี ระราชดาํ ริ ๔๗สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สูมหานที ในบทบาท ทหารพระราชา

ในการแกไ ขปญ หา โดยใหด าํ เนนิ การในลกั ษณะบรู ณาการงานพฒั นาทเี่ กยี่ วเนอื่ งกนั สาํ หรบั การปลกู ตน ไมน นั้ ทรงเนน ใหใ ชพ นั ธไุ มท มี่ อี ยแู ลว ในทอ งถน่ิ เพราะเปน ไมท ส่ี ามารถเจรญิ เติบโตไดดี มีลักษณะทเ่ี หมาะสมกบั สภาพพ้นื ทอี่ ยแู ลว ควร เปนพื้นท่ีท่ีมีสภาพเส่ือมโทรมหรือเปนบริเวณปา เพื่อการพ่ึงพิงของราษฎรท่ี อยบู รเิ วณใกลๆ หมูบา น วิธีการปลกู ปาก็ใหปลกู เสรมิ ในลักษณะธรรมชาตโิ ดย ไมจับตนไมเขา แถวซึง่ การปลกู เสริมตามลักษณะธรรมชาติน้ีเมื่อตนไมโตข้นึ ก็ จะมสี ภาพเปน ปา ตามธรรมชาตโิ ดยจะไมม ลี กั ษณะเปน สวนปา ทมี่ ตี น ไมเ รยี งแถวจะ ทําใหเ กดิ ปา ไมแ บบผสมผสานและสรา งความสมดลุ แกธ รรมชาติสามารถตอบ สนองความตองการของรฐั และวถิ ปี ระชาในชมุ ชนได ๔๘ สบื สาน รักษา ตอ ยอด จากฟากฟา สมู หานที ในบทบาท ทหารพระราชา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook