Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (1)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (1)

Published by Guset User, 2021-10-27 04:09:55

Description: ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (1)

Search

Read the Text Version

จัดทำโดย นาย วรวิช วันควร นาย พงศกร คำสุวรรณ์ นางสาว ธนพร เพ็ชรบุญมี 63031030132 63030130134 63031030135 นาย พีรศิษฎ์ ใบเงิน นางสาว อัญชิสา ศรีใจวงค์ นาย สิรวิชญ์ สมใจ 63031030136 63031030150 63031030139

ความหมาย ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เกิดจากความเชื่อที่ว่าผู้ เรียนจะเรียนรู้ได้ดีจากการได้รับข้อมูลเนื้ อหาจากผู้ สอนหรือที่เราเรียกว่าสิ่งเร้าเมื่อผู้เรียนได้รับสิ่งเร้าก็จะ มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้นผู้สอนจะต้องมีการให้ผล ป้ อนกลับและการเสริมแรง

“ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม” (Learning Theory : Behaviorism) นักคิด นักจิตวิทยาในกลุ่มพฤติกรรมนิยม มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่ดีไม่เลว (neutral-passive) การกระทำ พต่าฤงติๆกเกริรด มจขากองอิทมธนิุพษยล์เขกอิดงจสิา่งกแกวาดรลต้ออมบภสานยอนงอตก่อ สิ่งเร้า (stimulus-response) การเรียนรู้เกิดจาก การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสำคัญกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่ สังเกตเห็นได้ สามารถวัดและทดสอบได้

ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ประกอบด้วย แนวคิดสำคัญ 3 แนวคิดดังต่อไปนี้ 1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory) 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)

ทฤษฎีการเชื่อม ทฤษฎีของธอร์นไดค์เรียกว่า โยงของธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่ อมโยง (Thorndike’s (Connectionism Theory) Connectionism ทฤษฎีนี้กล่าวถึงการเชื่ อมโยง ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus - S) กับ Theory) การตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบื้องต้นว่า “การเรียนรู้ เกิดจากการเชื่ อมโยงระหว่างสิ่ ง เร้ากับการตอบสนอง โดยที่การ ตอบสนองมักจะออกมาเป็นรูป แบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ

ทฤษฎีการเชื่อม 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การ โยงของธอร์นไดค์ เรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทาง (Thorndike’s ร่างกายและจิตใจ Connectionism 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัด หรือกระทำบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจจะทำให้การ Theory) เรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่ได้กระทำซ้ำบ่อย ๆ การ เรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจลืมได้ 3. กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse) การ เรียนรู้เกิดจากการเชื่ อมโยงระหว่างสิ่ งเร้ากับการ ตอบสนอง ความมั่งคงของการเรียนรู้จะเกิดขึ้น 4. กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคล ได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้า ได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้นการ ได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการเรียน รู้

ทฤษฎีการวาง 1. พฤติกรรมเรสปอนเด้นท์ เงื่อนไข (Respondent behavioral) เป็น (Conditioning พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดย สิ่งเร้า เมื่อมีสิ่ง เร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น Theory) 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Conditioning Theory) ขอ งกัทธรี (Guthrie) 3. พฤติกรรมโอเปอแรนท์ (Operant behavioral) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือ สัตว์แสดงพฤติกรรมการตอบสนองออก มา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าที่ แน่นอน

ทฤษฎีการเรียนรู้ของ 1. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการ ฮัลล์ วางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทาง (Hull’s Systematic ธรรมชาติ Behavior Theory) 2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิด ขึ้นได้จากสิ่ งเร้าที่เชื่ อมโยงกับสิ่ งเร้าตามธรรมชาติ 3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิ่ง เร้าที่เชื่ อมโยงกับสิ่ งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงเรื่อย ๆ และหยุดลงในที่สุด 4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สิ่งเร้าที่เชื่อม โยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อ ไม่ได้รับการตอบสนอง 5. มนุษย์มีแนวโน้มที่จะจำแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้ แตกต่างกันและเลือกตอบสนองได้ถูกต้องย

ตัวอย่าง เช่นแนวคิดของ พาร์พลอฟ ( Pavlov ) เมื่อผู้เรียนมีการตอบสนองที่ถูกต้องก็จะได้รับผลตอบกลับ เชิงบวกและอาจมีการเสริมแรงด้วยคำชมหรือการได้รางวัล เเละหากเป็นการตอบสนองที่ไม่ถูกต้องก็จะ ได้รับผลการตอบกลับทางลบพร้อมทั้งอาจมีการเสริมแรงด้วยการลงโทษเป็นต้น พาร์พลอฟ ( Pavlov )

การเรียนรู้ของกลุ่ม พฤติกรรม ว่าด้วยการได้ลงมือปฏิบัติซ้ำ ๆ ในการทำกิจกรรม หรือทำแบบฝึ กหัดจะทำให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนอีกทั้ง ยังเชื่อว่าการเรียนรู้เป็ นเรื่องที่ทำให้เกิดขึ้นได้เมื่อผู้เรียน เกิดการเรียนรู้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ผู้สอน สามารถสังเกตเห็นได้ และไม่มองในเรื่องกระบวนการ ภายในที่เกิดขึ้ นในตัวของผู้เรียน

การประยุกย์ใช้ทฤษฏี พฤติกรรมนิยม ผู้สอน นักเรียนสามารถเล่นกับเพื่อนได้ทันทีที่ทำการบ้านเสร็จ นักเรียนที่ทำการบ้านของสัปดาห์นี้เสร็จ จะไม่ต้องสอบในวันศุกร์นี้ นักเรียนที่มาสายจะถูกยืนหน้าห้องเป็นเวลา 10 นาที

ความหมายการเสริมแรง การเสริมแรง หมายถึง การทำให้ผู้ทำพฤติกรรมเกิด ความพึงพอใจ เมื่อทำพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งแล้ว เพื่อให้ทำพฤติกรรมนั้นซ้ำ ๆ การเสริมแรงมี 2 ประเภท คือ 1.การเสริมแรงบวก 2.การเสริมแรงลบ

ความหมายการเสริมแรง สกินเนอร์ (Skinner) กล่าวว่า \"การเสริมแรง จะ เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมซ้ำ และพฤติกรรมของบุคคลส่วนใหญ่ จะเป็น พฤติกรรมการเรียนรู้แบบปฏิบัติ (Operant Learning) และพยายามเน้นว่า การตอบสนองต่อ สิ่งเร้าใดๆ ของบุคคล สิ่งเร้านั้นจะต้องมีสิ่งเสริม แรงอยู่ในตัว หากลดสิ่งเสริมแรงลงเมื่อใด การ ตอบสนองจะลดลงเมื่อนั้น\"

การเสริมแรง 1.การให้การเสริมแรงทุกครั้ง (Continuous Reinforcement) เป็นการให้การเสริมแรง ทุกครั้งที่ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ 2.การให้การเสริมแรงเป็นครั้งคราว (Partial Reinforcement) เป็นการให้การเสริมแรง เป็นครั้งคราว โดยไม่ให้ทุกครั้งที่ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ทฤษฏีการวางเงื่ อนไขของสกินเนอร์(Skinner)

ตัวอย่าง ครูมีการเสริมแรงให้กับผู้เรียน ตัวอย่างที่ดีเมื่ออยู่ในชั้ นเรียน 1.การให้ลูกอมเป็นรางวัล 2. ได้รับคำชมจากคุณครูและเสียงปรบมือในชั้น เรียน 3.ได้ค ะแนนเพิ่มสำหรับการมีส่วนร่วมใน กิจกรรม ตัวอย่างที่ไม่ดีในการการปฏิบัติตัวในชั้ นเรียน 1. การลงโทษโดยการคาบไม้บรรทัด 2. ได้รับคำตำหนิ เตือนในข้อผิดผลาดของผู้เรียน 3. ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวแก่นักเรียน(ชี้หน้า ด่าทอ หรือทำให้ผู้เรียนรู้สึกอับอาย)

การนำทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม นิยมไปใช้ในการเรียนการสอน 1. ผู้เรียนไม่มีพื้นฐานความรู้หรือไม่เคยผ่าน ประสบการณ์ที่เกี่ยวกับเนื้อหา วิชาน้ันๆเลยหรือมีแต่น้อยมาก 2. การ เรียนการสอนที่ต้องการให้เกิดผลสาเร็จใน ช่วงระยะเวลาที่ไม่นานนัก เช่น การฝึกอบรม หลักสูตรระยะสั้น ๆ 3. เนื้อหาวิชาพื้นฐานที่สามารถเขียนในรูปแบบ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สามารถวัดหรือสังเกต ได้ อย่างชัดเจน เช่น การบวกลบคูณหาร การ สะกดคำ การเช่ือมต่อสัญญาณไฟฟ้า เป็นต้น

การนำทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม นิยมไปใช้ในการเรียนการสอน 4. การตอบสนองต้องใช้กับทางเลือกที่มีคำตอบ ชัดเจนตายตัวไม่ใช่มีทางเลือกมากมายหรือยืดหยุ่น มากเกินไป เช่น ควรให้ทำข้อสอบแบบเลือกตอบ ถูกผิด มากกว่าแบบบรรยายหรือเขียนตอบ 5. การเรียนการสอนที่เน้นการประเมินผลลัพธ์ สุดท้าย (Summative Evaluation) มากกว่าการ ประเมินระหว่างเรียนหรือกระบวนการ (Formative Evaluation)

แหล่งอ้างอิง https://drsumaibinbai.files.wordpress.com https://www.gotoknow.org/posts https://hongyokyok.wordpress.com https://youtu.be/ipwTdnzz4ZA

Thank you!


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook