แผนนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26 ปงี บประมาณ 2561 เอกสารวชิ าการที่ 2/2560 กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
คานา สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 26 มีควำมมุ่งมั่นท่ีจะพัฒนำสถำนศึกษำทุกแห่งให้มี คณุ ภำพ ได้มำตรฐำน โดยสง่ เสริมให้มกี ำรดำเนนิ กำรในหลำยๆ ด้ำน ที่คำดหวงั ใหเ้ ป็นยทุ ธศำสตร์สำคัญทจ่ี ะ นำไปสู่คุณภำพตำมมำตรฐำนที่กำหนดไว้ จึงจัดให้มีแผนปฏิบัติกำรนิเทศ ติดตำม และประเมินผลกำรจัด กำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2561 ฉบับนี้ข้นึ เพื่อใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื สำหรับปฏิบัติกำรนเิ ทศ ตดิ ตำมและประเมินผล กำรบริหำรจดั กำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำต่อไป ขอขอบคุณ คณะทำงำนและผู้มีส่วนเกีย่ วขอ้ งทุกท่ำน ทด่ี ำเนนิ กำรจดั ทำแผนกำรนิเทศฯฉบับน้ี จนเสร็จสมบรู ณ์ หวงั เป็นอย่ำงยิ่งว่ำ จะมีกำรนำแผนสูก่ ำรปฏบิ ตั ิ เพอื่ คุณภำพกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำและ เขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำ กลุ่มนิเทศ ตดิ ตำม และประเมนิ ผลกำรจดั กำรศึกษำ
สารบัญ หนา้ เร่อื ง 4 4 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญ วัตถปุ ระสงค์ 4 4 เปา้ หมาย 5 5 เชิงปรมิ ำณ 5 5 เชงิ คุณภำพ 6 ขอบเขตของกำรนิเทศ 6 ผ้นู ิเทศ 6 7 เนอ้ื หำกำรนเิ ทศ 8 เครอื่ งมอื นิเทศ ระยะเวลำ 13 กำรดำเนนิ กำร แนวปฏบิ ัตใิ นระดับสำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 26 วิธีดำเนินกำร กจิ กรรมกำรนเิ ทศ ปฏทิ นิ กำรนิเทศ ภำคผนวก เครื่องมือนเิ ทศ
บทที่ 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญ การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการหน่ึงในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดีขึ้น ประกอบกับใน สภาพปัจจุบันโรงเรียนยังมีปัญหาและข้อจากัดในการบริหารจัดการศึกษา หลายประการ จาการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ในปีการศกึ ษา 2559-60 พบว่า การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การใช้ หลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนรู้ การใช้ส่ือ ICT และการนิเทศภายใน ยังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าท่ีควร ซ่ึงจะส่งผลให้สถานศกึ ษาและนักเรียนไมม่ คี ุณภาพ และบรรลุตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อให้เกิดสัมฤทธิผลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 26 มคี วามมุ่งม่ัน ท่จี ะพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัดทุกแหง่ ใหม้ คี ุณภาพ ได้ มาตรฐาน โดยส่งเสริมให้มีการดาเนินการในหลาย ๆ ด้าน ท่ีคาดหวังให้เป็นยุทธศาสตร์สาคัญท่ีจะนาไปสู่ คุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ จึงจัดให้มีการนิเทศการศึกษาเต็มพิกัด ท่ัวถึง ต่อเนื่อง โดยคณะผู้นิเทศใช้ กระบวนการกระตุ้น ย่ัวยุท้าทาย ริเริ่ม ร่วมคิดร่วมทา สนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครู มีการ พัฒนา คุณภาพการศึกษา และคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นไปตามนโยบาย และตรงตามความต้องการท่ีแท้จริงของการพัฒนา โดยผ่านครูและผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา และผมู้ ีส่วนเกย่ี วข้องทุกระดับใหเ้ กิดผลอย่างยง่ั ยนื ตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัด 2. เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของสถานศึกษาในสงั กดั 3. เพอื่ สร้างขวัญกาลังใจแก่ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาในสงั กดั เป้ำหมำย เชิงปรมิ ำณ 1. สถานศกึ ษาในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ปกี ารศึกษา 2560 จานวน 35 โรงเรยี น 2. สหวิทยาเขต จานวน 6 สหวทิ ยาเขต 3. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรในสงั กัด ทุกคน เชิงคณุ ภำพ 1. สถานศกึ ษาทุกแหง่ สามารถบรหิ ารจดั การศึกษา จัดการเรยี นการสอน และการนเิ ทศภายใน ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธผิ ล ตามมาตรฐาน 2. นกั เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐาน และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ขนึ้ 3. ผ้บู ริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากร ในสงั กัด ทุกคน มสี รา้ งขวัญกาลังใจ ในการปฏิบตั งิ าน
ขอบเขตของกำรนิเทศ 1. ผนู้ เิ ทศ ประกอบดว้ ยคณะศึกษานิเทศก์ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26 จานวน 7 คน 2. เนื้อหำกำรนิเทศ 2.1 สภาพความพรอ้ มและบรบิ ทของสถานศึกษา 2.2 กระบวนการจดั การเรยี นรู้เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 2.3 การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 2.4 การดาเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและ สพฐ. 3. เครอื่ งมือนิเทศ การนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ปีการศกึ ษา 2560 สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 26 ใช้เครื่องมอื ในการนเิ ทศ ดังน้ี 3.1 สภาพความพรอ้ มและบริบทของสถานศึกษา 3.2 แบบนิเทศ ติดตามการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั สูตรฯ 3.3 แบบนเิ ทศระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา 3.4 แบบนิเทศ ตดิ ตามการดาเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการและ สพฐ. 4.ระยะเวลำ การดาเนนิ งานการนิเทศ ปีการศึกษา 2560-2561 ในระหว่างเดือนตุลาคม 2560–30 กันยายน 2561 กำรดำเนนิ กำร 1. แนวปฏบิ ตั ิในระดบั สำนกั งำนเขตพ้ืนทกี่ ำรศกึ ษำมัธยมศึกษำ เขต 26 1. ประสานแผนการนิเทศกับสถานศึกษา และปฏิบัตติ ามแผนงานนิเทศการศกึ ษาท่ีกาหนด 2. เกบ็ รวบรวมข้อมูล สรุป และรายงานผลการนเิ ทศการศึกษาให้ผู้เก่ียวข้องทกุ ระดบั ทราบ 2. วิธีดำเนนิ กำร สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 นาแนวทางการดาเนินการนิเทศ ใชว้ งจรคุณภาพ ดงั น้ี 2.1 ขัน้ เตรยี ม (Plan) 1. ประชุมปฏิบัตกิ ารเพ่ือวางแผนการนิเทศในระดบั เขตพ้นื ท่ีโดยมี ผอ.สพม., รอง ผอ.สพม. และศึกษานเิ ทศก์ เข้ารว่ มประชมุ 1 วัน 2. จัดทาคาสง่ั แต่งต้ังคณะทางานจดั ทาแผนปฏิบัติการนเิ ทศ ปงี บประมาณ 2561 3. ประชมุ คณะทางานจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารนเิ ทศการศึกษา และศกึ ษาเอกสาร ทีเ่ ก่ยี วข้อง ตามขอบเขตเนื้อและประเดน็ ทีจ่ ะดาเนนิ การนิเทศ 4. สร้างเคร่ืองมือนิเทศให้สอดคลอ้ ง ครอบคลมุ เน้ือหาตามประเด็นทีจ่ ะนเิ ทศ โดยมีผูเ้ ช่ยี วชาญ ใหค้ าปรึกษา แนะนา ตรวจสอบ และดาเนินแกไ้ ข ให้ถูกต้อง และเที่ยงตรง 5. แจ้งสถานศกึ ษาทุกแห่ง เตรยี มรบั การนิเทศ 6. ประชมุ คณะศึกษานิเทศก์เพือ่ ชี้แจงแนวทางการดาเนินการนิเทศ
2.2 ขนั้ ปฏิบัติกำรนิเทศ (Do) คณะผนู้ เิ ทศ ปฏบิ ัติการนเิ ทศรายสถานศึกษา ตามลาดบั ดงั นี้ 1. ผ้นู ิเทศทกุ คณะพบผอู้ านวยการโรงเรียนหรอื ผ้รู กั ษาราชการแทน แจง้ วัตถุประสงค์ ช้ีแจงขนั้ ตอนการนเิ ทศ และเครอ่ื งมือนิเทศ 2. ดาเนนิ การนเิ ทศตามขอบเขตของเนอ้ื หาการนเิ ทศ และเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยใช้เครอื่ งมือนิเทศทกี่ าหนด 3. ประชมุ สะท้อนผลการนิเทศ แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครู หลงั จากดาเนนิ การ ตามข้ันตอนครบทกุ รายการแลว้ โดยมกี ารสรุปผลด้วยวาจา แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ใหข้ อ้ เสนอแนะ เพื่อนาไป วางแผนพฒั นาต่อไป (โดยใชว้ าระการประชุมฉบับเดียวกนั ) 2.3 ขนั้ ตรวจสอบขอ้ มลู และสรุปกำรนิเทศ (Check) 1. รวบรวมขอ้ มูลที่ได้จากเครื่องมือการนเิ ทศ สรปุ ผลการนเิ ทศระดับสหวิทยาเขต 2. ประชุมเพื่อวิเคราะห์ ประมวลผล และสรุปผลการนิเทศรว่ มกนั 3.สรปุ และจดั ทาเอกสารรายงานผลการนเิ ทศ ระดบั เขตพื้นที่การศึกษา 2.4 ขัน้ ทบทวนและปรับปรุงกำรปฏบิ ตั ิงำน (Act) 1. นาเสนอรายงานผลการนิเทศต่อผู้บังคับบัญชาระดับเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ สถานศึกษา และผมู้ ีมสี ว่ นเกีย่ วข้องทุกระดับ 2. ใช้ผลการนิเทศ เพอ่ื กาหนดแนวทาง วางแผน เตรยี มการนิเทศครั้งต่อไป
บทที่ 2 บริบทของสำนกั งำนเขตพ้นื ท่กี ำรศกึ ษำมธั ยมศึกษำเขต 26 ผลกำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมองค์กร สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำมธั ยมศกึ ษำ เขต 26 จัดประชุมคณะกรรมกำรจัดทำแผนพัฒนำกำรศกึ ษำ สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศกึ ษำ เขต 26 เพื่อวเิ ครำะห์สภำพแวดล้อมขององค์กร (SWOT Analysis) ซง่ึ มปี ระเดน็ สำคญั ที่นำมำกำหนดทศิ ทำงในกำรวำงแผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ดงั น้ี 1. ผลกำรวิเครำะหส์ ภำพแวดลอ้ มภำยใน ด้ำน จดุ แข็ง จดุ ออ่ น 1.โครงสร้ำง (Structure) 1. มีหน่วยงำนภำยในท่ีครอบคลมุ 1. กำรกำหนดทิศทำงขององค์กรและ ภำรกิจ กำหนดบทบำทหน้ำท่ีท่ีชัดเจน กำรสอ่ื สำรนโยบำยรว่ มกันยงั ไม่ มีมำตรฐำนกำรทำงำนทั้งระดับ ชดั เจน สถำนศึกษำและระดบั เขตพ้ืนที่ 2. โรงเรยี นในสงั กัดแต่ละแห่งมีควำม กำรศึกษำ พรอ้ มและมีคณุ ภำพ ท่ีแตกต่ำงกนั 2. มที มี คณะผู้บริหำรทเี่ พียงพอและ 3. องค์คณะบุคคลขำดกำรเช่ือมโยง หลำกหลำยควำมสำมำรถ มวี ิสัยทศั น์ ภำรกิจและบูรณำกำรทำงำน และมงุ่ มั่นในกำรทำงำน ประสำนงำนไปในทิศทำงเดียวกัน 3. มีองค์คณะบคุ คลที่มีประสบกำรณ์ และหลำกหลำยอำชพี มำจำกทุกภำค ส่วน เขำ้ มำมสี ว่ นรว่ มในกำรบริหำรจัด กำรศึกษำ 2.ด้ำนระบบในกำร 1. มีระบบกำรบรหิ ำรงำนแบบกระจำย 1. กำรจดั สรรงบประมำณไม่ ดำเนนิ งำนของหนว่ ยงำน อำนำจ (กำรแบง่ แอเรยี ใหร้ อง ผอ. สอดคล้องกบั ควำมตอ้ งกำร ควำม (System) สพม.รับผดิ ชอบ) จำเป็นและสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ 2. มีควำมพร้อมดำ้ นเทคโนโลยี หลัก สำรสนเทศ ทำให้สำมำรถติดตอ่ 2. กำรติดตอ่ สื่อสำรเพื่อแลกเปลย่ี น ประสำนงำนได้หลำยชอ่ งทำง ข้อมลู เพอื่ พฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำ 3. มหี น่วยงำนตรวจสอบภำยใน และพัฒนำงำนในหน้ำท่ยี ังมไี ม่มำกนัก เพ่ือใหค้ ำแนะนำในกำรใช้จำ่ ย งบประมำณ
ดำ้ น จุดแขง็ จุดออ่ น 4. มหี น่วยนิเทศ ติดตำม ช่วยเหลอื และมีระบบประกันคุณภำพภำยในตำม กฎกระทรวง 3. ด้ำนแบบแผนหรือ 1. ผบู้ ริหำรสว่ นใหญม่ ีภำวะผู้นำ ได้รับ 1.ผูบ้ ริหำรบำงสว่ นยังขำดภำวะผ้นู ำ พฤติกรรมในกำรบริหำร จัดกำร (Style) กำรยอมรับ และมปี ระสบกำรณ์ในกำร และบำงสว่ นขำดแรงจงู ใจในกำร 4. ด้ำนกลยทุ ธ์ของ บรหิ ำรองค์กร บรหิ ำรจัดกำร หนว่ ยงำน (Strategy) 2. กำรบริหำรจัดกำรมีกฎระเบียบ 2.กำรนำมำตรฐำน กฎ ระเบียบส่กู ำร หลักเกณฑ์ วธิ ปี ฏบิ ัติทช่ี ัดเจนและมี ปฏิบตั ยิ งั ไม่ปรำกฏผลเป็นที่พอใจ มำตรฐำนกำกับกำรปฏิบัติงำน เท่ำที่ควร ทัง้ ในระดับสถำนศึกษำและ สพม. 1. สพม.และสถำนศึกษำมกี ลยุทธ์ใน 1. สพม.ยงั ขำดควำมตระหนักในกำร กำรดำเนนิ งำนตำมท่ี สพฐ.กำหนดเปน็ ขับเคลื่อนกำรปฏบิ ัติใหบ้ รรลุกลยุทธท์ ี่ หลกั วำงเอำไว้ 2. สพม.มรี ะบบกำรติดตำมประเมินผล กำรดำเนนิ งำนตำมกลยทุ ธท์ ี่วำงไว้ 5. ดำ้ นบคุ ลำกรหรอื 1. สพม.26 มีบคุ ลำกรเพยี งพอและมี 1. สถำนศกึ ษำมีปัญหำครสู อนไม่ครบ สมำชิกของหน่วยงำน ศกั ยภำพ ชัน้ และสอนไมต่ รงวชิ ำเอก ซ่งึ ส่งผล (Staff) 2. สถำนศกึ ษำในสังกดั มีครเู พียงพอ ตอ่ คุณภำพกำรศกึ ษำโดยตรง ตำมเกณฑท์ ่ี กคศ.กำหนด 6. ดำ้ นทกั ษะควำมรู้ 1. บุคลำกรในสงั กัดมคี วำมสำมำรถ 1. บุคลำกรบำงสว่ นยงั ขำดจติ สำนกึ ควำมสำมำรถของ หนว่ ยงำน (Skill) และมีศักยภำพในกำรเรียนรแู้ ละพร้อม ในกำรใหบ้ ริกำร และทักษะกำร ทจี่ ะไดร้ บั กำรพัฒนำ ทำงำน 2. ครูไดร้ บั กำรพฒั นำอยำ่ งต่อเนือ่ ง 2. ครบู ำงสว่ นยงั ไม่ปรับเปลี่ยน และมศี ักยภำพสงู จนได้รบั วทิ ยฐำนะ พฤติกรรมกำรสอน สูงขนึ้ 3. บุคลำกรทำงกำรศึกษำบำงส่วนยงั ไม่ปรับเปล่ยี นพฤติกรรมกำรทำงำน
ดำ้ น จดุ แข็ง จุดอ่อน 7.ดำ้ นคำ่ นยิ มรว่ มกันของ สพม.26 มคี ่ำนยิ มในกำรทำงำนคือ สมำชกิ ในหน่วยงำน SESAO26 (Secondary Educational (Shared Values) Service Area Office 26) S = Service mind E = Effectiveness S = Smart A = Accountability O = Okay 2 = Two Ways Communication 6 = Six Networks 2. ผลกำรวิเครำะหส์ ภำพแวดล้อมภำยนอก ประเดน็ โอกำส (Opportunities) อปุ สรรค(Threats) ผปู้ กครองสว่ นใหญ่มรี ำยไดน้ ้อย 1. ผ้รู บั บริกำร (Customer) 1. ผู้ปกครองเห็นควำมสำคัญของ กำรศึกษำและพร้อมให้ควำมร่วมมือ 2. ท้องถิน่ และเอกชนมีควำมพรอ้ มและ ศกั ยภำพด้ำนทรัพยำกรมำช่วยในกำร สง่ เสริมสนับสนนุ กำรจัดกำรศึกษำ 2. นโยบำย (Policy) นโยบำยกำรศกึ ษำทุกระดับมีเปำ้ หมำย กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำรเมืองทำให้ เพื่อพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ กำรสร้ำง นโยบำยทำงกำรศึกษำมีกำร 3. กำรเมอื งและกฎหมำย โอกำสทำงกำรศึกษำ กำรพฒั นำครูและ เปล่ยี นแปลงบอ่ ย ทำใหข้ ำดควำม (Political and Legal) กำรพัฒนำสถำนศึกษำ ตอ่ เน่ืองในกำรพฒั นำให้สำเร็จอยำ่ ง ย่ังยนื ปจั จุบันกำรเมืองมีควำมยดื หยุน่ คำนึงถงึ ประชำชนและผ้รู บั บริกำรเปน็ ปญั หำกำรทจุ ริต คอรปั ช่นั ส่งผลตอ่ สำคญั กำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำทัง้ ทำงตรงและทำงอ้อม 4. เศรษฐกิจ (Economic) ไดร้ ับจดั สรรงบประมำณในกำรจัด วกิ ฤตภัยแล้ง สง่ ผลต่อรำยได้ของ กำรศกึ ษำมำกขึ้น ผ้ปู กครองที่จะเป็นคำ่ ใช้จ่ำยสำหรับ กำรศกึ ษำของบตุ รหลำน
ประเด็น โอกำส (Opportunities) อปุ สรรค(Threats) 5. เทคโนโลยี (Technological) นวัตกรรมและเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั เอ้ือ กำรใช้เทคโนโลยที ่ไี ม่เหมำะสม ต่อกำรบรหิ ำรจัดกำรและกำรเรยี นรไู้ ด้ ส่งผลต่อพฤติกรรมของนักเรียนท่ี 6. สังคมและวฒั นธรรม อย่ำงมีคุณภำพ เปน็ อปุ สรรคต่อกำรพัฒนำผ้เู รียน (Social-cultural) 1. ประชำกรวยั เรยี นลดลง ทำให้ 1.ผู้ปกครองบำงส่วนย้ำยถ่ินฐำน สำมำรถลงทุนด้ำนคณุ ภำพกำรศกึ ษำ เพ่อื หำงำนทำ ส่งผลต่อกำรศึกษำ ไดม้ ำกขน้ึ ของเด็ก 2. ครอบครัวเล็กลง สำมำรถสง่ บตุ ร 2.สงั คมบรโิ ภคนยิ ม ส่งผลทำใหเ้ ด็ก หลำนเขำ้ เรียนได้อยำ่ งเต็มท่ี มพี ฤติกรรมที่ไม่เหมำะสม 3. กรอบแนวคิดกำรพัฒนำ 3.1 ดำ้ นหลักสตู รและกระบวนกำรเรยี นรู้ 1) หลกั สูตรแกนกลำงมีกำรปรบั ปรงุ ใหเ้ หมำะสมกับผ้เู รียนดว้ย PLC โดยปรับโครงสร้ำงเวลำให้ เหมำะสม สถำนศกึ ษำทุกแห่งจัดกำรเรยี นรู้แบบ Active Learning ใช้ STEM Education BBL PBl DLTV และมีกำรยกระดับมำตรฐำนภำษำอังกฤษในแต่ละช่วงชัน้ 2) เร่งรัด พฒั นำ สง่ เสริม ผเู้ รียนด้ำนร่ำงกำย สตปิ ัญญำ อำรมณแ์ ละจิตใจ และสงั คมให้ได้รบั กำร พัฒนำอยำ่ งเต็มศักยภำพ เพื่อให้มีควำมพร้อมในกำรเรียนรใู้ นระดบั มธั ยมศึกษำ ซึง่ จะส่งผลต่อกำรพฒั นำ คณุ ภำพกำรศึกษำในระยะยำวอยำ่ งต่อเน่ือง คดั ครองผูเ้ รียนที่มีผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรียนตำ่ มีทักษะและควำมสำมำรถกำรอำ่ น กำรเขยี นและ คิดคำนวณ ทีย่ งั ไม่ดี อันส่งผลตอ่ กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ต้องเรง่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรียน กำรอำ่ น กำรเขียน และกำรคิดคำนวณ โดยกำรพฒั นำสมรรถนะและคุณลักษณะที่พงึ ประสงคต์ ำมหลกั สตู ร มีทักษะในกำรแก้ปัญหำ ทักษะชวี ิต และทกั ษะกำรใช้เทคโนโลยที ่ีเหมำะสมตำมช่วงวยั โดยใชก้ ำรวดั และ ประเมินผลท่หี ลำกหลำยและเหมำะสมตำมศักยภำพเปน็ รำยบุคคล 3) ปลกู ฝงั ผเู้ รยี นด้ำนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่ำนิยมหลกั คนไทย 12 ประกำร รวมทง้ั มีจติ สำนึกใน กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม และหำ่ งไกลยำเสพติด 4) ส่งเสริมใหม้ ีโอกำสเขำ้ ถึงกำรศกึ ษำ รวมทั้งผู้เรยี นที่มคี วำมต้องกำรพิเศษได้รับกำรส่งเสรมิ สนับสนุน และพัฒนำเตม็ ตำมศักยภำพ เชน่ ผูพ้ ิกำร ผดู้ อ้ ยโอกำสและผู้เรียนในพ้ืนท่ีพิเศษ ผเู้ รียนทมี่ คี วำมสำมำรถพเิ ศษ ผเู้ รียนภำยใตก้ ำรจดั กำรศกึ ษำโดยครอบครวั สถำนประกอบกำรและศูนยก์ ำรเรียน ผู้เรยี นที่ตอ้ งกำรควำม คมุ้ ครองและช่วยเหลอื กรณีพิเศษ 3.2 ดำ้ นครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ 1) เรง่ รดั พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้มคี วำมสำมำรถในกำรจดั ประสบกำรณ์และกระบวน เรียนรใู้ ห้มีประสทิ ธภิ ำพ รวมทั้งกำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ สำมำรถประยุกต์ใชร้ ะบบเทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำรที่ทันสมยั สรำ้ งเครอื ขำ่ ยกำรเรียนรู้ กำรมีสว่ นร่วมจำกผู้มีสว่ นเกย่ี วข้อง ครจู ดั กำร เรียนรสู้ ปู่ ระชำคมอำเซียน มีจิตวญิ ญำณของควำมเป็นครู เปน็ ครมู ืออำชพี และยดึ มน่ั ในจรรยำบรรณวชิ ำชพี
2) ผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ สำมำรถบริหำรงำนทุกด้ำนให้มีประสทิ ธภิ ำพและเกิดประสิทธิผล 3) กำรยกย่อง ส่งเสริมขวญั กำลังใจครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำในกำรทำงำนเป็นรำยบคุ คล และมี ผลกำรปฏิบัตงิ ำนเชิงประจกั ษ์ 4) กำรวำงแผนกำรสรรหำ ย้ำย โอน ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำให้สอดคลอ้ งกับควำมต้องกำรของ โรงเรียนและชุมชน 3.3 ด้ำนพฒั นำกำลังคนและงำนวจิ ัยที่สอดคล้องกับควำมตอ้ งกำรของประเทศ 1) สร้ำงค่ำนิยมในกำรเรยี นสำยอำชพี เพื่อลดสดั สว่ นกำรเรียนสำยสำมัญ 2) สง่ เสริมให้มีกำรวิจัย ท่ีสำมำรถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ 3.4 ด้ำนกำรทดสอบ กำรประเมนิ กำรประกันคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำ 1) กำรประเมนิ สถำนศกึ ษำและผเู้ รียนต้องมีควำมเหมำะสมและเป็นแบบกัลยำณมิตร 2) ระบบทดสอบเพ่ือกำรประเมนิ ผำ่ น หรอื ซ้ำชนั้ ต้องมีควำมเหมำะสมกบั ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 3 และชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี 6 3.5 ด้ำน ICT เพอ่ื กำรศกึ ษำ 1) พัฒนำระบบ ICT ให้เหมำะสมกับสถำนศึกษำและผเู้ รียน 2) พฒั นำระบบข้อมลู สำรสนเทศใหเ้ ป็นฐำนเดียวกนั ในเรอื่ งขอ้ มูลนกั เรยี น ข้อมูลครแู ละบคุ ลำกร ทำงกำรศกึ ษำ ขอ้ มลู สถำนศึกษำและข้อมูลขำ้ รำชกำรและบุคลำกรอน่ื เพื่อใชร้ ว่ มกนั อย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ 3) พัฒนำ DLTV DLIT ใหเ้ หมำะสมกบั สถำนศึกษำและผูเ้ รยี น 4) จดั เตรียมคอมพวิ เตอร์เพ่ือให้ผเู้ รยี นใชใ้ นกำรเรียนรู้ 3.6 ดำ้ นกำรบรหิ ำรจดั กำร 1) เร่งรดั สง่ เสรมิ สถำนศกึ ษำท่ีไมผ่ ำ่ นกำรประเมนิ รบั รองคณุ ภำพภำยนอกให้ไดร้ บั กำรแก้ไข มรี ะบบประกันคุณภำพภำยในทเี่ ข้มแขง็ ตำมกฎกระทรวงว่ำดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีกำรประกนั คุณภำพ โรงเรียน ขนำดเลก็ ยกระดับกำรบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำอย่ำงมีคุณภำพ มกี ำรบริหำรร่วมกันแบบ cluster อย่ำงมี ประสทิ ธภิ ำพ นิเทศ ติดตำมและประเมินผลอยำ่ งเป็นระบบ สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำและสถำนศึกษำบริหำร จดั กำรอย่ำงมคี ุณภำพ ได้มำตรฐำน มกี ำรบรหิ ำรจดั กำรโดยยดึ หลักธรรมำภบิ ำลและควำมโปร่งใส 2) กำรมีส่วนรว่ มทกุ ภำคส่วนในกำรจัดกำรศกึ ษำ ส่งเสรมิ ใหท้ ุกภำคสว่ นและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียเข้ำมำ มสี ่วนร่วมในกำรจัดกำรศกึ ษำ วสิ ยั ทศั น์ เป็นองค์กรท่ีบริหำรจัดกำรศึกษำอย่ำงมีคุณภำพ ได้มำตรฐำน สู่ควำมเป็นสำกล บนพื้นฐำน ของควำมเปน็ ไทย พันธกิจ (Mission) 1. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหป้ ระชำกรวยั เรียนทกุ คน ได้รับกำรศึกษำอย่ำงทวั่ ถึง และมีคณุ ภำพ 2. ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตำมหลักสูตรและค่ำนิยมหลกั ของ คนไทย 12 ประกำร 3. พฒั นำระบบบรหิ ำรจัดกำรท่เี น้นกำรมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้ำงควำมรบั ผิดชอบตอ่ คุณภำพกำรศึกษำ และบูรณำกำรกำรจดั กำรศกึ ษำ
เปำ้ ประสงค์ (Goal) 1. นักเรียนระดับกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนทกุ คนมีพฒั นำกำรเหมำะสมตำมชว่ งวัยและมีคุณภำพ 2. ประชำกรวัยเรียนทุกคนได้รบั โอกำสในกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำนอยำ่ งทวั่ ถึง มีคุณภำพ และเปน็ ธรรม 3. ครู ผู้บริหำรสถำนศึกษำ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำอื่น มีทักษะที่เหมำะสม และมีวัฒนธรรมกำร ทำงำนทีม่ ุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธ์ิ 4. สำนักงำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำและสถำนศึกษำมีประสทิ ธภิ ำพและเปน็ กลไกขับเคลื่อนกำรศกึ ษำ ขน้ั พน้ื ฐำนสู่คณุ ภำพระดับมำตรฐำนสำกล 5. สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำบูรณำกำรกำรทำงำนเน้นกำรบริหำรแบบมีส่วนร่วม กระจำยอำนำจ และควำมรบั ผิดชอบสู่สถำนศึกษำ ค่ำนิยมร่วม (Shared Values) “SESAO26” (Secondary Educational Service Area Office 26) S = Service mind จิตบรกิ ำร E = Effectiveness ทำงำนมงุ่ ประสทิ ธิผล S = Smart ประพฤติตนเปน็ แบบอยำ่ งท่ดี ี A = Accountability มีควำมรบั ผิดชอบ O = Okay ตอบรบั ขอ้ เสนอแนะ 2 = Two Ways Communication สือ่ สำรสองทำง 6 = Six Networks กำรบรหิ ำรจัดกำรแบบกระจำยอำนำจและร่วมมือเป็น 6 สหวิทยำเขต กลยทุ ธ์ จำกวิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้ำปะสงค์ สำนักงำนเขตพ้ืนทกี่ ำรศกึ ษำมัธยมศึกษำ เขต 26 จึงกำหนด กลยุทธ์ ปงี บประมำณ 2560-2563 จำนวน 4 กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้ 1. กลยทุ ธ์ที่ 1 กำรพัฒนำคุณภำพผเู้ รียนในระดับกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน 2. กลยุทธ์ที่ 2 กำรเพิ่มโอกำสให้ผู้เรยี นเขำ้ ถงึ บริกำรกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน 3. กลยทุ ธ์ที่ 3 กำรพัฒนำคุณภำพครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ 4. กลยุทธท์ ี่ 3 กำรพฒั นำกำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำ วิสยั ทศั น์กลุม่ นเิ ทศ ติดตำม และประเมินผลกำรจกั ดำรศึกษำ เปน็ องคก์ รแหง่ กำรเรยี นรู้ สง่ เสริมสนบั สนุนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศึกษำ ดว้ ยกระบวนกำรนิเทศ แนวใหม่ แบบมีส่วนรว่ ม อยำ่ งเป็นกัลยำณมิตร เพ่อื ยกระดับคุณภำพตำมมำตรฐำน บนควำมเป็นไทย สู่ควำมเปน็ สำกล ภำยในปี 2560 พนั ธกจิ 1. จดั ระบบกำรนิเทศ กำรบริหำรและกำรจดั กำรศึกษำ ในเขตพนื้ ที่กำรศึกษำและสถำนศึกษำ 2. ส่งเสริมให้สถำนศึกษำมีควำมเข้มแข็งในกำรบรหิ ำรจดั กำรหลักสตู ร กำรจัดกระบวนกำรเรยี นรู้ กำรพัฒนำส่ือนวตั กรรมและเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ และกำรพฒั นำกำรวดั และประเมินผลกำรศึกษำ อยำ่ งมีคณุ ภำพ
3. สง่ เสริมให้สถำนศึกษำมรี ะบบประกันคณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำตำมมำตรฐำนกำรศึกษำชำติ 4. เพ่ือพัฒนำระบบกำรนเิ ทศตดิ ตำม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลกำรบรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำ ทง้ั ในระดับสถำนศึกษำและระดับเขตพน้ื ท่ี 5. เพ่ือสง่ เสรมิ กำรศึกษำ วจิ ัย และพฒั นำให้เขตพ้นื ที่กำรศึกษำและสถำนศึกษำมคี ุณภำพได้มำตรฐำน เปำ้ หมำย เชงิ ปรมิ ำณ 1. โรงเรยี นทุกโรงได้รับกำรนิเทศอยำ่ งน้อยภำคเรยี นละ 2 ครั้ง โดยใชเ้ ครอื ข่ำยโรงเรียนและ สหวิทยำเขตเป็นฐำน 2. โรงเรียนทุกโรงร่วมกบั ศึกษำนเิ ทศก์ใชก้ ระบวนกำรวจิ ยั ในกำรแกป้ ัญหำและพัฒนำอย่ำงเป็น รปู ธรรม 3. ศึกษำนเิ ทศก์ทกุ คนได้แลกเปลยี่ นเรยี นรู้กบั ครใู นโรงเรยี นทีร่ ับผิดชอบทุกคน ระดับชั้นเรยี น โรงเรยี น สหวทิ ยำเขต และระดับเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำ 4. ยกระดับคุณภำพกำรศึกษำตำมมำตรฐำนหลักสตู ร (O-NET) สงู ขึ้นโดยเฉลี่ย รอ้ ยละ 3 เชงิ คณุ ภำพ 1. โรงเรยี นมรี ะบบกำรบรหิ ำร กำรจดั คณุ ภำพ กำรนเิ ทศภำยใน ท่มี ีประสิทธิผลและประสทิ ธภิ ำพ 2. ครูไดร้ ับกำรพฒั นำสำมำรถจัดกำรเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญอยำ่ งมคี ุณภำพตำมมำตรฐำน 3. ศึกษำนิเทศก์ได้รับกำรพฒั นำอยำ่ งต่อเนอื่ งสำมำรถปฏิบัตหิ นำ้ ทไี่ ด้อยำ่ งเป็นระบบและมคี ุณภำพ 4. โรงเรียนสำมำรถพัฒนำผู้เรียนใหม้ ีคณุ ลักษณะและสมรรถนะตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำน และมำตรฐำนชำติ ปรชั ญำ ศึกษำนเิ ทศกเ์ ป็นเพอ่ื นคคู่ ดิ พัฒนำผลผลติ สมู่ ำตรฐำน ค่ำนยิ ม เปน็ กลั ยำณมิตร มีจติ บรกิ ำร วิชำกำรเปน็ เลศิ อตั ลกั ษณ์ สภุ ำพ ยิ้มไหว้ ใสใ่ จบริกำร กลยุทธ์กำรนเิ ทศ กลยุทธท์ ี่ 1 ปฏิบตั งิ ำนเนน้ คณุ ภำพโดยหลกั กำรมีสว่ นร่วม (รว่ มวำงแผน–ร่วมปฏบิ ตั ิ– รว่ มประเมิน-ร่วมปรับปรุง-รว่ มรบั ผดิ ชอบ) กลยทุ ธท์ ่ี 2 พฒั นำระบบข้อมูลสำรสนเทศในกำรเผยแพร่ ประชำสมั พนั ธ์ และนำไปใช้พัฒนำ คณุ ภำพกำรศกึ ษำ กลยทุ ธ์ท่ี 3 ใช้กระบวนกำรนเิ ทศแนวใหมแ่ ละใช้เทคนคิ กำรนิเทศอย่ำงหลำกหลำยสอดคล้อง กบั สภำพปญั หำและควำมตอ้ งกำรของผู้เข้ำรับกำรนเิ ทศ กลยทุ ธ์ที่ 4 ส่งเสริมวฒั นธรรมคณุ ภำพในกำรทำงำนเพอ่ื กำ้ วสกู่ ำรเป็นองค์กรแห่งกำรเรียนรู้
บทที่ 3 การนเิ ทศการศึกษาของสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั การนเิ ทศการศกึ ษา ปจั จบุ ันงานในด้านการศึกษาไดเ้ จรญิ ก้าวหน้าไปมาก มีการเปล่ียนแปลงหลาย ๆ ประการเปล่ียนแปลง หลักสตู ร ความรใู้ นสาขาวชิ าการตา่ ง ๆ เพ่ิมขนึ้ แนวความคิดและแนวการเรยี นการสอนใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น ตลอดจนการเปลย่ี นแปลงจุดมุ่งหมายของการศึกษา แต่ยังพบว่า ผูบ้ รหิ าร ครู และผเู้ ก่ยี วข้องบางคน ยังไม่ สามารถปรับเปลย่ี นให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลง ปญั หาดังกล่าวขา้ งต้นสามารถจะแก้ไขไดโ้ ดยอาศยั ผูน้ ิเทศ หรือ ศกึ ษานเิ ทศก์ ซง่ึ มหี นา้ ทน่ี ิเทศการศึกษาให้ครูมีความเจริญงอกงามทางวิชาการ สามารถพง่ึ ตนเองได้ และนา ความร้เู หลา่ นไี้ ปใช้ให้เปน็ ประโยชน์ในการพัฒนาการเรยี นการสอนตามวัตถุประสงค์ทวี่ างไว้ ดังน้นั เร่ืองการ นิเทศการศึกษา จึงเป็นเร่ืองสาคัญทีศ่ ึกษานิเทศกค์ วรจะได้ศกึ ษาและทาความเขา้ ใจในหลกั การ ระบวนการ และวิธีการของการนิเทศการศกึ ษาเพื่อนามาใช้ในการพฒั นาการเรียนการสอนต่อไปเพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจใน เรื่องของการนเิ ทศการศึกษาดีขึ้น จากการศึกษาศาสตร์ทางการนเิ ทศการศกึ ษา จากเอกสารตาราทเ่ี ผยแพร่ตั้งแต่อดตี จนถึงปจั จบุ นั (1952-2005) โดยเฉพาะการใหน้ ิยามหรอื ให้ความหมายการนิเทศ รวมถงึ บทบาทหน้าท่ี และการปฏบิ ัติงาน การนิเทศการศึกษา มีการเปลีย่ นแปลงมาโดยตลอด แตล่ ะชว่ งแต่ละเวลา ปัจจบุ ันเมื่อพูดถงึ คาวา่ นิเทศ (Supervision) หมายรวมถึงการนเิ ทศการศกึ ษาและนิเทศการสอน ซ่งึ มีเปา้ หมายหลักเดียวกนั คอื คุณภาพ การศึกษาและตัวบ่งชค้ี ุณภาพคณุ ภาพท่ีสาคญั คือ คุณภาพของนักเรยี นหรือประสิทธิผลการเรยี นรู้ของนักเรยี น นน่ั เอง ตามความหมายของคาว่า การนิเทศการศึกษา (Educational Supervision) มีความหมายกว้างกวา่ การนิเทศการสอน (Supervision of Instruction หรือ Instructional Supervision) โดยที่การนิเทศการสอน นัน้ มคี วามหมายแคบกวา่ จากคาว่า “การสอน” ซึ่งหมายถงึ การมุ่งเนน้ การพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน โดยตรง การนเิ ทศการสอนจงึ เป็นสว่ นย่อย (Subset) ทีส่ าคัญสว่ นหน่ึงของการนิเทศการศกึ ษา ซึ่งหมายความว่า การนเิ ทศการศึกษาต้องมีการนิเทศการสอนรวมอยู่ดว้ ย จึงจะทาให้เกดิ การปรับปรงุ และพัฒนาในด้านการ จัดการเรยี นการสอนโดยตรงได้ เนอ่ื งจากทั้งการนิเทศการศึกษาและการนิเทศการสอนมีทฤษฎีต่างๆ เป็น พื้นฐาน และแนวทางการปฏิบัติ หลักการ แนวคดิ ทฤษฎตี ่างๆ ท่เี ก่ียวข้องในการนเิ ทศการศึกษาและการนิเทศ การสอน จึงใช้หลกั การ แนวคิดและทฤษฎีเดียวกัน คาวา่ การนิเทศ (Supervision) แปลว่า การใหค้ วามชว่ ยเหลอื แนะนา หรือปรบั ปรงุ ดังน้นั การนเิ ทศ การศกึ ษาก็น่าจะหมายถงึ การใหค้ วามช่วยเหลอื แนะนา หรอื ปรับปรงุ เก่ียวกับการศึกษาโดยเฉพาะในโรงเรยี น สเปียรส์ (Spears) ไดใ้ ห้คาจากัดความไว้วา่ การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการที่จะทาใหเ้ กิดการ ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยการทางานรว่ มกับบคุ คลท่ีเกีย่ วข้องกับการนี้เป็นกระบวนการ กระต้นุ ความเจรญิ ก้าวหนา้ ของครู และมงุ่ หวังทจ่ี ะชว่ ยเหลือครู เพื่อใหค้ รูไดช้ ่วยตนเองได้ กดู (Good) ไดใ้ หค้ วามหมายของการนเิ ทศการศกึ ษาวา่ เป็นความพยายามของผทู้ าหน้าที่นิเทศที่จะ ช่วยในการให้คาแนะนาแก่ครู หรือผ้อู ื่นทท่ี าหน้าท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การศึกษาใหส้ ามารถปรบั ปรุงการสอนของตนให้ดี ข้นึ ช่วยให้เกดิ ความเจรญิ งอกงามในด้านอาชพี ช่วยพฒั นาความสามารถของครู
แฮร์รสิ (Harris) ได้กลา่ วถึงความหมายของการนิเทศการศกึ ษาวา่ หมายถึงสง่ิ ที่บุคลากรในโรงเรยี น กระทาต่อบุคคลหรือสง่ิ หนึ่งส่งิ ใดโดยมีวัตถุประสงค์เพอ่ื จะคงไว้ หรอื เปล่ยี นแปลงปรับปรุงการดาเนนิ การเรียน การสอนใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์และส่งผลสะท้อนไปถงึ การพฒั นานักเรียนด้วย ชาญชยั อาจิณสมาจาร ไดใ้ ห้คาจากดั ความวา่ การนเิ ทศการศึกษา คือกระบวนการสร้างสรรค์ ทีไ่ ม่หยดุ นิง่ ในการให้คาแนะนาและการช้ีชอ่ งทางในลักษณะที่เป็นกนั เองแก่ครแู ละนักเรียน เพ่อื การปรับปรุงตัว เขาเอง และสภาพการเรยี นการสอน เพื่อให้บรรลเุ ป้าหมายทีพ่ งึ ประสงค์ สนั ต์ ธรรมบารงุ ไดใ้ ห้ความหมายว่า การนิเทศการศึกษา หมายถึงการชว่ ยเหลือ การแนะนา การชแี้ จง การบรกิ าร การปรับปรงุ ที่เกย่ี วข้องกับการเรียนการสอน ในการท่ีจะส่งเสริมใหค้ รปู รบั ปรงุ การสอน ให้ดขี น้ึ ผูม้ หี น้าที่นเิ ทศจึงควรจะต้องจดั ดาเนนิ การ เพื่อช่วยเหลือครใู หม้ คี วามสามารถในการปรับปรงุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทาให้ครูก้าวทนั โลกทก่ี าลังเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี และก่อใหเ้ กิดประโยชน์แกผ่ ู้เรียน อยา่ งเตม็ ที่ ซง่ึ การนเิ ทศการศึกษามความจาเป็นดังต่อไปน้ี 1) สภาพสงั คมเปลย่ี นไปทุกขณะ การศึกษาจาเปน็ ต้องเปล่ียนแปลงให้สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลง ของสังคมดว้ ย การนเิ ทศการศกึ ษาจะช่วยทาใหเ้ กิดความเปล่ียนแปลงขึน้ ในองค์การทเ่ี กี่ยวข้องกับการศึกษา 2) ความรูใ้ นสาขาวชิ าต่าง ๆ เพิม่ ขนึ้ โดยไมห่ ยุดยง้ั แม้แนวคดิ ในเรอื่ งการจดั กระบวนการเรยี นรูก้ ็ เกดิ ข้ึนใหม่ตลอดเวลา การนเิ ทศการศกึ ษาจะช่วยทาให้ครูมีความรู้ทันสมยั อยเู่ สมอ 3) การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อใหก้ ารจัดกิจกรรมการเรียนรพู้ ัฒนาข้ึน จาเป็นต้องไดร้ ับ การชีแ้ นะหรือการนิเทศการศึกษาจากผชู้ านาญการโดยเฉพาะ จึงจะทาให้แกไ้ ขปัญหาสาเรจ็ ได้ลุล่วง 4) การศึกษาของประเทศเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ จะต้องมีการควบคมุ ดูแลด้วย ระบบนเิ ทศการศึกษา 5) การศึกษาเปน็ กิจกรรมทีซ่ ับซอ้ น จาเปน็ ท่ีจะต้องมีการนิเทศ เพ่ือเป็นการใหบ้ รกิ ารแก่ครูทีม่ ี ความสามารถต่าง ๆ กนั 6) การนิเทศการศึกษาเป็นงานทีม่ คี วามจาเป็นต่อความเจริญงอกงามของครู แม้วา่ ครจู ะไดร้ บั การ ฝกึ ฝนมาอย่างดแี ล้วก็ตาม แต่ครูกจ็ ะต้องปรบั ปรุงฝึกฝนตนเองอยู่เสมอในขณะท่ีทางานในสถานการณ์จรงิ 7) การนเิ ทศการศึกษา มีความจาเปน็ ตอ่ การช่วยเหลือครใู นการเตรยี มการจดั กจิ กรรม 8) การนิเทศการศึกษามีความจาเปน็ ต่อการทาใหค้ รเู ป็นบุคคลทีท่ ันสมัยอย่เู สมอ เนื่องจากการ เปลย่ี นแปลงทางสังคมท่ีมีอยู่เสมอ จึงอาจสรุปความหมายของการนเิ ทศการศกึ ษา หมายถึง กระบวนการพฒั นาครู เพ่ือให้ครูปรบั ปรงุ และ พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพอ่ื ให้การจดั การศึกษาบรรลุจุดมุง่ หมายทีว่ างไว้ การนิเทศการศกึ ษาจงึ เปน็ กระบวนการในการแนะนาชว่ ยเหลอื ครู ใหส้ ามารถจดั กิจกรรมการเรียนรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ซงึ่ การนิเทศ นน้ั อยู่บนหลกั การของประชาธปิ ไตย ไดแ้ ก่ การเคารพซ่ึงกันระหวา่ งผูน้ ิเทศและผรู้ ับการนิเทศ โดยใหค้ รมู ี โอกาสคน้ ควา้ งานทจ่ี ะต้องทาดว้ ยตนเอง เพ่ือให้เกิดความงอกงามข้นึ เมื่อได้เรยี นรแู้ ละมีความเจริญงอกงาม แลว้ ยอ่ มจะได้รู้จักปรับปรงุ งานดา้ นการเรียนการสอนให้ไดผ้ ลดมี ีประสิทธภิ าพย่งิ ขนึ้ 2. ความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา สงดั อทุ รานนั ท์ (2530) ได้กล่าวถึงจดุ มุ่งหมายของการนเิ ทศการศึกษาวา่ มีจุดมุ่งหมายที่สาคัญ 4 ประการ ดังน้ี 1) เพอ่ื พฒั นาคน 2) เพื่อพัฒนางาน 3) เพือ่ สรา้ งการประสานสัมพันธ์ 4) เพื่อสร้างขวญั
และกาลงั ใจ การนิเทศการศึกษาเพื่อพฒั นาคน หมายถงึ การนิเทศการศึกษาเปน็ กระบวนการทารว่ มกนั กบั ครู และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือให้ครแู ละบุคลากรไดเ้ ปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางท่ีดขี ้ึน การนิเทศการศึกษาเพ่ือพัฒนางาน หมายถงึ การนเิ ทศการศึกษา มเี ปา้ หมายสงู สดุ อย่ทู ่ีผ้เู รยี นซึง่ เป็น ผลผลิตจากการจดั กระบวนการเรียนรขู้ องครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา โดยเหตุน้ีการนเิ ทศทจ่ี ดั ขึ้นจึงมี จุดหมายที่จะพฒั นางาน คือการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทด่ี ขี ึน้ การนเิ ทศการศึกษาเพ่ือสรา้ งการประสานสัมพนั ธ์ หมายถึง การนเิ ทศการศึกษา เป็นการสรา้ งการ ประสานสมั พนั ธ์ ระหว่างผ้นู เิ ทศและผรู้ ับการนิเทศ ซึ่งเปน็ ผลมาจากการทางานรว่ มกนั รบั ผดิ ชอบร่วมกันมีการ แลกเปล่ยี นเรยี นรูซ้ ง่ึ กันและกัน ซง่ึ ไม่ใชเ่ ป็นการทางานภายใต้การถูกบงั คับและคอยตรวจตราหรือคอยจบั ผิด การนเิ ทศการศึกษาเพ่ือสร้างขวญั และกาลงั ใจ หมายถึง การจัดกจิ กรรมการนิเทศทีม่ งุ่ ให้กาลงั ใจแกค่ รู และบุคลากรทางการศึกษา ซงึ่ ถือวา่ เปน็ จดุ มงุ่ หมายทสี่ าคัญอกี ประการหน่ึงของการนิเทศ เนื่องจากขวญั และ กาลงั ใจเป็นสิง่ สาคัญทจ่ี ะทาใหบ้ ุคคลมีความตงั้ ใจทางาน หากนิเทศไม่ได้สร้างกาลงั ใจแก่ผู้ปฏิบัตงิ านแลว้ การ นเิ ทศการศึกษาก็ย่อมประสบผลสาเร็จได้ยาก หากนาความหมายของการนเิ ทศ หลกั การนเิ ทศดัง้ เดิมมาผสมผสานกับแนวคิดการประกันคุณภาพ การศกึ ษาแนวคิดทีเ่ กีย่ วกับหลักสูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน แนวคิดว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี ครู และระดบั คณุ ภาพ ครูผบู้ รหิ าร (NTQ/EMQ) หลกั การนิเทศใน ยุคใหม่ที่ควรจะเป็นก็คือ 1. การนเิ ทศการศึกษา จะต้องเคารพความแตกตา่ งระหว่างบุคคลเป็นความร่วมมือรว่ มใจ ในการดาเนินงาน ใช้ความรู้ ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน เพือ่ ให้งานน้ันไปสู่เปา้ หมายที่ต้องการ 2. การนเิ ทศการศึกษา มุ่งให้ครรู ูจ้ ักวิธีคดิ คน้ การทางานดว้ ยตนเอง มีความสามารถ ในการ นาตนเอง และสามารถ ตดั สนิ ปญั หาของตนเองได้ 3. การนิเทศการศึกษา ควรเปน็ การแสวงหาความสามารถพิเศษ ของแตล่ ะบุคคล แล้ว เปิดโอกาสให้ ได้แสดงออกและพัฒนาความสามารถเหล่าน้ันอยา่ ง เตม็ ที่ 4. การนเิ ทศท่ีดี จะต้องสรา้ งบรรยากาศท่ีเปน็ กันเอง ย่ัวยุและสร้างความเขา้ ใจอนั ดีต่อกนั และ ตอ้ งทาใหค้ รรู ู้สึกว่าจะชว่ ยให้เขาพบวธิ ที ่ดี ีกวา่ ในการทางาน เพ่อื บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ 5. การนเิ ทศการศึกษาควรเป็นไปอยา่ งง่าย ๆ ไมม่ ีพธิ ีรีตอง 3. กระบวนการในการนิเทศ กระบวนการนิเทศเป็นกระบวนการโดยท่ัวไป ที่นามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และ กจิ กรรมการนิเทศ ดงั แนวทางขา้ งล่างน้ี
1. กระบวนการของเดมมิ่ง กระบวนการของเลฮแ์ มน ขัน้ ที่ 1 ขัน้ ที่ 8 AP การกาหนดปญั หาและความต้องการจาเปน็ (Need) การปรบั ปรุงแก้ไข CD ข้ันที่ 2 สว่ นที่บกพรอ่ ง การกาหนดจดุ ประสงคท์ ีว่ ัดได้ (MeasurableGoals) หลังจากทดลองดู ข้นั ที่ 3 แล้ว การกาหนดอุปสรรคและข้อจากัดต่างๆ (Constraints) ขั้นที่ 4 (Modification การกาหนดวิธีการทเ่ี ปน็ ทางเลอื กใน การแกป้ ัญหา (Alternatives) ) ข้นั ท่ี 5 การเลอื กทางเลอื กในขั้นที่ 4 มาปฏิบตั เิ พอ่ื แก้ปัญหา (Selection) ขนั้ ที่ 7 การประเมินผลการทดลอง เพ่อื พจิ ารณา ข้ันท่ี 6 การนาทางเลอื กทเี่ ลอื กแล้วไป ดูว่าไดผ้ ลตามวตั ถุประสงค์หรอื ไม(่ Evaluation) ทดลองใช้ (Implementation) 2. กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE ของสงัด อุทรานันท์ มี 5 ข้นั ตอน คือ 1. การวางแผน (P-Planning) เปน็ ขน้ั ตอนทผี่ ้บู รหิ าร ผ้นู ิเทศและผู้รับการนิเทศจะทาการประชุม ปรกึ ษาหารือ เพ่ือให้ได้มาซ่ึงปญั หาและความต้องการจาเป็นทตี่ ้องมกี ารนเิ ทศ รวมทง้ั วางแผนถงึ ขั้นตอนการ ปฏิบตั ิเกีย่ วกับการนเิ ทศที่จัดขนึ้ 2. ใหค้ วามร้กู ่อนดาเนินการนเิ ทศ (Informing-I) เปน็ ขนั้ ตอนของการให้ความรู้ ความเข้าใจถงึ สิง่ ท่ีจะดาเนินการวา่ ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถอย่างไรบ้าง จะมขี ้ันตอนในการดาเนนิ การอย่างไรและจะ ดาเนินการอย่างไรใหผ้ ลงานออกมาอยา่ งมีคุณภาพ ขน้ั ตอนนจ้ี าเปน็ ทุกคร้ังสาหรบั เรม่ิ การนเิ ทศท่ีจดั ข้นึ ใหม่ ไม่ ว่าจะเป็นเรอื่ งใดก็ตาม และเม่ือมีความจาเปน็ สาหรบั งานนเิ ทศทยี่ งั เปน็ ไปไม่ได้ผล หรอื ไดผ้ ลไม่ถึงข้นั ที่พอใจ ซงึ่ จาเป็น ท่ีจะตอ้ งทบทวนให้ความรู้ในการปฏิบัติงานที่ถูกต้องอีกครง้ั หนึ่ง 3. การดาเนินการนเิ ทศ (Doing-D) ประกอบด้วยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือการปฏบิ ตั งิ าน ของผู้รับการนิเทศ (ครู) การปฏบิ ัตงิ านของผู้ให้การนิเทศ(ผู้นเิ ทศ) การปฏบิ ัติงานของผ้สู นบั สนนุ การนเิ ทศ (ผบู้ ริหาร) 4. การสร้างเสริมขวัญกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานนิเทศ (Reinforcing-R) เป็นข้ันตอนของการ เสริมแรงของผู้บริหารซ่ึงให้ผู้รับการนิเทศมีความม่ันใจและบังเกิดความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานข้ันน้ีอาจ ดาเนินไปพร้อมๆกับผู้รับการนิเทศที่กาลังปฏิบัติงานหรือการปฏิบัติงาน ได้เสร็จสน้ิ แล้วก็ได้ 5. การประเมนิ ผลการนิเทศ (Evaluating-E) เป็นขน้ั ตอนทผ่ี ้นู เิ ทศนาการประเมนิ ผลการ ดาเนนิ งานท่ีผ่านไปแล้วว่าเปน็ อยา่ งไร หลงั จากการประเมินผลการนเิ ทศ หากพบวา่ มีปัญหาหรือมีอุปสรรคอย่าง ใดอย่างหนงึ่ ท่ที าให้การดาเนินงานไม่ไดผ้ ล สมควรท่ีจะต้องปรบั ปรงุ แก้ไข ซ่ึงการปรบั ปรุงแก้ไข อาจทาไดโ้ ดย
การใหค้ วามรูเ้ พ่มิ เติมในเร่ืองที่ปฏบิ ัติใหมอ่ ีกครัง้ ในกรณีท่ีผลงานยงั ไม่ถึงขนั้ น่าพอใจ หรือไดด้ าเนินการปรบั ปรุง การดาเนินงานทั้งหมดไปแลว้ ยงั ไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องการ สมควรท่ีจะต้องวางแผนรว่ มกันวเิ คราะหห์ าจุดท่ีควรพฒั นา หลังใชน้ วตั กรรมด้านการเรยี นรูเ้ ข้ามานิเทศ กระบวนการนเิ ทศแบบ PIDRE สรุปเปน็ แผนภมู ไิ ด้ดงั น้ี กรณีปฏิบตั ิงานมคี ณุ ภาพแลว้ ให้การนิเทศและ ควบคมุ คณุ ภาพงาน ขน้ั ที่ 1 ข้นั ท่ี 2 ข้นั ท่ี 3 ขั้นที่ 4 ข้ันท่ี 5 วางแผน (P) การใหค้ วามรู้ ปฏิบตั งิ าน(D) การสร้างขวญั กาลังใจ(R) ประเมิน (E) (I) บริการ ปรับปรุง แก้ไข สนับสนุน ในกรณีคณุ ภาพไม่ถึงขนั้ ในกรณที ่ที ายังไมไ่ ดผ้ ล 4. เทคนคิ การนิเทศ เทคนิคการนิเทศ หมายถงึ วิธีการนากจิ กรรมต่าง ๆ ทางการนิเทศไปใช้ในการปฏิบตั ิงานอยา่ ง เหมาะสมกบั บุคคล สถานที่ เวลาหรอื สถานการณน์ ัน้ ๆ ในท่นี ้ีจะขอนาเสนอเทคนิคท่ีใช้ไดผ้ ลดี 3 เทคนคิ คือ 4.1 เทคนิคการสอนแนะ (Coaching Techniques) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการพฒั นาบุคลากรให้ สามารถปฏิบตั งิ านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยการแนะนาหรอื เรียนรูจ้ ากผู้ชานาญการ (Coach) ในลกั ษณะท่ี ได้รับคาแนะนาหรือเรียนรไู้ ปพรอ้ ม ๆ กบั การปฏิบัติงาน ในการนาเทคนิคนไี้ ปใชผ้ นู้ ิเทศควรมีแนวทาง ดาเนนิ การ ดังนี้ 4.1.1 สรา้ งความไวว้ างใจกบั ผู้รบั การนเิ ทศ เพ่ือสร้างสัมพันธภาพทอี่ บอนุ่ โดยการศึกษา ขอ้ มูลของผรู้ ับการนิเทศ เชน่ จุดเด่น ผลงานเดน่ อัธยาศยั การให้คาชมเชย การสรา้ งบรรยากาศท่ีดี 4.1.2 ใช้คาถามทเี่ ปน็ เชิงของความคิดเห็น ไม่ทาใหผ้ ู้ตอบจนมมุ หรือเกดิ ความไมส่ บายใจใน การตอบ 4.1.3 เสนอแนะแนวทางแก้ไขหรือการพัฒนางานในลักษณะการแลกเปล่ียนเรยี นรู้รว่ มกนั 4.1.4 นาขอ้ เสนอหรอื แนวทางท่รี ่วมกันคิดใหผ้ รู้ ับการนเิ ทศปฏบิ ัติ โดยผูน้ เิ ทศคอยให้ คาแนะนาอย่างใกลช้ ดิ หรืออาจต้องสาธิตให้ดู
การสอนแนะ Coaching เปน็ เทคนิคการนิเทศท่ีมุ้งเนน้ การชว่ ยเหลือสนบั สนุนให้ครนู าความรู้ใหม่ หรือเทคนิค วธิ กี ารจัดการเรียนการสอนใหม่ ๆ ไปสู่การปฏิบตั จิ ริง โดยความสามารถร่วมมือของศึกษานิเทศก์ ผูท้ ีเ่ ชยี่ วชาญ ผู้บรหิ ารโรงเรียน ครทู ่รี ับทาหน้าทีน่ เิ ทศ หรอื จากเพื่อนครดู ว้ ยกัน ประโยชนก์ ารนาเทคนิค การนิเทศแบบ “การสอนแนะ” ไปใชใ้ นโรงเรียนจะก่อให้เกิดผลดี คือ 1. ชว่ ยใหเ้ กิดการถา่ ยโยงการเรยี นรู้ 2. เปิดโอกาสให้คดิ ได้สนทนาหรืออภปิ รายเก่ยี วกบั การจัดการเรียนการสอนมากขึน้ 3. เพม่ิ พนู ความรคู้ วามสามารถทางการสอน ทง้ั ของผู้รบั การสอนนิเทศและผู้สอนแนะ 4. ชว่ ยให้มกี ารตดิ ต่อส่ือสารระหว่างเพื่อนครใู นโรงเรียนเดียวกนั 5. ชว่ ยใหค้ รูทม่ี ีความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ได้ทดลองแนวคิดใหม่ ๆ ในภาวะแวดลอ้ มที่ ไม่มีความกดดนั 6. ช่วยเสรมิ ความสมั พันธ์ที่ดีตอ่ กัน 7. ชว่ ยเสรมิ สร้างระบบการเกื้อหนนุ ซึง่ กันและกนั เทคนิคการนเิ ทศแบบ “การเสนอแนะ” จาแนกเปน็ 3 รูปแบบ ดงั นค้ี ือ 1) Coaching เป็นการเสนอแนะทม่ี งุ่ เนน้ การช่วยเหลอื สนบั สนุ นให้ครไู ด้นาความรทู้ ่ีได้รบั ไป ฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ ให้เกดิ ผลในห้องเรียนโดยความรว่ มมือกนั ระหวา่ งครกู ับศึกษานเิ ทศก์ ครกู บั ผ้เู ชี่ยวชาญ ครูกับครูผู้ นิเทศ หรือครูกับผูบ้ รหิ ารโรงเรียน ผู้เสนอแนะจะเปน็ ผูส้ งั เกตการสอนตามประเด็นความต้องการของครผู ู้สอน ใหข้ ้อมูลปอ้ นเกีย่ วกับการสอนของครตู ามประเดน็ ทต่ี กลงกนั ไว้และให้คาแนะนาในการปรับปรุงการสอนให้ดี ย่ิงขน้ึ มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น 2) Collegial Coaching เป็นการเสนอแนะทีเ่ น้นความร่วมมอื กันระหวา่ งเพอ่ื นครูด้วยกัน เพ่ือปรบั ปรุงการเรียนการสอน โดยเพ่อื นครจู ะเป็นผูส้ ังเกตการณ์ การสอนตามประเด็นท่ีตกลงกนั ไว้ ให้ข้อมูล ป้อนกลับ และชว่ ยวิเคราะหแ์ ปลผลจากการสังเกต และกระตุ้นให้หาแนวทางปรบั ปรุงการสอนในครง้ั ต่อไป 3) Challenge Coaching เป็นการเสนอแนะท่ีมุง้ เน้นการให้ความช่วยเหลือใหค้ รูสามารถ วิเคราะห์ปัญหา และแก้ไขปัญหาการเรยี นการสอนของตนหรอื ร่วมกนั กาหนดจุดมุ่งหมายหรอื เป้าหมายที่ ตอ้ งการได้ การเสนอแนะรูปแบบนีจ้ ะมีการดาเนนิ การเปน็ กลมุ่ หรือเปน็ หมคู่ ณะ และอาจมีบุคลากรท่เี ป็นผ้รู ู้ ผ้เู ชีย่ วชาญด้านอ่นื ๆ รว่ มเปน็ คณะทางานด้วย ขั้นตอนการเสนอแนะ มีขน้ั ตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี คือ 1) ครูแจง้ ความประสงคท์ ่ีจะได้รบั การเสนอแนะจากศึกษานิเทศก์ ผเู้ ช่ียวชาญ ผบู้ ริหาร โรงเรียน ครผู ู้นิเทศ หรือเพ่ือนครู และประเด็นท่ตี ้องการเสนอแนะ 2) ผเู้ สนอแนะเยยี่ มห้องเรียนและสังเกตการสอน 3) ผู้เสนอแนะทบทวนข้อมูลทไ่ี ด้จากการสงั เกต เปรยี บเทียบกบั ประเดน็ ที่ครูผ้สู อนต้องการ เสนอแนะ 4) ผเู้ สนอแนะใหข้ ้อมูลป้อนกับและใหค้ รวู ิเคราะห์การสอนของตนเองจากข้อมลู ป้อนกลับ และ หาแนวทางปรบั ปรงุ การสอนให้ดขี ้นึ 5) ผูเ้ สนอแนะและครผู สู้ อนร่วมกันทบทวนผลทไ่ี ดร้ ับจากการเสนอแนะ ขนั้ ตอนการ เสนอแนะและข้อควรปรบั ปรุงแกไ้ ข 6) ครผู สู้ อนปรบั ปรุงการเรยี นการสอนของตนเองให้ดียิง่ ขน้ึ
4.2 เทคนิคการนิเทศโดยใช้กระบวนการวจิ ัย การวจิ ัยเป็นกระบวนการแสวงหาความรูอ้ ย่างเป็นระบบที่เชื่อถือได้ โดยใชก้ ระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ การนากระบวนการวิจัยมาเป็นเทคนคิ หนึ่งในการนิเทศการศึกษา จาเป็นที่ผู้นิเทศจะต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจในกระบวนการทาวจิ ัย และสามารถนามาใช้ในการดาเนินงานนิเทศการศกึ ษา ดังนี้ 1) การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา ผู้นเิ ทศจะทางานรว่ มกับครโู ดยตรง ดังน้นั จงึ ต้องวิเคราะห์ สภาพการปฏิบัติงานของผูร้ ับการนิเทศ (ครู) จุดเด่น จุดควรพฒั นาร่วมกบั ครู วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ลกั ษณะปัญหาสาคัญท่ีเกี่ยวข้องกบั ครู เช่น ปัญหาเก่ียวกบั หลักสตู ร การจดั การเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผล โดยมองในด้านของความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะกระบวนการและเจตคติเกีย่ วกบั เร่ืองนัน้ ๆ 2) การกาหนดแนวทางการแกไ้ ขปัญหาจากสาเหตุของปัญหา ผนู้ เิ ทศจะร่วมกับผู้รบั การนิเทศ กาหนดวิธีและแนวทางการนิเทศเพื่อแกป้ ญั หานัน้ ๆ คดิ พัฒนาสื่อและนวัตกรรม ซงึ่ อาจเป็นวิธีการ/กิจกรรม การนิเทศ สื่อการนิเทศ เช่น เอกสาร ค่มู ือ ชดุ พฒั นา สง่ิ เหล่านีจ้ ะอย่บู นพน้ื ฐานของหลักการและทฤษฎีท่ี เกี่ยวขอ้ งกับวธิ ีการน้นั ๆ ตลอดท้ังมกี ารหาคุณภาพของส่ือที่พฒั นาขึ้น เพ่ือให้มีความเช่อื ถือได้ 3) การดาเนินการนิเทศ โดยนาวธิ กี าร/กิจกรรมท่ีเปน็ สื่อ นวตั กรรมทพี่ ฒั นาไปใช้ในการนิเทศ ในขัน้ ตอนนีจ้ ะมีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใชเ้ คร่ืองมือที่มีประสิทธภิ าพ และนาขอ้ มลู ท่ีได้ไปวิเคราะห์โดยใช้ สถติ ิท่ีเหมาะสมหรอื การอธบิ ายในเชิงคุณภาพ (พรรณนา) 4) การสรปุ ผลและเขยี นรายงาน โดยการนาผลที่ไดจ้ ากการวิเคราะหข์ ้อมลู ไปสรปุ ผล ตาม วัตถุประสงค์ทีก่ าหนดไวใ้ หค้ รอบคลมุ ทุกประเด็น แล้วนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม และมคี ุณภาพ จากน้นั เขยี นรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตงั้ แต่เร่มิ ตน้ จนถงึ ขัน้ สดุ ทา้ ย โดยกาหนดกรอบการเขียน ที่สอดคล้องกับการดาเนินงานวจิ ัย อาจจะเป็น 3 บท 4 บท หรือ 5 บท แลว้ แตค่ วามเหมาะสม แตใ่ ห้มีเนื้อหา สาระครอบคลมุ รายละเอยี ดท่ีกลา่ วมาแลว้ 5) การเผยแพร่ หลังจากท่ีได้มกี ารสรุปและเขยี นรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านแล้ว ผูน้ เิ ทศควร จะได้มกี ารเผยแพร่ผลการปฏิบตั ิงาน เพ่ือให้ผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งและมคี วามสนใจนาไปใชห้ รอื ต่อยอดต่อไป การ เผยแพรอ่ าจทาได้หลายวธิ ี เชน่ เวทกี ารนาเสนอผลงานทางวิชาการที่หน่วยงานต่าง ๆ จดั การเผยแพร่ใน ลกั ษณะของบทความทางวิชาการ การเผยแพร่ทาง Internet เป็นตน้ 4.3 เทคนคิ การนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร รูปแบบกลั ยาณมิตรนเิ ทศ : กรอบความคดิ พนื้ ฐาน กรอบความคดิ พ้ืนฐานของกลั ยาณมิตรนิเทศ คือหลักธรรมความเป็นกลั ยาณมิตร 7 ประการ ในทีน่ ม้ี ุง่ เอาประเภทครู หรือพ่เี ล้ยี งเป็นสาคญั ไดแ้ ก่ 1. ปิโย น่ารักในฐานเป็นที่สบายใจและสนิทสนม ชวนให้อยากเข้าไปปรึกษาไต่ถาม 2. ครุ นา่ เคารพ ในฐานประพฤติสมควรแกฐ่ านะให้เกดิ ความร้สู กึ อบอุ่นใจ เปน็ ท่ีพง่ึ ได้และ ปลอดภยั 3. ภาวนโี ย น่าเจรญิ ใจหรอื นา่ ยกยอ่ ง ในฐานทรงคุณ คอื ความรู้ และภูมิปญั ญาแทจ้ ริง ท้ังเปน็ ผ้ฝู กึ อบรมและปรับปรงุ ตนอยู่เสมอ ควรเอาอย่าง ทาใหร้ ะลึกและเอย่ อ้างด้วยความซาบซึ้งภมู ใิ จ 4. วตตา จ รจู้ กั พูดใหไ้ ดผ้ ล รู้จักชแ้ี จงให้เขา้ ใจ รู้ว่าเมอื่ ไรควรพูดอะไร อย่างไร คอยให้ คาแนะนา ว่ากล่าวตกั เตือน เปน็ ทีป่ รกึ ษาท่ดี ี 5. วจนกขโม อดทนต่อถ้อยคา คือ พร้อมที่จะรับฟงั คาปรึกษา ซักถาม คาเสนอแนะ วิพากษว์ จิ ารณ์ อดทน ฟงั ได้ไมเ่ บือ่ ไม่ฉุนเฉยี ว
6. คมภรี ญจ กถ กตตา แถลงเรอ่ื งล้าลกึ ได้ สามารถอธบิ ายเรือ่ งยงุ่ ยาก ซับซ้อน ใหเ้ ข้าใจ และใหเ้ รยี นรเู้ รือ่ งราวทล่ี กึ ซ้งึ ยิง่ ข้นึ ไป 7. โน จฎฐาเน นิโยชเย ไมช่ กั นาในอฐานะ คอื ไม่แนะนาในเรอื่ งเหลวไหล หรอื ชักจงู ไป ในทางเสื่อมเสยี (พจนานุกรมพุทธศาสตร์ : 2528) จะเหน็ ไดว้ ่า กัลยาณมติ รธรรม 7 นี้ มงุ่ เน้น ความปลอดโปรง่ ใจ ไม่บีบคั้น เน้นความมีน้าใจ ชว่ ยเหลือเกื้อกูล สรา้ งความเข้าใจ กระจ่างแจ้ง แนะแนวทางทีถ่ ูกต้องดว้ ยการยอมรบั นับถือซ่ึงกันและกัน สมนุ อมรววิ ัฒน์ (2537) ได้เสนองานทางวิชาการเรอ่ื ง “กระบวนการกัลยาณมิตร : ฝกึ จติ ใหม้ นี ้าใจ ในที่ประชุมสานักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑติ ยสถาน วันที่ 5 เมษายน 2537” สรปุ ได้ว่า กระบวนการ กัลยาณมติ ร คือ กระบวนการประสานสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล เพอื่ จดุ หมาย 2 ประการ คือ 1) ช้ีทางบรรเทาทกุ ข์ 2) ชี้สุขเกษมศานต์ โดยทกุ คนตา่ งมเี มตตาธรรม พร้อมจะชี้แนะและชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั กระบวนการ กลั ยาณมติ ร ชว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถแกป้ ัญหาไดโ้ ดยการจัดข้ันตอนตามหลักอริยสัจ 4 ดังน้ี 8. การปฏิบัติเพอื่ แกป้ ญั หา มรรค ตามแนวทางท่ีถูกตอ้ ง 7. การจดั ลาดบั จุดหมาย ของภาวะพน้ ปญั หา 6. การร่วมกันคิดวเิ คราะห์ ความเป็นไปไดข้ องการแกป้ ัญหา 5. การกาหนดจุดหมายหรอื สภาวะ นโิ รธ พ้นปญั หา 4. การจัดลาดับความเข้มระดับของปญั หา สมุทัย 3. การร่วมกนั คิดวเิ คราะห์เหตุผลของปญั หา ทุกข์ 2. การกาหนดและจดั ประเด็นปัญหา 1. การสรา้ งความไว้วางใจ ตามหลกั กลั ยาณมติ รธรรม 7 แผนภูมิขัน้ ตอนการสอนตามกระบวนการกลั ยาณมิตร หากพิจารณาแผนภมู ิข้างตน้ กระบวนการนเิ ทศโดยช้ีทางบรรเทาทุกข์ มีขนั้ ตอนคือ 1) การสร้าง ความไวว้ างใจ 2) การกาหนดปัญหาและแนวทางแกป้ ญั หา 3) การศึกษา คน้ คว้า คดิ วเิ คราะห์รว่ มกนั ถงึ เหตปุ ัจจัย แห่งปญั หา 4) การจัดลาดับความเข้มหรือระดบั ความซบั ซ้อนของปัญหา การช้สี ุขเกษมศานต์ มีขนั้ ตอนต่อมาคอื 1) การกาหนดจดุ หมายของการแก้ปัญหา หรือวัตถุประสงค์ ของภารกจิ 2) การวเิ คราะหค์ วามเป็นไปไดห้ รอื ทางเลือก 3) การจดั ลาดับวตั ถปุ ระสงคแ์ ละวธิ กี าร 4) การ กาหนดวิธกี ารทถ่ี ูกต้องเหมาะสมหลาย ๆ วธิ ี
แผนภูมิขัน้ ตอนชีท้ างบรรเทาทุกข์ และชสี้ ุขเกษมศานต์น้ี นักการศึกษาส่วนใหญ่มงุ่ นา ไปใชใ้ น กจิ กรรมการแนะแนว และการใหค้ าปรึกษา (Guidance and Counseling) แก่นักเรยี นและนิสิต นักศึกษา อย่างไรก็ตามหากจะนาขั้นตอนดังกล่าวมาใช้ในการแก้ปัญหาทางการพัฒนาหลกั สูตร การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี น การสอนและการพฒั นาครูก็ย่อมจะประยุกตใ์ ช้ได้ดี ปจั จัยที่เกื้อหนนุ กระบวนการกัลยาณมติ ร การนากระบวนการกัลยาณมิตรมาใชใ้ นการพัฒนาครู และการปฏริ ูปการศึกษามีปจั จัยหลัก 4 ประการท่ีเกื้อหนุนใหท้ ุกข้นั ตอนดาเนนิ ไปดว้ ยดี ได้แก่ 1) องค์ความรู้ 2) แรงหนุนจากต้นสงั กดั 3) ผบู้ ริหารทุก ระดับ 4) บุคลากรทัง้ โรงเรยี น 1. องคค์ วามรู้ การชแี้ นะและชว่ ยเหลือกันในกลุ่มหรือหมู่คณะ ย่อมต้องอาศัยอุดมการณ์ เปา้ หมาย รว่ มกัน และมีหลักการความรทู้ ไี่ ด้พสิ จู น์เห็นจรงิ แลว้ เปน็ พื้นฐาน ตวั อย่าง เช่น การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ (2540) ผเู้ ชย่ี วชาญถึง 5 คณะ ได้พัฒนาหลักการและความรู้เกย่ี วกับการสอนทนี่ ักเรยี นมีความสุข การเรียนรู้แบบมสี ว่ นร่วม การสอนและการฝึก กระบวนการคดิ การพฒั นาสุขภาวะ สุนทรียภาพทางศิลปะ ดนตรี กฬี า และหลักการฝึกหัดอบรมกาย วาจา ใจ คณะผเู้ ชย่ี วชาญไดน้ าเสนอหลกั ทฤษฎีและวิธีการ เพ่ือเป็นพืน้ ฐานความรูส้ าหรบั ผู้บริหารและครูที่ต้องการ พัฒนาการสอน ซ่ึงเน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ การจัดการความร้ใู ห้เป็นฐานสกู่ ารปฏิบตั ิ จึงเป็นปจั จัยทจ่ี าเป็นและก่อให้เกิดการเรียนรรู้ ่วมกันใน การปฏิบัติ (interactive learning throughaction, ประเวศ วะสี, 2545) ทง้ั น้ี เพราะผ้นู ิเทศและบุคลากรใน โรงเรียนจะพฒั นาตนได้ก็ต่อเมื่อ มีหลกั การความรเู้ ปน็ พ้นื ฐาน และสร้างแนวทางสจู่ ดุ หมายรว่ มกนั เกดิ วฒั นธรรมความรู้ข้นั อกี ระดบั หนง่ึ นอกเหนือจากการใชส้ ามญั สานึกและประสบการณเ์ ดิม กระบวนการกัลยาณมิตรที่มฐี านความรจู้ ะเกดิ การวจิ ัย การพัฒนาและวิจยั ต่อเนอ่ื งกันไป สรา้ ง วัฒนธรรมความรูใ้ ห้เกิดขึน้ ในโรงเรียน ดังทศ่ี าสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี (2545) ไดอ้ ธิบายไวใ้ น หนังสือ “เครอื ข่ายแหง่ ปญั ญา” วา่ วัฒนธรรมความรู้ มีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ 1. การมฉี ันทะในความรู้ 2. มคี วามสามารถในการสร้างความรู้ 3. ใช้ความรู้ในการดารงชีวติ และการทางาน 4. ได้ประโยชน์จากการใช้ความรู้ 5. มีความสุขจากกระบวนการความรู้ทงั้ หมด การนิเทศและพัฒนาครูจึงต้องเริ่มที่การสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ตรงกันในประเด็นหลกั ทฤษฎี เชน่ การยดึ ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง หรือผูเ้ รียนสาคัญทส่ี ุด ที่หลกั การอยา่ งไร ทฤษฎสี รา้ งสรรคค์ วามรู้ หลักบรู ณา การ การพฒั นาพหุปญั ญา กจิ กรรมพฒั นานักเรียน หลกั สตู รสถานศกึ ษา การประเมนิ ผลตามการปฏบิ ัติจรงิ คือ
อะไร ถ้าต่างฝ่ายไม่มหี ลกั ความรู้ กย็ อ่ มตีความกนั ไปคนละทาง เกิดการโตแ้ ย้งโดยไม่จาเป็น ดังนั้นจงึ ตอ้ งมี เอกภาพในหลักการ และมีความหลากหลายในวิธีการ 2. แรงหนุนจากต้นสังกัด ปัจจุบันนี้มีการตื่นตวั อย่างมากในทุกองค์กรที่มุ่งพฒั นาบุคลากรใหม้ ีคุณภาพ ท้งั น้ี เพราะในสังคมไทยมีการประเมนิ การตรวจสอบ และการประกันคุณภาพของสถานศกึ ษา จากการ ปฏิบัติงานเปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นการปฏิรูปการเรยี นรู้ ผู้เขียนพบวา่ หลายโครงการทีป่ ระสบความสาเร็จเป็นเพราะ หน่วยงานต้นสงั กดั เชน่ สถาบันราชภัฎ คณะครุศาสตร/์ ศึกษาศาสตร์ กรมสามญั ศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแห่งชาติ สานกั งานการศกึ ษาส่วนท้องถิ่น (เทศบาล) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน สานักงานการศกึ ษากรุงเทพมหานคร เปน็ ต้น ไดใ้ ห้ความรว่ มมอื และมีสว่ นร่วมในการวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน ตลอดจนการประเมินผล 3. ผูบ้ รหิ ารทุกระดบั รายงานผลการดาเนนิ งานปฏริ ูปกระบวนการเรียนร้หู ลายโครงการไดแ้ สดงให้ เหน็ ว่า ความสาเร็จของการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาข้ึนอยู่กับความรู้ ความสามารถและเจตคติของผู้บรหิ าร นับต้งั แตร่ ะดับนโยบายจนถงึ ระดับปฏบิ ตั ิในสถานศกึ ษา การพัฒนาบุคลากรท้ังโรงเรยี นอย่างมีประสิทธภิ าพนน้ั ผู้บรหิ ารมคี วามสาคัญมาก ดังท่ี สานัก นโยบายและแผนการศกึ ษา (สกศ.) ได้ให้ความหมายของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาตน้ แบบวา่ “...หมายถงึ ผู้บรหิ าร สถานศึกษาทม่ี ีผลการปฏิบตั ิงานดเี ดน่ ด้านการบริหารทส่ี ง่ เสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ ตามแนวพระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 เป็นผูน้ าทางวิชาการ มคี ุณธรรม จริยธรรม และความรู้ ความสามารถ เป็นที่ยอมรบั ของคณะครู นักเรียน ผู้บงั คบั บัญชา กรรมการสถานศกึ ษา พ่อแม่ ผปู้ กครอง ชุมชนและสังคม...” 4. บุคลากรทง้ั โรงเรยี น โครงการสนบั สนุนการฝกึ อบรมครู โดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน ท่สี านักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา (2546) ไดด้ าเนินการต่อจากโครงการนารอ่ งระยะท่ี 1 (พ.ศ.2545) นั้น เกิดขนึ้ จาก ความเชื่อทวี่ ่าการพฒั นาครูทโ่ี รงเรียน ทงั้ โรงเรยี น โดยโรงเรยี นรว่ มมอื จากหน่วยงานภายนอก ช่วยใหม้ ีการ ปฏิบัติจรงิ พัฒนาการสอนในสถานการณจ์ รงิ ที่โรงเรยี น เกิดการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลภายในโรงเรียนอย่าง ตอ่ เน่ือง ประหยดั ค่าใช้จา่ ย และเวลาและสง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี น ดังท่ีมีคากล่าวหยอกเยา้ วา่ School-Based Training นา่ จะมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลมากกวา่ Hotel-Based Training จดุ แขง็ ของการจัดกิจกรรมปฏริ ปู ทง้ั โรงเรียนท่คี น้ พบคือ ครเู ก่งตอ้ งลดดีกรีความเกง่ ลงมาเทียบเคียง แล้วเดินไปพร้อม ๆ กนั คนใดยงั ทาไม่ได้ ครเู ก่งต้องเข้าไปช่วยเหลอื ให้เขาทาตามแบบกอ่ น แลว้ ถึงปลอ่ ยให้ทา ตามแบบของตนเอง จดุ เนน้ ทีพ่ ยายามถงึ ที่สดุ ในทุกวนั นี้ คอื ทุกคร้งั ท่ีโรงเรยี นมงี านจดั กิจกรรม แสดงผลงาน จะใหจ้ ัด แบบภาพรวมทง้ั โรงเรยี นแบ่งใหค้ รรู บั ผดิ ชอบเปน็ เรื่อง ๆ สร้างจิตสานกึ ให้ทุกคนมสี ว่ นรว่ ม มีผลงานรว่ มกนั เป็น สาคญั ...” การพัฒนาครูเครือขา่ ยภายในโรงเรยี นน้ัน สงั เกตไดว้ า่ มีความยากในข้ันเรมิ่ ตน้ ที่ต้องสรา้ งการยอมรบั และศรทั ธา แต่เม่ือเกดิ ความร่วมมือที่ดีแล้ว การนเิ ทศภายในโรงเรียนจะดาเนนิ ไปอย่างคลอ่ งตัว เนื่องจากจดั เวลา สถานที่ และสื่ออุปกรณ์ได้ง่ายทุกฝา่ ยเขา้ ใจวัตถปุ ระสงค์ เพราะสามารถตดิ ต่อส่ือสารกนั ไดห้ ลายทาง สามารถร่วมกนั ปรับปรุงแก้ไขปัญหาทเี่ กิดข้ึน เพราะบุคลากรมุ่งพัฒนาคณุ ภาพไปในทศิ ทางเดียวกนั คือให้ผเู้ รยี น สามารถเรียนรู้ได้ เป็นคนฉลาดรู้ เกง่ ดี และมีความสขุ
กลั ยาณมิตรนเิ ทศเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ คณุ ภาพสงั คมไทย คุณภาพผู้เรียน คุณภาพการเรียน คณุ ภาพของครู ให้ใจ ร่วมใจ ปฐมนิเทศ เง่อื นไข รว่ มคิดรว่ มทา สร้างความสมั พนั ธ์ ไม่ม่งุ ปรมิ าณ แนะนา สาธิต แบบอยา่ ง แจง้ ความม่งุ หมาย สานพลงั อาสา ฝกึ ทาแผนการสอน จดั เวลา เสวนาร่วมกนั ฝึกสรา้ งสื่อการเรยี นการสอน กาหนดแผนงาน สร้างความเป็นมติ ร วิจยั ในชน้ั เรียน ฝึกคดิ มงุ่ มน่ั เรยี นรกู้ ารวดั และประเมินผล เปดิ ใจ ปฏิบตั ทิ ุกวนั บันทกึ แนวทาง ตง้ั ใจ ทบทวนวัดและประเมนิ ผล สร้างความเปน็ มติ ร สร้างสรรคค์ ณุ ภาพ การประเมินตนเอง ครูเครือขา่ ยทดลองปฏบิ ตั จิ ริง การประเมนิ ผลงาน กัลยาณมิตรนเิ ทศ ครเู ครือข่ายและครตู ้นแบบ การประเมินโดยกลั ยาณมติ ร พฒั นากระบวนการ ปรกึ ษาหารือ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ การประเมนิ พัฒนา ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร เย่ียมเยยี น เรยี นรู้ ช่วยกันแกป้ ญั หา การเรยี นรู้ ให้กาลงั ใจ รูปแบบ สร้างศรัทธา สาธติ รูปแบบกระบวนการ ร่วมงานร่วมทา ตดิ ตามประเมินผล องค์ความรู้ แรงหนนุ จากต้นสงั กัด ผบู้ ริหารทุกระดบั บคุ ลากรทง้ั โรงเรียน
4.4 การจดั การความรู้ (KM) กบั การนเิ ทศการศึกษา 4.4.1 ความหมายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เปน็ เร่อื งสาคญั ท่หี น่วยงานตา่ ง ๆ ได้นามา เป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาบุคลากรในองคก์ ร ในบทบาทของผู้นเิ ทศการศึกษาจึงจาเป็นท่ีจะต้องทาความเขา้ ใจ เพือ่ จะไดน้ าแนวคดิ นี้ไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยิง่ ขน้ึ การจดั การความรู้ คอื การรวบรวมองค์ความรทู้ ี่มีอยใู่ นสว่ นราชการซ่ึงกระจัดกระจายอยู่ในตวั บคุ คลหรอื เอกสาร มาพัฒนาใหเ้ ปน็ ระบบเพ่ือให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และพฒั นาตนเองให้เป็น ผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ อันจะสง่ ผลใหอ้ งค์กรมีความสามารถในเชิงแขง่ ขันสงู สุด โดยที่ ความร้มู ี 2 ประเภท คอื 1. ความรทู้ ่ีฝงั อยใู่ นคน (Tacit knowledge) เป็นความร้ทู ีไ่ ด้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทาความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไมส่ ามารถถ่ายทอดออกมาเปน็ คาพดู หรอื ลายลักษณ์อักษรไดโ้ ดยง่าย เชน่ ทักษะในการทางาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครัง้ จึงเรยี กวา่ เปน็ ความรู้แบบนามธรรม 2. ความร้ทู ชี่ ัดแจง้ (Explicit Knowledge) เปน็ ความรู้ทส่ี ามารถรวบรวมถ่ายทอดได้ โดยผ่าน วธิ ีต่าง ๆ เชน่ การบนั ทึกเปน็ ลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มอื ต่าง ๆ และบางคร้งั เรยี กวา่ เป็นความรแู้ บบรปู ธรรม 4.4.2 จดุ มงุ่ หมายของการจัดการความรู้ นพ.วิจารณ์ พานิช ได้ให้ความหมายของคาว่า “การจัดการความรู้” ไว้ คอื สาหรับนัก ปฏิบตั กิ ารจัดการความรู้ คือ เครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายอยา่ งน้อย 4 ประการไปพรอ้ ม ๆ กนั ได้แก่ 1. บรรลุเปา้ หมายของงาน 2. บรรลุเปา้ หมายการพัฒนาคน 3. บรรลุเปา้ หมายการพัฒนาองค์การไปเปน็ องค์กรเรยี นรู้ และ 4. บรรลคุ วามเป็นชุมชน เป็นหม่คู ณะ ความเออื้ อาทรระหวา่ งกนั ในท่ีทางาน การจัดการความรเู้ ป็นการดาเนินการอย่างน้อย 6 ประการต่อความรู้ ได้แก่ (1) การกาหนดความรู้หลักท่จี าเปน็ หรือสาคัญต่องานหรอื กจิ กรรมของกลุ่มหรือองค์กร (2) การเสาะหาความรู้ทีต่ ้องการ (3) การปรับปรุง ดดั แปลง หรือสร้างความรู้บางสว่ น ใหเ้ หมาะสมต่อการใช้งานของตน (4) การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ในกิจการของตน (5) การนาประสบการณจ์ ากการทางาน และการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรมู้ าแลกเปลีย่ นเรียนร้แู ละ สกดั “ขุมความรู้” ออกมาบันทกึ ไว้ (6) การจดบนั ทกึ “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาหรบั ไวใ้ ชง้ าน และปรับปรุงเป็นชดุ ความร้ทู ี่ครบถว้ น ล่มุ ลกึ และเชอื่ มโยงมากขึ้น เหมาะต่อการใช้งานมากยง่ิ ขนึ้ โดยทก่ี ารดาเนินการ 6 ประการนี้ บรู ณาการเปน็ เน้ือเดียวกนั ความรทู้ เ่ี กี่ยวข้องเป็นทัง้ ความรู้ท่ีชัด แจง้ อยู่ในรูปของตัวหนงั สือหรือรหสั อย่างอ่ืนทเี่ ข้าใจได้ทวั่ ไป (Explicit Knowledge) และความรู้ฝงั ลึกอยู่ใน สมอง (Tacit Knowledge) ทีอ่ ยู่ในคน ทั้งท่ีอยูใ่ นใจ (ความเชอื่ ค่านยิ ม) อยู่ในสมอง (เหตผุ ล) และอย่ใู นมือ และสว่ นอนื่ ๆ ของร่างกาย (ทกั ษะในการปฏิบตั ิ) การจดั การความรู้เป็นกิจกรรมที่คนจานวนหน่ึงทาร่วมกัน ไม่ใช่กิจกรรมที่ทาโดยคนคนเดียว เน่ืองจากเชื่อว่า “จดั การความรู้” จึงมคี นเข้าใจผดิ เรม่ิ ดาเนนิ การโดยร่เี ข้า ไปทค่ี วามรู้ คือ เรม่ิ ที่ความรู้ นค่ี อื ความผดิ พลาดท่พี บบ่อยมาก การจดั การความรู้ท่ีถูกต้องจะต้องเริ่มที่งานหรือ
เป้าหมายของงาน เป้าหมายของงานทีส่ าคัญ คือ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการดาเนนิ การตามทกี่ าหนดไว้ ท่ี เรยี กว่า Operation Effectiveness และนิยามผลสมั ฤทธ์ิ ออกเป็น 4 ส่วน คือ (1) การสนองตอบ (Responsiveness๗) ซ่งึ รวมท้งั การสนองตอบความต้องการของลูกค้า สนองตอบความต้องการของเจ้าของกจิ การหรือผถู้ ือหุ้น สนองตอบความต้องการของพนักงานและสนองตอบ ความตอ้ งการของสงั คมส่วนรวม (2) การมีนวตั กรรม (Innovation) ท้ังทเ่ี ป็นนวตั กรรมในการทางาน และนวตั กรรมด้าน ผลติ ภณั ฑ์หรอื บรกิ าร (3) ขดี ความสามารถ (Competency) ขององค์กร และของบุคลากรท่ีพฒั นาขนึ้ ซ่งึ สะทอ้ น สภาพการเรียนรูข้ ององค์กร และ (4) ประสิทธภิ าพ (Efficiency) ซ่ึงหมายถึงสดั ส่วนระหวา่ งผลลัพธ์ กบั ต้นทนุ ท่ลี งไป การ ทางานทปี่ ระสิทธิภาพสงู หมายถึง การทางานท่ีลงทนุ แรงน้อย แตไ่ ด้ผลมากหรือคุณภาพสูง เป้าหมายสูงสุดของ การจัดการความรู้ คือ การที่กลุ่มคนท่ดี าเนินการจัดการความรรู้ ่วมกนั มีชดุ ความรู้ของตนเอง ทร่ี ่วมกนั สร้างเอง สาหรับใช้งานของตน คนเหล่าน้ีจะสร้างความรู้ข้นึ ใชเ้ องอยู่ตลอดเวลา โดยท่ีการสรา้ งนั้นเปน็ การสร้างเพยี ง บางสว่ น เป็นการสรา้ งผา่ นการทดลอง เอาความรู้จากภายนอกมาปรบั ปรุงใหเ้ หมาะต่อสภาพของตน และ ทดลองใช้งาน จัดการความรู้ไมใ่ ช่กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การเฉพาะหรอื เกย่ี วกบั เร่ืองความรู้ แตเ่ ปน็ กจิ กรรมที่แทรก/ แฝง หรือในภาษาวิชาการเรยี กวา่ บูรณาการอยูก่ ับทุกกจิ กรรมของการทางาน และทสี่ าคัญตัวการจัดการความรู้ เองกต็ ้องการการจัดการด้วย 4.4.3 กระบวนการจัดการความรู้ เปน็ กระบวนการทจ่ี ะชว่ ยให้เกดิ พัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการความรู้ทจี่ ะเกดิ ขึน้ ภายในองค์กร มที ้ังหมด 7 ข้นั ตอน คือ 1) การบง่ ชี้ความรู้ เปน็ การพจิ ารณาว่าองคก์ รมีวสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ ยุทธศาสตร์ เปา้ หมาย คอื อะไร และเพ่อื ให้บรรลเุ ป้าหมาย เราจาเปน็ ต้องใชอ้ ะไร ขณะน้ีเรามีความรู้อะไรบา้ ง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร 2) การสรา้ งและแสวงหาความรู้ เช่น การสรา้ งความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รกั ษาความรเู้ กา่ กาจดั ความรู้ท่ีใช้ไม่ได้แลว้ 3) การจัดความรูใ้ หเ้ ปน็ ระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียม พร้อมสาหรับ การเก็บความรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบในอนาคต 4) การประมวลและกล่ันกรองความรู้ เชน่ ปรบั ปรงุ รูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดยี วกัน ปรบั ปรงุ เน้อื หาให้สมบรู ณ์ 5) การเขา้ ถึงความรู้ เป็นการทาใหผ้ ใู้ ช้ความร้เู ขา้ ถงึ ความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและ สะดวก เชน่ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) Web board บอร์ดประชาสัมพนั ธ์ เป็นตน้ 6) การแบง่ ปนั แลกเปล่ียนความรู้ ทาไดห้ ลายวิธี โดยกรณีเปน็ Explicit Knowledge อาจจดั ทาเป็นเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณเี ป็น Tacit Knowledge จดั ทาเปน็ ระบบทีม ขา้ มสายงาน กจิ กรรมกลมุ่ คุณภาพและนวตั กรรม ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพีเ่ ลีย้ ง การสับเปลยี่ นงาน การยมื ตวั เวทแี ลกเปลยี่ นความรู้ เป็นต้น
7) การเรียนรู้ (Learning) ควรทาใหก้ ารเรยี นรเู้ ปน็ ส่วนหน่ึงของงาน เช่น เกิดระบบ การเรยี นร้จู ากสร้างองค์ความรู้ การนาความรู้ในไปใช้ เกดิ การเรยี นรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมนุ เวยี นต่อไป อยา่ งต่อเน่ือง 4.4.4 ชุมชมนักปฏิบัติ COP (Community of Practice) COP เปน็ กลุ่มคนท่มี ารวมตวั กนั อย่างไม่เป็นทางการ มวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และสร้างองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ เพ่อื ช่วยใหก้ ารทางานมี ประสทิ ธิผลที่ดขี นึ้ สว่ นใหญก่ ารรวมตวั กันในลักษณะนี้มกั จะมาจากคนที่อยู่ในกลุ่มงานเดียวกันหรือมีความสนใจ ในเร่ืองใดเรื่องหนึง่ ร่วมกัน ซึ่งความไว้วางใจและความเช่ือมั่นในการแลกเปลยี่ นข้อมูลระหว่างกันจะเปน็ สิง่ ทสี่ าคญั COP จะมีความแตกตา่ งจากการที่บุคคลมารวมกล่มุ กันเป็นทมี ปฏบิ ัติงานปกติทัว่ ไป ตรงท่ี COP เป็นการรวมกนั อยา่ งสมัครใจ เปน็ การเชือ่ มโยงสมาชกิ เขา้ ด้วยกัน โดยกิจกรรมทางสังคม ไมไ่ ดม้ ีการมอบหมาย สัง่ การเป็นการเฉพาะ และจะเลอื กทาในหัวข้อหรือเรอ่ื งท่ีสนใจร่วมกนั เท่าน้นั ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการแลกเปล่ียนในกลุ่ม COP จะพัฒนาเป็นองค์ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาการทางานของบุคคลและองคก์ รต่อไป และจากการแลกเปล่ยี นเรยี นรภู้ ายในกลุ่มอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการใน ทา่ มกลางบรรยากาศแบบสบาย ๆ ประกอบกบั การใช้เทคนิคทเ่ี รยี กว่าสนุ ทรสี นทนา (Dialoque) ซง่ึ เปน็ การ สนทนาท่ีเคารพความคดิ เหน็ ของผู้พูด ใหเ้ กยี รติกนั ใหโ้ อกาสกนั และไม่พยายามขัดขวางความคดิ ใคร กับรับฟงั ผอู้ น่ื พูดอยา่ งต้ังอกตั้งใจ (Deep Listening) 4.4.5 การใช้การจดั การความรู้ (KM) ในงานนิเทศการศึกษา จากเปา้ หมายการจัดการความรเู้ พ่ือพัฒนางาน พัฒนาคน และพัฒนาองค์กร ผ้นู ิเทศ สามารถนาแนวคิดและวิธีการของการจดั การความรนู้ ้ีไปใช้ในการพฒั นางานนเิ ทศการศึกษา ซ่ึงการจัดการ ความรู้มเี ครื่องมือหลายชนิด เช่น 1) การนเิ ทศโดยสนับสนนุ ให้มีการจัดชุมชนนักปฏิบัติ (COP) โดยการจัดให้ครทู ี่มี ความสนใจ มคี วามเชี่ยวชาญในเรอื่ งเดยี วกัน หรือใกล้เคยี งกนั มารวมกลมุ่ กัน ซ่งึ บคุ คลเหลา่ นจ้ี ะเป็นผทู้ ม่ี ีองค์ ความร้ทู ่ีเปน็ ลกั ษณะของ Tacit Knowledge จะได้มีการแลกเปล่ยี นเรียนรูจ้ ากกนั และกนั และสนับสนนุ ให้มี การเรียนรู้จากกลุ่มอ่นื 2) จดั กิจกรรมเรื่องเล่าเรา้ พลัง โดยจัดใหผ้ ทู้ ่มี ีผลการปฏบิ ัติงานทปี่ ระสบผลสาเรจ็ ได้ เลา่ ถึงกระบวนการปฏิบัติทเ่ี ป็นเลิศให้บุคลากรในองค์กรได้ฟัง และร่วมกันสกัดเทคนิค วธิ กี าที่ปฏิบัตินั้นออกมา ซึ่ง เป็นวธิ ีการทผ่ี ้นู ้นั ได้ใช้แล้วประสบผลสาเร็จ เพื่อคนอื่นจะได้มาเรียนรู้ดว้ ย 6. กจิ กรรมนเิ ทศ กิจกรรมการนเิ ทศในท่ีน้ีหมายถงึ หัวข้อกิจกรรมท่ีจะนาไปเปน็ แนวทางในการออกแบบวธิ ีการนิเทศ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนิเทศ หรอื พจิ ารณากาหนดรายละเอียดในการดาเนินการนเิ ทศในแตล่ ะคร้ัง หรือ แตล่ ะรายการใหเ้ ป็นไปตามหลักการและกระบวนการนเิ ทศ เช่น 1. เชิญวิทยากรมาใหค้ วามรู้ใหม่ 2. จัดประชมุ ชี้แจงเรื่องใหม่ ๆ 3. สาธิตการสอนโดยครูในโรงเรียนหรือจากโรงเรยี นอ่นื ๆ ท่เี ชญิ มา 4. การสมั มนาเสนอแผนการสอน แผนงาน โครงการ ประจาภาคเรียนหรอื ประจาปขี องหมวดวชิ า ฝา่ ย งาน 5. การสัมมนาเสนอผลงานของหมวดวิชา ฝ่ายงานประจาภาคเรยี น หรือประจาปี
6. การสัมมนาสรุปผลการสอนหรอื ผลงานใดๆ ของครู หรือบุคลากรอ่ืน ๆ ในโรงเรยี น 7. ศกึ ษาดูงาน ดูนิทรรศการ 8. จัดประกวดหรอื นทิ รรศการผลงานของครู 9. ส่งครไู ปฝกึ งาน 10. สังเกตการสอนในห้องเรยี น (การวางแผนการสอนท่ีพบว่ามีปัญหาแลว้ ทดลองสอนตามแผน และ สงั เกตการสอนรว่ มกัน) 11. เยย่ี มช้ันเรยี น 12. ให้คาปรึกษาแนะนา 13. การประชุมปฏบิ ตั ิการในเรอ่ื งใด ๆ ร่วมกัน 14. การรว่ มกนั วิจยั ในช้ันเรียน หรอื วิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการอน่ื ๆ ฯลฯ 6. การนเิ ทศภายในโรงเรยี น ปจั จบุ ันการนิเทศการศึกษาโดยศึกษานเิ ทศก์ ไม่สามารถทาได้อย่างทวั่ ถงึ เนื่องจากการขยายตวั ในดา้ นจานวนโรงเรียนและขนาดของโรงเรียน ตลอดจนครู-อาจารยม์ ีจานวนมากขน้ึ การนเิ ทศการศกึ ษาจาก ภายนอกโดยศึกษานเิ ทศก์ย่อมไม่เพียงพอ กอรปกับปจั จุบัน ครู-อาจารย์ มคี ุณวฒุ ิสงู ข้ึน โรงเรียนมีนวตั กรรมและ เทคโนโลยีท่ีทนั สมยั ระบบการนิเทศการศึกษาต้องปรบั ปรงุ พัฒนาให้ทันกับสภาพปัจจุบันท่ีเปลี่ยนแปลงไป การนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน จึงเป็นแนวทางหนึ่งในความพยายามทจ่ี ะปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ คุณภาพการ เรียนการสอนภายในโรงเรียน ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ การนเิ ทศภายในโรงเรียน หมายถึง กิจกรรม กระบวนการที่ผู้บริหารและบคุ ลากรในโรงเรยี น ร่วมมอื กนั จัดขึน้ เพื่อพฒั นาการปฏิบัติงานของครูในทกุ ดา้ น รวมทั้งให้ครเู กดิ ความ กา้ วหนา้ ในวชิ าชีพ และ สมั ฤทธผ์ิ ลสงู สุดในการเรยี นของนักเรียน การนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน จะสามารถดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ จาเป็นตอ้ งอาศัยขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานท่ีชดั เจน เป็นระบบ ซึง่ อาจเรยี กวา่ กระบวนการปฏบิ ัตงิ านหรือ กระบวนการนิเทศ ซงึ่ กระบวนการนิเทศภายในท่ีนยิ มนามาใช้ คอื กระบวนการนเิ ทศของ Ben M. Harris ซง่ึ เรียกวา่ P O L C A ซึง่ มขี น้ั ตอน ดงั น้ี 1) การวางแผนการนิเทศ (Planning) หมายถึง การวางแผนในการปฏบิ ตั งิ าน โดยคิดวา่ จะทา อยา่ งไร การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ การพฒั นาวิธีดาเนนิ งาน การกาหนดงานและผลทีเ่ กิดขึ้นจากการจัดทา โครงการ 2) การจัดองค์กรการนเิ ทศ (Organizing) หมายถึงการจดั โครงสร้างขององค์กร เพื่อการ ดาเนนิ การนิเทศ การกาหนดเกณฑ์การทางาน การจัดหาทรัพยากร วสั ดอุ ปุ กรณ์ เพ่ือสนับสนนุ การนิเทศ การ กาหนดภารกจิ บทบาทหนา้ ท่ี ตลอดจนการประสานงาน 3) การนาการนิเทศสู่การปฏิบตั ิ (Heading) หมายถึง การดาเนินการวนิ จิ ฉัย ส่ังการ การคัดเลอื ก บคุ ลากร การกระต้นุ ให้เกิดการทางาน การให้คาปรกึ ษาชว่ ยเหลือ การใหข้ วญั กาลงั ใจ การให้คาแนะนาการ ปฏิบตั ิงานให้กับบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ ง
4) การควบคมุ การนเิ ทศ (Controlling) หมายถึง การตดิ ตามควบคมุ งานนิเทศ โดยการมอบหมายงาน การติดตามช่วยเหลือแก้ไขปรับปรุงให้งานนิเทศบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ตลอดจนการกาหนด ระเบยี บการปฏิบตั งิ าน 5) การประเมินผลการนิเทศ (Assessing) หมายถงึ การตรวจสอบ ติดตามการปฏิบัติงานการ นิเทศ โดยการวัดและประเมินผลงานนเิ ทศ
บทที่ 4 แผนการนิเทศและปฏทิ ินการนิเทศ ตารางท่ี 1 ปัญหาและความตอ้ งการ และแนวทางการนิเทศ ปัญหาและความตอ้ งการ แนวทาง/กิจกรรมการนิเทศ 1. ด้านคณุ ภาพ/O-NET ผ้เู รยี น 2. ด้านหลักสูตร/หลกั สูตรท้องถน่ิ Coaching & Mentoring 3. ด้านกระบวนการเรียนรู้ การประชุมชแี้ จง 4. ด้านการใชส้ อ่ื และนวตั กรรม การประชุมปฏบิ ตั ิการ 5. ด้านการวดั ผลประเมินผล การสงั เกตการสอน 6. ดา้ นสมรรถนะผูเ้ รยี น C-21 การเยี่ยมชน้ั เรยี น 7. ด้านทกั ษะอาชีพ ตรวจเอกสาร 8. ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ การสร้างเครือข่าย 9. ด้านการวจิ ยั ในชนั้ เรียน การสาธติ 10. ดา้ นงานตามนโยบาย/จดุ เนน้ ศธ. การแลกเปลีย่ นเรยี นร/ู้ ตลาดวชิ า การประกวด/แข่งขนั /คัดเลือก ตารางท่ี 2 กิจกรรมการนเิ ทศ กจิ กรรมการนิเทศ วัตถุประสงค์ ขัน้ ตอน เครอ่ื งมอื การนเิ ทศ 1. การให้คาปรกึ ษา เพอื่ สรา้ งความตระหนักและ ขั้น P : การสารวจปญั หา แบบสอบถาม แนะนา แรงจูงใจในการพัฒนา และความต้องการจาเปน็ 2. การเยี่ยมนิเทศ เพ่อื พฒั นาครูในการจดั แบบสงั เกต ชั้นเรียน กจิ กรรมการเรยี นการสอน ขั้น I : การใหค้ วามร้/ู ข้อมูล 3. การประชุม เพอ่ื พฒั นาความรู้และทักษะ ขั้น D : ปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ แบบตรวจผลงาน ปฏิบัตกิ าร ในการปฏบิ ัติหน้าที่ 4. การศึกษาเอกสาร เพอ่ื พฒั นาความรแู้ ละ แบบสมั ภาษณ์ ความคดิ ริเร่มิ นวัตกรรม ขนั้ R : การเสริมแรง 5. การทดลองปฏิบัติ เพื่อพัฒนาทักษะในการ ข้ัน E : การประเมนิ ผลและ แบบบันทกึ ข้อมูล จรงิ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี 6. PLC ออนไลน์ เพอ่ื บริการทางวชิ าการและ นาผลไปพฒั นาปรบั ปรงุ งาน แบบประเมิน แลกเปล่ียนเรยี นรู้
ตารางท่ี 3 ปฏทิ ินการนเิ ทศ ภาคเรียนท่ี 2 /2560 วนั ท่ี สถานที่ เร่ืองทน่ี เิ ทศ ติดตาม ผนู้ เิ ทศ มค-กพ. 60, เหลา่ ยาววทิ ยาคาร หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 1 กค.-สค. 61 พยัคฆภมู ิวิทยาคาร หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 โนนแดงวิทยาคม หลักสตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทมี ที่ 1 มค-กพ. 60, มัธยมยางสสี รุ าช หลกั สูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 กค.-สค. 61 โนนราษวี ทิ ยา หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 1 นาภพู ิทยาคม หลกั สูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทมี ที่ 2 มค-กพ. 60, หนองม่วงวทิ ยาคาร หลกั สูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 1 กค.-สค. 61 ปอพานพิทยาคมฯ หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 ยางวทิ ยาคม หลักสตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 1 มค-กพ. 60, นาเชอื กพทิ ยาสรรค์ หลักสตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 2 กค.-สค. 61 บรบอื หลักสูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 1 ประชาพฒั นา หลักสตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 มค-กพ. 60, บรบือวิทยาคาร หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทมี ที่ 1 กค.-สค. 61 นาดนู ประชาสรรพ์ หลักสูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 แกดาวทิ ยาคาร หลักสูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทมี ท่ี 1 มค-กพ. 60, ดงบงั พสิ ัยนวการนสุ รณ์ หลักสตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทมี ท่ี 2 กค.-สค. 61 มติ รภาพ หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 1 ดงใหญ่วิทยาคมฯ หลักสตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 2 มค-กพ. 60, เขวาใหญพ่ ิทยาสรรค์ หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 1 กค.-สค. 61 วาปีปทุม หลกั สูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 2 กันทรวชิ ัย หลกั สูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 1 มค-กพ. 60, ชืน่ ชมพทิ ยาคาร หลกั สูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทมี ที่ 2 กค.-สค. 61 ผดงุ นารี หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทมี ที่ 1 ก่ทู องพิทยาคม หลักสูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 มค-กพ. 60, นาโพธิ์พิทยาสรรพ์ หลกั สตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมท่ี 1 กค.-สค. 61 เชียงยืนพิทยาคม หลักสูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 กุดรังประชาสรรค์ หลักสตู ร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 1 มค-กพ. 60, วังยาวศกึ ษาวิทย์ หลกั สูตร/O-NET/งานตามนโยบาย ทีมที่ 2 กค.-สค. 61 มค-กพ. 60, กค.-สค. 61 มค-กพ. 60, กค.-สค. 61 มค-กพ. 60, กค.-สค. 61 มค-กพ. 60, กค.-สค. 61
วนั ท่ี สถานที่ เรือ่ งที่นิเทศ ตดิ ตาม ผนู้ เิ ทศ มค-กพ. 60, มหาชยั พทิ ยาคาร หลักสตู ร/ABL/MCMK ทีมท่ี 1 กค.-สค. 61 เขวาไรศ่ ึกษา หลกั สตู ร/ABL/MCMK/STEM ทมี ท่ี 2 มหาวชิ านกุ ูล หลักสตู ร/ABL/MCMK ทีมที่ 1 มค-กพ. 60, โพนงามวิทยานุกูล หลกั สตู ร/ABL/MCMK ทีมท่ี 2 กค.-สค. 61 สารคามพิทยาคม หลักสตู ร/ABL/WCSS ทีมที่ 1 เขือ่ นพทิ ยาสรรค์ หลักสตู ร/ABL/MCMK/STEM ทีมที่ 2 มค-กพ. 60, โกสุมวิทยาสรรค์ หลักสตู ร/ABL/WCSS ทมี ท่ี 2 กค.-สค. 61 มค-กพ. 60, กค.-สค. 61 ทมี ที่ 1 : นายไวรัช ตะวัน, นายอภชิ าต เข็มพลิ า ทมี ท่ี 2 : นางนวพรรด์ิ นามพุทธา, นางเอมอร จนั ทนนตร,ี นางสาวฐิตารยี ์ วลิ ยั เลิศ ตารางที่ 4 ปฏทิ ินตดิ ตาม ประเมินผล ภาคเรียนที่ 2 /2561 ช่วงเวลา กรรมการชุดท่ี 1 กรรมการชุดที่ 2 กรรมการชุดท่ี 3 เหล่ายาววิทยาคาร สารคามพิทยาคม .....มคี .2561, ….กย.2561 พยคั ฆภมู วิ ทิ ยาคาร โนนแดงวทิ ยาคม โกสมุ วทิ ยาสรรค์ โนนราษวี ิทยา เขวาไร่ศึกษา .....มีค.2561, ….กย.2561 มธั ยมยางสสี รุ าช หนองมว่ งวิทยาคาร เขอ่ื นพทิ ยาสรรค์ ยางวทิ ยาคม เชยี งยนื พทิ ยาคม .....มีค.2561, ….กย.2561 นาภพู ทิ ยาคม บรบือ ชืน่ ชมพทิ ยาคาร บรบอื วิทยาคาร กทู่ องพิทยาคม .....มคี .2561, ….กย.2561 นาเชอื กพิทยาสรรค์ กนั ทรวิชัย มหาชยั พทิ ยาคาร เขวาใหญ่พิทยาสรรค์ มหาวชิ านุกูล .....มคี .2561, ….กย.2561 ปอพานพิทยาคมฯ มิตรภาพ โพนงามวทิ ยานุกลู แกดาวทิ ยาคาร วงั ยาวศกึ ษาวทิ ย์ .....มีค.2561, ….กย.2561 นาดูนประชาสรรพ์ นาโพธพ์ิ ทิ ยาสรรพ์ กุดรังประชาสรรค์ รอง.ผอ.สพม. รอง.ผอ.สพม. .....มีค.2561, ….กย.2561 ดงบังพสิ ยั นวการนุสรณ์ กตปน. 2 ทา่ น กตปน. 2 ท่าน ผู้บรหิ าร 2 ท่าน ผู้บรหิ าร 2 ท่าน .....มคี .2561, ….กย.2561 ประชาพฒั นา ผอ.กลมุ่ งาน 2 ท่าน ผอ.กลุม่ งาน 2 ท่าน ศน. 2 ท่าน ศน. 2 ท่าน .....มคี .2561, ….กย.2561 ดงใหญว่ ิทยาคมฯ .....มคี .2561, ….กย.2561 วาปปี ทมุ .....มีค.2561, ….กย.2561 ผดงุ นารี .....มคี .2561, ….กย.2561 - ผอ.สพม. กตปน. 2 ท่าน ผบู้ ริหาร 2 ทา่ น ผอ.กลุ่มงาน 2 ทา่ น ศน. 1 ท่าน
ภาคผนวก แผนงาน/โครงการ
โครงการ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษาของโรงเรียน สนองยุทธศาสตร์ 2 ตัวช้ีวัดที่ 1.1, 2.4, 2.5, 2.6, 3.2, 3.3, 4.2 สนองยุทธศาสตร์ 3 ตัวช้ีวัดที่ 1.2, 1.3 สนองยุทธศาสตร์ 5 ตัวช้ีวดั ที่ 1.1, 1.2 สนองจดุ เนน้ สพม.26 ที่ 6, 10, 11, 12 กล่มุ ทรี่ ับผดิ ชอบ กลุม่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ผรู้ ับผดิ ชอบ นายอภชิ าต เขม็ พิลา และคณะ ระยะเวลาทีด่ าเนนิ การ ตลุ าคม 2560- กนั ยายน 2561 .......................................................................................................................................... ....................................... .. 1. หลกั การและเหตุผล การนเิ ทศเปน็ งานที่มีความสาคญั งานหน่ึงของการจัดและบริหารสถานศึกษาในการพฒั นาการศึกษา จะต้องมีการนิเทศเปน็ หลักของการจดั กิจกรรมบรหิ ารสถานศึกษา ดว้ ยเหตุน้ีการนิเทศจึงเป็นกระบวนการของ การศึกษาท่ีมุ่งจะส่งเสริมใหก้ ารสนับสนุน และพฒั นามาตรฐานของการศึกษาโดยเฉพาะผ้นู เิ ทศก็ต้องการความรู้ ประสบการณ์ และทักษะต่างๆ ในการนเิ ทศ ตอ้ งการ การสนับสนุนตอ้ งการขวัญและกาลังใจ ต้องการความ รว่ มมอื ร่วมใจจากบุคลากรทุกฝา่ ยทเี่ กี่ยวกบั การศกึ ษาขณะเดียวกันผู้รบั การนิเทศก็ต้องการการดแู ลเอาใจใส่ ตอ้ งการขวญั และกาลงั ใจ และการสนับสนนุ จากผู้นเิ ทศและผ้บู ริหารเช่นกัน การนิเทศ ตรงกับคาภาษาองั กฤษวา่ “supervision” จากความหมายตามรปู ศัพทก์ ็คอื การใหค้ วาม ช่วยเหลือ ให้คาแนะนา ตามรูปศพั ท์จากพจนานกุ รม หมายถึง การช้แี จง การแสดงการจาแนก (พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2542 : 588) ปรียาพร วงศอ์ นตุ รโรจน์ (2546 : 15-16) กลา่ วว่า การนเิ ทศ หมายถึง กระบวนการจัดบริหารการศกึ ษา เพ่ือชีแ้ นะใหค้ วามช่วยเหลอื และความร่วมมอื กบั ครู และบคุ คลท่ี เกยี่ วข้องกับ การจัดการศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนของครู และเพ่ิมคณุ ภาพของนักเรยี นให้เป็นไปตามเป้าหมาย ของการศึกษานโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนแนวทางการปฏิรูปการศึกษาอยา่ งเปน็ รปู ธรรม สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26 จึงจดั ทาโครงการพัฒนาการตดิ ตาม นิเทศ และ ประเมินผลการจัดการศึกษา ปีงบประมาณ 2560 เพ่อื สนบั สนนุ ส่งเสริมคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ของครูท่ี นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนอยา่ งยงั่ ยืน 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาศึกษานเิ ทศก์ใหม้ สี มรรถนะและสามารถปฏบิ ตั งิ านได้ตามมาตรฐาน 2.2 เพือ่ ตดิ ตาม นิเทศ ประเมนิ และพัฒนาระบบการนเิ ทศภายในของโรงเรียน 2.3 เพื่อตดิ ตาม นิเทศ การประเมนิ ผล และรายงานการจดั กิจกรรมตามนโยบายทุกระดับ 3. เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ 3.1.1 ศกึ ษานิเทศก์ทุกคนไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะและการปฏิบัติงาน 3.1.2 ติดตาม นิเทศ ระดับช้นั เรยี นและงานตามนโยบาย 1 ครง้ั /โรงเรียน/ภาคเรียน 3.1.3 ตดิ ตาม ประเมนิ ผลโดยคณะกรรมการรว่ ม (สพม./กตปน./ผทู้ รงคุณวุฒ/ิ ตัวแทนผบู้ รหิ าร/ศน.)
คดั เลอื กผลการปฏิบตั ิงานทีเ่ ปน็ เลิศ ภาคเรียนละ 1 ครงั้ /ภาคเรยี น เชิงคณุ ภาพ 3.2.1 ศกึ ษานเิ ทศก์และครูผรู้ ว่ มนิเทศมีความร้แู ละสามารถนเิ ทศงานในระดบั โรงเรียนได้อย่างมีคุณภาพ 3.2.2 กลุ่มงานนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลมีการพฒั นาการปฏิบตั ิงานอยา่ งเป็นระบบ 3.2.3 โรงเรียนมรี ะบบการนิเทศและมผี ลการปฏิบตั ิงานทเ่ี ป็นเลศิ ทางวชิ าการโดยกระบวนการการนเิ ทศ 4. วิธีดาเนนิ การ/ขัน้ ตอนการดาเนินงาน ท่ี กิจกรรม ระยะเวลาดาเนินการ หมายเหตุ (ผรู้ บั ผิดชอบ) 1 ประชมุ ปฏิบตั กิ ารสร้างเครอ่ื งมอื การนเิ ทศ พฤศจิกายน 2560 ทมี ศึกษานเิ ทศก์ สพม.26 ปีงบประมาณ 2561 คณะกรรมการเฉพาะกจิ 2 นิเทศ ตดิ ตาม สง่ เสรมิ การพัฒนาโรงเรยี น ธนั วาคม 2530 ทมี ศึกษานิเทศก์ สพม.26 ตามกรอบเคร่ืองมือ มถิ ุนายน 2561 3 ติดตาม ประเมินผลโดยคณะกรรมการร่วม กุมภาพนั ธ์ 2561 คณะกรรมการประเมนิ ฯ กันยายน 2561 5. ระยะเวลาและสถานทดี่ าเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ ภาคเรียนที่ 2/2560 – สิ้นสดุ ภาคเรยี นที่ 1/2561 สถานทดี่ าเนนิ การ 1. หอ้ งประชุม สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 2. โรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย 35 โรงเรยี น 6. งบประมาณ งบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรร จานวน 151,920 บาท ดังน้ี รายการ งบประมาณ จาแนกตามรายจ่าย ค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ วัสดุ กิจกรรมท่ี 1 ประชุมปฏิบัติการสร้างเครอื่ งมือ 9,000 การนเิ ทศ ปงี บประมาณ 2561 1,000 - 9,000 - 10,000 1. การจัดประชมุ ปฏบิ ตั ิการพัฒนาส่ือตน้ แบบ - - 1,000 (30 คน 2 วนั ) - -ค่าอาหาร-เบรก (30*150*2) 30,000 - 9,000 1,500 -ค่าสือ่ ทัศนปู กรณ์/เอกสาร 10,800 รวมกจิ กรรมที่ 1 40,800 - - - 30,000 - กิจกรรมที่ 2 นิเทศ ติดตาม 35 โรงเรยี น 2 ครั้ง - 30,000 โดยศึกษานิเทศก์ จานวน 9 วัน โดย 10,800 แบง่ เป็น 2 ทีม ใชร้ ถสว่ นบุคคลทีม 10,800 ละ 1 คัน -คา่ น้ามนั เชอ้ื เพลิง (2*7,500*2) -ค่าเบี้ยเล้ยี ง (9*5*120*2) รวมกจิ กรรมที่ 2
กจิ กรรมท่ี 3 ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน ของโรงเรยี น โดยคณะกรรมการร่วม 35 โรงเรยี น 2 คร้งั โดย แบง่ เปน็ 3 สาย สายละ 8 คน จานวน 6 วัน โดย แบง่ เปน็ 3 ทมี ใชร้ ถ สว่ นกลาง ทมี ละ 1 คนั -คา่ น้ามนั เชือ้ เพลิง (3*5,000*2) 30,000 - - - - -คา่ เบ้ยี เลยี้ ง (24*6*240*2) 69,120 69,120 30,000 2,000 -ค่าเอกสารแฟ้มประเมิน 2,000 - - 2,000 รวมกิจกรรมที่ 3 101,120 69,120 30,000 5,000 รวมทั้งสิน้ (ถัวจ่ายทุกรายการ) 151,920 79,920 69,000 7. การวเิ คราะห์ความเส่ียงของโครงการ ปัจจัยความเสย่ี ง 1. การจัดกิจกรรมไมเ่ ปน็ ไปตามระยะเวลาที่กาหนดเนื่องจากงบประมาณจากส่วนกลางลา่ ช้า 2. ผ้ปู ฏบิ ัติงานมภี ารกจิ ทับซ้อนทาให้ไม่สามารถดาเนินโครงการ/กจิ กรรมไม่เปน็ ไปตามปฏทิ ิน แนวทางการบรหิ ารความเส่ียง คา่ เปา้ หมาย 1. ยืดหยุ่นการกาหนดการจดั กิจกรรมตามงบประมาณ 2. จดั ทาตารางการปฏิบัติงานตลอดปี และยืดหยนุ่ ตามภารกิจ รอ้ ยละ 100 35 โรง 8. ตัวช้ีวดั และคา่ เป้าหมาย ตวั ชี้วดั 2 ตน้ ฉบับ เชงิ ปรมิ าณ ค่าเป้าหมาย 1. ศกึ ษานเิ ทศก์ ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะและการปฏบิ ัติงานตามมาตรฐาน 2. โรงเรียนในสังกัด สพม.เขต 26 แต่ละโรงได้รับการนเิ ทศตดิ ตาม อยา่ งนอ้ ย ระดับดีข้ึนไป ระดับดีขน้ึ ไป 2 ครงั้ /ภาคเรยี น ระดบั ดขี ึ้นไป 3. ได้คมู่ ือ/เครื่องมือการนิเทศการศึกษา และรายงานผลนิเทศ ตวั ช้ีวัด เชงิ คุณภาพ 1. ศกึ ษานิเทศกป์ ฏิบัติงานตามสมรรถนะเต็มศักยภาพอย่างมีคณุ ภาพ 2. เขตพน้ื ทแี่ ละโรงเรยี นพฒั นารูปแบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล 3. ครจู ดั กิจกรรม ACTIVE LEARNING/STEM/เพิ่มเวลารู้/นโยบาย ศธ. อยา่ งมคี ณุ ภาพ
9. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั 9.1 โรงเรยี นในสังกัด ไดแ้ นวทางการปรับหลกั สูตร การบริหารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ ACTIVE LEARNING/STEM/เพ่ิมเวลารู้/PLC และการขบั เคลื่อนงานตามนโยบายต้อนสงั กัด อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 9.2 ครผู นู้ ิเทศไดค้ วามรู้ ไดแ้ นวทาง ส่อื การจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู บบ ACTIVE LEARNING/STEM/ เพิ่มเวลารู้/PLC/วทิ ยฐานะแนวใหม่ ว.21/2560 และการจัดระบบหลกั ฐานข้อสนเทศเพื่อรับการประเมิน 9.3 ครแู ละโรงเรยี นสรา้ งเครือขา่ ยการนิเทศเพื่อพฒั นาระบบการนเิ ทศภายในท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 10. หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 11. ผู้รับผิดชอบ/เบอร์โทรศัพท์ นายอภิชาต เข็มพลิ า โทรศพั ท์ 0892749575 E-mail : [email protected]
แบบนเิ ทศ ติดตามสภาพความพร้อมและบรบิ ทของสถานศึกษา การนเิ ทศครง้ั ท่ี .......... ปกี ารศึกษา 2561 โรงเรียน...........................................สหวทิ ยาเขต...................................................................สพม. เขต 26 ผอู้ านวยการโรงเรียน ........................................................................................................ โทรศพั ท์ บ้าน ................................................. ที่ทางาน .................................................... e- mail ……………………………………………………… มือถอื ..................................... สภาพความพร้อมของโรงเรียน สภาพทต่ี ัง้ ของสถานศึกษาห่างจากสานักงานเขตพน้ื ที่................กิโลเมตร สภาพของโรงเรยี น สภาพความพร้อม 1. อาคาร สถานที่ สะอาด รม่ รืน่ ด/ี เหมาะสม/พอเพียง ปานกลาง ปรบั ปรุง/ไม่พอเพียง ปลอดภยั (3) (2) (1) 2. สภาพสนามกีฬา สนามเด็กเล่น 3. มหี ้องสมุด มมุ หนังสือ 4. สภาพหอ้ งเรยี น มุมประสบการณ์ ป้ายนิเทศ 5. หอ้ งปฏบิ ตั ิการตา่ ง ๆ 6. ปัจจยั ด้านสาธารณปู โภค (ไฟฟ้า, ประปา,) 7. ส่ือ และแหล่งเรยี นรู้ทั้งใน และนอกห้องเรยี น 8. สอ่ื เทคโนโลยี Internet 9. การปอ้ งกนั อุบัตภิ ัยในสถานศึกษา 10. สง่ิ อานวยสะดวกเด็กพิการเรยี นรว่ ม
แบบนิเทศ ตดิ ตามประเมินผล การใชห้ ลกั สตู รสถานศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 การนิเทศครั้งท่ี ............... ปกี ารศึกษา 2561 โรงเรียน...........................................สหวทิ ยาเขต.........................................................สพม. เขต 26 คาช้ีแจง ใหผ้ ู้นิเทศเขยี นเครอ่ื งหมาย ลงในช่องระดบั คุณภาพของแตล่ ะรายการ ท่ตี รงกับความ เป็นจรงิ และบนั ทึกสรุปความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผ้นู ิเทศ ขอ้ รายการ ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรงุ 1 การจัดทาโครงสรา้ งรายวชิ าพื้นฐานของครผู ้สู อนในรายวชิ าทรี่ ับผิดชอบ 2 การจัดทาหน่วยการเรียนร/ู้ แผนการจัดการเรียนรูข้ องครูในรายวชิ าทร่ี ับผิดชอบ 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่จดั ทา เป็นหน่วยอิงมาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด มีองค์ประกอบหนว่ ย ครบถว้ น และสอดคลอ้ ง ร้อยรดั กนั 4 มีการจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้รายชั่วโมง/ครง้ั ท่สี อนโดยแบง่ เนอ้ื หาสาระ เวลา ครอบคลุมหนว่ ยการเรยี นรู้ 5 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกบั หน่วย/แผนการจัดการเรยี นรู้ 6 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใช้เทคนคิ /วธิ ีการท่เี หมาะสม สอดคลอ้ งกับ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สกู่ ารสรา้ งชิน้ งาน/ภาระงาน 7 จดั เตรียม เลอื กใช้ส่ือ แหลง่ เรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบั ผเู้ รียน/กิจกรรมการเรียนรู้ 8 จัดบรรยากาศ ตกแต่งห้องเรียน/ชน้ั เรยี น ท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรู้ 9 การวดั ผลประเมนิ ผล ใชว้ ธิ กี ารท่ีเหมาะสม สอดคล้องกบั มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด และช้นิ งานภาระงาน 10 มีผลงานนกั เรยี นทเ่ี กิดจากการจัดการเรียนรู้ สอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวชี้วดั 11 มีการสรุปบนั ทึกผลหลงั การจัดกจิ กรรมการการเรียนรู้ เมื่อจบหนว่ ย/แผนการ จดั การเรยี นรู้ 12 มกี ารวิเคราะห์ผลการประเมิน เพอ่ื นาผลมาใชส้ อนซอ่ มเสรมิ วิจยั ในช้นั เรยี น ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้นเิ ทศ............................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ลงชอื่ …………………………………… ผนู้ ิเทศ (......................................................)
คาอธบิ ายประกอบ/แนวทางการใช้แบบนิเทศ ติดตามประเมินผลการใชห้ ลักสตู รสถานศกึ ษา เกณฑ์พจิ ารณาระดบั คุณภาพโดยภาพรวม ของแตล่ ะรายการ ระดบั 3 หมายถงึ ปฏบิ ัติสมบูรณ์ ครบถ้วน เหมาะสม ระดับ 2 หมายถึง ปฏบิ ตั ิไม่ครบถว้ น สมบูรณ์ มีบางรายการควรปรบั ปรุงแก้ไข ระดบั 1 หมายถึง ปฏิบัตไิ ม่ครบถว้ น สมบรู ณ์ มหี ลายรายการตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไข เพ่มิ เติม รายการขอ้ 1 รายวชิ าพืน้ ฐานระดบั ประถมศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุม่ ละ 1 รายวชิ า ยกเวน้ สงั คมฯ 2 รายวิชา รวม 9 รายวิชา ระดับมัธยมต้น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ แต่ละกลมุ่ จัดได้มากกวา่ 1 รายวชิ าในแต่ละภาค/ปี รายการข้อ 2 จัดทาหนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ ตามโครงสรา้ งรายวชิ าท่รี ับผิดชอบทุกรายวชิ า รายการขอ้ 3 หนว่ ยการเรยี นรมู้ อี งค์ประกอบหลกั 10 องคป์ ระกอบ การออกแบบหนว่ ยโดยใช้รปู แบบ Backward Design หรือรปู แบบอืน่ และแต่ละองคป์ ระกอบสอดคล้อง ร้อยรัดกัน รายการขอ้ 4 ควรจดั ทาแผนการจดั การเรยี นร้โู ดยแยกเนื้อหา สาระ เวลา ของแต่ละหนว่ ย จานวนแผน ครอบคลุมหนว่ ยการเรยี นรู้ อาจเป็นแผนรายชว่ั โมง หรอื มากกว่า รายการข้อ 5 จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามลาดับหนว่ ยในโครงสรา้ งรายวชิ า และตามท่ีออกแบบกจิ กรรม ไว้ในแต่ละหนว่ ย/แผน (หนว่ ยท่มี รี ายละเอยี ดของกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่แี ยกเปน็ ช่ัวโมงใช้สอนได้เลย) รายการขอ้ 6 พิจารณากิจกรรมการเรยี นรู้ในหนว่ ย/แผน วา่ ใช้กระบวนการจัดการเรียนรูอ้ ะไร โดยเฉพาะ 11 กระบวนการตามทห่ี ลักสูตรฯ เสนอแนะ หรืออนื่ ๆ นาสูช่ ้ินงาน/ภาระงานหรือไม่ รายการขอ้ 7 พิจารณาดูวา่ ใชส้ ือ่ อะไร นวัตกรรมอะไร แหล่งเรยี นร้อู ะไร เหมาะสมกับกิจกรรม/ผู้เรียน หรอื ไม่ รายการข้อ 8 สมุ่ เยยี่ มชั้นเรยี น ดกู ารจัดหอ้ ง บรรยากาศ มมุ ประสบการณ/์ ส่ือ ความสะอาด อนื่ ๆ รายการขอ้ 9 พจิ ารณาต้ังแต่ก่อน ระหว่าง และหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดูวธิ ีการ เคร่อื งมือวา่ หลากหลาย เหมาะสมกับพฤติกรรมท่ตี ้องการวัด นาผลมาตคี ่า เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ที่กาหนดใน ตัวช้ีวดั รายการขอ้ 10 สอบถาม ตรวจสอบผลงานนักเรียนท่ีเกดิ จากการเรียนรใู้ นหน่วย/แผน ท่สี อดคล้องกับ ตัวชี้วัด รายการขอ้ 11 บันทกึ ผลหลังการสอนจบหน่วย/แผน การสรปุ ผลสอดคล้องกับตวั ชว้ี ดั /จดุ ประสงค์การ เรยี นรู้ (แผนฯ) การระบปุ ัญหาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะ รายการขอ้ 12 ดูการเช่ือมโยงไปสูก่ ารจดั สอนซอ่ มเสรมิ วิจัยในช้ันเรยี น เพ่ือแก้ปัญหาผ้เู รียน วา่ มหี รือไม่
แบบนเิ ทศ ติดตามผลระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา การนเิ ทศครั้งท่ี .................. ปีการศกึ ษา 2561 โรงเรียน...........................................สหวทิ ยาเขต...................................................................สพม. เขต 26 รายการ ระดบั คณุ ภาพ ข้อคดิ เหน็ /เสนอแนะ 1. การกาหนดมาตรฐานการศึกษา ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 2. การจดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ......... ........... ............ ……………………… 2.1 จัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2.2 จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปฯี …… .......... .............. ……………………….. 3.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ........ .......... .............. ……………………….. 4. การดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ......... ........... ............ ……………………… ของสถานศึกษา ......... ........... ............ ……………………… 5. การตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ......... ........... ............ ……………………… 6. จัดใหม้ ีการประเมนิ คุณภาพภายใน ......... ........... ............ ……………………… 7. การจัดทารายงานประจาปี (SAR) ......... ........... ............ ……………………… 8. จดั ใหม้ กี ารพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเนอื่ ง ......... ........... ............ ……………………… จดุ เด่นของการดาเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ปญั หา/อปุ สรรค/จุดที่ควรพัฒนา ในการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ............................................. ........................................................................................................................................ .................................. ................................................................................................ .......................................................................... ขอ้ เสนอแนะในการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................................. ........................................................................................................................................................... ............... ................................................................................................................... .......................................................
แบบนเิ ทศ ติดตามสภาพความพร้อมและบรบิ ทของสถานศึกษา การนิเทศครั้งท่ี .......... ปีการศกึ ษา ………. โรงเรยี น...........................................สหวทิ ยาเขต...................................................................สพม. เขต 26 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ผู้อานวยการโรงเรยี น ............................................................................................................... โทรศัพท์ บ้าน ................................................. ท่ีทางาน .................................................... e- mail ……………………………………………………… มือถอื ......................................................... สภาพความพร้อมของโรงเรียน สภาพที่ต้ังของสถานศกึ ษาหา่ งจากสานกั งานเขตพน้ื ท่ี................กิโลเมตร สภาพของโรงเรยี น สภาพความพร้อม 1. อาคาร สถานท่ี สะอาด ร่มรื่น ดี/เหมาะสม/พอเพยี ง ปานกลาง ปรับปรงุ /ไม่พอเพียง ปลอดภยั (3) (2) (1) 2. สภาพสนามกีฬา สนามเด็กเล่น 3. มหี อ้ งสมุด มุมหนังสือ มุมคน้ คว้า ICT 4. สภาพห้องเรียน มมุ ประสบการณ์ ป้ายนเิ ทศ 5. หอ้ งปฏิบัตกิ ารต่าง ๆ (กลุ่มสาระ) 6. ปจั จยั ด้านสาธารณปู โภค (ไฟฟา้ , ประปา, โทรศพั ท์) 7. สือ่ และแหล่งเรยี นรูท้ ้งั ใน และนอก หอ้ งเรียน 8. สือ่ เทคโนโลยี Internet 9. การปอ้ งกันอบุ ตั ภิ ัยในสถานศึกษา 10. สิง่ อานวยสะดวกเด็กพิการเรยี นรว่ ม
แบบนิเทศ ตดิ ตามประเมินผล การใชห้ ลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การนิเทศคร้ังท่ี ............... ปกี ารศกึ ษา …………. โรงเรียน...........................................สหวทิ ยาเขต.........................................................สพม. เขต 26 คาช้ีแจง ให้ผู้นิเทศเขียนเคร่อื งหมาย ลงในช่องระดับคุณภาพของแตล่ ะรายการ ที่ตรงกบั ความ เป็นจรงิ และบันทึกสรปุ ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผนู้ เิ ทศ ขอ้ รายการ ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรงุ 1 การจัดทาโครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐานของครผู ู้สอนในรายวิชาท่รี ับผดิ ชอบ 2 การจัดทาหนว่ ยการเรียนรู/้ แผนการจัดการเรียนรขู้ องครูในรายวิชาทรี่ ับผดิ ชอบ 3 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่จี ดั ทา เปน็ หนว่ ยองิ มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั มีองคป์ ระกอบหนว่ ย ครบถว้ น และสอดคลอ้ ง รอ้ ยรดั กนั 4 มกี ารจัดทาแผนการจดั การเรียนรูร้ ายชวั่ โมง/ครงั้ ทสี่ อนโดยแบ่งเนื้อหาสาระ เวลา ครอบคลุมหนว่ ยการเรยี นรู้ 5 การจัดกจิ กรรมการเรียนรูส้ อดคลอ้ งกับหนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรู้ 6 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ Active Learning ใชเ้ ทคนคิ /วธิ ีการที่เหมาะสม สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั สู่การสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน 7 จัดเตรียม เลือกใช้สอื่ แหล่งเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกับผู้เรยี น/กิจกรรมการเรยี นรู้ 8 จัดบรรยากาศ ตกแตง่ ห้องเรียน/ชนั้ เรยี น ทเี่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ 9 การวัดผลประเมินผล ใช้วธิ ีการทเ่ี หมาะสม สอดคล้องกับ มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด และชิน้ งานภาระงาน 10 มีผลงานนักเรียนท่ีเกิดจากการจดั การเรยี นรู้ สอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั 11 มกี ารสรปุ บันทึกผลหลงั การจัดกิจกรรมการการเรยี นรู้ เม่ือจบหนว่ ย/แผนการ จัดการเรียนรู้ 12 มกี ารวเิ คราะหผ์ ลการประเมิน เพ่ือนาผลมาใชส้ อนซอ่ มเสรมิ วจิ ยั ในช้นั เรียน ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผนู้ ิเทศ............................................................................................................ ......................................................................................................................................... ............................... ลงช่อื …………………………………… ผูน้ ิเทศ (.........................................)
คาอธิบายประกอบ/แนวทางการใช้แบบนเิ ทศ ติดตามประเมนิ ผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา เกณฑพ์ ิจารณาระดบั คุณภาพโดยภาพรวม ของแตล่ ะรายการ ระดบั 3 หมายถงึ ปฏิบตั ิสมบูรณ์ ครบถว้ น เหมาะสม ระดับ 2 หมายถงึ ปฏบิ ัติไม่ครบถ้วน สมบรู ณ์ มีบางรายการควรปรบั ปรงุ แก้ไข ระดับ 1 หมายถึง ปฏบิ ัติไมค่ รบถ้วน สมบูรณ์ มีหลายรายการต้องปรบั ปรงุ แก้ไข เพิม่ เติม รายการข้อ 1 รายวิชาพืน้ ฐานระดับประถมศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้ กลมุ่ ละ 1 รายวชิ า ยกเวน้ สงั คมฯ 2 รายวิชา รวม 9 รายวิชา ระดบั มธั ยมต้น กลุม่ สาระการเรยี นรู้ แต่ละกลมุ่ จัดได้มากกว่า 1 รายวชิ าในแต่ละภาค/ปี รายการข้อ 2 จัดทาหน่วยการเรียนรู/้ แผนการจดั การเรียนรู้ ตามโครงสรา้ งรายวชิ าที่รับผดิ ชอบทกุ รายวชิ า รายการขอ้ 3 หน่วยการเรียนรู้มอี งค์ประกอบหลัก 10 องค์ประกอบ การออกแบบหนว่ ยโดยใชร้ ูปแบบ Backward Design หรือรปู แบบอนื่ และแต่ละองค์ประกอบสอดคลอ้ ง ร้อยรัดกัน รายการขอ้ 4 ควรจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้โดยแยกเน้ือหา สาระ เวลา ของแต่ละหนว่ ย จานวนแผน ครอบคลุมหน่วยการเรยี นรู้ อาจเป็นแผนรายช่วั โมง หรือมากกว่า รายการข้อ 5 จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามลาดับหนว่ ยในโครงสรา้ งรายวชิ า และตามท่ีออกแบบกจิ กรรม ไวใ้ นแต่ละหน่วย/แผน (หนว่ ยท่มี ีรายละเอยี ดของกิจกรรมการเรยี นรทู้ แ่ี ยกเป็นช่ัวโมงใช้สอนไดเ้ ลย) รายการขอ้ 6 พิจารณากจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นหน่วย/แผน วา่ ใชก้ ระบวนการจดั การเรียนรอู้ ะไร โดยเฉพาะ 11 กระบวนการตามทีห่ ลักสตู รฯ เสนอแนะ หรอื อื่น ๆ นาสู่ช้นิ งาน/ภาระงานหรอื ไม่ รายการขอ้ 7 พิจารณาดวู า่ ใชส้ ื่ออะไร นวตั กรรมอะไร แหล่งเรยี นรู้อะไร เหมาะสมกบั กิจกรรม/ผ้เู รียน หรือไม่ รายการขอ้ 8 สุ่มเย่ยี มช้ันเรยี น ดกู ารจัดหอ้ ง บรรยากาศ มมุ ประสบการณ/์ ส่ือ ความสะอาด อื่นๆ รายการข้อ 9 พิจารณาตง้ั แตก่ อ่ น ระหว่าง และหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดูวธิ ีการ เคร่อื งมือว่า หลากหลาย เหมาะสมกับพฤตกิ รรมทต่ี ้องการวัด นาผลมาตีคา่ เปรียบเทยี บกับเกณฑ์ที่กาหนดใน ตวั ชว้ี ัด รายการขอ้ 10 สอบถาม ตรวจสอบผลงานนกั เรียนที่เกดิ จากการเรยี นรู้ในหนว่ ย/แผน ทส่ี อดคล้องกบั ตัวชี้วัด รายการขอ้ 11 บันทกึ ผลหลังการสอนจบหนว่ ย/แผน การสรปุ ผลสอดคล้องกับตวั ชีว้ ัด/จดุ ประสงค์การ เรียนรู้ (แผนฯ) การระบปุ ัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ รายการขอ้ 12 ดูการเชื่อมโยงไปส่กู ารจัดสอนซอ่ มเสรมิ วจิ ยั ในช้นั เรยี น เพ่ือแกป้ ัญหาผเู้ รียน วา่ มหี รอื ไม่
แบบนเิ ทศ ติดตามผลการดาเนนิ งานตานนโยบาย นโยบาย “……………….......................................................” การนิเทศครง้ั ที่ .................. ปกี ารศึกษา ………. โรงเรียน...........................................สหวิทยาเขต...................................................................สพม. เขต 26 วันที่ โรงเรียน เวลา ทีมผู้นเิ ทศ (SMART Trainers) 1. 2. 3. จานวนผรู้ ับการนเิ ทศ 1. ฝ่ายบรหิ ารโรงเรียน 2. ครู กิจกรรมการนเิ ทศ สังเกตชั้นเรียน แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ตรวจเอกสาร สัมภาษณ์ ประเดน็ การตดิ ตาม/นเิ ทศ ข้อค้นพบ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. สอ่ื /เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. 1. ……………………………………………… 1. ……………………………………………… 2. ………………………………………………. ………………………………………………. 3. 2. ……………………………………………… 2. ……………………………………………… ………………………………………………. ………………………………………………. 3. ……………………………………………… 3. ……………………………………………… ………………………………………………. ………………………………………………. ภาพกจิ กรรม
แบบนิเทศ ตดิ ตามผลการดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรยี น การนเิ ทศครงั้ ท่ี .................. ปกี ารศึกษา ………. โรงเรียน...........................................สหวิทยาเขต...................................................................สพม. เขต 26 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คาชี้แจงใหต้ รวจสอบการดาเนนิ งานรายขอ้ แล้วรวมคะแนนหาค่าเฉล่ีย ขอ้ ท่ี ประเดน็ การตดิ ตาม นิเทศ และประเมนิ ผล ผลการประเมิน/หลักฐาน ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ 1 โรงเรียนกาหนดผรู้ บั ผิดชอบงานนิเทศภายในโรงเรียนอย่าง ชัดเจน ผรู้ ับผดิ ชอบมคี วามเข้าใจขอบข่ายของงานและความ รับผิดชอบของตนเอง 2 โรงเรียนจดั ระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการวางแผนการ นิเทศภายในโรงเรยี น 3 โรงเรยี นวางแผนการนเิ ทศ ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความตอ้ งการของโรงเรยี น 4 โรงเรยี นดาเนนิ การตามแผนนเิ ทศภายในโรงเรียนท่ีวางไว้ 5 โรงเรียนประเมินผลการนิเทศอยา่ งเป็นระบบ และนาผลการ ประเมินมาปรบั ปรงุ การนิเทศภายในโรงเรยี น เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน 5 หมายถึง ปฏบิ ตั ไิ ด้ครบถ้วน มหี ลักฐานชัดเจน คะแนน 4 หมายถึง ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 รายการ คะแนน 3 หมายถงึ ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ คะแนน 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ คะแนน 1 หมายถงึ ปฏิบัตไิ ด้ 2 รายการ คะแนน ข้อค้นพบ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบนิเทศ ตดิ ตามผลการดาเนินงานการสง่ เสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมและการวิจยั การนิเทศครง้ั ที่ .................. ปีการศึกษา ………. โรงเรียน...........................................สหวิทยาเขต...................................................................สพม. เขต 26 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาชแ้ี จงใหต้ รวจสอบการดาเนนิ งานรายข้อ แลว้ รวมคะแนนหาคา่ เฉลยี่ ขอ้ ท่ี ประเดน็ การติดตาม นิเทศ และประเมนิ ผล ผลการประเมนิ มี ไมม่ ี 1 โรงเรยี นมแี ผนงาน/โครงการสง่ เสรมิ การวจิ ยั หรอื พัฒนา 2 โรงเรียนมีBest practice หรือผลงานวิจยั หรือนวัตกรรมการ จดั การเรียนการสอน การบรหิ ารของครูหรือผ้บู ริหาร โรงเรียนมี 3 ผลงานวจิ ัย/โครงงาน/นวัตกรรมของนกั เรียน 4 โรงเรยี นมกี ารส่งเสริมใหม้ ีการประกวด คัดเลือก Best practice หรอื นวัตกรรมของครหู รือนกั เรียน ในระดบั โรงเรียน ระดบั เขต พื้นที่ หรอื ระดบั ท่ีสูงขน้ึ 5 นักเรียน หรอื ครูในโรงเรียนได้รบั รางวลั ในการประกวดโครงงาน หรือBest practice หรอื งานวจิ ยั หรอื นวตั กรรมระดบั เขตพ้ืนท่ี ข้นึ ไป 6 โรงเรยี นมีการรวบรวม Best practice หรือผลงานวจิ ัย หรือ นวัตกรรมของครู ผูบ้ รหิ าร หรือนักเรยี นเพื่อการเผยแพร่ 7 โรงเรยี นได้มกี ารเผยแพรผ่ ลงานดา้ นการวจิ ัย หรือนวตั กรรม หรอื นาผลงานวจิ ยั หรือนานวตั กรรมไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนา ชมุ ชน หรอื องคก์ ร สถานศกึ ษาอื่น เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 5 หมายถงึ ปฏบิ ัตไิ ด้ 6-7 ข้อ/มีหลกั ฐานชดั เจน คะแนน 4 หมายถึง ปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 ข้อ/มหี ลกั ฐาน คะแนน 3 หมายถึง ปฏิบัตไิ ด้ 4 ขอ้ /มหี ลกั ฐาน คะแนน 2 หมายถงึ ปฏิบตั ไิ ด้ 3 ขอ้ /มหี ลักฐาน คะแนน 1 หมายถงึ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1-2 ขอ้ /มีหลักฐาน คะแนน ข้อค้นพบ ปัญหา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนทเี่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ การนเิ ทศคร้งั ที่ .................. ปกี ารศกึ ษา ………. โรงเรียน...........................................สหวทิ ยาเขต...................................................................สพม. เขต 26 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาชีแ้ จง ใหก้ รรมการประเมินเปน็ รายขอ้ แล้วรวมคะแนนหาคา่ เฉลย่ี ขอ้ ที่ ประเดน็ การติดตาม นิเทศ และประเมนิ ผล 5 ผลการประเมิน 1 4 3 12 1 บริเวณโรงเรยี นสะอาด ร่มรืน่ อาคารเรยี น อาคารประกอบ สะอาด เปน็ ระเบยี บ สวยงาม 2 ห้องเรยี น ห้องปฏิบตั กิ าร หอ้ งสมุด หอ้ งพเิ ศษต่าง ๆ สะอาด เปน็ ระเบยี บ 3 หอ้ งสขุ าครู นกั เรียน โรงอาหารสะอาด เปน็ ระบบ ระเบยี บ 4 ป้ายชอ่ื โรงเรยี น ปา้ ยนเิ ทศ ปา้ ยต่าง ๆได้รบั การดูแลรักษา สะอาด สวยงามขอ้ มูลเปน็ ปัจจบุ นั 5 มกี ารจดั สภาพภูมิทศั น์สวยงาม มีสวนหย่อม ทพ่ี กั ผ่อน มไี มด้ อก ไม้ประดบั สวยงาม 6 โรงเรียนมแี หลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรยี นและจดั ไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ 7 นกั เรยี นมีสว่ นรว่ มในการดแู ล รกั ษาความสะอาด มีกิจกรรม อนรุ ักษ์ พัฒนาส่ิงแวดล้อม และจิตสานึกในการมสี ่วนรว่ มในการ พัฒนาสภาพแวดลอ้ มในโรงเรียน 8 โรงเรยี นมีบรรยากาศอบอนุ่ เหมอื นบ้าน มมี าตรการรกั ษาความ ปลอดภัย ปลอดจากยาเสพตดิ เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน 5 หมายถงึ เปน็ จรงิ อย่างยง่ิ คะแนน 4 หมายถึง เปน็ จรงิ ส่วนมาก คะแนน 3 หมายถึง เปน็ จรงิ บางส่วน คะแนน 2 หมายถงึ เปน็ จรงิ เล็กนอ้ ย ควรปรบั ปรงุ มาก คะแนน 1 หมายถึง ไมเ่ ป็นจรงิ ควรปรับปรงุ อย่างย่ิง คะแนน ขอ้ ค้นพบ ปญั หา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
แบบตดิ ตาม-1 แบบรายงาน Best Practice การใช้หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน โรงเรยี น ..................................................................................................... สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 26 เนอื้ หาสาระเพ่มิ เติม ศาสตร์พระราชา อาชีพ ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ประวตั ศิ าสตร์ บูรณาการ อ่นื ๆ (ระบ)ุ วชิ า/รหัสวิชา ................................................................................................................................................... ชอื่ กจิ กรรม ............................................................................................................................. .......................... กจิ กรรมการเรยี นร/ู้ กระบวนการ ..................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ....................................................................................................................................................................... ...... .................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ....................................................................................................................................... ...................................... ...................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ .......................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................................. ................................................ ...................................................................................................................................................................... ....... การวดั ผล/ประเมินผล ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ผลงาน/ชน้ิ งานผเู้ รยี น ..................................................................................................................................... .. ...................................................................................................................... ....................................................... ผลตอ่ ผเู้ รยี น ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลักษณะ สมรรถนะ/ทักษะศตวรรษที่ 21 การคิด การแก้ปัญหา การส่อื สาร ทางานเปน็ ทมี ICT (ลงชอื่ ) ผรู้ ายงาน (...........................................................)
แบบติดตาม-2 แบบรายงาน Best Practice การจดั กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ โรงเรยี น ..................................................................................................... สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 ชอ่ื กิจกรรม ..............................................................................................................จานวน ......... ...... ชว่ั โมง จุดประสงค์ ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ช้ินงานสาคญั ของผเู้ รยี น ............................................................................................................................. ..... กิจกรรมการเรยี นรู้ (Active Learning) ......................................................................................................................................................... .................... ....................................................................................................... ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ...................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. ................................................ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ ....................................................................................................................................... .......... .............................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................ การวัดผล/ประเมินผล สิง่ ท่ีวัด วิธีการวดั เครอ่ื งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะ ผลตอ่ ผ้เู รยี น Head Heart Hand Health สมรรถนะ/ทักษะศตวรรษท่ี 21 การคิด การแก้ปัญหา การสอ่ื สาร ทางานเปน็ ทมี ICT (ลงชอ่ื ) ผรู้ ายงาน (...........................................................)
Search