Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุ

คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุ

Published by Amy Wangmontree, 2021-07-06 04:43:41

Description: คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุ

Search

Read the Text Version

คำนำ เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ท่ัวโลก และประเทศไทยทวีความรุนแรงเพ่ิม มากข้ึนโดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา อินเดีย และยุโรป รวมถึงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ใน เอเชยี โดยเฉพาะสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เกิดการแพร่ระบาดของโรค ระลอก 2 ขยายวงกว้างมากข้ึน และรวดเร็ว พบว่า มีผู้ติดเช้อื ยืนยันรายใหม่วันละหลายร้อยรายอย่างต่อเนอื่ ง ทั้งน้ีพ้นื ท่ีชายแดนของเมยี นมา มพี ้ืนที่ติดต่อกับประเทศไทยใน 10 จังหวัดพ้ืนท่ีชายแดนชายขอบด้านเมียนมา มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดการ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อาจส่งผลทำให้บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครองเกิดความตระหนกและ วิตกกังวลต่อการแพร่ระบาดของโรคจึงกำหนดให้ถือปฏิบัติตามมาตรการการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ โรคไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเข้มข้นและต่อเน่ือง ดังน้ัน กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับผู้เช่ียวชาญ จากภาคีเครือข่าย เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคโควดิ 19 จึงได้จดั ทำ “คู่มือการเฝา้ ระวังติดตามและแผนเผชญิ เหตุรองรับ การแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 ในสถานศึกษา” ด้วยโรงเรียนสตรีวัดระฆังได้เล็งเห็นถึงความปลอดภัยของสถานศึกษา ด้วยสถานการณ์โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปจั จุบัน เพือ่ เป็นการใช้มาตรการและเฝา้ ระวังสถานการณ์ ทางโรงเรียน จึงได้ถือปฏิบัตแิ ละจัดทำตามคู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 ในสถานศึกษาขนึ้ เพอ่ื ให้บคุ ลากรและผูเ้ กีย่ วขอ้ งจะได้นำไปใชป้ ระกอบและเป็นแนวปฏิบตั ิในการเฝ้าระวัง กำกับติดตาม และการเตรียมพร้อมต่อการเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อาจเกดิ ขึ้นในอยา่ งทันเหตกุ ารณ์ -2-

สารบญั เรื่อง หนา้ แนวปฏิบตั ิแผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา 1 1. การปอ้ งกนั เชอื้ โรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) จากตา่ งประเทศ 1 2. การป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ภายในประเทศ 1 3. การเฝ้าระวงั และการสอบสวนโรค 2 4. การสร้างความร่วมมือจากทกุ ภาคส่วน 2 3 แนวปฏิบัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการเปดิ ภาคเรยี น ใหน้ ักเรยี นมาเรียนในหอ้ งเรียนหรือ On site 100 % 3 แนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกล ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของโรงเรยี นสตรีวัดระฆงั 3 ขอ้ ๑ รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) 5 ขอ้ ๒ บทบาทของครแู ละนักเรียนในช่วงท่ีมีการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ (Online) 5 ขอ้ ๓ การเตรยี มความพร้อมของโรงเรยี น 6 ขอ้ 4 การเตรยี มความพร้อมของนักเรียนและผู้ปกครอง 6 บทบาทหนา้ ที่ของผู้พิทกั ษอ์ นามยั โรงเรยี น 7 แนวทางปฏบิ ตั ิเม่ือพบผู้ป่วยยืนยนั โรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา 8 ภาคผนวก -3-

แผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศไทย มีแนวโน้มคลคี่ ลายเป็นไปในทางท่ีดีข้ึน แต่สถานการณ์ทั่วโลกและประเทศใกล้เคียง ยังมีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ในการเปิดภาคเรียนของ สถานศึกษา ให้มีการเรียนการสอนตามปกติ 100% ดังนั้น จึงควรกำหนดให้มีแผนเผชิญเหตุรองรับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา เพ่ือเป็นการเตรยี มการและเตรียมพรอ้ มรองรับ สถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น อันเป็นแนวปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อยา่ งเครง่ ครัด แนวปฏบิ ตั แิ ผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา แนวปฏิบตั ิแผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา มดี ังน้ี 1. การปอ้ งกนั เชอ้ื โรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) จากต่างประเทศ • มีครตู า่ งประเทศ ต้องรบั การกักกนั ในสถานทที่ ี่รฐั จดั ให้ (State quarantine) เปน็ เวลา 14 วนั • มีนกั เรยี นนักศกึ ษาตา่ งประเทศ/ต่างดา้ วที่พกั อาศยั อยู่ในประเทศไทย ให้จัดการเรียนการสอน ตามปกติ สำหรบั นักเรียนนกั ศึกษาท่ีไมไ่ ดพ้ กั อาศยั อยู่ในประเทศไทยเม่อื เข้าประเทศไทย ต้องรับ การกักกัน ในสถานท่ีทร่ี ฐั จัดให้ (State quarantine/Local quarantine) เปน็ เวลา 14 วัน ข้อเสนอการพจิ ารณาสิทธปิ ระโยชนส์ ำหรบั นักเรยี นรหัส G • การได้รบั สทิ ธิประกันสังคมหรอื ประกนั สุขภาพ • การใช้กองทุนของ ศธ. เพ่ือซ้อื ประกันสขุ ภาพให้นกั เรยี นรหัส G • การใช้ระบบการศกึ ษาทางไกลแทน การเขา้ มาศกึ ษาในประเทศไทย • ดา่ นชายแดนทางเข้า และ Organizational Quarantine • ประกันภัยโควิด 19 ระยะเวลา 1 ปี 2. การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ภายในประเทศ • มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 • พฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 • เปดิ ศนู ย์รบั ฟงั ความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การจัดการศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ โรคโควดิ 19 • จดั ทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 • จัดทำแพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ ชุดโปรแกรม และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจร • จดั ทำแนวทางการบริหารจัดการสำหรับโรงเรียนเพอ่ื ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาด ของโรคโควิด 19 • แผนการเตรียมการรองรบั นักเรยี นจากต่างประเทศ ท่กี ลับเข้ามาเรียนในประเทศไทย -4-

ของสถานศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 • แนวทางรบั มือตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน กรณีการระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา 3. การเฝา้ ระวังและการสอบสวนโรค • คัดกรองนักเรียน ผูบ้ ริหาร ครู บุคลากร และผ้เู ก่ยี วข้อง มีการสวมหนา้ กาก การล้างมอื การเว้นระยะห่าง การทำความสะอาด (ห้องเรยี น ห้องปฏิบตั ิการ โรงฝกึ งาน อาคารเรียน โรงอาหาร โรงนอน พ้นื ทส่ี ว่ นกลาง) และลดความแออัด • มีแนวปฏบิ ตั ิสำหรับผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษาในการดำเนินการเก่ียวกบั โรคโควิด 19 เชน่ จดั ทำแนวทางการบริหารจดั การสำหรบั โรงเรียนเพ่ือป้องกันและ ควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 มาตรการคดั กรองสุขภาพดา้ นสาธารณสขุ การดำเนนิ การเมอื่ มกี ลุ่มเสย่ี งหรอื ผ้ปู ว่ ยยืนยันในสถานศึกษา • การปิดสถานศึกษาทเ่ี กิดการระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศึกษา • รายงานการประเมินสถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ปัญหาอปุ สรรค และใหข้ อ้ เสนอแนะ แกห่ น่วยงาน ตน้ สังกดั และคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดบั จังหวดั เพื่อการตดั สินใจ 4. การสรา้ งความร่วมมอื จากทุกภาคสว่ น • มศี นู ยป์ ระสานงานและตดิ ตามข้อมูลระหวา่ งสถานศกึ ษาและหน่วยงานตา่ ง ๆ • สถานศกึ ษาจบั ค่โู รงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลในความร่วมมือ ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 • สถานศกึ ษาแตง่ ตัง้ คณะกรรมการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบด้วย เจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ เจ้าหนา้ ทอี่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ฝา่ ยปกครอง คณะกรรมการ สถานศกึ ษา -5-

แนวปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการเปิดภาคเรยี นให้นักเรยี นมาเรียนในห้องเรียนหรือ On site 100 % มีดงั น้ี 1. ให้มกี ารจดั การเรียนการสอนได้ปกติ On site 2. การจัดหอ้ งเรียนสามารถจัดได้ตามจำนวนนกั เรียนปกติ โดยจดั ระยะหา่ งใหม้ ากทสี่ ุดเท่าทจี่ ะทำได้ 3. กรณีห้องเรยี นเปน็ ห้องแอร์ ให้เปดิ ประตู หนา้ ตา่ งชว่ งพกั เที่ยง หรอื ชว่ งทไี่ ม่มกี ารเรยี น การสอนในหอ้ งนั้น 4. มาตรการเสรมิ ตอ้ งเข้มขน้ ดังนี้ - การคดั กรอง แยกผปู้ ่วย ส่งรกั ษา - การสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ลดการจบั กลุม่ พดู คุยกนั โดยไมจ่ ำเปน็ - ลดกิจกรรมร่วมกนั หลายหอ้ ง - กรณี มกี ารเดนิ เรียนใหท้ ำความสะอาดพนื้ ผวิ โต๊ะ เกา้ อี้ หรืออุปกรณท์ ่ใี ชร้ ่วมกัน หลงั จบการเรยี นการสอนทุกคาบ - ทกุ ห้องเรียน ใหท้ ำความสะอาดพืน้ ผิวโตะ๊ เกา้ อี้ หรืออปุ กรณท์ ่ีใชร้ ่วมกันทกุ สองชัว่ โมง 5. ใหม้ ีการบันทึกการปว่ ยดว้ ยโรคทางเดินหายใจ การสง่ ตอ่ ตรวจหาโควิด 19 และสรุปผลการตรวจ ทุกสัปดาหส์ ง่ ตน้ สังกดั กรณีมีเดก็ ป่วยหรอื ขาดเรยี นมากกว่าปกตใิ หป้ ระสานสำนกั งานสาธารณสุข อำเภอ หรอื จังหวดั ในพ้ืนที่ 6. ให้มกี ารดำเนนิ การผ่อนคลายมาตรการ กำกับโดยคณะกรรมการสถานศึกษาและหนว่ ยงาน สาธารณสุขในพื้นท่ี 7. การปรับมาตรการใหพ้ ิจารณาตามสถานการณ์การระบาดและขอ้ มูลทีม่ ีอยู่ในขณะนนั้ เปน็ ระยะ ๆ 8. มาตรการระยะห่างปลอดภยั - จดั โต๊ะเรียน โตะ๊ รบั ประทานอาหารกลางวนั และโต๊ะทำงานครู ใหม้ ีระยะหา่ ง 1 เมตร - ทำสญั ลกั ษณ์เพอ่ื เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล เช่น จดุ ตรวจวัดไข้ กอ่ นเขา้ โรงเรยี น แถวรับ อาหารกลางวนั จุดล้างมือ เป็นตน้ - เหล่ือมเวลาพกั รับประทานอาหารกลางวัน 9. จัดทำประวตั ินักเรียนและครอบครัวเกี่ยวกับสขุ ภาพ ความเป็นอยใู่ น ครอบครัว ความเจ็บป่วย โรค ประจำตัวและการมีโอกาสสมั ผัสผ้ตู ดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หรือโควิด-19 หรอื โรคติดต่ออนื่ ๆ หรือไปอยู่ ในพ้นื ท่เี สีย่ งมาก่อนวันเปิดเรยี น 10. คัดกรองเด็กนกั เรยี นบรเิ วณทางเข้าโรงเรียน ด้วยการดจู ากอาการ เบ้ืองต้นหรือใชเ้ ครอ่ื งวัด อณุ หภูมิร่างกาย พรอ้ มทำสญั ลกั ษณ์นกั เรียนทผ่ี า่ นการคดั กรอง เช่น ตดิ สตกิ เกอร์ ตราปมั๊ หรืออ่ืน ๆ ตาม ความเหมาะสม 11. หากพบว่ามเี ดก็ ปว่ ย หรอื มีไข้ ไอ จาม มนี ้ำมูก หายใจเหน่ือย หอบ ใหผ้ ูป้ กครองพาไปพบแพทย์ 12. จดั เตรียมอุปกรณ์ลา้ งมอื เชน่ เจลแอลกอฮอล์ไวบ้ รเิ วณทางเข้า สถานท่ลี ้างมอื ด้วยสบ่แู ละนำ้ ให้ อยใู่ นสภาพใช้งานได้ดี -6-

แนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของโรงเรียนสตรีวัดระฆงั ข้อ ๑ รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โรงเรียนสตรีวัดระฆงั ไดจ้ ดั การเรียนการสอนตามรูปแบบและแนวทางการบรหิ ารการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ และการประชมุ คณะกรรมการบริหาร โรงเรยี น หวั หน้าระดับช้นั โรงเรยี นสตรวี ัดระฆัง โดยได้วางแนวทางไว้ ดังน้ี ๑. การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ (Online) โรงเรียนมอบหมายใหค้ รจู ดั การเรียนการสอน ออนไลนด์ ว้ ยเคร่อื งมอื เทคโนโลยีโดยตรงจากครูผู้สอนประจำวิชา โดยใช้ Google Classroom เป็นช่องทาง หลกั โดยใชต้ ารางเรยี นคาบละ 50 นาที (กรณีเรียนออนไลน)์ ของโรงเรียน ๑.๑ รปู แบบการเรียนผ่านระบบออนไลน์ การจัดการเรยี นการสอนผา่ นระบบออนไลน์ จดั การเรียนการสอนโดยครผู ้สู อนบนั ทึกไฟล์วิดโี อการ สอน ภาพและเสียงไวล้ ว่ งหนา้ มอบหมายงาน ตอบคำถาม โดยใช้ Google Classroom สำหรบั วนั ท่ีมกี าร เรยี นการสอนเพม่ิ เตมิ ตามตาราง ครูผ้สู อนพบกับนกั เรยี นติดต่อสือ่ สารกบั นักเรยี น เช่น โดยใช้ Google Meet และ Zoom ทงั้ นี้ ในรายวชิ าทีม่ ภี าคปฏิบัติ ให้ครูผู้สอนปรับรูปแบบการเรยี นการสอน หรอื เลอื กสาระที่เหมาะกับ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ และลดหรอื หลีกเลีย่ งกจิ กรรมทีม่ คี วามเส่ยี งต่อการแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในกรณีท่ีนักเรียนไม่สามารถเข้าเรียนผ่านระบบออนไลน์ได้ ให้ครูผู้สอนกำหนดภาระงาน และ มอบหมายใหน้ กั เรยี นส่งในวันและเวลาท่ีครูผู้สอนตกลงกบั นักเรียน ๑.๒ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใชใ้ นการเรยี นออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนสตรีวัดระฆัง ใช้ได้กับอุปกรณ์ โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน (Smartphone) แทบเล็ต (Tablet) คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook) และ คอมพวิ เตอร์ตงั้ โตะ๊ โดยใช้โปรแกรม ดังน้ี 1.2.1 Google Classroom ใช้ในการศึกษาบทเรียนระหว่างครูและนักเรียนใน กิจกรรมตอ่ ไปน้ี - ส่งเอกสารประกอบการเรียน ใบความรู้ ใบงาน ตอบข้อซักถามจากครูถึง นกั เรยี น - ส่งชน้ิ งาน ใบงาน เขยี นถามข้อสงสยั หลังการเรียน - ส่ง Link ที่ใช้สำหรบั การสอนผ่าน Zoom หรอื Google Meet ตามคาบใน ตารางสอนทีม่ ีการนดั หมายกับผู้เรียนเพอ่ื การนเิ ทศการสอน/เข้าเย่ียมชั้นเรยี น -7-

1.2.2 ใช้โปรแกรม Zoom และ Google Meet ในการแน ะนำบทเรียน องคค์ วามร้เู พิม่ เตมิ และรบั ทราบปญั หาอุปสรรคต่างๆ - จดั การเรียนการสอนตามตารางเรยี น/สอน โดยครูเป็นผ้สู อน ประกอบสื่อ การเรียนการสอนประเภทต่างๆ - นกั เรยี นเขา้ เรียนตามตารางเรียน พิมพข์ ้อสงสยั ขณะเรียน - ครูที่ปรึกษาเข้า Homeroom เพื่อติดตาม/แนะนำ/รับทราบปัญหา อปุ สรรคตา่ งๆ ๑.๓ ตารางเวลาเรยี น(กรณีเรยี นออนไลน์) คาบละ 50 นาที คาบ เวลา Home room 08.00 – 08.20 น. 08.20 - 09.10 น. คาบ 1 09.20 – 10.10 น. คาบ 2 10.20 – 11.10 น. คาบ 3 11.20 – 12.10 น. คาบ 4 12.20 – 13.10 น. คาบ 5 13.20 – 14.10 น. คาบ 6 14.20 – 15.10 น. คาบ 7 15.20 – 16.10 น. คาบ 8 16.20 – 17.10 น. คาบ 9 หมายเหตุ 1. Home room ตัง้ แตเ่ วลา 08.00 – 08.20 น. โดยครูท่ีปรึกษา Home room นักเรียน ผ่านระบบออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม Google Meet หรอื โปรแกรม Zoom 2. ในช่วงเปลี่ยนคาบเรียน ใหน้ กั เรยี นเตรยี มความพร้อมในการเขา้ เรียนตามเวลา 3. เร่มิ ใชต้ ารางเรียนกรณเี รียนออนไลน์ ต้งั แตว่ ันท่ี 4 มกราคม พ.ศ.2563 เป็นต้นไป (จนกว่าจะมีการเปลีย่ นแปลง และแจ้งให้ทราบอกี ครั้ง) ๑.๔ ระบบการลงทะเบยี นเขา้ เรียนในแต่ละรายวิชาตามตารางเรียน นกั เรียนจะต้องลงทะเบียนทกุ ครั้งทเ่ี ข้าเรียนแต่ละรายวิชาตามตารางเรียน โดยผ่าน เว็บไซต์โรงเรียนสตรีวดั ระฆัง www.sr.ac.th และห้องเรยี นออนไลน์ Digital Education Learning Center ผา่ นเว็บไซต์ https://sites.google.com/sr.ac.th/srteacheronline/ ๑.๕ ระบบการทดสอบเกบ็ คะแนนก่อนเรียนและหลงั เรยี น นกั เรยี นจะต้องทำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนหรือภาระงานตามท่คี รูผสู้ อน มอบหมายผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ใี ช้ในการเรยี นออนไลน์ท่คี รผู ู้สอนกำหนด -8-

ขอ้ ๒ บทบาทของครูและนกั เรยี นในช่วงทม่ี ีการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ (Online) บทบาทของนักเรียน - เขา้ เรียนตามตารางเวลาเรยี น (กรณีเรยี นออนไลน์) คาบละ 50 นาที บทบาทของครู - เขา้ สอนนกั เรียนตามตารางเวลาเรยี น(กรณีเรยี นออนไลน)์ คาบละ 50 นาที - มอบหมายภาระงาน/ชน้ิ งานท่ีมคี วามเหมาะสม ยดื หยุ่น เข้ากบั สถานการณ์ - ประสานกับนักเรียนและผู้ปกครองเพ่ือให้การจัดการเรียนการ สอนออนไลน์ (Online) เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ข้อ ๓ การเตรียมความพร้อมของโรงเรยี น ๓.๑ โรงเรียนดำเนินการสำรวจความพร้อมของนักเรียนในด้านอุปกรณ์ และสัญญาณอินเทอร์เน็ต โดยนักเรียนแจง้ ผ่านทางคณุ ครูทป่ี รกึ ษา ผ่านทาง Line และ Google form ๓.๒ โรงเรยี นไดจ้ ัดเตรียมห้องสอนออนไลนพ์ ร้อมระบบ/อุปกรณ์ และเจ้าหนา้ ท่ไี ว้บริการครผู ู้สอนใน การจัดการเรียนการสอน จำนวน ๑ ห้อง ครูผู้สอนสามารถติดต่อประสานขอรับบริการไดท้ ี่ศูนย์คอมพิวเตอร์ สมเด็จโต โรงเรยี นสตรวี ดั ระฆงั ขอ้ ๔ การเตรียมความพรอ้ มของนกั เรยี นและผปู้ กครอง ๔.๑ ผู้ปกครองให้ข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์ เคร่ืองมือติดต่อสื่อสาร และอ่ืนๆ โดยประสานกับครูที่ ปรึกษา หรือครผู ู้สอน เพื่อโรงเรียนจะนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนดำเนินงาน และแก้ปญั หานักเรยี นท่ีไม่มี สัญญาณอนิ เทอร์เนต็ และอปุ กรณ์ในการเรยี นระบบออนไลน์ ๔.๒ ติดตามข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนผ่านเว็บไซต์ www.sr.ac.th และ facebook page งาน ประชาสมั พันธ์ โรงเรียนสตรวี ัดระฆงั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๔.๓ นักเรียน ผู้ปกครอง และครู ศึกษาทำความเข้าใจเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ี วิธีการ และ รายละเอยี ดอืน่ ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ตนเองในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ๔.๔ ผู้ปกครองกำกับดูแลให้นักเรียนในปกครองของท่านเข้าเรียนออนไลน์ ตามตารางเรียน ซึ่ง ระหว่างการเรยี นการสอนแต่ละรายวิชา ผู้ปกครองสามารถร่วมรับชม ดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนตามบริบทของ รายวิชานนั้ ๆ ได้ -9-

ผพู้ ิทกั ษ์อนามยั โรงเรียน การเปดิ ภาคเรียนของสถานศึกษา ในสภาวะท่ียังมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โค โรนา 2019 (โควิด 19) ควรต้องคำนึงถึงความเป็นอยู่ของเด็กและคุณภาพชีวิตของเด็กท้ังด้านโภชนาการ ความปลอดภัย สุขอนามัยส่วนบุคคล สุขภาพกาย สุขภาพจิตและการจดั สภาพแวดล้อมที่เอ้อื ต่อการมีสขุ ภาพ ดีของนักเรียน จึงเห็นควรมีการสร้างผู้พิทักษ์อนามัยโรงเรียนให้ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษาและกำกับติดตาม การปฏิบัติตามมาตรการของสถานศกึ ษาตามนโยบายทางราชการท่ีกำหนด พรอ้ มรายงานให้กับบุคลากรทาง การแพทย์และสาธารณสุขรับทราบ เพ่ือให้วางแผนการช่วยเหลือตามสถานการณ์อย่างทันท่วงทีดังน้ัน จึงกำหนดให้มบี ทบาทหน้าที่ ดงั น้ี บทบาทหน้าท่ขี องผพู้ ิทักษ์อนามัยโรงเรียน 1. เปน็ ผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ (Health Coach) การป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด 19) ในสถานการศึกษาและชุมชน 2. ร่วมทมี ตรวจราชการระดบั จังหวดั และการกำกับ ตดิ ตามประเมินผลการปอ้ งกัน การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (โควดิ 19) ในสถานศึกษา 3. เปน็ ผปู้ ระเมินภายนอกในการเฝา้ ระวังการปฏบิ ัตติ ามค่มู อื การปฏบิ ัติสำหรับสถานศกึ ษา ในการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 โดยส่มุ ประเมนิ สถานศึกษา จำนวน 3 แห่งตอ่ เดอื นตามแบบประเมนิ ตนเองสำหรบั สถานศกึ ษาในการเตรยี มความพร้อมหลังเปิดภาคเรียน และการประเมนิ ตนเองของนกั เรียนในการเตรยี มความพร้อมหลงั เปิดเรยี นในการปอ้ งกนั การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (โควดิ 19) จำนวน 10 คน ต่อโรงเรียนและบันทกึ รายงานแบบออนไลน์ 4. เป็นผู้ประเมินภายนอกในการเฝา้ ระวงั และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 (โควดิ 19) ในชมุ ชน โดยสุ่มประเมนิ จำนวน 3 แห่งต่อเดอื น ตามแบบตรวจประเมิน ผพู้ ิทกั ษ์อนามัยโรงเรยี นเพอื่ การเฝา้ ระวังและปอ้ งกนั การตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ประเภท ตลาด (1 แห่ง ต่อเดอื น)และประเภทรา้ นอาหารหรอื เครื่องดมื่ รถเขน็ หาบเร่ แผงลอย การเฝ้า ระวงั และปอ้ งกนั การตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (2 แห่งต่อเดือน)พร้อมสุ่มประชาชนท่มี ารบั บริการฯ ข้างตน้ ใหป้ ระเมินตนเองในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019 (โควดิ 19) จำนวน 10 คนต่อแห่ง และบันทึกรายงานแบบออนไลน์ แนวทางปฏบิ ัตเิ มอื่ พบผ้ปู ว่ ยยนื ยันโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ใหป้ ิดหอ้ งเรียน/ชัน้ เรียน/สถานศกึ ษา กรณพี บผปู้ ว่ ยยืนยันโรคโควิด 19 1. เม่ือพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 จำนวน 1 รายขึ้นไปให้ปิดห้องเรียน เป็นเวลา 3 วัน เพ่ือทำ ความสะอาด 2. เมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 มากกว่า 1 ห้องเรียนให้ปิดชั้นเรียน เป็นเวลา 3 วัน เพ่ือทำ ความสะอาด -10-

3. หากมีหลักฐานและความจำเป็นต้องปิดสถานศึกษาให้ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ โรคติดต่อจังหวัดไม่ต้องปิด ห้องเรียน/ชั้นเรียน/สถานศึกษา กรณีท่ีไม่พบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 ใน สถานศึกษาโดยมีแนวทางดำเนินการ ดงั นี้ 1. ผสู้ มั ผัสทมี่ ีความเสย่ี งต่อการติดเชอื้ สูง (High risk contact) ในสถานศกึ ษา ดงั นี้ • ผูส้ ัมผัสท่ีมคี วามเส่ียงตอ่ การติดเชอ้ื สงู (High risk contact) ใหส้ งั เกตอาการที่บา้ นเปน็ เวลาอยา่ ง น้อย 14 วัน หากพบอาการผิดปกติ ใหไ้ ปพบแพทยเ์ พอื่ ตรวจวินิจฉยั ระหว่างรอผล ใหก้ กั ตวั ท่บี ้าน • สถานศึกษา ดำเนนิ กจิ กรรมได้ตามปกตแิ ละส่ือสารให้ผทู้ ี่เกีย่ วข้องเข้าใจความเสีย่ งและ แนวทางการดำเนินการในระยะตอ่ ไป 2. ผสู้ มั ผัสท่ีมีความเสี่ยงต่อการติดเชอ้ื ต่ำ (Low risk contact) ใหส้ งั เกตอาการ เปน็ เวลา 14 วัน ไม่ จำเป็นต้องหยุดเรียน และไมจ่ ำเปน็ ต้องปิดสถานศึกษา (รกั ษาตามอาการ หายปว่ ยแล้วเรียนต่อได้) 3. ผ้ใู กล้ชดิ • ผใู้ กล้ชิดกับผู้สมั ผัสเสย่ี งสงู จดั ว่า มคี วามเส่ียงต่ำไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งหยดุ เรียน แต่ให้สังเกตอาการ เป็น เวลา 14 วัน • ผใู้ กล้ชิดกับผู้สัมผัสเสย่ี งต่ำ จดั วา่ ไมม่ คี วามเส่ียงไม่จำเป็นต้องหยดุ เรยี น แตใ่ หส้ งั เกตอาการ เป็น เวลา 14 วนั -11-

ภาคผนวก -12-

คณะผู้บริหารโรงเรยี น ประชมุ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ หวั หนา้ งานฯ เพือ่ เตรียมการเรียนการสอนออนไลน์ -13-

-14-

-15-

-16-

แบบบนั ทึกการตรวจวดั กรองสุขภาพ สำหรับนกั เรยี นบุคลากรหรอื ผู้มาติดตอ่ ใน สถานศึกษา เพอื่ เฝา้ ระวังและปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควติ -19 -17-

การโฮมรูมของครูท่ีปรกึ ษาผ่านระบบแอพลเิ คชน่ั ต่าง ๆ เชน่ Line , Zoom, Meet เปน็ ตน้ -18-

การลงเยยี่ มบ้านนักเรยี นในชว่ งการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ -19-

การลงเยยี่ มบ้านนักเรยี นในชว่ งการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ -20-

ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนด์ ว้ ย Google Classroom -21-

-22-

-23-

-24-

-25-

-26-

-27-

-28-

-29-

-30-

-31-

-32-

-33-

-34-

-35-

-36-

-37-

-38-


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook