Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการทรงงาน

หลักการทรงงาน

Published by sukworadet29, 2021-01-27 02:30:20

Description: หลักการทรงงาน

Keywords: k.9

Search

Read the Text Version

50 หลกั การทรงงาน ๒๕. บรกิ ารรวมท่ีจดุ เดยี ว การบริการรวมท่ีจุดเดียวสําหรับเกษตรกรเปนรูปแบบการบริการ แบบเบด็ เสรจ็ หรอื One Stop Services ทเ่ี กดิ ขน้ึ เปน ครง้ั แรกในระบบบรหิ าร ราชการแผนดินของประเทศไทย เพื่อประโยชนแกประชาชนที่จะมาขอใช บริการ จะประหยัดเวลาและคาใชจาย โดยทรงใหต้ังศูนยศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดําริเปนตนแบบในการบริการรวมท่ีจุดเดียว ซึ่งมีหนวยงานราชการตาง ๆ มารวมดําเนินการและใหบริการประชาชน ณ ทแ่ี หง เดียว ดังพระราชดํารัสความตอนหนึ่งวา “...กรม กองตา ง ๆ ท่เี กี่ยวของกับชวี ติ ประชาชนทุกดาน ไดสามารถ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ปรองดองกนั ประสานกนั ตามธรรมดา แตละฝาย ตองมีศูนยของตน แตวาอาจจะมีงานถือวาเปนศูนยของตัวเอง คนอื่น ไมเกี่ยวของ และศูนยศึกษาการพัฒนาเปนศูนยท่ีรวบรวมกําลังท้ังหมดของ เจา หนาที่ทุกกรม กอง ทั้งในดานเกษตรหรือในดานสังคม ท้งั ในดานหางาน การสง เสริมการศกึ ษามาอยูด ว ยกัน ก็หมายความวา ประชาชนซ่ึงจะตองใช วิชาการทั้งหลายก็สามารถที่จะมาดู สวนเจาหนาที่จะใหความอนุเคราะห แกประชาชนก็มาอยูพรอมกันในที่เดียวกัน เหมือนกัน ซ่ึงเปนสองดาน กห็ มายถงึ วา ทีส่ าํ คญั ปลายทางคือประชาชนจะไดร ับประโยชน และตนทาง ของผูเปนเจา หนา ที่จะใหประโยชน...” พระราชดาํ รัส เมอ่ื วนั อาทติ ยท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๒๖

หลักการทรงงาน 51 ๒๖. รา เรงิ รน่ื เริง คกึ คัก ครกึ คร้นื กระฉับกระเฉง มีพลงั เปนปจจัย ของการทาํ งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ การทาํ งานใหส าํ เรจ็ และมปี ระสทิ ธภิ าพตอ งอาศยั จติ ใจเปน เรอื่ งสาํ คญั ตองสรางบรรยากาศรอบตวั ใหมีความสุข ไมเครยี ด ทรงมีพระราชดํารสั วา “ทาํ งานตอ งสนกุ กบั งาน มฉิ ะนน้ั เราจะเบอ่ื และหยดุ ทาํ งานในระยะตอ มา ดงั นนั้ ปจ จยั ของการทาํ งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ คอื รา เรงิ รน่ื เรงิ คกึ คกั ครกึ ครน้ื รา เรงิ รนื่ เรงิ เวลาทาํ งานตวั เราเองกต็ อ งรา เรงิ และระหวา งทาํ งานกต็ อ งสรา ง บรรยากาศใหผูเขารวมในการทํางานมีความร่ืนเริง คึกคัก ครึกคร้ืน คือ ตัวเองตองคึกคัก กระฉับกระเฉง มีพลังเสียกอน และตองสรางบรรยากาศ ในการทํางานใหค รึกครื้น สนุกสนาน” พระบรมราโชวาทพระราชทาน ในงานประชมุ สโมสรไลออนสส ากล ประจําป ๒๕๑๓

52 หลกั การทรงงาน ๒๗. ชยั ชนะของการพฒั นา การแกไขปญหาชีวิตความเปนอยูของประชาชน ปญหาทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนเหมือนการเขาสูสงครามท่ีไมใชอาวุธในการ แกไขปญหา แตใชการพัฒนาเปนเครื่องมือแกไขปญหาตาง ๆ และทุกครั้ง ทีส่ ามารถแกไ ขปญหาไดส าํ เร็จ จงึ ถอื เปนการไดรับชยั ชนะโดยการพัฒนา พระแสงขรรคชัยศรี หมายถงึ จะทรงนาํ ทัพเอง ธงกระบธี่ ชุ หมายถงึ ทรงปรารถนาอยากจะใหทกุ คนตดิ ตาม และ ชว ยรบอยูใ นกองทพั ของพระองคดวย พระมหาสังข หมายถึง เพ่ือใหเกิดความร่ํารวย งอกงาม เจริญ กา วหนา ดอกบวั หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความสงบ มคี ณุ ธรรม

หลกั การทรงงาน 53 “…ประโยชนอ นั พึงประสงคของการพัฒนาน้ัน กค็ อื ความผาสกุ สงบ ความเจริญมน่ั คงของประเทศชาติและประชาชน แตการทจี่ ะพัฒนาใหบรรลผุ ล เปนประโยชนดังกลาวได จําเปนท่ีจะตองพัฒนาฐานความเปนอยูของ ประชาชนใหอยูดีกินดีเปนเบ้ืองตนกอน เพราะฐานะความเปนอยูของ ประชาชนน้ัน คือรากฐานอยางสําคัญของความสงบและความเจริญม่ันคง ถาประชาชนทุกคนมีฐานะความเปนอยูท่ีดีแลว ความสงบและความเจริญ ยอ มจะเปน ผลกอ เกดิ ตอ ตามมาอยา งแนน อน จงึ อาจพดู ไดว า การพฒั นากค็ อื การทําสงครามกับความยากจนเพื่อความอยูดีกินดีของประชาชนโดยตรง เม่อื ใดก็ตามท่ปี ระชาชนมคี วามอยูดีกินดีและประเทศชาตมิ คี วามสงบ มคี วามเจริญ เมอื่ นนั้ การพฒั นาจงึ จะถอื ไดว า ประสบความสาํ เรจ็ เปน ชยั ชนะของการพฒั นา อยา งแทจรงิ …” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบตั ร ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ณ อาคารจกั รพันธเ พ็ญศริ ิ เม่อื วันศุกรที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙

54 หลักการทรงงาน

หลักการทรงงาน 55 หลกั ธรรม หลักการทรงงาน ๑. ซ่อื สตั ย สจุ รติ จรงิ ใจตอ กนั ๔. รู รกั สามคั คี ๒. ออนนอ ม ถอ มตน ๕. ทาํ เรอื่ ย ๆ ทําแบบสังฆทาน ๓. ความเพยี ร ๖. มคี วามสขุ ในการทําประโยชน หลกั คิด ใหแ กผ อู ่นื ๗. ศึกษาขอ มลู อยางเปน ระบบ ๑๓. ขาดทนุ คอื กาํ ไร ทํางานอยางผูรจู ริง ๑๔. ปลกู ปา ในใจคน ๑๕. ใชธรรมชาตชิ วยธรรมชาติ ๘. ระเบิดจากขางใน ๑๖. อธรรมปราบอธรรม ๙. ทาํ ตามลําดบั ข้นั ๑๗. ประโยชนส ว นรวม ๑๐. ภมู ิสงั คม ๑๘. การพึง่ ตนเอง ๑๑. องครวม ๑๙. เศรษฐกจิ พอเพียง ๑๒. ประหยดั เรยี บงา ย ไดประโยชนสงู สดุ หลักปฏบิ ัติ ๒๐. เขาใจ เขา ถึง พัฒนา ๒๕. บรกิ ารรวมท่จี ุดเดียว ๒๑. แกป ญหาท่ีจดุ เล็ก ๒๖. รา เริง รื่นเรงิ คกึ คกั ครกึ ครืน้ คิด Macro เริ่ม Micro กระฉับกระเฉง มพี ลัง เปน ปจ จยั ๒๒. ไมตดิ ตํารา ทาํ ใหง า ย ของการทํางานท่มี ีประสิทธภิ าพ ๒๓. การมีสว นรว ม ๒๗. ชัยชนะของการพัฒนา ๒๔. พออยูพอกิน



หลักการทรงงาน 57 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ความเปนมาของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพระราชทานแกปวงชนชาวไทย ในระยะแรกหลังจากเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัตินั้น เปนพระราชดําริ ในดานการแพทยและการสงเคราะหชวยเหลือประชาชนที่ประสบความ ทุกขยากเดือดรอนเปนสวนใหญ เน่ืองจากในชวงระยะเวลาน้ันการพัฒนา ประเทศยังไมเ จริญกาวหนาเทาทค่ี วร ประชาชนสวนใหญโ ดยเฉพาะท่ีอาศัย อยูในชนบท ขาดการบริการทางดานสาธารณสุข ขาดโอกาสทางการศึกษา และยังไมสามารถชวยเหลือตนเองได ดังนั้น พระราชกรณียกิจในชวงแรก เร่ิมตั้งแตป ๒๔๙๓ – ๒๕๐๕ จึงเปนการสงเคราะหชวยเหลือเพ่ือบรรเทา ปญหาเฉพาะหนา และสนองความตองการของประชาชนเปนหลัก ยังไมมี ลกั ษณะเปน โครงการหรอื กจิ กรรมเต็มรปู แบบอยา งปจ จบุ ัน อาทิ

58 หลักการทรงงาน ในป ๒๔๙๓ วัณโรคยงั เปน โรคติดตอ ทรี่ ายแรง และยังไมหมดไปจาก ประเทศไทย ปหนึ่ง ๆ มีผูเสียชีวิตดวยโรคนี้เปนจํานวนไมนอย พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมพี ระราชปรารภกบั หลวงพยงุ เวชศาสตร อธบิ ดกี รมสาธารณสขุ ในขณะนนั้ เมอื่ วันที่ ๖ เมษายน ๒๔๙๓ ความวา “คุณหลวง วัณโรคสมยั นม้ี ยี ารักษากันได เดด็ ขาดหรอื ยงั ยาอะไรขาด ถา ตองการ ฉันจะหาใหอีก ฉันอยากเห็นกจิ การแพทย ของเมอื งไทยเจรญิ มาก ๆ” จากนนั้ ในป ๒๔๙๖ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน ทรพั ย จาํ นวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท เพ่ือใชส รางอาคารตกึ “มหิดลวงศานสุ รณ” ในบริเวณสถานเสาวภา สภากาชาดไทย สําหรับใชในกิจการทางดาน วทิ ยาศาสตร และใชเ ปนทผ่ี ลติ วคั ซีนบซี จี ี เพ่ือใชป องกนั โรควัณโรค ซ่งึ ผคู น ยุคนนั้ กาํ ลงั ประสบปญหาอยู ในป ๒๔๙๔ - ๒๔๙๕ ไดเ กดิ โรคโปลโิ อระบาดครงั้ ใหญใ นประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพระราชทานทรัพยสวนพระองคผานสํานักพระราชวัง จํานวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท เพ่ือใชเปนเงินทุนรักษาโรค เรียกวา “ทุนโปลิโอ สงเคราะห” และตอมาในป ๒๔๙๗ ไดพระราชทานทรัพยสวนพระองค จํานวน ๕๓๙,๐๐๐ บาท เพื่อสราง ตึก “อานันทมหิดล” ในโรงพยาบาล ศิริราช เพ่ือใชเปนสถานท่ีรักษาเด็ก ที่ปวยเปนโรคติดตอและบริการรักษา โรคโปลโิ อ

หลักการทรงงาน 59 ทรงริเริ่มสรางภาพยนตรข้ึนเปนท่ี รูจักกันเรียกวา “ภาพยนตรสวนพระองค” จัดฉายเพ่ือหารายไดจากผูบริจาคโดยเสด็จ พระราชกุศล และนํามาชวยเหลือประชาชน ในดานตาง ๆ เชน สรางตึกวชิราลงกรณ ในบริเวณสภากาชาดไทย สรางอาคาร ทางการแพทย โรงพยาบาลภมู พิ ล เปน ตน เมื่อคราวที่โรคอหิวาตกโรคระบาด อยางรุนแรงในประเทศไทย การรักษา โรคนี้ตองใช “นํ้าเกลือ” เปนจํานวนมาก แตในขณะนั้นการใหน้ําเกลือกับผูปวยมีคาใชจายสูงเพราะมีราคาแพง เน่ืองจากตองส่ังจากตางประเทศ สวนนํ้าเกลือที่ผลิตไดในไทยระยะน้ัน ยังขาดคุณภาพ จนกลาววา “ใสใครไปก็ช็อก” พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จึงไดพระราชทานพระราชดําริใหมีการศึกษาปจจัยและสนับสนุน ในการคนควาหาวิธีสรางเคร่ืองกล่ันน้ําเกลือใชเอง จนมีคุณภาพทัดเทียม กับตางประเทศ และเปนที่ยอมรับกันถึงปจจุบัน โครงการแพทยหลวง พระราชทานเรือเวชพาหน เปนการพระราชทานทรัพยสวนพระองค เพ่ือดําเนินงาน โดยจัดหนวยแพทย เ ค ล่ื อ น ท่ี อ อ ก ใ ห  บ ริ ก า ร รั ก ษ า พยาบาลแกราษฎรที่ต้ังบานเรือน อยสู องฝง ลาํ นาํ้ ซงึ่ ไดม กี ารดาํ เนนิ งาน มาจนทุกวันน้ี

60 หลักการทรงงาน ในป ๒๕๐๕ ประเทศไทยประสบกับภัยครั้งใหญท่ีแหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช ซ่ึงมีความรุนแรง ทําใหราษฎรประสบกับภัยพิบัติ ท้ังชีวิตและทรัพยสินเปนจํานวนมาก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดําริใหจัดต้ัง “มลู นธิ ริ าชประชานเุ คราะห” ขนึ้ เพอ่ื ดาํ เนนิ งานชว ยเหลอื ประชาชนทปี่ ระสบ ภัยพิบัติ และตอ มามูลนิธริ าชประชานุเคราะหไ ดด ําเนินงานในการชว ยเหลอื ประชาชนที่ประสบสาธารณภัยทุกประเภทอยางตอเน่ืองมาโดยตลอด ถึงปจจบุ ัน พระราชจรยิ วตั รของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ดังกลาว เปนการทรงงานในลักษณะ การสงเคราะห ชวยเหลือประชาชนที่ประสบความทุกขยากเดือดรอน และ ดอยโอกาสในรูปแบบของการกุศล โดยการใหหรือจัดบริการสวัสดิการ สังคมตาง ๆ เพ่ือแกไขปญหาและสนองความตองการของประชาชนเปน หลัก ซึ่งเปนพื้นฐานของปรัชญาการดําเนินงานสังคมสงเคราะหในรูปแบบ ภูมิปญญาไทยที่สืบเน่ืองตอกันมายาวนาน โดยในยามท่ีมีภัยพิบัติหรือ สาธารณภยั เกดิ ขนึ้ คนไทยจะชว ยเหลอื กันตามกาํ ลังความสามารถ โดยการ บรจิ าคทรพั ยห รอื ส่ิงของ หรือชวยเหลือกนั ดว ยวิธกี ารตา ง ๆ แกผ ูทกุ ขยาก เดอื ดรอ น ดังมพี ระราชดาํ รสั ความตอนหนึง่ วา “...คนเราจะอยูสุขสบายแตคนเดียวไมได ถา คนท่ีอยูรอบลอ มมีความ ทกุ ขย าก ควรตองแบงเบาความทุกขย ากของเขาบางตามกาํ ลงั และ ความสามารถที่จะทาํ ได. ..”

หลกั การทรงงาน 61

62 หลกั การทรงงาน จากพระราชดาํ รสิ กู ารพฒั นาชว ยเหลอื ประชาชน พระราชดาํ รเิ รม่ิ แรก ในลักษณะโครงการชวยเหลือประชาชน เริ่มข้ึนในป ๒๔๙๔ โดยทรง พระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหกรมประมงนําพันธุปลาหมอเทศ จากปนัง ซึ่งไดรับจากผูเชี่ยวชาญดานการประมงขององคการอาหาร และ การเกษตรแหงสหประชาชาติ เขาไปเลี้ยงในสระนํ้าพระที่นั่งอัมพรสถาน และเมอื่ วนั ที่ ๗ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๖ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอ ม พระราชทานพนั ธปุ ลาหมอเทศน้แี กกาํ นัน ผูใหญบา นท่วั ประเทศ นาํ ไปเลยี้ ง เผยแพรขยายพันธุแกราษฎรในหมูบานของตน เพื่อจะไดมีอาหารโปรตีน เพ่ิมขึ้น และมีสุขภาพอนามยั ท่ีดี ดว ยความหว งใยในทกุ ขส ขุ ของอาณาประชาราษฎร นบั แตท พี่ ระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จเถลิงถวัลยสิริราชสมบัติ เปนตนมา พระองคไดเ สดจ็ พระราชดาํ เนินไป ทรงเยย่ี มเยยี นประชาชนในพน้ื ทต่ี า ง ๆ ทว่ั ทกุ ภมู ภิ าคของประเทศ โดยเฉพาะ ในพ้ืนท่ีชนบทหางไกลและทุรกันดาร ในแตละป พระองคจะประทับอยูใน ภูมิภาคตาง ๆ มากกวาประทับอยูในพระราชวังที่กรุงเทพฯ โดยมีพระราช ประสงคที่จะทอดพระเนตรสภาพการดําเนินชีวิตของประชาชน ทรงคนหา

หลักการทรงงาน 63 ขอ มลู สภาพปญ หาความเปน อยขู องประชาชน ในพ้ืนที่ พรอมกับทรงสังเกตการณสํารวจ สภาพภูมิศาสตรไปพรอม ๆ กันดวย ท้ังนี้ เพ่ือจะไดนํามาพิจารณาและพระราชทาน พระราชดําริเปนแนวทางการดําเนินงาน โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ ตอ ไป โครงการพระราชดาํ รทิ นี่ บั ไดว า เปน โครงการพฒั นาชนบทโครงการแรก เกิดขึ้นในป ๒๔๙๕ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดเ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปยงั บา นหว ยมงคล ตําบลหินเหล็กไฟ อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดทรงทราบถึง ปญหาความเดือดรอนของราษฎรในดานการคมนาคมสัญจรไปมา จึงทรง พระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทานรถบลูโดเซอรให หนว ยสนบั สนนุ ทางอากาศ ตาํ รวจตระเวนชายแดน (คา ยนเรศวร) อาํ เภอหวั หนิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ ไปสรางถนนเขาไปยังบานหวยมงคล ตําบลหินเหล็กไฟ (ปจ จบุ นั คอื ตาํ บลทบั ใต) อาํ เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ เพอื่ ชว ยเหลอื ราษฎรใหสามารถสัญจรไปมา และนําผลผลิตออกมาจําหนายยังชุมชน ภายนอกหมูบานไดสะดวก จากนัน้ ในป ๒๔๙๖ ไดพระราชทานพระราชดาํ ริ ใหสรางอา งเก็บนํา้ เขาเตา อาํ เภอหวั หิน จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ เพอ่ื บรรเทา ปญหาความแหงแลง ซึ่งกอใหเกิดความเดือดรอนแกราษฎร โดยสราง แลวเสร็จและใชประโยชนไดในป ๒๕๐๖ นับเปนโครงการพระราชดําริ ทางดา นชลประทานแหงแรกของพระองค และตอมาไดม โี ครงการพระราชดําริ การพัฒนาในดานตาง ๆ เกิดข้ึนมากกวา ๔,๐๐๐ โครงการ/กิจกรรม โดยกระจายอยทู ่วั ทกุ ภูมิภาคของประเทศ

64 หลกั การทรงงาน อางเกบ็ นา้ํ เขาเตา ในอดตี อางเก็บน้าํ เขาเตา ในปจจบุ นั

หลกั การทรงงาน 65 ลกั ษณะของโครงการอนั เน่ือง มาจากพระราชดาํ ริ โครงการพระราชดําริในระยะแรก ๆ นั้น สามารถแบงออกไดเปน ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. โครงการทมี่ ลี กั ษณะศกึ ษา คน ควา ทดลองเปน การสว นพระองค เปนการเตรียมพระองคในดานขอมูลและความรอบรูที่จะทรงนําไป ประยุกตใชในการแกไขปญหาและเผยแพรแกเกษตรกร รวมทั้งเปนการ แสวงหาแนวทางการพัฒนาท่ีถูกตองเหมาะสมกับสภาพสังคมไทยและ สภาพแวดลอ มในแตล ะทองถนิ่ ดวย ๒. โครงการที่มลี กั ษณะเรมิ่ เขา ไปแกไขปญหาหลักของเกษตรกร เน่ืองจากเกษตรกรประสบปญหาและอุปสรรคในการทําเกษตรกรรม มากข้ึน ในขณะที่ทรงมีโครงการทดลองและเรียนรูไปดวยน้ัน จะทรงเร่ิม กา วเขา สกู ารดาํ เนนิ การเพอ่ื แกไ ขปญ หาของเกษตรกรอยา งแทจ รงิ ระยะแรก โครงการยังจํากัดขอบเขตอยูเฉพาะบริเวณรอบ ๆ ที่ประทับในสวนภูมิภาค รปู แบบของการพฒั นาแกไ ขปญ หาคอื การพฒั นาแบบผสมผสาน (Integrated Development) หลังจากนั้นโครงการในลักษณะน้ีคอย ๆ ขยายขอบเขต ออกไปสสู ังคมเกษตรกรในพื้นที่กวางขวางขน้ึ

66 หลกั การทรงงาน โครงการพระราชดาํ รมิ อี ยมู ากมายหลายสาขา หลายประเภท กระจาย อยทู ั่วทุกภมู ิภาคของประเทศ มีชื่อเรยี กแตกตา งกันไป ดังน้ีคอื ๑) โครงการตามพระราชประสงค หมายถึง โครงการซ่ึงทรงศึกษา ทดลอง ปฏบิ ตั ิ เปน การสว นพระองค ทรงศกึ ษาหารอื กบั ผเู ชยี่ วชาญในวงงาน แสวงหาวิธีทดลองปฏิบัติ และพัฒนา สงเสริม แกไข ดัดแปลงวิธีการ เปนระยะเวลาหน่ึง เพ่ือดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ทรงใชพ ระราชทรพั ยส ว นพระองคใ นการดาํ เนนิ งานทดลองจนกวา จะเกดิ ผลดี ตอมาเม่ือทรงแนพระราชหฤทยั วา โครงการนั้น ๆ ไดผลดี เปน ประโยชนแ ก ประชาชนอยา งแทจ รงิ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหร ฐั บาลเขา มารบั งานตอ ในภายหลงั ๒) โครงการหลวง จากการท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดเ สดจ็ พระราชดําเนินไปทรง เย่ียมเยียนราษฎรในพ้ืนที่หางไกลในภาคเหนือ ทรงเห็นพื้นที่ปาเขา ตนนํ้า ลําธารถูกบุกรุกทําลายอยางกวางขวาง เน่ืองจากการทําไรเล่ือนลอยและ การปลูกฝนของชาวไทยภูเขา รวมท้ังมีคุณภาพชีวิตในเกณฑต่ํา จึงได พระราชทานพระราชดําริในการพัฒนาชวยเหลือชาวไทยภูเขาใหอยูดีกินดี เลกิ การตดั ไมท าํ ลายปา เพอื่ ทาํ ไรเ ลอื่ นลอย เลกิ การปลกู ฝน เลกิ การคา ของเถอื่ น และอาวุธผิดกฎหมาย โดยการพัฒนาและสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

หลักการทรงงาน 67 ที่ใหผลตอบแทนสูง เลี้ยงสัตวไวเพื่อบริโภค พรอมทั้งการชวยเหลือเพื่อ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ทงั้ ในดา นการศกึ ษา สขุ ภาพอนามยั และการสงเคราะห ตา ง ๆ เพื่อสรา งจิตสํานกึ ใหช าวไทยภูเขาเหลาน้ีเปนพลเมอื งไทยทด่ี ี ตอ มา ทรงใหจัดตั้ง “มูลนิธิโครงการหลวง” ข้ึน เปนหนวยงานกลางในการ ดําเนินงาน แมวาการดําเนินงานเชนน้ีจําเปนตองใชเวลายาวนานนับสิบป และยากลําบากสกั เพยี งใดกม็ ิไดทรงทอ ถอย ผลการพฒั นาสามารถยกระดบั ความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของชนชาวเขาใหสูงข้ึน ชาวเขาชาวดอย เหลานี้จึงมีความรักและจงรักภักดี ตางเรียกขานวา “พอหลวง” และเรียก สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปหลวงวา “แมหลวง” โครงการของท้ังสอง พระองคจ งึ เรยี กวา “โครงการหลวง” ๓) โครงการในพระบรมราชานเุ คราะห หมายถงึ โครงการทพี่ ระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพระราชทานพระราชดําริ และขอแนะนําใหองคกรภาคเอกชนไป ดําเนินการ โดยใชทรัพยากรดําเนินงานของภาคเอกชน ทั้งกําลังเงิน กําลังแรงงาน และกําลังปญญา ซ่ึงการดําเนินงานสวนใหญเปนกิจกรรม ดานการสงเคราะหชวยเหลอื การพฒั นาชุมชน การศึกษา และดานสขุ ภาพ อนามยั เชน โครงการของมลู นธิ ริ าชประชานเุ คราะห โครงการพฒั นาหมบู า น สหกรณเนินดนิ แดง อําเภอทับสะแก จงั หวัดประจวบครี ีขันธ เปน ตน

68 หลกั การทรงงาน ๔) โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ เดิมเรียกโครงการประเภท น้ีวา “โครงการตามพระราชดําริ” หมายถึง โครงการท่ีพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชดําริเปน แนวทางดําเนินงาน โดยหนว ยงานตาง ๆ ของ รัฐบาล ท้ังฝายพลเรือน ตํารวจ ทหาร นําไปพิจารณาวางแผนและปฏิบัติ ซงึ่ ปกตจิ ะมกี ารดาํ เนนิ งานสองลกั ษณะ คอื เปน โครงการทมี่ ลี กั ษณะเปน งาน ดานวิชาการ มีการศึกษา ทดลอง วิจัยเพื่อแสวงหาแนวทางการพัฒนา และโครงการที่มีลักษณะในการปองกันแกไขปญหาความทุกขยากเดือดรอน และสนองความตองการของประชาชน สาํ หรบั ปจ จุบันโครงการอนั เนื่องมาจาก พระราชดําริเปนไปตาม “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พ.ศ.๒๕๓๔” (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๔๖) โดยมีโครงการพัฒนาดานตาง ๆ ท่ีดําเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะสั้นและ ระยะยาว กระจายอยทู ว่ั ทกุ ภมู ภิ าคของประเทศถงึ ๔,๘๑๐ โครงการ/กจิ กรรม

หลักการทรงงาน 69 ข้ันตอนการดําเนนิ งานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงศกึ ษาขอ มลู ตา ง ๆ เปน ขนั้ ตอนอยา งละเอยี ดกอ นทกุ ครง้ั ในการจัดวางแผนโครงการใดโครงการหน่ึงกอนจะมีพระราชดําริน้ัน มขี นั้ ตอนตา ง ๆ พอจะกลา วได ดังตอ ไปน้ี ๑) การศึกษาขอมูล กอนจะเสด็จพระราชดําเนินยังพื้นที่ใด ๆ น้ัน จะทรงศึกษาขอมูลดวยพระองคเองจากเอกสารและแผนท่ีตาง ๆ ท่ีมีอยู เพอื่ ใหท ราบถงึ สภาพทองถ่ินน้ัน ๆ อยา งละเอียดกอ นเสมอ ๒) การหาขอมลู ในพน้ื ที่ เมอ่ื เสดจ็ ฯ ถึงพื้นทีน่ นั้ ๆ จะทรงหาขอ มูล รายละเอียดเพมิ่ เตมิ อกี ครั้งหนึ่ง เพอ่ื ใหไดขอเทจ็ จรงิ และขอ มูลลา สุด อาทิ ๒.๑) ทรงสอบถามประชาชนถงึ การประกอบอาชพี สภาพหมบู า น ภมู ิประเทศ ดนิ ฟา อากาศ และน้าํ ฯลฯ ๒.๒) ทรงสํารวจพ้ืนที่และเสด็จพระราชดําเนินไปทอดพระเนตร พน้ื ทจี่ รงิ ทค่ี าดวา ควรจะดาํ เนนิ การพัฒนาได ๒.๓) ทรงสอบถามเจาหนาท่ี เมื่อทรงศึกษาขอมูลจากเอกสาร และทรงไดขอมูลจากพื้นที่จริงแลว จะทรงปรึกษากับเจาหนาที่ฝาย ตา ง ๆ ถึงความเหมาะสม ความเปนไปไดอกี ครง้ั หน่ึง พรอ มท้ังทรงคาํ นวณ

70 หลักการทรงงาน วิเคราะหอยางละเอียดรอบคอบดวยวา เม่ือดําเนินการแลวจะไดประโยชน อยางไร และคมุ คากับการลงทนุ หรือไม เพียงใด อยา งไร แลวจงึ พระราชทาน พระราชดําริใหเจาหนาท่ีที่เกี่ยวของไปพิจารณาในรายละเอียดตามข้ันตอน ตอ ไป ๓) การศึกษาหาขอมูลและ การจัดทําโครงการ เม่ือไดรับ พระราชทานพระราชดําริ สํานักงาน คณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงาน โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) จะประสานกับ หนว ยงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ ง ในการ ศึกษาขอมูลรายละเอียดอีกคร้ังหน่ึง เพื่อประกอบการจัดทําโครงการ ใหเปนไปตามแนวพระราชดําริท่ีไดพระราชทานไว อยางไรก็ตาม พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชดําริไววา “พระราชดําริของพระองคเปนเพียง ขอเสนอแนะเทาน้ัน” เม่ือรัฐบาลไดทราบแลวควรไปพิจารณาวิเคราะห กลน่ั กรองตามหลกั วชิ าการกอ น เมอ่ื มคี วามเปน ไปได มปี ระโยชนค มุ คา และ เห็นสมควรเปนเร่ืองท่ีจะตองพิจารณาตัดสินใจเอง และในกรณีที่วิเคราะห พจิ ารณาแลวเหน็ วา ไมเหมาะสม สามารถลม เลกิ ได ๔) การดําเนินงานตามโครงการ เมื่อจัดทําโครงการเสร็จเรียบรอย และผานการพิจารณาจากหนวยเหนือตามลําดับข้ันตอนจนถึงการอนุมัติ โครงการและงบประมาณแลว หนวยงานท่ีเก่ยี วของจะดาํ เนนิ การปฏบิ ตั งิ าน

หลกั การทรงงาน 71 ในทันทีโดยมีสํานักงาน กปร. เปนหนวยงานกลางในการประสานงานและ ประสานแผนตา ง ๆ ใหแตล ะหนว ยงานไดด าํ เนินการสนับสนนุ สอดคลองกัน และ/หรืออาจจัดต้ังองคกรกลางที่ประกอบดวยแตละฝายท่ีเกี่ยวของเปน ผคู วบคมุ ดแู ลใหก ารดาํ เนนิ งานตา ง ๆ เปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย มปี ระสทิ ธภิ าพ ๕) การติดตามผลงาน ในการติดตามผลการดําเนินงานน้ัน แตละ หนวยงาน รวมท้ังสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ (สาํ นักงาน กปร.) จะไดม กี ารตดิ ตามประเมินผล เปนระยะ ๆ แตท่ีสําคัญ คือ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร จะเสด็จฯ กลับไปยงั โครงการ น้ัน ๆ ดวยทุกครั้งเม่ือมีโอกาส เพ่ือทอดพระเนตรความกาวหนาและทรง ติดตามผลงานตาง ๆ ใหเปนไปดวยความเรียบรอย ในกรณีที่เกิดปญหา อุปสรรคตา ง ๆ จะทรงชแ้ี นะแนวทางแกไขปญ หาน้ัน ๆ ใหส าํ เรจ็ ลลุ วงไป

72 หลักการทรงงาน

หลกั การทรงงาน 73 หลกั การของ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ การดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีหลักการ ดําเนินงานสําคัญ ๆ คือ ๑. การแกปญหาเฉพาะหนา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงเนน อยเู สมอวา โครงการ ของพระองคนั้นเปนโครงการท่ีมุงชวยเหลือแกไขปญหาเฉพาะหนาท่ีราษฎร กําลังประสบอยู โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริที่เนนหลักมุงแกไข ปญหาเฉพาะหนา ซึ่งตองการแกไขอยางรีบดวน เชน กรณีเขตพื้นที่อําเภอ ละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย ซึ่งเปนเขตติดตอกับประเทศกัมพูชา และเปน พนื้ ทยี่ ากจนในเขตอทิ ธพิ ลของผกู อ การรา ยคอมมวิ นสิ ตท ก่ี ระบวนการพฒั นา ของรัฐยังเขาไปไมถึง ภายหลังจากมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

74 หลักการทรงงาน เขาไปดําเนินการแลว ปญหาความม่ันคงที่เคยมีอยูก็ลดนอยลงและ หมดส้ินไปในท่ีสุด แมกระทั่งปจจุบันโครงการท่ีแกปญหาเฉพาะหนา และ จะมีผลระยะยาวตอไปคือ โครงการปองกัน แกไขปญหาน้ําทวมพ้ืนที่ กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล เปน ตน ๒. การพฒั นาตองเปน ไปตามขัน้ ตอน ตามลาํ ดับความจาํ เปนและ ประหยดั การดาํ เนนิ งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ รมิ งุ สรา งรากฐาน ทมี่ น่ั คงกอน จากน้นั จึงดาํ เนินการเพ่อื ความเจรญิ กาวหนาในลําดบั ตอ ๆ ไป พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเนนการพัฒนา ท่ีมุงสรางความเขมแข็งใหแกชุมชน ในลกั ษณะการพงึ่ ตนเอง ทรงใชค าํ วา “ระเบดิ จากขา งใน” นน้ั คอื ทาํ ใหช มุ ชน หมูบานมีความเขมแข็งกอนแลวจึงคอยออกมาสูสังคมภายนอก มิใชการเอา ความเจริญ หรือบุคคลจากสังคมภายนอกเขาไปหาชุมชนหมูบานที่ยังไมทัน ไดมีโอกาสเตรียมตัวหรือต้ังตัว พระองคมีพระราชประสงคท่ีจะชวยเหลือ ราษฎรตามความจําเปนและความเหมาะสมกับสถานภาพ เพื่อที่ราษฎร เหลา นนั้ จะสามารถพง่ึ ตนเองได และออกมาสสู งั คมภายนอกไดอ ยา งไมล าํ บาก

หลักการทรงงาน 75 ๓. การพ่ึงตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดําริเพื่อการแกไข ปญ หาในเบอ้ื งตน ดว ยการแกป ญหาเฉพาะหนา เพือ่ ใหม ีความแขง็ แรงทีจ่ ะมี แนวคิดในการดํารงชีวิตตอไปแลว ขั้นตอไปก็คือ การพัฒนาใหประชาชน สามารถอยูในสังคมไดตามสภาพและสามารถ “พ่ึงตนเองได” ในที่สุด “การพ่ึงตนเอง” หมายถึง ความสามารถในการดํารงตนอยูไดอยางอิสระ ม่ันคง สมบรู ณ สามารถผนั เปล่ียนไปตามเวลาได เพอ่ื ใหเกิดความเหมาะสม สอดคลองและสมดุล ซ่ึงการพ่ึงตนเองไดน้ัน มีทั้งในระดับบุคคลและชุมชน สาํ หรับหลกั การพ่งึ ตนเองน้นั พระราชทานพระราชดาํ รัสตอนหนึ่งความวา “...การเขาใจถึงสถานการณของผูท่ีเราจะชวยเหลือนั้นเปน สิ่งสําคัญที่สุด การชวยเหลือใหเขาไดรับส่ิงท่ีเขาควรจะไดรับตาม ความจําเปนอยางเหมาะสม จะเปนการชวยเหลือที่ไดผลดีท่ีสุด เพราะฉะนนั้ การชว ยเหลอื แตล ะครงั้ แตล ะกรณี จาํ เปน ทเ่ี ราจะพจิ ารณา ถึงความตอ งการและความจําเปน กอน และตองทําความเขา ใจกับผูทเ่ี รา จะชวยใหเขาใจดวยวาเขาอยูในฐานะอยางไร สมควรท่ีจะไดรับความ ชวยเหลืออยางไร เพียงใด อีกประการหนึ่ง ในการชวยเหลือน้ันควร ยึดหลักสําคัญวา เราจะชวยเขาเพ่ือใหเขาสามารถชวยเหลือตนเอง ไดตอไป...” โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริท่ีเนนหลัก “การพึ่งตนเอง” เพื่อพัฒนาแกไขปญหาความยากจนของราษฎร เชน โครงการธนาคารขาว โครงการธนาคารโค-กระบือ โครงการพัฒนาท่ีดินตามพระราชประสงค “หบุ กระพง” อาํ เภอชะอํา จังหวัดเพชรบรุ ี ซึ่งดาํ เนนิ การเพอื่ ใหประชาชน มีท่ีอยูอาศัยทํากิน และรวมตัวกันในรูปของกลุมสหกรณเพื่อแกไขปญหา

76 หลักการทรงงาน ของชมุ ชน และการทํามาหากนิ รว มกนั เปนตน นอกจากนัน้ โครงการพฒั นา อันเนื่องมาจากพระราชดําริในระยะหลัง ลวนแตเพื่อใหประชาชนสามารถ ชวยตนเองได เพราะเปน โครงการทส่ี นบั สนุนใหประชาชนสามารถประกอบ อาชพี ใหไ ดผ ลและมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน โครงการเกษตรทฤษฎใี หม การพฒั นา แหลงน้ําเพื่อการเกษตร การใหการอบรมความรูสาขาตาง ๆ ท้ังดาน การเกษตร และศิลปาชีพพเิ ศษ เปนตน ๔. ภูมิสังคม การพัฒนาตามแนวพระราชดํารินั้น จะตองสอดคลอง กับปญหาที่เกิดขึ้นในภูมิภาคน้ัน ๆ และตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมทาง ภูมิศาสตร และสภาพแวดลอมของสังคมจิตวิทยาในแตละทองถิ่นเปนหลัก เนอื่ งจากแตละแหง คนไมเ หมอื นกัน สภาพภูมปิ ระเทศ วิถีการดํารงชีวติ และ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมในแตละภูมิภาคจะแตกตางกัน ทรงใชค าํ วา “ภมู ิสงั คม” คอื ทรงดูลักษณะภูมิศาสตรและลกั ษณะของสงั คม ไมใชวาเอาอะไรท่ีทันสมัยมาก ๆ เขาไปใหชาวบานทั้งท่ีเขาไมสามารถใชได หรือพยายามท่ีจะทําการเพาะปลูกบนเขาหรือพื้นท่ีแหงแลงใหได ซ่ึงเปน การดําเนินการท่ีผิด ทรงชี้แนะตลอดเวลาวา การดําเนินการตาง ๆ น้ัน ตอ งใหสอดคลองกับสภาพภมู สิ งั คม ๕. เรียบงาย ประหยัด ในการพัฒนาและชวยเหลือราษฎรทรงใช หลักการแกไขปญหาดว ยธรรมชาติ เรียบงา ย และประหยัด ราษฎรสามารถ ทําไดเ อง หาไดใ นทอ งถ่ิน และประยุกตใชส่งิ ที่มอี ยูในภูมิภาคน้นั ๆ

หลกั การทรงงาน 77 มาแกไขปญหาโดยไมตองลงทุนสูงหรือใชเทคโนโลยีที่ยุงยากนัก ดังที่ นายสเุ มธ ตนั ติเวชกลุ อดตี เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงาน โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดําริ ไดกลาวไวว า “วิธีการแกปญหาตาง ๆ นั้น ทรงใชความเรียบงาย ใชธรรมชาติ เขา แกไ ขกนั เองอยตู ลอดเวลา ถา เปน เรอื่ งทเี่ กย่ี วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของ ประชาชน จะทรงสวมวิญญาณของเกษตรกรเขาไปแกปญหา ตรสั อยูเ สมอวา อยาไดเ อาอะไรท่ีชาวบา นเขาไมสามารถทาํ ไดไปยดั เยียด ใหเ ขา วธิ กี ารแกป ญ หาของพระองคน นั้ บางครง้ั เรยี บงา ยจนกระทงั่ เรานกึ ไมถึง มีรับส่ังวาจะเอาอธรรมสูกับอธรรม อยางกรณีเร่ืองของนํ้าเนาน้ัน กท็ รงเอาผักตบชวามาสู แลวก็สูไ ดผลดว ย เชน ท่บี ึงมกั กะสันท่นี ้าํ เคยเนา เปนอยา งมาก เด๋ยี วนน้ี ้าํ ดขี นึ้ มาก” ๖. การสงเสริมความรูและเทคนิควิชาการสมัยใหมท่ีเหมาะสม พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงเห็นวาควรทีจ่ ะสรางเสริมสิง่ ทชี่ าวบานชนบทขาดแคลน และเปนความตองการ ซ่ึงก็คอื ความรูในการทํามาหากนิ การทําการเกษตร โดยใชเ ทคโนโลยีสมยั ใหม ทรงเนน ถึงความจาํ เปน ท่จี ะตอ งมี “ตวั อยา งของ ความสาํ เรจ็ ” มีพระราชประสงคท ีจ่ ะใหราษฎรในชนบทมโี อกาสไดรูไดเ หน็ ถงึ ตัวอยางความสําเร็จนี้ และนําไปปฏิบัติไดเอง จึงไดพระราชทานพระราชดําริ ใหจัดต้ัง “ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” ขึ้น ในทุกภูมภิ าคของประเทศ เพือ่ เปน สถานทศ่ี ึกษา ทดลองวิจัย และแสวงหา ความรู เทคนคิ วชิ าการสมยั ใหมท ร่ี าษฎร “รบั ได” นาํ ไป “ดาํ เนนิ การเองได” และเปนวิธีการท่ี “ประหยัด” เหมาะสมและสอดคลองกับสภาพแวดลอม และการประกอบอาชพี ของราษฎรทอี่ าศยั อยใู นภูมิประเทศนนั้ ๆ

78 หลักการทรงงาน

หลกั การทรงงาน 79 เม่ือไดผลจากการศึกษาแลวจึงนํามาสงเสริมใหเกษตรกรใชในการ ประกอบอาชีพตอ ไป พระองคท รงปรารถนาท่จี ะใหตวั อยางของความสาํ เรจ็ ท้ังหลายไดกระจายไปสทู องถ่นิ ตาง ๆ ท่วั ประเทศ และสามารถนําไปปฏบิ ตั ิ ไดผลอยา งจรงิ จงั ๗. การอนุรกั ษแ ละพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอยา งยั่งยืน พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสนพระราชหฤทัยในเร่ืองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และแกไข ปญ หาความเสื่อมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตเิ ปนอยางย่งิ ทัง้ นี้ เนื่องจาก ในการพัฒนาประเทศในระยะเวลาที่ผานมานั้น ไดเนนการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจเปนสําคัญ ทําใหเศรษฐกิจขยายตัวในอัตราที่สูงและรวดเร็ว โครงสรางทางเศรษฐกิจของประเทศไทยไดเปลี่ยนไปสูการผลิตที่มุงสู ภาคอุตสาหกรรมและบริการเปนหลัก มีการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ กนั อยา งฟมุ เฟอ ย โดยไมม กี ารฟน ฟทู รพั ยากรทถี่ กู ทาํ ลายใหก ลบั คนื สสู ภาพเดมิ จนในท่ีสุดไดกอใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

80 หลกั การทรงงาน บรมนาถบพิตร จึงไดพระราชทานแนวทางแกไขในการพัฒนาและฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีผลโดยตรงตอ การพฒั นาการเกษตร ดงั นัน้ จงึ ทรง มุงทจี่ ะใหมีการพัฒนาและอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติอยางยงั่ ยนื ควบคกู ับ การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เส่ือมโทรม เพ่ือเปนรากฐานของการพัฒนา ประเทศในระยะยาว ทรงสนพระราชหฤทัยเปนอยางย่ิงตอการทํานุบํารุง ปรบั ปรงุ สภาพของทรพั ยากรธรรมชาตติ า ง ๆ ไมว า จะเปน ปา ไม ทดี่ นิ แหลง นา้ํ การประมง ใหอ ยใู นสภาพทีม่ ีผลตอการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลติ อยางมาก ทส่ี ดุ ดงั นนั้ จงึ ไดม กี ารดาํ เนนิ งานโครงการอนรุ กั ษพ นื้ ทต่ี น นาํ้ ลาํ ธาร โครงการ ปารักษน้ํา โครงการอนุรักษพันธุสัตวปา โครงการพัฒนาท่ีดินเสื่อมโทรม โครงการพัฒนาและรณรงคการใชหญาแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการบําบัดนํ้าเสียท้ังในกรุงเทพมหานครและในเมืองหลัก โดยใชวิธี ตาง ๆ เชน การใชผักตบชวาชวยกรองนํ้าเสีย การใชน้ําดีขับไลน้ําเสีย กังหันนํ้าชัยพัฒนา โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบ้ีย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ทั้งนี้ เพ่ือฟนฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ใหกลับคืนสูสภาพเดิม ประกอบกับสงเสริมใหราษฎรรูจักการใชทรัพยากร ท่ีอยูอยางจํากัดไดอยางประหยัดและเกิดประโยชนสูงสุด ถูกตองตามหลัก วชิ าการ เพ่อื ประโยชนในระยะยาวซงึ่ นําไปสกู ารพัฒนาทย่ี ั่งยนื น่ันเอง

หลกั การทรงงาน 81 ความหมายของโครงการอันเน่ือง มาจากพระราชดําริ “โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” ตามระเบียบสํานักนายก รัฐมนตรีวาดวยโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หมายถึง โครงการ แผนงาน หรือกิจกรรมใด ๆ ที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจดําเนินงานเพื่อ สนองพระราชดาํ ริ ซง่ึ ตง้ั แตเ รมิ่ แรกถงึ สน้ิ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ มจี าํ นวน รวมท้งั ส้นิ ๔,๘๑๐ โครงการ/กิจกรรม โดยมีสํานกั งานคณะกรรมการพิเศษ เพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) เปนหนวยงานกลางในการดําเนินงานต้ังแตปงบประมาณ ๒๕๒๕ - ๒๕๖๒ แยกเปน ประเภทการพฒั นาดา นตา ง ๆ ได ๘ ประเภท คอื การพฒั นาแหลง นาํ้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การเกษตร การสงเสริมอาชีพ การคมนาคม/ส่ือสาร สาธารณสุข สวัสดิการสังคม และโครงการพัฒนา แบบบรู ณาการ และอ่ืน ๆ ซงึ่ ในจาํ นวนโครงการ/กจิ กรรมเหลาน้ี การพฒั นา แหลง น้ํามีจาํ นวนมากทีส่ ดุ รอยละ ๖๙.๓๖ ของโครงการทัง้ หมด

82 หลักการทรงงาน

หลกั การทรงงาน 83







หลกั การทรงงาน 87 พระวชริ เกลาเจาอยหู วั พระเมตตาสูประชาราษฎร สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอ มใหต ง้ั การพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ในระหวางวันท่ี ๔ - ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ถือเปนพระราชพิธีสําคัญยิ่ง ซ่ึงไดรับอิทธิพลมาจากพิธีพราหมณผสมผสานรวมกับพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนาตามโบราณราชประเพณี ที่พระมหากษัตริยจะเสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติเปนพระมหากษัตริยอยางสมบูรณ หลังเขาพิธี สรงพระมุรธาภิเษก ทรงรับนํ้าอภิเษก และทรงสวมพระมหาพิชัยมงกุฎ ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยวา “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลาเจาอยูหัว” และพระราชทานพระปฐม บรมราชโองการ ความวา “เราจะสบ สาน รกั ษา และตอ ยอด และครองแผนดนิ โดยธรรม เพอ่ื ประโยชนส ุขแหงอาณาราษฎรตลอดไป”

88 หลกั การทรงงาน ทศพธิ ราชธรรมธาํ รงไผท ทศทิศสถิตชย มงคลประชา ทรงสานตอ พระราชปณิธาน สมเด็จพระบรมชนกนาถ สมเด็จพระบรมราชชนนี

หลกั การทรงงาน 89 พระราชกรณียกจิ สบื สาน รกั ษา ตอยอด ดานการทหาร ทรงสนพระราชหฤทัยดานวิชาการทหารมาต้ังแตทรงพระเยาว หลังจากทรงศึกษาทางดานการทหารจากเครือรัฐออสเตรเลียแลว ยังทรง เพิ่มพูนความรูและประสบการณ โดยทรงเขารับการฝกและสําเร็จหลักสูตร ทั้งในและตางประเทศ ขณะทรงรับราชการทหาร ไดทรงปฏิบัติพระราช กรณียกิจ อาทิ ทรงเขารวมปฏิบัติการรบในการตอตานการกอการราย ในภาคเหนือ เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเย่ียมตํารวจ ทหาร และราษฎร ในพื้นท่ี เพ่ือสรางขวญั กาํ ลงั ใจใหก ับชาวบา นและบรรดาทหาร ทรงวเิ คราะห และวางแผนการรบใหกับทหารในพื้นท่ี ทรงออกลาดตระเวน และอยูยาม เชนเดยี วกบั ทหารคนอ่ืน ๆ

90 หลกั การทรงงาน ทอดพระเนตรฐานทัพอากาศ CERRO MORENO ทรงเขา ศกึ ษาหลักสูตรการบนิ เครอ่ื งบนิ ขบั ไล สาธารณรัฐชิลี และทรงทาํ การบนิ บ.F-5F เมื่อวนั ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๓๙ พระปรีชาชาญในวิทยาการดานการบิน ทรงรอบรูเทคนิคสมัยใหม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ทรงมีช่ัวโมงบินอยางตอเน่ืองท่ีสูงมาก ถือวา เปนส่ิงท่ียากสําหรับนักบินทั่วโลกจะทําได ทรงเปน “เจาฟานักบินขับไล ไอพน ” พระองคแ รกแหง ราชวงศจ กั รี ทท่ี าํ การบนิ กบั เครอื่ งบนิ กองทพั อากาศ เกือบทุกรูปแบบ ทรงเคยเขารวมการแขงขันการใชอาวุธทางอากาศ ณ สนามฝกใชอาวุธทางอากาศชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และทรงชนะเลิศ การแขงขันในคร้ังน้ัน ทรงดํารงพระองคเปนแบบอยางและพระราชทาน คําสอนแกขาราชบริพารทุกหมูเหลาอยูเสมอ ขาราชบริพารในพระองคลวน สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ และยกยองพระองคเปน “บรมครูทาง การทหาร” เน่ืองดวยทรงศึกษาวิชาทหารมานาน ทรงมีความรู ความเช่ียวชาญ และพระราชทานความรูแกทหาร ๓ เหลา ทพั อกี ทั้งยงั ทรงดแู ล ความเปนอยู ทกุ ขส ุขของทหารผอู ยใู ตบ งั คบั บญั ชาอยางท่ัวถงึ

หลักการทรงงาน 91 เสด็จพระราชดําเนนิ ไปทรงหวา นขาว ณ บริเวณแปลงนาเกษตร หมูท ่ี ๕ ตําบลบางงาม อาํ เภอศรีประจันต จังหวดั สพุ รรณบุรี เมอ่ื วนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๓ ดา นเกษตรกรรม สง เสรมิ อาชีพ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม ทรงตระหนักในความสําคัญของการเกษตร ซึ่งเปนอาชีพหลักของ ชนชาวไทย ทรงมพี ระราชประสงคส ืบสานพระราชปณิธาน การทรงงานจาก สมเด็จพระบรมชนกนาถ และสมเด็จพระบรมราชชนนี จึงไดพระราชทาน พระราชดําริใหต้ังโครงการพัฒนาดานเกษตรกรรม ดานการสงเสริมอาชีพ และดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการพระราชทาน แนวพระราชดาํ รใิ หห นว ยงานตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งรบั ไปประสานการดาํ เนนิ งาน รวมกัน ใหราษฎรสามารถดําเนินชีวิตในขั้นพ้ืนฐานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจดานเกษตรกรรม มาตลอด โดยพระราชทานแนวพระราชดําริแกหนวยงานที่รับผิดชอบ

92 หลกั การทรงงาน ทอดพระเนตรแผนท่ีโครงการบานเล็กในปา ใหญต ามพระราชดาํ รบิ า นอาขา (เกา) แมตาชา ง ตําบลปาแดด อําเภอแมสรวย จงั หวัดเชียงราย เมอ่ื วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๕ ดําเนินการ พรอมทรงติดตามความกาวหนาการดําเนินงาน อาทิ ดานการ ชลประทาน การสรางเขื่อนและฝายชะลอความชุมช้ืนตาง ๆ และทรงงาน รวมกับหนวยงาน ใหก ารดําเนินงานดําเนินไปอยา งตอเน่ือง จนเกดิ ผลทาํ ให ราษฎรมีน้ําใชในการเกษตรอยางอุดมสมบูรณ สามารถมีรายไดเลี้ยง ครอบครวั อกี ทงั้ ยงั ชว ยบรรเทาปญ หาอทุ กภยั ในฤดฝู น ดงั ตวั อยา ง โครงการ คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห พระราชทานพระราชดําริให จดั ตงั้ ขนึ้ ในป ๒๕๔๕ เปน วธิ กี ารหนง่ึ ทส่ี ามารถถา ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตร แผนใหมใ หแ กเ กษตรกรระดบั ทอ งถนิ่ สามารถนาํ ไปปรบั ปรงุ งานเกษตรกรรม ของตนใหไดผลผลิตมากข้ึนและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเปนชองทางการให บรกิ ารตรงตามความตองการ รวดเรว็ ทนั ตอ เหตกุ ารณ เปน การดําเนนิ งาน แบบประสานความรวมมือของนักวิชาการแตละสาขาจะใหคําปรึกษา ตรวจวเิ คราะห วินิจฉัย และใหบ ริการโดยใชอปุ กรณเครื่องมือทางหอ งปฏิบตั ิการ ไดแก คลินิกพืช คลินิกดิน คลินิกสัตว คลินิกประมง คลินิกชลประทาน คลนิ ิกกฎหมาย เปน ตน

หลกั การทรงงาน 93 ทอดพระเนตรโครงการคลินกิ เกษตรเคลื่อนทใ่ี นพระราชานุเคราะหฯ ตาํ บลพรอ น อาํ เภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๕ ทอดพระเนตรการจัดการนํา้ เพือ่ การเกษตร บริเวณบานโมง หลวง อาํ เภอแมแ จม จงั หวดั เชียงใหม เมือ่ วนั ท่ี ๕ กุมภาพันธ ๒๕๔๔

94 หลักการทรงงาน ดานการศึกษา พระบรมราโชบายดานการศึกษา ตองมุงสรางพ้ืนฐานใหแกผูเรียน ๔ ดาน ดังน้ี ๑. มีทศั นคติท่ถี ูกตอ งตอ บานเมอื ง ๑.๑ ความรคู วามเขาใจตอชาติบานเมือง ๑.๒ ยดึ ม่นั ในศาสนา ๑.๓ มน่ั คงในสถาบนั พระมหากษัตริย ๑.๔ มีความเอ้ืออาทรตอครอบครัวและชมุ ชนของตน ๒. มีพ้นื ฐานชีวิตท่มี ัน่ คง มคี ณุ ธรรม ๒.๑ รูจักแยกแยะสิง่ ท่ีผดิ -ชอบ/ชว่ั -ดี ๒.๒ ปฏิบตั แิ ตส่ิงที่ชอบ ส่งิ ทีด่ งี าม ๒.๓ ปฏเิ สธส่งิ ที่ผดิ สิง่ ทีช่ วั่ ๒.๔ ชว ยกนั สรา งคนดีใหแ กบานเมอื ง

หลักการทรงงาน 95 ๓. มีงานทาํ - มีอาชพี ๓.๑ การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝกฝนอบรม ในสถานศึกษา ตอ งมงุ ใหเดก็ และเยาวชนรกั งาน สงู าน ทําจนงานสําเร็จ ๓.๒ การฝกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร ตองมี จุดมงุ หมายใหผ เู รยี นทาํ งานเปน และมีงานทาํ ในทสี่ ุด ๓.๓ ตองสนับสนุนผูสําเร็จหลักสูตรใหมีอาชีพ มีงานทํา จนสามารถเล้ยี งตวั เองและครอบครัว ๔. เปนพลเมืองดี ๔.๑ การเปน พลเมอื งดี เปนหนาท่ีของทกุ คน ๔.๒ ครอบครวั -สถานศกึ ษาและสถานประกอบการตอ งสง เสรมิ ใหทกุ คนมโี อกาสทาํ หนา ทเ่ี ปน พลเมอื งดี ๔.๓ การเปนพลเมืองดี คือ เห็นอะไรที่จะทําเพ่ือบานเมืองได ก็ตอ งทํา เชน งานอาสาสมคั รงาน บําเพญ็ ประโยชน งานสาธารณกศุ ล ใหท ํา ดว ยความมีน้ําใจ และความเอ้อื อาทร ทรงสง เสริมการศึกษาของเยาวชน โดยพระราชทานพระราชดาํ ริ ใหดําเนินโครงการทุนการศึกษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกมุ าร ขน้ึ เมอื่ ป ๒๕๕๒ ดว ยพระราชปณธิ านทมี่ งุ สรา งความรู สรา งโอกาส แกเ ยาวชนไทยที่มฐี านะยากจน ยากลาํ บาก แตประพฤตดิ ี มีคณุ ธรรม และมี ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย ใหไดรับ การพฒั นาศกั ยภาพ เพอื่ ทจ่ี ะสามารถพง่ึ พาตนเองไดอ ยา งยง่ั ยนื โดยยดึ หลกั ใหมีการกระจายทุนใหครอบคลุมในทุกจังหวัด และไมมีภาระผูกพันในการ ใชทุนคืน ใหไดรับการศึกษาอยางตอเนื่องในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จนสาํ เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี และจนถงึ ขนั้ สงู สดุ ตามความสามารถ ของผรู บั ทุน

96 หลักการทรงงาน ตอมาป ๒๕๕๓ พระราชทานพระราชดําริใหจัดต้ัง มูลนิธิทุน การศกึ ษาพระราชทานสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร (ม.ท.ศ.) ทรงเปน ประธานกรรมการ และพระราชทานพระบรมราชวโรกาส ใหคณะครู นักเรียน ดีเดนประจําปเขาเฝาฯ รับพระราชทานโลเชิดชูเกียรติ ยังความปลาบปล้ืมปติแกคณะนักเรียนและครูเปนลนพน นับต้ังแตป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๙ มนี กั เรียนทีม่ ีฐานะยากจนไดร ับทนุ พระราชทานไปแลว ๘ รนุ ซ่ึงหนว ยงานตา ง ๆ ที่เกย่ี วขอ งไดร วมกันดําเนินงานสนองพระราชดาํ ริ เชน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย และมูลนิธิฯ ครอบคลุมตั้งแตกระบวนการคัดเลือกคัดสรรนักเรียนทุนในแตละรุน/ป การพัฒนาศักยภาพนักเรียนทุนดานการศึกษา การเรียนรู ทักษะ และ สมรรถนะดา นตา ง ๆ รวมถงึ การเสรมิ สรา งจติ อาสา นอกจากนี้ ไดพ ระราชทาน พระราชทรัพยสวนพระองคสมทบคากอสรางโรงเรียนมัธยมศึกษาท่ีตั้งอยูใน ชนบทหางไกล และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ รับโรงเรียนมัธยมศึกษา ในถนิ่ ทรุ กันดาร ๖ แหง ไวใ นพระบรมราชูปถัมภ ไดแก ๑. โรงเรยี นมัธยมพัชรกติ ิยาภา ๑ จงั หวดั นครพนม ๒. โรงเรียนมธั ยมพัชรกิตยิ าภา ๒ จงั หวัดกาํ แพงเพชร ๓. โรงเรยี นมธั ยมพชั รกิติยาภา ๓ จงั หวัดสรุ าษฎรธานี ๔. โรงเรยี นมธั ยมสิรวิ ัณณวรี ๑ จงั หวัดอุดรธานี ๕. โรงเรยี นมธั ยมสริ วิ ัณณวรี ๒ จังหวดั สงขลา ๖. โรงเรียนมัธยมสริ วิ ณั ณวรี ๓ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

หลักการทรงงาน 97 โดยเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงวางศลิ าฤกษ พระราชทานวสั ดอุ ปุ กรณ การศกึ ษาอนั ทนั สมยั เชน คอมพวิ เตอร วดี ทิ ศั น พระราชทานคาํ แนะนาํ และ ทรงสงเสริมใหโรงเรียนดําเนินโครงการที่เปนประโยชนแกนักเรียน เชน โครงการอาชีพอิสระ ใหเยาวชนใชความรูประกอบอาชีพเลี้ยงตนและ ครอบครัวได ท้ังไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ทรงติดตาม ผลการศกึ ษา และเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปพระราชทานปรญิ ญาบตั รแกบ ณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ตา ง ๆ ทุกป ซึ่งมเี ปน จํานวนมาก

98 หลักการทรงงาน ทรงผนวชในวนั จันทรท ี่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ พทั ธสีมาพระอโุ บสถ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ดานการพระศาสนา ทรงแสดงพระองคเปนพุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เม่ือวันท่ี ๓ มกราคม ๒๕๐๙ กอนเสด็จพระราชดําเนินไปศึกษาท่ีประเทศ อังกฤษ และมีพระราชศรัทธา ทรงผนวชในพระบวรพระพุทธศาสนา เมื่อวันท่ี ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๑ ระหวางทรงผนวช ทรงศึกษา และปฏบิ ัติ พระธรรมวินัยอยางเครงครัด นอกจากน้ัน ไดเสด็จพระราชดําเนิน แทนพระองคไ ปปฏบิ ตั ิพระราชกิจทางศาสนาเปน ประจําเสมอ เชน ทรงเปลย่ี น เคร่ืองทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล

หลกั การทรงงาน 99 ทรงเปลย่ี นเครือ่ งทรงพระพุทธมหามณีรตั นปฏมิ ากรสาํ หรบั ฤดูฝน เมอ่ื วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศล ในวนั สาํ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา เชน วนั มาฆบชู า วนั วสิ าขบชู า วนั อาสาฬหบชู า วันเขาพรรษา การถวายกฐินหลวงตามวัดตาง ๆ และพระราชทานทรัพย สว นพระองค เพอ่ื ประโยชนท างการศาสนาอกี มาก ทง้ั ยงั เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงเปดงานเมาลิดกลางของศาสนาอิสลาม และรวมกิจกรรมสงเสริม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ-ฮินดู และศาสนาซิกข เปน ตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook