Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษา

กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษา

Published by kitti15414, 2022-02-20 08:49:03

Description: กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษา

Search

Read the Text Version

1กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

371.33 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ส 691 ก กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กรงุ เทพฯ : สกศ., 2564 106 หนา้ ISBN : 978-616-270-296-9 1. กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รยี น 2. ชื่อเรื่อง กรอบสมรรถนะหลักของผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน สงิ่ พิมพ์ สกศ. อันดบั ที่ 25/2564 ISBN 978-616-270-296-9 พมิ พค์ รั้งที่ 1 ตุลาคม 2564 จำนวน 1,000 เลม่ ผูจ้ ัดพมิ พเ์ ผยแพร่ กลมุ่ มาตรฐานการศึกษา พิมพ์ท ี่ บริษทั พรกิ หวานกราฟฟคิ จำกดั สำนกั มาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู ้ 90/6 ซอยจรัญสนทิ วงศ์ 34/1 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอมรนิ ทร ์ 99/20 ถนนสุโขทัย เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300 เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพฯ 10700 โทรศพั ท์ : 0 2668 7123 ตอ่ 2528, 2530 โทรศพั ท์ 0 2424 3249, 0 2424 3252 โทรสาร : 0 2243 1129 โทรสาร 0 2424 3249, 0 2424 3252 Web site : www.onec.go.th

(ก)กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รยี นระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน คำนำ ประเทศไทยในปัจจุบันประสบปัญหาเร่ืองหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงการปรับ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้มีความยืดหยุ่นน้ัน จะช่วยให้ครูสามารถพัฒนาเด็กท่ีมีความพร้อมแตกต่างกันได้ตามลำดับเต็มตามศักยภาพ เพื่อการพัฒนา ทักษะและสมรรถนะท่ีจำเป็นของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ที่จะช่วยพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและยืนหยัดได้ ในเวทโี ลกภายใตร้ ะบบเศรษฐกจิ และสังคมที่มกี ารเปลย่ี นแปลงไปอย่างรวดเรว็ ในโลกปจั จบุ นั สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว จึงได้ดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนสำหรับ หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานขน้ึ ซงึ่ เปน็ ความตอ่ เนอื่ งกนั กบั โครงการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. 1 - 3) การดำเนนิ การ พัฒนากรอบสมรรถนะของผู้เรียนในครั้งนี้ สำนักงานฯ ได้วิเคราะห์ทบทวนความสอดคล้องระหว่างกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน กบั มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 (DOE) รา่ งกรอบสมรรถนะของหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กรอบมาตรฐาน อาชีวศึกษา และกรอบสมรรถนะของหนว่ ยงานอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง รวมถึงจัดทำรายละเอยี ดสมรรถนะย่อยของกรอบสมรรถนะหลักผเู้ รยี น หลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ใหม้ คี วามครอบคลมุ ผเู้ รยี นทกุ ชว่ งชน้ั รวมทง้ั ไดด้ ำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวพิ ากษ์ (รา่ ง) กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน โดยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผู้ใช้งาน และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง จากนั้น ได้ร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินโครงการวิจัยทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษา ปีที่ 4 - 6 และนำผลจากการทดลองใช้กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดับประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 สำหรบั หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน นำมาปรับปรุงและเรียบเรียง จัดทำเป็น “กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ฉบับน้ีท่ีมีความสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน ครอบคลุมสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษา ถึงระดับมัธยมศึกษา ท้ังน้ี เอกสารฉบับน้ี จะเกิดประโยชน์มากยิ่งข้ึนเมื่อได้นำไปใช้ควบคู่กับคู่มือ แนวทางการนำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษา ปที ่ี 4 - 6 ไปใชใ้ นการพัฒนาผเู้ รยี น สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ขอขอบพระคณุ ผทู้ ม่ี ีสว่ นเก่ียวข้องทุกทา่ น โดยเฉพาะอย่างยิง่ รองศาสตราจารย์ ดร. ทศิ นา แขมมณี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชาริณี ตรีวรัญญู คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะนักวิจัยในโครงการฯ ขอขอบคุณในความร่วมมืออันดียิ่งของคณะผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาร่วมทดลองท้ัง 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนสุจิปุลิ โรงเรียนประชาราษฎร์บำเพ็ญ และโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ ท่ีได้ร่วมเรียนรู้ และ ได้ให้ความร่วมมือในการดำเนินงานจนสำเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ อันเป็นประโยชน์อย่างย่ิงต่อการปฏิรูปหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและการวัด ประเมนิ ผลของการศึกษาไทย นายอำนาจ วิชยานุวัต)ิ เลขาธิการสภาการศึกษา

(ข) กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - 3) ซ่ึงการดำเนินการ พัฒนากรอบสมรรถนะของผู้เรียนในคร้ังน้ี สำนักงานฯ ได้วิเคราะห์ทบทวนความสอดคล้องระหว่างกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กับมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ร่างกรอบสมรรถนะของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กรอบมาตรฐาน อาชีวศกึ ษา และกรอบสมรรถนะของหนว่ ยงานอื่น ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง รวมทง้ั จัดทำรายละเอียดสมรรถนะย่อยของกรอบสมรรถนะหลักผูเ้ รยี น หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ใหม้ คี วามครอบคลมุ ผเู้ รยี นทกุ ชว่ งชนั้ และไดด้ ำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวพิ ากษ์ (รา่ ง) กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผู้ใช้งาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จากนั้นในปีงบประมาณ 2563 – 2564 สำนักงานฯ ได้ร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินโครงการวิจัย ผลการทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 สำหรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของ ผู้เรียน สำหรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองนำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 ไปใช้ในสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย จัดทำแนวทางการนำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนฯ ไปสู่การพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนการนำกรอบสมรรถนะ หลักของผู้เรียนสำหรบั หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานสกู่ ารปฏิบตั ิ ซึง่ เอกสาร “กรอบสมรรถนะหลักของผ้เู รยี นระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน” ฉบบั น้ี เปน็ หนึง่ ในเอกสาร ผลผลิตของโครงการดังกล่าว ท่ีมีความสมบูรณ์และครอบคลุมสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา สำหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ได้กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนท่ีมีความเหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียนแต่ละช่วงวัย ครอบคลุมมโนทัศน์ที่สำคัญของสมรรถนะในการพัฒนา ทักษะและสมรรถนะของผู้เรียนไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ประกอบไปดว้ ย 10 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ (1) ภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร (2) คณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำวนั (3) กระบวนการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (4) ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร (5) ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (6) ทักษะอาชีพและการเป็น ผู้ประกอบการ (7) ทักษะการคดิ ข้ันสงู และนวัตกรรม (8) การรเู้ ทา่ ทนั สือ่ สารสนเทศและดิจทิ ัล (9) การทำงานแบบรวมพลงั เปน็ ทีมและมีภาวะผู้นำ และ (10) การเปน็ พลเมืองตื่นรู้ที่มีจิตสำนึกสากล ท้ังน้ี สำนักงานฯ ได้ตระหนักถึงความสำคัญด้านการจัดการศึกษาในการวางกรอบหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการกำหนดแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนท่ีสะท้อนความต้องการในการสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐและความเปล่ียนแปลง ของโลกในปัจจุบันและในอนาคต ดังน้ัน การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะจึงควรตอบโจทย์และสะท้อนความต้องการในการจัดการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพของ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั กระบวนการพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ควรสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร การพฒั นาคร ู และการพัฒนาสถานศึกษา ท่ีสามารถตอบสนองต่อสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนตามที่มุ่งหวังโดยการจัดการเรียนการสอน

(ค)กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ที่ใช้สมรรถนะเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ในช่วงเปล่ียนผ่านจากการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเนื้อหาวิชา (Subject - based) ไปสู่การจัดการเรียนการสอน โดยใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competence - based Curriculum) จากการพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 10 สมรรถนะ โดยได้จัดกลุ่มบูรณาการสมรรถนะหลักของผู้เรียน 10 สมรรถนะ ไว้ในสมรรถนะหลักระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (Core Competencies of Learners at Basic Education) ที่ประกอบด้วยสมรรถนะหลกั สำคญั 7 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ (1) สมรรถนะหลักด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) (2) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) (3) สมรรถนะหลักด้านการคิดขั้นสูงและการพัฒนานวัตกรรม (Higher - Order Thinking Skills and Innovation Development) (4) สมรรถนะหลักด้านการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศและดิจิทัล (Media Information and Digital Literacy) (5) สมรรถนะหลักด้านการสื่อสาร (Communication) (6) สมรรถนะหลักด้านการทำงานแบบรวมพลังเปน็ ทีมและมีภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) และ (7) สมรรถนะหลัก ด้านการเป็นพลเมืองต่ืนรู้ที่มีสำนึกสากล (Active Citizenship with Global Mindedness) โดยสมรรถนะหลักระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 7 สมรรถนะดังกล่าวน ้ี มพี ืน้ ฐานจากความฉลาดรูพ้ ้นื ฐาน (Basic Literacy) ค่านยิ มร่วมและคุณธรรม เพือ่ การเปน็ พลเมอื งไทยในฐานะพลเมอื งโลกทีม่ คี ุณภาพในโลกอนาคต อย่างไรก็ตาม สมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy) ถือเป็นสมรรถนะหลักที่สำคัญจำเป็นและเป็นเคร่ืองมือสำคัญ ในการเรียนรู้ (Learning Tools) ซ่งึ เป็นส่วนหนึง่ ของความฉลาดร้ใู นดา้ นนนั้ ๆ หรือเรียกไดว้ ่าเป็นความฉลาดรู้ (Literacy) ทีจ่ ะต้องพฒั นาใหเ้ กิดแกผ่ เู้ รยี นใหถ้ ึงระดับ ท่ีเรียกได้ว่าเป็น “สมรรถนะ” โดยสมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน จะประกอบไปด้วย 4 สมรรถนะ ได้แก่ (1) สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร (2) สมรรถนะหลักดา้ นภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร (3) สมรรถนะหลกั ดา้ นคณติ ศาสตร์ในชีวิตประจำวัน และ (4) สมรรถนะหลกั ดา้ นการสบื สอบทางวิทยาศาสตรแ์ ละ จิตวิทยาศาสตร์ ในส่วนของค่านิยมร่วมและคุณธรรมตามท่ีระบุไว้ในมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ถือเป็นแก่นและรากฐานสำคัญในการแสดงออกซ่ึง สมรรถนะตา่ ง ๆ ดงั นนั้ กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐานน้ี จึงเป็นสมรรถนะสำคญั ท่เี ด็กและเยาวชนไทยต้องได้รับการพัฒนา เพ่อื ให้สามารถ ปรับตัวให้ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลง สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของคนไทยตามท่ีมุ่งหวังไว้ และ สมรรถนะหลกั ทีส่ ำคัญท้งั 7 สมรรถนะเหล่าน้ี จะช่วยใหเ้ ด็กและเยาวชนไทยมีทกั ษะและสมรรถนะทีจ่ ำเปน็ ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 ส่กู ารเปน็ พลเมืองไทยทีจ่ ะชว่ ย พัฒนาสังคมและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและยืดหยัดได้ในเวทีโลกภายใต้สังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ในโลกปจั จบุ ัน

(ง) กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รยี นระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน สารบญั หน้า 2 บทนำ.....................................................................................................……………………………………………………………………………………………………………………... 8 สมรรถนะหลักของผ้เู รียนระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน……………………………………………………………………………………………………………………………………........... 11 13 สมรรถนะในความฉลาดรู้พน้ื ฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... 20 1) สมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทยเพ่ือการสือ่ สาร…………………………………………………………………………………………………………………………….…… 24 2) สมรถนะหลักดา้ นภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร……………………………………………………………………………………………………………………….…...... 28 3) สมรรถนะหลกั ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวัน……………………………………………………………………………………………………………………….….. 34 4) สมรรถนะหลกั ดา้ นการสืบสอบทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตร…์ ………………………………………………………………………………………….… 36 43 สมรรถนะหลกั สำคัญ 7 สมรรถนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…........ 48 1) สมรรถนะหลกั ด้านทักษะชวี ติ และความเจริญแหง่ ตน……………………………………………………………………………………………………………….….… 56 2) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเปน็ ผู้ประกอบการ…………………………………………………………………………………………………………..… 62 3) สมรรถนะหลกั ด้านการคิดขนั้ สูงและการพฒั นานวตั กรรม…………………………………………………………………………………………………………….… 71 4) สมรรถนะหลกั ดา้ นการรเู้ ทา่ ทันสอ่ื สารสนเทศ และดจิ ิทัล…………………………………………………………………………………………………………….… 77 5) สมรรถนะหลกั ด้านการสอื่ สาร……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6) สมรรถนะหลกั ด้านการทำงานแบบรวมพลงั เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ………………………………………………………………………………………………… 82 7) สมรรถนะหลกั ดา้ นการเป็นพลเมืองตื่นรทู้ ่มี ีสำนึกสากล………………………………………………………………………………………………….................... ภาคผนวก: การเปรียบเทียบกรอบสมรรถนะหลักของผ้เู รียนระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน……………………………………………………………………………..… 91 ฉบบั เผยแพร่ พ.ศ.2562 และฉบับแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ สิงหาคม 2563 และมโนทศั นส์ ำคัญ รายชือ่ คณะทำงานร่างกรอบสมรรถนะหลักฯ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

1กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

2 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน บทนำ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้ดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำหรับหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐาน โดยเผยแพร่กรอบสมรรถนะหลักระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 และสมรรถนะระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแก่หน่วยงานการศึกษาและผู้สนใจ เพื่อนำ กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนกับผู้เรียนในโรงเรียนสังกัดหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีจัดการศึกษาให้กับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น ต่อมา ในช่วงปลายปี 2562 หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีบทบาทในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาได้นำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่พัฒนา และเผยแพร่ไปใช้ในการดำเนินการพัฒนาสมรรถนะหลักของผู้เรียนทุกระดับอย่างต่อเน่ืองเพื่อการจัดการศึกษาตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษาของประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยสำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ กลุ่มมาตรฐานการศึกษา เล็งเห็นความสำคัญของการจัดการศึกษา ที่ใช้สมรรถนะเป็นฐานที่มีความสำคัญย่ิงต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คณะทำงานจึงได้ดำเนินการพัฒนา (ร่าง) กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษา ปีท่ี 4 - 6 สำหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานต่อเน่ืองจากกรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น และกรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะของระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการพัฒนาปรับปรุงให้ครอบคลุมในทุกมิติของเป้าหมายการจัดการศึกษา โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์และทบทวนกรอบสมรรถนะหลักของ ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับข้อมูลกรอบสมรรถนะผู้เรียนและผลลัพธ์ทางการศึกษาเพิ่มเติม ได้แก่ (1) มาตรฐานการศึกษาของชาติ ในรูปของผลลัพธ ์ ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE) (2) ร่างกรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 5 สมรรถนะของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ซึ่งเป็นเอกสารนำเสนอในท่ีประชุมคณะกรรมการยกร่างแนวทางการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2563 และ (3) ร่างสมรรถนะหลักผู้เรียน (Core Competency) ในโครงการวิจัยเพ่ือค้นหาและพัฒนาผลลัพธ์ท่ีคาดหวังต่อผู้เรียนและกรอบสมรรถนะหลักของ ผู้เรียน ซ่ึงสนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ซ่ึงเป็นเอกสารนำเสนอในท่ีประชุมคณะกรรมการยกร่างแนวทาง การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน วันท่ี 6 - 7 ธันวาคม พ.ศ. 2562 (4) สมรรถนะหลักของโรงเรียนรุ่งอรุณ : ซ่ึงเป็นเอกสารนำเสนอในท่ีประชุม คณะกรรมการยกร่างแนวทางการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน วันท่ี 6 - 7 ธันวาคม พ.ศ. 2562 (5) เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวช. 2562 และสมรรถนะยอ่ ยระดับอาชวี ศกึ ษา และ (6) รา่ งพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ

3กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน จากการทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการวิจัยดังกล่าว พบว่า มีประเด็นท่ีสอดคล้องและแตกต่างท่ีเป็นประโยชน์ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการพัฒนา กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ได้เป็นอย่างดี และเน่ืองจากการพัฒนารายละเอียดกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนมีลักษณะต่อเน่ือง ทเ่ี ชอ่ื มตอ่ สมรรถนะของผเู้ รยี นทกุ ระดบั ชว่ งชนั้ คณะทำงานจงึ ไดจ้ ดั ทำกรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 เพม่ิ เตมิ ใหค้ รอบคลมุ ทกุ ระดบั ชว่ งชนั้ เพอื่ ให้กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 สำหรับหลักสตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทีจ่ ัดทำขึ้นมีความสมบรู ณ์ยง่ิ ขึ้น โดยวเิ คราะห์และสังเคราะห์ ข้อมูลผลการวิจัยท่ีได้จากการศึกษาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ใช้หลักสูตรและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และนำมาปรับปรุงพัฒนากรอบสมรรถนะหลัก ของผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 สำหรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานให้เหมาะสมตามกระบวนการ วิจัยพัฒนาเพื่อให้ได้กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนท่ีมีความเหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียนแต่ละช่วงวัย ครอบคลุมในมโนทัศน์ที่สำคัญของสมรรถนะ และมีความเปน็ ไปได้ในการนำไปใช้ในทางปฏบิ ตั ิสำหรับผูเ้ รยี นทุกระดบั ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 ทพี่ ัฒนาขน้ึ สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาได้ดำเนนิ การวจิ ยั และพฒั นาจากกรอบสมรรถนะสำคญั 10 สมรรถนะ ได้แก่ (1) ภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร (2) คณิตศาสตร์ในชวี ติ ประจำวนั (3) กระบวนการสบื สอบทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ (4) ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร (5) ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (6) ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (7) ทักษะการคิดขั้นสูง และนวตั กรรม (8) การรู้เทา่ ทันสอ่ื สารสนเทศและดิจทิ ลั (9) การทำงานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมภี าวะผนู้ ำ และ (10) การเปน็ พลเมอื งต่ืนรทู้ ี่มจี ติ สำนกึ สากล จากผลการวิจยั และพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 และระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มีข้อคน้ พบด้านนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ ในการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในการปฏิรูปการศึกษาท่ีสำคัญ และแนวโน้มการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยการจัดการศึกษาตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ของหน่วยงานหลักที่เก่ียวข้อง อาทิ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE) ของมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 และรา่ งกรอบหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 5 สมรรถนะของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) ตลอดจนขอ้ เสนอแนะจากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผู้ใช้หลักสูตร และผ้เู กี่ยวขอ้ ง ทเ่ี ป็นข้อมลู สำคัญที่คณะทำงานนำมาสงั เคราะห์และพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน อย่างไรก็ตาม สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ให้ความสำคัญในการวางกรอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานระดับชาติฐานสมรรถนะในภาพกว้าง และ การกำหนดแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนที่สะท้อนความต้องการสร้างพลเมืองที่สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐและความเปลี่ยนแปลงของวิถีใหม่ในโลกอนาคต ซ่ึงเป็นส่วนสำคัญท่ีต้องให้ความสำคัญต่อความรับผิดชอบด้านคุณภาพการศึกษา ดังน้ัน การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะจึงควรสะท้อนความต้องการจากหลาย ภาคส่วนทั้งเกี่ยวกับเน้ือหาสาระท่ีใช้ในการจัดการศึกษาและคุณภาพของผู้เรียนท่ีต้องการให้เกิดข้ึน กระบวนการพัฒนากรอบสมรรถนะหลักผู้เรียน หลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐานจึงควรตอบสนองต่อการผสานแนวคิดของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครู และการพัฒนาสถานศึกษา ท่ีจะตอบสนองต่อสภาพปัญหา

4 กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ความต้องการ และเงื่อนไขต่าง ๆ ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามที่คาดหวังที่มีการเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้วิธีการที่มีสมรรถนะเป็นฐาน จึงจำเป็นต้องมีวิธีดำเนินการ ที่มีความเป็นไปได้ ในการนำไปสู่การปรับใช้สมรรถนะเป็นฐาน เพ่ือเสริมสร้างระบบการศึกษาและระบบการเรียนรู้เพื่อให้มีระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการเปลี่ยนผ่าน (Managing the Transition) และชว่ งเปลี่ยนผา่ นจากการเนน้ เนอ้ื หาวชิ า (Subject - based) ไปส่หู ลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competence - based Curriculum) อย่างรอบคอบ จากข้อค้นพบจากผลการวจิ ัยดังกลา่ ว คณะทำงานได้พฒั นากรอบสมรรถนะหลกั 10 สมรรถนะระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานท่เี ปน็ สมรรถนะสำคญั ในการพัฒนา เด็กและเยาวชนไทยในช่วงเวลา 12 ปี ในการศึกษาสู่การพัฒนากรอบสมรรถนะหลักท่ีสำคัญ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพเด็กไทยที่มีคุณลักษณะ ของคนไทยที่ต้องการ คือ คนไทยท่ีดี มีคุณธรรม และมีความสุข คนไทยที่มีความสามารถสูง และพลเมืองไทยที่ใส่ใจสังคมและมีจิตสำนึกสากล บนพ้ืนฐาน การเปน็ คนไทยท่ีฉลาดรู้ มีค่านิยมรว่ มและคุณธรรม โดยการจดั กลมุ่ บรู ณาการสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียน 10 สมรรถนะ ไวใ้ นสมรรถนะหลักระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (Core Competencies of Learners at Basic Education) ที่ประกอบดว้ ยสมรรถนะหลกั สำคญั 7 สมรรถนะ ประกอบไปดว้ ย (1) สมรรถนะหลักดา้ นทักษะชีวติ และความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) (2) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ซ่ึงเป็นสมรรถนะที่ช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นคนไทยที่ดี มีคุณธรรม และมีความสุข ส่วน (3) สมรรถนะหลักด้านการคิดขั้นสูงและการพัฒนา นวัตกรรม (Higher - Order Thinking Skills and Innovation Development) (4) สมรรถนะหลกั ด้านการรู้เทา่ ทันสื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ัล (Media Information and Digital Literacy) (5) สมรรถนะหลักด้านการส่ือสาร (Communication) เป็นสมรรถนะท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นคนไทยท่ีมีความสามารถสูง สำหรับ (6) สมรรถนะหลักด้านการทำงานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมภี าวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) และ (7) สมรรถนะหลักด้านการเปน็ พลเมือง ต่ืนรู้ที่มีสำนึกสากล (Active Citizenship with Global Mindedness) เป็นสมรรถนะท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นพลมืองไทยที่ไส่ใจสังคมและมีจิตสำนึกสากล ท้ังนี้สมรรถนะหลักระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 7 สมรรถนะ ดังกล่าวน้ี มีพื้นฐานจากความฉลาดรู้พ้ืนฐาน (Basic Literacy) ค่านิยมร่วมและคุณธรรม เพอ่ื การเป็นพลเมอื งไทยในฐานะพลเมอื งโลกทม่ี คี ณุ ภาพในโลกอนาคต

5กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รยี นระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน สำหรับสมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy) ถือเป็นสมรรถนะหลักท่ีสำคัญจำเป็นและเป็นสมรรถนะพ้ืนฐานท่ีเป็น เครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ (Learning Tools) สมรรถนะเหล่านี้เป็นสมรรถนะสำคัญซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของความฉลาดรู้ในด้านนั้น ๆ หรือเรียกได้ว่าเป็นความฉลาดรู้ (Literacy) ที่ตอ้ งพัฒนาแก่ผเู้ รียนใหถ้ ึงระดบั ที่เรยี กไดว้ ่าเปน็ “สมรรถนะ” โดยสมรรถนะในความฉลาดรู้พ้นื ฐาน ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ (1) สมรรถนะหลัก ด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (2) สมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร (3) สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน และ (4) สมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในส่วนของค่านิยมร่วมและคุณธรรม ยึดตามที่ระบุอยู่ในมาตรฐาน การศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ซ่ึงถือเปน็ แก่นและรากฐานสำคญั ในการแสดงออกซง่ึ สมรรถนะตา่ ง ๆ

6 กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรยี นระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สามารถแสดงไดด้ งั แผนภาพ

7กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

8 กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รยี นระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สมรรถนะหลกั ของผูเ้ รยี นระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานนี้เป็นสมรรถนะสำคัญที่เด็กและเยาวชนไทยต้องได้รับการพัฒนาในช่วงเวลา 12 ปีของการศึกษา ข้ันพื้นฐานเพ่ือให้ก้าวทันและดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ เพื่อให้เด็กไทยมีคุณลักษณะของคนไทยท่ีสมบูรณ์อันประกอบไปด้วย คนไทยท่ีดี มีคุณธรรม และความสุข คนไทยท่ีมีความสามารถสูง และพลเมืองไทยท่ีใส่ใจสังคมและมีจิตสำนึกสากล บนพ้ืนฐานของการเป็นคนไทยท่ีฉลาดรู้ ซ่ึงมีค่านิยมร่วมและคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน สมรรถนะหลักที่สำคัญนี้ประกอบไปด้วย (1) สมรรถนะหลักด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) (2) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ซึ่งเป็นสมรรถนะท่ีช่วยให้เด็กและ เยาวชนเป็นคนไทยท่ีดี มีคุณธรรม และความสุข ส่วน (3) สมรรถนะหลักด้านการคิดข้ันสูงและการพัฒนานวัตกรรม (Higher-Order Thinking Skills and Innovation Development) (4) สมรรถนะหลักด้านการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล (Media Information and Digital Literacy) (5) สมรรถนะหลัก ด้านการสื่อสาร (Communication) เป็นสมรรถนะที่ช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นคนไทยที่มีความสามารถสูง สำหรับ (6) สมรรถนะหลักด้านการทำงานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) และ (7) สมรรถนะหลักด้านการเป็นพลเมืองต่ืนรู้ท่ีมีสำนึกสากล (Active Citizenship with Global Mindedness) เป็นสมรรถนะท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นพลเมืองไทยท่ีใส่ใจสังคมและมีจิตสำนึกสากล ท้ังน้ี สมรรถนะดังกล่าวมีพื้นฐานมาจาก สมรรถนะในความฉลาดรู้พน้ื ฐานและค่านิยมรว่ มและคุณธรรม สมรรถนะหลักของผู้เรียนข้างต้นสามารถพัฒนาได้ผ่านการศึกษาสาระวิชาหรือศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ การกำหนดขอบข่ายการเรียนร ู้ การจดั ประสบการณแ์ ละกจิ กรรม ตลอดจนการเรยี นรูผ้ ่านประเดน็ สำคัญในปจั จบุ นั และการเรียนรจู้ ากบริบทตา่ ง ๆ

9กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สำหรับค่านิยมร่วมและคุณธรรม ซ่ึงถือเป็นแก่นและรากฐานสำคัญในการแสดงออกซ่ึงสมรรถนะต่าง ๆ ในที่น้ียึดถือตามท่ีระบุไว้ในมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ในรปู แบบของผลลพั ธท์ พ่ี งึ ประสงค์ ซง่ึ ไดร้ ะบไุ วว้ า่ คา่ นยิ มรว่ มประกอบไปดว้ ยความเพยี รอนั บรสิ ทุ ธิ์ ความพอเพยี ง วถิ ปี ระชาธปิ ไตย ความเทา่ เทยี ม เสมอภาค คุณธรรมคือลักษณะนิสัยและคุณธรรมพื้นฐานที่เป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความขยัน ความซ่ือสัตย์ ความรับผิดชอบ ฯลฯ ซ่ึงหมายความรวมถึง ค่านิยมร่วมและคุณธรรมท่ีเป็นไปตามหลักศาสนา บรรทัดฐาน หรือแนวปฏิบัติที่ชุมชนหรือบริบทนั้น ๆ ยึดถือ ค่านิยมร่วมและคุณธรรมนี้ถือเป็นแก่นและรากฐาน สำคัญในการแสดงออกซึ่งสมรรถนะตา่ ง ๆ

10 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน อย่างไรก็ดี กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนน้ียังมิใช่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นเพียงองค์ประกอบหน่ึงของหลักสูตรท่ีมีความสำคัญมาก เพราะเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน ซ่ึงสามารถนำไปใช้ในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานผ่านการออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา การออกแบบรายวิชาหรือกิจกรรม พัฒนาผูเ้ รียน หรอื การออกแบบกิจกรรมการเรียนรใู้ นระดบั การเรยี นการสอนในชั้นเรยี น ซงึ่ จำเปน็ ตอ้ งวเิ คราะห์เช่อื มโยงกับหลกั สูตรท่ใี ชอ้ ยู่ในขณะน้นั ในท่ีนี้ การกำหนดคำอธิบายสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งช้ีของแต่ละสมรรถนะ ได้พิจารณาร่วมกันจาก (1) พัฒนาการของผู้เรียน และ (2) ธรรมชาติและลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะสมรรถนะ ใหม้ ีความสอดคล้องและเชอื่ มโยงกันในทกุ ระดบั โดยไดจ้ ำแนกระดับสมรรถนะออกเป็น 4 ระดบั ดังน้ี คำอธบิ ายระดับ ระดบั สมรรถนะของผู้เรยี นวัยเด็กตอนกลาง อายุ 7 – 9 ป ี ระดับ 1 หมายถงึ (เทยี บเท่าระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3 ตามหลกั สูตรปจั จบุ ัน) ระดบั สมรรถนะของผู้เรียนวยั เดก็ ตอนปลาย อายุ 10 – 12 ปี ระดบั 2 หมายถึง (เทียบเทา่ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 ตามหลักสตู รปจั จุบนั ) ระดับสมรรถนะของผูเ้ รยี นวัยรุ่นตอนตน้ อายุ 13 – 15 ป ี ระดบั 3 หมายถึง (เทียบเท่าระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 ตามหลกั สตู รปัจจบุ นั ) ระดับสมรรถนะของผูเ้ รยี นวยั ร่นุ ตอนกลาง อายุ 16 – 18 ป ี ระดบั 4 หมายถึง (เทียบเทา่ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 ตามหลักสูตรปัจจุบนั ) มีรายละเอียดของแตล่ ะสมรรถนะในระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานมีดงั น ้ี

11กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียนระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สมรรถนะในความฉลาดรพู้ ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy) 4 สมรรถนะ ในสว่ นของ สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) นนั้ สามารถอธบิ ายไดด้ ังน้ี ความฉลาดรู้พ้ืนฐาน ( Basic Literacy) หมายถึงความรอบรู้ในศาสตร์/สาระ/เรื่องใด ๆ ที่เป็นความจำเป็นพ้ืนฐานสำหรับทุกคน เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต ในสังคม ซึง่ ในความฉลาดรู้แตล่ ะเร่ือง จะประกอบไปด้วย ความรู้ (knowledge) ทักษะ (skill) เจตคติ (attitude) และคุณลักษณะ (attribute) ในเร่อื งนั้น ๆ รวมไปถงึ สมรรถนะ (competency) ที่เกดิ จากการนำความรู้ ทกั ษะ เจตคติและคุณลักษณะ ในเรอื่ งน้ัน ๆ ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ซ่ึงจะสง่ ผลใหก้ ารเรยี นรเู้ กิดเปน็ ความฉลาดรู้ สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐานแต่ละเร่ืองมีท้ังสมรรถนะเฉพาะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้เฉพาะเรื่อง และสมรรถนะหลักหรือสมรรถนะท่ัวไป (core competency) ทีส่ ามารถนำไปใชห้ รอื นำไปพฒั นาใหแ้ ก่ผูเ้ รียนได้ในเรอ่ื งอืน่ ๆ ในทางการศึกษา ประเทศไทยจัดให้ความฉลาดรู้ทางภาษา (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นพ้ืนฐานสำคัญที่จำเป็นสำหรับ ผ้เู รียนทกุ คน สำหรับสมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy) น้ันถือเป็นสมรรถนะหลักพ้ืนฐานสำคัญจำเป็นท่ีเป็นเคร่ืองมือสำคัญ ในการเรียนรู้ (Learning Tools) สมรรถนะเหล่าน้ีเป็นสมรรถนะสำคัญซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของความฉลาดรู้ในด้านน้ัน ๆ หรือเรียกได้ว่าเป็นความฉลาดรู้ (Literacy) ที่ต้องพัฒนาแก่ผู้เรียนให้ถึงระดับท่ีเรียกได้ว่าเป็น “สมรรถนะ” โดยสมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐานท่ีสำคัญจำเป็นสำหรับผู้เรียนทุกคน ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 4 สมรรถนะ ได้แก่ (1) สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) (2) สมรรถนะหลักดา้ นภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร (English for Communication) (3) สมรรถนะหลักดา้ นคณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำวัน (Mathematics in Everyday Life) (4) สมรรถนะหลักดา้ นการสืบสอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) รายละเอยี ดคำอธิบายสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ และพฤติกรรมบง่ ชขี้ องแตล่ ะสมรรถนะ มดี ังน ี้

12 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

13กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สมรรถนะท่ี 1 ในความฉลาดรู้พน้ื ฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารโดยใช้ภาษาไทยเป็น เคร่ืองมือ ในการรับ แลกเปลี่ยน และถ่ายทอดสาร ผ่านช่องทางหลากหลายอย่างถูกต้อง เหมาะสม มีวิจารญาณ มีเจตนาที่ดี อยู่บนพ้ืนฐานของค่านิยมและคุณธรรม เพ่ือแจ้งข้อมูล รับทราบข้อมูล ให้ความรู้ เรียนรู้ สร้างความเพลิดเพลิน ชักจูง/โน้มน้าว/จูงใจ ตัดสินใจหรือกระทำการใด ๆ อันนำไปสู่การสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ชีวิตที่มีคุณภาพ ก่อประโยชน์ให้แก่ตนเองและสังคม จรรโลงสังคมให้ดีขึ้น รวมถึงการสืบสาน ถ่ายทอดและต่อยอดส่ิงท่ีดีงามของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โดยใช้การฟัง ดู พูด อา่ นและเขียน

14 กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 การรบั สาร การส่ง/ถ่ายทอดสาร การแลกเปล่ยี น/สนทนา การสบื สาน ระดบั 1 คำอธบิ าย สามารถใชภ้ าษาไทยเปน็ เครอ่ื งมอื ในการรบั สารจากสอ่ื ท่มี ี สามารถใช้ภาษาไทย สามารถใชว้ จนภาษา อวจั นภาษา สามารถใชภ้ าษาทั้งวจั นภาษา สามารถใช้ภาษาไทยในการรับรู้ ภาพ สัญลักษณ์ คำศัพท์งา่ ย ๆ เปน็ เครื่องมอื ในการรับข้อมลู งา่ ย ๆ ภาพ สัญลกั ษณ์ เปน็ อวจั นภาษางา่ ย ๆ ภาพ สญั ลกั ษณ์ ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทย ประโยค ขอ้ ความส้ัน ๆ ทม่ี ี ความรู้ ความรู้สึก ความคดิ เหน็ เครื่องมอื ใน การถา่ ยทอด เปน็ เคร่ืองมอื ในการแลกเปล่ยี น ในชมุ ชนใกล้ตัว จากแหล่งขอ้ มูล โครงสร้างไม่ซบั ซ้อน รวมถึง จากสอ่ื ทมี่ ีภาพ สญั ลกั ษณ์ ขอ้ มูล ความรู้ ความรูส้ กึ สนทนา ผ่านช่องทางต่าง ๆ ในรปู แบบต่าง ๆ ท้งั สือ่ ของจรงิ อวัจนภาษาจากแหลง่ ข้อมูล คำศัพท์ง่าย ๆ ประโยค ความคดิ เหน็ ความตอ้ งการ ในการสื่อสารระหวา่ งบุคคล ส่อื สงิ่ พมิ พ์ สอ่ื วิทยโุ ทรทัศน์ รปู แบบต่าง ๆ อย่างกระตือรอื รน้ ข้อความส้ัน ๆ ท่ีมีโครงสร้าง ประสบการณ์ จินตนาการ ในลักษณะของการสื่อสาร รวมถงึ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ และเพลดิ เพลิน เลือกใชว้ ัจนภาษา ไม่ซับซ้อน สามารถเขา้ ใจ ผ่านชอ่ งทาง รปู แบบตา่ ง ๆ สองทางใหค้ วามสนใจกบั คสู่ นทนา เพอ่ื ทำความเข้าใจ เรียนรู้ งา่ ย ๆ อวจั นภาษาในการถา่ ยทอด อวัจนภาษาของผสู้ ง่ สาร ในการส่ือสารภายในตนเอง สามารถจบั ประเดน็ ของ เห็นคณุ คา่ และใชภ้ าษาไทย แลกเปลีย่ นหรอื สนทนา ข้อมลู จากแหลง่ ข้อมลู รูปแบบต่าง ๆ ระหวา่ งบคุ คล ในลักษณะของ บทสนทนา และโตต้ อบได้ตรง อย่างง่าย ๆ ในการถา่ ยทอด ความรู้ ความรสู้ ึก ความคดิ เห็น อยา่ งกระตอื รอื รน้ และเพลดิ เพลนิ การสอ่ื สารทางเดยี ว อยา่ งมี ตามบทสนทนา ปรับเปลยี่ น สบื สานสง่ิ ดีงามของภมู ิปัญญา ความตอ้ งการ ประสบการณ์ เพือ่ รับทราบขอ้ มูล เรียนรู้ คณุ ธรรม สร้างสรรค์ เหมาะสม บทบาทเป็นท้ังผู้รบั และผูส้ ง่ สาร และวฒั นธรรมไทยในรูปแบบ จนิ ตนาการ ผา่ นชอ่ งทางต่าง ๆ สร้างความเพลิดเพลนิ ตดั สนิ ใจ กบั บคุ คล กาลเทศะ บริบท บทสนทนานน้ั ๆ เหมาะสมกบั ตา่ ง ๆ ตามศกั ยภาพตามวัย อยา่ งมีคุณธรรม สร้างสรรค์ หรือกระทำการใด ๆ อนั นำไปส่ ู วฒั นธรรมตรงตามรปู แบบ บคุ คล กาลเทศะ บรบิ ท วฒั นธรรม สู่ชมุ ชนอืน่ โดยใช้การฟงั ดู พูด เหมาะสมกับบคุ คล กาลเทศะ การพัฒนาความสามารถ ภาษาไทย เพ่ือเป็นการจดั ระบบ มคี ุณธรรม สร้างสรรค์ เพือ่ ให้ อา่ น และเขยี น บรบิ ท วฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ในการใชภ้ าษากอ่ ประโยชนใ์ หแ้ ก่ ความคิดของตนเอง ให้ข้อมูล ขอ้ มลู สรา้ งความเพลิดเพลนิ และสบื สานสงิ่ ดีงามของ ตนเองและครอบครวั โดยใช ้ สร้างความเพลิดเพลิน แสดงความตอ้ งการ อนั นำไป ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทย การฟงั ดู อา่ น แสดงความต้องการ อนั นำไปสู่ สกู่ ารพฒั นาความสามารถ ตามศกั ยภาพตามวยั เพอ่ื ให้ขอ้ มลู การพัฒนาความสามารถ ในการใชภ้ าษา การสรา้ งความเขา้ ใจ รบั ทราบขอ้ มูล เรียนรู ้ ในการใช้ภาษาไทย การสร้าง ทีต่ รงกัน กอ่ ประโยชนใ์ หแ้ ก่ สรา้ งความเพลิดเพลนิ ความเขา้ ใจทต่ี รงกนั กอ่ ประโยชน์ ตนเองและครอบครัว โดยใช้ แสดงความตอ้ งการ ตดั สินใจหรือ ให้แกต่ นเองและครอบครัว การพูด เขยี น ผา่ นสอ่ื สงั คม โดยใชก้ ารพดู เขียน ออนไลน์ สือ่ อิเล็กทรอนกิ ส ์

15กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 การรบั สาร การสง่ /ถ่ายทอดสาร การแลกเปล่ียน/สนทนา การสืบสาน กระทำการใด ๆ อนั นำไปสู่ การพฒั นาความสามารถในการ ใช้ภาษา การสร้างความเข้าใจ ท่ีตรงกัน ก่อประโยชน์ให้แก่ ตนเองและครอบครัว โดยใช ้ การฟงั ดู พูด อา่ น และเขียน ระดับ 2 คำอธิบาย สามารถใชภ้ าษาไทยเป็นเครือ่ งมอื ในการรับสารจากสื่อทม่ี ภี าพ สามารถใชภ้ าษาไทยเปน็ สามารถใชว้ จั นภาษาทมี่ ีการรวม สามารถใชภ้ าษาท้ังวัจนภาษา สามารถใชภ้ าษาไทยในการรบั รู้ สญั ลกั ษณ์ คำศัพทท์ ไี่ มต่ รง เครอ่ื งมอื ในการรับข้อมูล ความรู้ หรือซ้อนความ อวจั นภาษา ภาพ ท่ีมกี ารรวมหรือซ้อนความ ภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย ความหมาย เปน็ ทางการ ประโยค ความรู้สึก ความคดิ เห็น จากสือ่ สญั ลกั ษณ์ ในการถา่ ยทอด ขอ้ มลู อวัจนภาษา ภาพ สัญลกั ษณ์ ภมู ิภาคของตนเอง จากแหล่ง ขอ้ ความท่ีมีการรวมความ ท่มี ีภาพ สัญลกั ษณ์ คำศัพท์ที ่ ความรู้ ความรูส้ กึ ความคดิ เห็น เปน็ เครือ่ งมอื ในการ แลกเปลีย่ น ข้อมูลในรปู แบบตา่ ง ๆ ทัง้ ส่อื ซ้อนความ รวมถึงอวจั นภาษาของ ไมต่ รงความหมาย เปน็ ทางการ ความตอ้ งการ ประสบการณ์ สนทนา ผ่านช่องทางต่าง ๆ ของจริง ส่อื สงิ่ พิมพ์ ส่อื วทิ ยุ ผู้สง่ สาร จากแหล่งข้อมลู รปู แบบ ประโยคขอ้ ความทม่ี กี ารรวมความ จนิ ตนาการ ผ่านช่องทาง ในการสอื่ สารระหวา่ งบคุ คล โทรทศั น์ รวมถงึ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ตา่ ง ๆ อย่างกระตอื รอื ร้น ซ้อนความ สามารถเขา้ ใจเจตนา รปู แบบตา่ ง ๆ ในการส่ือสาร ในลกั ษณะของการสอื่ สารสองทาง เพ่อื ทำความเขา้ ใจ เรียนรู้ เพลดิ เพลิน มีเหตุผล สามารถ จุดประสงค์ ความรู้สึก ท่สี ่งผ่าน กับตนเอง ระหว่างบคุ คล กลมุ่ ให้ความสนใจกับคู่สนทนา ประเมินคา่ เหน็ คุณค่า และ สรปุ ความ เปรยี บเทยี บ ตดั สนิ สาร อวัจนภาษาของผสู้ ง่ สาร ที่ประชุมชน ในลักษณะของ สามารถจบั ประเดน็ ของบทสนทนา ใชภ้ าษาไทยที่มโี ครงสร้าง ทร่ี บั เลอื กใชว้ จั นภาษาทมี่ โี ครงสรา้ ง จากแหลง่ ข้อมูลรูปแบบตา่ ง ๆ การสอ่ื สารทางเดยี ว อยา่ งถกู ตอ้ ง โต้ตอบ อธบิ ายความตรงตาม การรวมความ การซ้อนความ รวมความ ซอ้ นความ อวัจนภาษา อย่างกระตือรอื รน้ มีเหตุผล ตามโครงสร้างทางภาษาไทย เปา้ หมายของการสนทนา ก่งึ ทางการ ในการถ่ายทอด ในการถา่ ยทอด แลกเปล่ยี นหรือ สามารถสรปุ ความ เปรยี บเทียบ มีคุณธรรม สรา้ งสรรค์ เหมาะสม ปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นทง้ั ผู้รบั สบื สานสงิ่ ดีงามของภูมปิ ัญญา สนทนา ขอ้ มูล ความรู้ ความรสู้ กึ ตดั สนิ สารทรี่ ับ เพื่อรบั ทราบ กบั บุคคล กาลเทศะ บรบิ ท และผ้สู ่งสารบทสนทนาน้นั ๆ และวัฒนธรรมไทยในรปู แบบ ความคิดเห็น ความตอ้ งการ ข้อมูล เรียนรู้ สรา้ งความ วฒั นธรรม เพอ่ื ใหข้ ้อมลู ทบทวน เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ ตา่ ง ๆ ตามศกั ยภาพตามวยั ประสบการณ์ จนิ ตนาการ ผา่ น เพลิดเพลนิ ตดั สนิ ใจหรือกระทำ การเรียนรู้ สร้างความเพลิดเพลิน บรบิ ท วัฒนธรรม อยา่ งมี สชู่ ุมชน ภมู ิภาคอื่นโดยใชก้ ารฟงั การใด ๆ อันนำไปสู่ พัฒนา โน้มนา้ ว อนั นำไปสู่ การสรา้ ง คณุ ธรรม สรา้ งสรรค์ เพอื่ ใหข้ อ้ มลู ดู พูด อา่ น และเขยี น

16 กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร (Thai Language for Communication) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 4 การรบั สาร การสง่ /ถา่ ยทอดสาร การแลกเปล่ียน/สนทนา การสบื สาน ชอ่ งทางต่าง ๆ อย่างมีคุณธรรม สรา้ งสรรค์ เหมาะสมกบั บุคคล ความรคู้ วามสามารถตนเอง ความเขา้ ใจท่ตี รงกนั แก้ปัญหา เรยี นรู้ สรา้ งความเพลิดเพลนิ กาลเทศะ บรบิ ท วัฒนธรรม ก่อประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเอง พฒั นาความรคู้ วามสามารถ โน้มน้าว อันนำไปสกู่ ารสรา้ ง เห็นคณุ ค่าและถ่ายทอดสง่ิ ดงี าม ครอบครวั โรงเรียน ชุมชนใกลต้ วั ตนเอง กอ่ ประโยชน์ให้แก่ตนเอง ความเข้าใจท่ตี รงกนั แกป้ ญั หา ของภูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทย โดยใชก้ ารฟงั ดู อา่ น ครอบครวั โรงเรียน ชมุ ชนใกล้ตัว พัฒนาความร้คู วามสามารถ ตามศกั ยภาพตามวยั เพ่ือให้ขอ้ มลู โดยใช้การพดู เขียน ตนเอง ก่อประโยชนใ์ ห้แกต่ นเอง รับทราบขอ้ มูล เรยี นรู้ สร้างความ ครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชนใกลต้ ัว เพลิดเพลนิ โนม้ นา้ ว ตดั สินใจ โดยใชก้ ารพดู เขียน ผ่านสือ่ หรอื กระทำการใด ๆ อันนำไปส ู่ สงั คมออนไลน์ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส ์ การสร้างความเขา้ ใจทีต่ รงกนั แกป้ ญั หา พฒั นาความรคู้ วามสามารถ ตนเอง ก่อประโยชน์ใหแ้ กต่ นเอง ครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชนใกลต้ วั โดยใชก้ ารฟงั ดู พดู อา่ น และเขยี น ระดบั 3 คำอธิบาย สามารถใช้ภาษาไทยเปน็ เครอื่ งมือ ในการรับสารจากสอื่ ที่มีกราฟกิ สามารถใชภ้ าษาไทยเปน็ เครอื่ งมอื สามารถใช้วัจนภาษาทม่ี ี สามารถใชภ้ าษาทง้ั วัจนภาษาท่ีมี สามารถใช้ภาษาไทยในการเข้าถงึ คำศัพทเ์ ชงิ วชิ าการ มนี ยั แฝง ในการรบั ข้อมลู ความรู้ โครงสร้างซับซอ้ น อวัจนภาษา โครงสร้างซับซอ้ น อวจั นภาษา รบั รู้ ภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย ประโยค ข้อความท่มี ีโครงสรา้ ง ความรูส้ ึก ความคิดเหน็ จากส่อื กราฟฟกิ เปน็ เคร่อื งมือในการ กราฟิก ในเปน็ เครอ่ื งมอื ใน ภมู ภิ าคของอน่ื ๆ จากแหลง่ ขอ้ มลู ทางภาษาท่ซี ับซ้อน รวมถงึ ทม่ี ีกราฟกิ คำศพั ทว์ ชิ าการ ถา่ ยทอด ข้อมลู ความรู้ การแลกเปลย่ี น สนทนา ในรปู แบบต่าง ๆ ทง้ั สือ่ ของจรงิ อวัจนภาษาของผสู้ ง่ สาร มีนัยแฝง ประโยค ขอ้ ความท่มี ี ความรู้สกึ ความคดิ เหน็ ผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ ในการสอ่ื สาร สอื่ ส่งิ พมิ พ์ สื่อวทิ ยุโทรทศั น์ จากแหล่งขอ้ มูลรปู แบบตา่ ง ๆ โครงสรา้ งทางภาษาที่ซับซอ้ น ความตอ้ งการ ประสบการณ์ ระหว่างบุคคล ในลกั ษณะของ รวมถึงสื่ออิเลก็ ทรอนิกส ์ สามารถตคี วาม เจตนา ความรู้ จินตนาการ ผ่านช่องทางต่าง ๆ การสอื่ สารสองทาง อย่างมีสมาธิ เพือ่ วิเคราะห์ พจิ ารณา เรยี นรู้

17กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาไทยเพอื่ การสอื่ สาร (Thai Language for Communication) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 4 การรับสาร การส่ง/ถ่ายทอดสาร การแลกเปลี่ยน/สนทนา การสบื สาน อย่างมเี หตผุ ล เจตคติทด่ี ี จากอวจั นภาษาของผู้ส่งสาร ผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ ในการสอื่ สาร จดจอ่ กบั คู่สนทนา สามารถ ประเมินค่า เห็นคุณคา่ และ วิจารณญาณ สามารถวิเคราะห ์ วิเคราะห์ วิพากษ์ ประเมินค่า กบั ตนเอง ระหว่างบคุ คล กลมุ่ จบั ประเดน็ ของบทสนทนา ใช้ภาษาไทยท่มี ีโครงสร้างทาง วิพากษ์ ประเมนิ ค่าสารท่ไี ด้รบั สารที่ได้รับจากแหลง่ ขอ้ มูล ทป่ี ระชมุ ชน สาธารณะ ในลกั ษณะ ตคี วาม ความคิด ความร้สู ึก และ ภาษาที่ซับซ้อน ในการสรา้ ง เลอื กใช้วัจนภาษาทม่ี โี ครงสร้าง รปู แบบตา่ ง ๆ อยา่ งมีเจตคติท่ีดี ของการส่อื สารทางเดยี ว โตต้ อบไดส้ อดคลอ้ งความเปา้ หมาย สรรค์ผลงานเพ่ือสืบสานและ ซบั ซอ้ น อวจั นภาษา ในการถา่ ยทอด มวี จิ ารณญาณ เพ่อื รับทราบ อยา่ งถูกต้องตามโครงสรา้ งทาง ของการสนทนา ปรับเปลย่ี น ตอ่ ยอดสงิ่ ดงี ามของภมู ปิ ญั ญาไทย แลกเปลย่ี นหรอื สนทนา ข้อมูล ขอ้ มลู เรยี นรู้ สรา้ งความเพลดิ เพลนิ ภาษาไทย มคี ณุ ธรรม สรา้ งสรรค์ บทบาทเป็นทง้ั ผูร้ บั และผสู้ ง่ สาร และวัฒนธรรมไทยในรปู แบบ ความรู้ ความรสู้ ึก ความคิดเห็น ตดั สินใจหรอื กระทำการใด ๆ เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ บทสนทนาน้ัน ๆ เหมาะสมกับ ตา่ ง ๆ ตามศกั ยภาพตามวยั ความตอ้ งการ ประสบการณ์ อนั นำไปสู่การสร้างความเขา้ ใจ บริบท วัฒนธรรม เพ่อื แจง้ ขอ้ มลู บุคคล กาลเทศะ บรบิ ท สู่ชมุ ชม ภมู ภิ าคอ่นื อย่าง จนิ ตนาการ ผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ ทต่ี รงกัน แก้ปัญหา พฒั นาชวี ิต ทบทวนการเรยี นรู้ สร้างความ วฒั นธรรม มคี ณุ ธรรม สรา้ งสรรค์ ภาคภมู ิใจ โดยใช้การฟัง ดู พดู อยา่ งถกู ตอ้ ง มคี ณุ ธรรม สรา้ งสรรค์ ที่มคี ุณภาพ ก่อประโยชน ์ เพลิดเพลิน โน้มน้าวจูงใจ เพอ่ื แจง้ ขอ้ มลู เรียนรู้ สร้าง อา่ น และเขียน เหมาะสมกบั บคุ คล กาลเทศะ ใหแ้ กต่ นเองและสว่ นรวม อันนำไปสกู่ ารสร้างความเข้าใจ ความเพลิดเพลิน ชักจงู อันนำ บรบิ ท วัฒนธรรม สบื สานและ โดยใชก้ ารฟัง ดู อ่าน ที่ตรงกัน แก้ปญั หา พัฒนาชีวิต ไปสู่การสร้างความเข้าใจทตี่ รง ต่อยอดสิ่งดงี ามของภมู ปิ ัญญาไทย ทีม่ ีคุณภาพ กอ่ ประโยชน ์ กนั แกป้ ญั หา พัฒนาชีวิตทมี่ ี และวัฒนธรรมไทยตามศักยภาพ ใหแ้ กต่ นเองและสว่ นรวม คุณภาพก่อประโยชนใ์ หแ้ ก่ ตามวยั อย่างภาคภมู ิใจ เพือ่ แจง้ โดยใชก้ ารพูด เขยี น ตนเองและส่วนรวม โดยใช้การ ขอ้ มูล รบั ทราบข้อมลู เรยี นรู้ พูด เขียน ผ่านสื่อสงั คมออนไลน์ สรา้ งความเพลดิ เพลิน ชกั จูง สอื่ อิเล็กทรอนกิ ส ์ ตัดสนิ ใจหรือกระทำการใด ๆ อันนำไปสู่การสร้างความเข้าใจ ทีต่ รงกนั แกป้ ญั หา พัฒนาชวี ิต ที่มีคุณภาพ กอ่ ประโยชน์ ให้แก่ตนเองและส่วนรวม โดยใช้ การฟงั ดู พดู อ่าน และเขียน

18 กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพอื่ การส่ือสาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 การรบั สาร การสง่ /ถา่ ยทอดสาร การแลกเปลย่ี น/สนทนา การสบื สาน ระดับ 4 คำอธบิ าย สามารถใชภ้ าษาไทยเปน็ เคร่อื งมือ ในการรับสารจากสอื่ ที่มีกราฟกิ สามารถใชภ้ าษาไทยเปน็ เครอื่ งมอื สามารถใชว้ จั นภาษา อวจั นภาษา สามารถใชภ้ าษาทงั้ วจั นภาษา สามารถใชภ้ าษาไทยในการเข้าถงึ คำศพั ทเ์ ฉพาะทาง มนี ยั แฝง ประโยค ในการรับขอ้ มูล ความรู้ กราฟกิ เป็นเครือ่ งมือในการ อวจั นภาษา กราฟกิ เปน็ เครอ่ื งมอื รบั รู้ ภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย ขอ้ ความทีม่ โี ครงสร้างทางภาษา ความรู้สึก ความคิดเหน็ จากส่ือ ถ่ายทอด ข้อมลู ความรู้ ในการแลกเปลี่ยน สนทนาผา่ น ท่ีเป็นมรดกของชาติ จากแหลง่ ทซ่ี บั ซอ้ น เนอ้ื หามีความเปน็ ท่ีมีกราฟิก คำศัพท์เฉพาะทาง ความรสู้ ึก ความคดิ เห็น ชอ่ งทางตา่ ง ๆ ในการสือ่ สาร ข้อมลู ในรูปแบบตา่ ง ๆ ทั้ง สื่อ นามธรรม รวมถงึ อวจั นภาษา มีนยั แฝง ประโยค ข้อความทมี่ ี ความตอ้ งการ ประสบการณ์ ระหวา่ งบุคคล ในลักษณะของ ของจริง สือ่ สง่ิ พมิ พ์ สอ่ื วิทยุ ของผู้สง่ สาร สามารถวเิ คราะห์ โครงสรา้ งทางภาษาทีซ่ บั ซ้อน จนิ ตนาการ ผา่ นช่องทางต่าง ๆ การส่ือสารสองทาง มีสมาธจิ ดจ่อ โทรทศั น์ รวมถงึ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไตรต่ รอง วิพากษ์ วิจารณ์ เน้อื หามคี วามเปน็ นามธรรม ในการสือ่ สารกบั ตนเอง ระหว่าง กบั คสู่ นทนา สามารถจับประเด็น เพอ่ื วิเคราะห์ พจิ ารณา เรียนรู้ ประเมนิ คา่ สารท่ไี ด้รบั จากแหลง่ ตคี วาม ทำนาย เจตนา ความรสู้ กึ บคุ คล กลมุ่ ทีป่ ระชุมชน ของบทสนทนา ตีความ ความคดิ ประเมินคา่ เหน็ คณุ คา่ และ ขอ้ มลู รปู แบบตา่ ง ๆ อย่าง จากอวจั นภาษาของผสู้ ่งสาร สาธารณะ ในลักษณะของ ความรสู้ กึ และโตต้ อบได้ สอดคลอ้ ง ใชภ้ าษาไทยที่มปี ระโยค ข้อความ มีเหตผุ ล เจตคติท่ีดี วิจารณญาณ ไตรต่ รอง ประเมินคา่ สารทไี่ ดร้ ับ การสอื่ สารทางเดยี ว อยา่ งถกู ตอ้ ง กบั ความเปา้ หมายของการสนทนา ทมี่ ีโครงสร้างทางภาษาทซ่ี บั ซอ้ น เลือกใช้วจั นภาษา อวจั นภาษา จากแหลง่ ข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ หลกั การใช้ภาษาไทย มีคุณธรรม ปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นทัง้ ผรู้ ับ ในการสร้างสรรค์ผลงานเพอ่ื ในการถา่ ยทอด แลกเปลี่ยนหรือ อยา่ งมีเจตคตทิ ด่ี ี มวี จิ ารณญาณ สร้างสรรค์ เหมาะสมกบั บุคคล และผสู้ ง่ สารบทสนทนานัน้ ๆ สบื สานและต่อยอดสิ่งดงี ามของ สนทนา ข้อมูล ความรู้ ความรู้สึก เพ่ือแจ้งขอ้ มลู รับทราบขอ้ มลู กาลเทศะ บรบิ ท วัฒนธรรม เพอื่ อยา่ งเหมาะสมกับบุคคล ภมู ิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ความคดิ เห็น ความตอ้ งการ เรียนรู้ สรา้ งความเพลิดเพลิน แจง้ ข้อมูล ให้ความรู้ สรา้ งความ กาลเทศะ บริบท วฒั นธรรม ในรูปแบบตา่ ง ๆ ตามศักยภาพ ประสบการณ์ จนิ ตนาการ ผ่าน ตดั สนิ ใจหรือกระทำการใด ๆ เพลดิ เพลิน โนม้ นา้ วจูงใจ อนั นำ ถูกตอ้ งตามหลกั การใช้ภาษาไทย ตามวัย อย่างภาคภมู ิใจ โดยใช้ ชอ่ งทางต่าง ๆ อย่างถูกตอ้ งตาม อนั นำไปสกู่ ารสรา้ งความเข้าใจ ไปสกู่ ารสรา้ งความเขา้ ใจทตี่ รงกนั มคี ณุ ธรรม สรา้ งสรรค์ เพ่ือแจ้ง การฟัง ดู พูด อ่าน และเขียน หลกั การการใชภ้ าษาไทย มคี ณุ ธรรม ที่ตรงกนั แก้ปญั หา พฒั นาชีวติ แกป้ ัญหา พัฒนาชวี ติ ที่มคี ุณภาพ ขอ้ มลู เรียนรู้ ใหค้ วามรู้ สรา้ ง สร้างสรรคเ์ หมาะสมกับบคุ คล ทม่ี คี ุณภาพ กอ่ ประโยชนใ์ หแ้ ก่ กอ่ ประโยชนใ์ หแ้ ก่ตนเองและ ความเพลดิ เพลิน ชกั จงู อนั นำไป กาลเทศะ บริบท วฒั นธรรม ตนเองและสังคม จรรโลงสังคม สังคม จรรโลงสังคมให้ดีข้นึ ส่กู ารสรา้ งความเขา้ ใจท่ีตรงกัน สืบสานและต่อยอดส่งิ ดีงามของ ใหด้ ขี น้ึ โดยใช้การฟงั ดู อ่าน โดยใชก้ ารพูด เขียน แกป้ ญั หา พัฒนาชวี ิตทม่ี คี ณุ ภาพ

19กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 การรบั สาร การส่ง/ถ่ายทอดสาร การแลกเปลย่ี น/สนทนา การสืบสาน ภมู ปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย ก่อประโยชน์ให้แกต่ นเองและ ตามศกั ยภาพตามวยั อยา่ งภาคภมู ใิ จ สังคม จรรโลงสงั คมให้ดขี น้ึ โดย เพ่อื แจ้งข้อมลู รบั ทราบขอ้ มลู ใช้การพูด เขยี น ผ่านสอื่ สังคม ใหค้ วามรู้ เรยี นรู้ สร้างความ ออนไลน์ สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส ์ เพลดิ เพลนิ ชกั จงู ตัดสินใจหรอื กระทำการใด ๆ อนั นำไปสกู่ ารสรา้ ง ความเขา้ ใจทตี่ รงกนั แกป้ ญั หา พฒั นาชวี ติ ทม่ี คี ณุ ภาพ กอ่ ประโยชน ์ ให้แก่ตนเองและสังคม จรรโลง สังคมให้ดขี ้ึนโดยใช้การฟัง ดู พดู อา่ น และเขยี น

20 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สมรรถนะที่ 2 ในความฉลาดร้พู ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลกั ด้านภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร (English for Communication) สมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร (English for Communication) หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือ ในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนและถ่ายทอดข้อเท็จจริง อารมณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น และความต้องการ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี และสามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ในโลกไดอ้ ย่างเสรี มปี ระสทิ ธิภาพ สรา้ งสรรค์ เหมาะสมกบั บริบททางสงั คมและวัฒนธรรมทห่ี ลากหลาย ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล (International Language) สำหรับการส่ือสารกับผู้คนร่วมวัฒนธรรมและต่างวัฒนธรรม เพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล และส่ือต่าง ๆ อย่างเสรี การมีสมรรถนะภาษาอังกฤษในระดับท่ีสื่อสารได้ดีช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนในฐานะพลเมืองของประเทศไทยและโลก ดังน้ันผู้เรียน ชาวไทยจึงจำเป็นต้องมีสมรรถนะดา้ นภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร 3 สมรรถนะ ดังนี ้

21กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน สมรรถนะหลักดา้ นภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร (English for Communication) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 การรบั สง่ สาร การเรียนรภู้ าษา การสร้างความบันเทิงและสุนทรยี ภาพ ระดับ 1 คำอธบิ าย สามารถแลกเปลย่ี นขอ้ มลู สว่ นตวั ขอ้ เทจ็ จรงิ สามารถแลกเปลยี่ นขอ้ มลู สว่ นตวั ขอ้ เทจ็ จรงิ สามารถพูด ฟงั เขยี น อ่านในใจ อา่ นออก สามารถพดู ฟัง เขยี น อา่ น แลกเปล่ยี น อารมณ์ ความรู้สกึ และความตอ้ งการใน อารมณ์ ความรสู้ ึกและความตอ้ งการใน เสยี ง แลกเปล่ยี น หรอื รับสือ่ ภาษาองั กฤษ หรอื รบั ส่ือใช้ภาษาองั กฤษเพอ่ื ใหเ้ กดิ บรบิ ทการดำรงชวี ิตทพ่ี บไดบ้ ่อยด้วยภาษา บริบททจี่ ำเปน็ ต่อการดำรงชีวติ พ้ืนฐาน ในระดับคำ วลี และประโยคที่ไมซ่ ับซอ้ น ความสนกุ เพลดิ เพลิน ประทบั ใจ หรอื ตา่ งประเทศอย่างง่าย เหมาะสมชัดเจน ของผูเ้ รยี นด้วยภาษาตา่ งประเทศในระดบั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งในระดับที่ส่ือความหมายได้ มคี วามรู้สกึ ร่วมกบั สารท่ีได้รับหรือสง่ ได้ สร้างสรรค์ และมั่นใจในระดบั อา่ นออก คำ วลี และประโยคทไ่ี ม่ซับซอ้ นได้ โดยตระหนกั ถงึ ความสำคัญของภาษา อย่างเสรแี ม้มีข้อจำกัดด้านความรู้และ เขียนได้ ส่ือสารได้ เปน็ พน้ื ฐานทดี่ เี พียงพอ โดยสารนน้ั อยู่ในระดบั ท่ีสามารถสอื่ ความ องั กฤษในฐานะภาษาสากลซงึ่ เปน็ เครอื่ งมอื ทกั ษะทางภาษา ต่อการพฒั นาต่อไป ได้ตามวตั ถุประสงค์ เหมาะสม สรา้ งสรรค์ สอ่ื สารระหว่างบุคคลทมี่ ีความหลากหลาย และมนั่ ใจ ด้านภาษาและวัฒนธรรม ระดับ 2 คำอธบิ าย สามารถรบั และเขา้ ใจถงึ ใจความสำคญั สามารถแลกเปลย่ี นขอ้ มลู สว่ นตวั ขอ้ เทจ็ จรงิ สามารถพูด ฟัง เขียน อา่ น แลกเปลี่ยน สามารถพูด ฟงั เขียน อา่ น แลกเปลี่ยน ของสารในรปู แบบต่าง ๆ ที่สามารถพบได้ อารมณ์ ความรู้สึกและความตอ้ งการ หรอื รบั สื่อภาษาองั กฤษในระดบั คำ วลี หรอื รบั ส่อื ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อให้เกดิ ในการดำรงชีวติ และสามารถส่ือสารกับ ในบริบทการดำรงชวี ิตตามปกติวิสยั ของ และประโยคได้อยา่ งถกู ตอ้ งในระดับท่ีสื่อ ความสนกุ เพลิดเพลิน ประทับใจ หรือ บคุ คลดว้ ยการพดู การเขยี น หรอื การสง่ สาร ผูเ้ รยี นและตามบรบิ ทชุมชนของผเู้ รียน ความหมายไดต้ รงตามความต้องการโดย มีความร้สู ึกรว่ มกับสารท่ีได้รบั หรือสง่ ได้ ดว้ ยวิธีการอนื่ ๆ เพ่ือสง่ ขอ้ ความอนั ในระดบั คำ วลี หรือประโยคทซ่ี บั ซอ้ นขึน้ เข้าใจถงึ โครงสร้างทางภาษาซึ่งสมั พนั ธก์ บั และสามารถเข้าถงึ กลุ่มคนในวงจำกดั อยา่ ง ประกอบดว้ ยใจความสำคญั รายละเอียด โดยสารนน้ั อยู่ในระดบั ทีส่ ามารถสอ่ื ความ ความหมายและเป็นประโยชน์ต่อการเรยี น เสรีแมม้ ขี ้อจำกัดด้านความรแู้ ละทักษะ พอสงั เขป และความคดิ เห็นผ่านการสือ่ สาร ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งเหมาะสม สรา้ งสรรค์ ภาษาตา่ งประเทศอ่ืน ๆ ต่อไป ตระหนกั ถึง ทางภาษา แบบเผชญิ หนา้ และชอ่ งทางการสอ่ื สารอนื่ ๆ มีประสิทธิภาพ และมน่ั ใจ ความสำคญั ของภาษาองั กฤษในฐานะ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สรา้ งสรรค์ มปี ระสทิ ธภิ าพ ภาษาสากลซ่ึงเปน็ เคร่อื งมือส่ือสารระหว่าง และมนั่ ใจ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลอนั ดตี อ่ การดำรงชวี ติ บคุ คลทมี่ ีความหลากหลายด้านภาษาและ ประจำวนั วฒั นธรรม

22 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สมรรถนะหลักดา้ นภาษาองั กฤษเพอ่ื การสือ่ สาร (English for Communication) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 การรบั ส่งสาร การเรยี นรู้ภาษา การสร้างความบันเทิงและสนุ ทรยี ภาพ ระดับ 3 คำอธิบาย สามารถแลกเปลย่ี นข้อมูลท้งั ข้อเทจ็ จรงิ สามารถแลกเปลย่ี นข้อมูลต่าง ๆ ในบรบิ ท สามารถพูด ฟงั เขียน อา่ น แลกเปล่ยี น สามารถใช้ภาษาสร้างหรอื ชืน่ ชม ความคดิ เหน็ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรสู้ กึ การดำรงชีวติ ทโ่ี ดยทวั่ ไปและในบริบทอน่ื หรือรบั สอื่ ภาษาองั กฤษในระดบั คำ บทประพันธ์ เพลง วรรณกรรม และศลิ ปะ ความตอ้ งการท่สี ามารถพบไดใ้ นการดำรง ท่อี าจพบได้ท้งั จากการประกอบอาชพี ประโยค ข้อความ และใชท้ า่ ทางเพ่อื ทางภาษาอื่น ๆ เพ่อื ตอบสนองความ ชีวติ ทโ่ี ดยท่ัวไปและในบริบทอื่นที่อาจพบได้ การเดนิ ทาง การปฏสิ มั พันธก์ ับบุคคล สือ่ ความหมายได้อยา่ งถกู ต้องตรงตาม ตอ้ งการของตนเองใหเ้ กิดสนกุ เพลดิ เพลิน ทงั้ จากการประกอบอาชีพ การเดินทาง รว่ มและตา่ งวฒั นธรรมด้วยคำ วลี ประโยค ความตอ้ งการโดยเขา้ ใจถึงโครงสร้างทาง ประทบั ใจ หรือมีความรสู้ กึ รว่ ม สะท้อน การปฏสิ ัมพันธ์กบั บุคคลรว่ มและ ขอ้ ความและทา่ ทางซ่งึ มีความหมายทาง ภาษาซ่ึงสัมพันธก์ ับความหมาย และเปน็ ความคิด จิตวิญญาณ เหตกุ ารณ์ หรอื ตา่ งวัฒนธรรม เพือ่ สง่ ขอ้ ความอนั ประกอบ ตรงหรือมคี วามหมายโดยนยั โดยสารน้นั ประโยชนต์ ่อการเรยี นภาษาต่างประเทศ อารมณ์ของผ้คู นร่วมและตา่ งวัฒนธรรม ดว้ ยใจความสำคญั รายละเอียด และ อยู่ในระดับท่ีสามารถสื่อความไดต้ าม อ่ืน ๆ ตอ่ ไป มคี วามเป็นธรรมชาติ สามารถเข้าถงึ กลุ่มคนทว่ั ไปได้ สามารถ ความคิดเห็นอย่างมวี จิ ารณญาณ เคารพ วัตถปุ ระสงคเ์ หมาะสม สร้างสรรค ์ โดยตระหนกั ถึงความเป็นภาษาโลกของ ประเมินคณุ ค่าอันนำไปสกู่ ารสร้างรสนิยม ในสิทธิ เสรีภาพของบคุ คล และชน่ื ชม มีประสิทธภิ าพ และม่นั ใจ แสดงถงึ ภาษาองั กฤษซึ่งใชโ้ ดยพลเมืองโลก ของตนเองและตัวตนไดช้ ดั เจนมากขึน้ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม ผ่าน ความเคารพในสิทธิ เสรีภาพของบคุ คล การสอื่ สารแบบเผชิญหนา้ และช่องทาง และช่นื ชมความหลากหลายทางวัฒนธรรม การสอ่ื สารอนื่ ๆ ไดเ้ หมาะสม สรา้ งสรรค์ มีประสทิ ธิภาพ และมน่ั ใจ กอ่ ให้เกดิ ผลอนั ดี ตอ่ การดำรงชีวิต

23กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สมรรถนะหลักดา้ นภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร (English for Communication) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 การรับส่งสาร การเรียนร้ภู าษา การสร้างความบันเทิงและสนุ ทรียภาพ ระดับ 4 คำอธบิ าย สามารถแลกเปล่ียนข้อมลู ท้งั ข้อเท็จจรงิ สามารถแลกเปลยี่ นขอ้ มูลต่าง ๆ ในบริบท สามารถพูด ฟัง เขียน อ่าน แลกเปลยี่ น สามารถใชภ้ าษาสรา้ งหรอื ชนื่ ชมบทประพนั ธ์ ความคดิ เหน็ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรูส้ ึก การดำรงชีวิตที่โดยท่วั ไปและในบริบทอื่น หรือรบั ส่อื ภาษาอังกฤษในระดับคำ เพลง วรรณกรรม และศลิ ปะทางภาษา ความตอ้ งการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทีอ่ าจพบไดท้ งั้ จากการประกอบอาชีพ ประโยค ข้อความ และใชท้ ่าทางเพื่อส่ือ อนื่ ๆ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของ มีวจิ ารณญาณ มรี สนิยม แสดงออกถึง การเดนิ ทาง การปฏสิ มั พันธ์กับบคุ คลร่วม ความหมายได้อยา่ งถกู ตอ้ งตรงตาม ตนเองให้เกดิ สนกุ เพลดิ เพลนิ ประทับใจ ความเคารพในสิทธิ เสรภี าพของบุคคล และตา่ งวฒั นธรรมด้วยคำ วลี ประโยค ความตอ้ งการโดยเข้าใจถึงโครงสร้างทาง หรอื มคี วามร้สู ึกรว่ ม สะท้อนความคิด และชืน่ ชม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ข้อความและทา่ ทางซ่ึงมีความหมายทาง ภาษาซึง่ สมั พันธ์กบั ความหมาย และเปน็ จิตวิญญาณ เหตกุ ารณ์ หรอื อารมณ์ของ ในฐานะพลเมืองโลก ผ่านการส่ือสาร ตรงหรือมีความหมายโดยนยั โดยสารน้นั ประโยชน์ตอ่ การเรียนภาษาตา่ งประเทศ ผู้คนร่วมและต่างวฒั นธรรมอยา่ งลกึ ซึ้ง ระหว่างบคุ คล การสอื่ สารระหวา่ งกลมุ่ ใหญ่ อยู่ในระดบั ที่สามารถสื่อความไดต้ าม อนื่ ๆ ตอ่ ไป มคี วามเปน็ ธรรมชาติ คำนงึ ถงึ และเสรี สามารถเขา้ ถงึ กลุ่มคนทว่ั ไปหรือ การสอื่ สารมวลชน และการสื่อสารระหวา่ ง วัตถปุ ระสงค์เหมาะสม สร้างสรรค ์ บรบิ ทที่แตกต่างของการใช้ภาษา กลุ่มคนท่มี ีรสนิยมเดยี วกันได้ สามารถ วฒั นธรรม ทั้งแบบเผชิญหนา้ และผา่ น มีประสทิ ธภิ าพ มีวิจารณญาณ มรี สนิยม โดยตระหนกั ถึงความเป็นภาษาโลกของ ประเมนิ คุณคา่ และสะท้อนความคดิ ช่องทางการสอื่ สารอนื่ ๆ ได้เหมาะสม และม่นั ใจ แสดงออกถึงความเคารพ ภาษาอังกฤษซ่งึ ใชโ้ ดยพลเมืองโลก ความรสู้ ึก คณุ ค่า ตัวตน รสนยิ มท่ีมี สร้างสรรค์ มปี ระสทิ ธิภาพ และม่ันใจ ในสทิ ธิ เสรภี าพของบคุ คล และชื่นชม และสามารถนำวิธกี ารจากการเรียนรู้ ความชัดเจนได้ ก่อให้เกิดผลอันดีต่อการดำรงชวี ิตและ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม  ในฐานะ ภาษาองั กฤษไปกำหนดวธิ ีการเรียนรู้ สงั คมโลก พลเมอื งโลก ผา่ นการสอ่ื สารระหว่างบคุ คล ภาษาต่างประเทศไดด้ ว้ ยตนเองตาม การสอื่ สารระหว่างกลมุ่ ใหญ่ การสอ่ื สาร ความสนใจ มวลชน และการส่อื สารระหว่างวฒั นธรรม ไมม่ ขี อ้ จำกดั ทางภาษาและวฒั นธรรมเป็น เครอื่ งขวางกัน้

24 กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สมรรถนะท่ี 3 ในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลักด้านคณติ ศาสตรใ์ นชวี ิตประจำวัน (Mathematics in Everyday Life) สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Mathematics in Everyday Life) หมายถึง ความสามารถในนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยง กับปัญหา สถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ผู้เรียนพบ ทำให้ผู้เรียนมองเห็นความเช่ือมโยงระหว่างคณิตศาสตร์กับโลกที่เป็นจริง เป็นการประยุกต์เพ่ือนำไปใช้ในชีวิต ประจำวัน หรอื ใชใ้ นการทำงานท่ีเหมาะสมตามวยั เปน็ การบูรณาการสาระของคณิตศาสตร์กบั อกี หลาย ๆ สาขาวชิ าเข้าด้วยกนั เพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรอู้ ย่างมคี วามหมาย

25กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รียนระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สมรรถนะหลกั ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชวี ิตประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 การแกป้ ญั หา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การเช่ือมโยง การคิดสรา้ งสรรค ์ ระดับ 1 คำอธบิ าย ใช้ความรูท้ างคณิตศาสตร์ คดิ และคำนวณ ได้อย่าง สามารถแก้ปญั หาทาง ทมี่ ใี นการแก้ปัญหาในชวี ติ คล่องแคลว่ ว่องไว แมน่ ยำ คณติ ศาสตร์ ใหค้ ำอธบิ าย ประจำวนั โดยคำนงึ ถงึ ใชค้ วามรูท้ างคณติ ศาสตร์ ใชศ้ พั ท์ สญั ลกั ษณ์ แผนภมู ิ บอกความเชื่อมโยงทาง เปน็ ขนั้ ตอน และเรม่ิ ในคำตอบของตัวเองและให้ ความสมเหตุสมผลตามวัย ทม่ี ี อธบิ ายความคดิ ของตน แผนภาพ อยา่ งง่ายเพ่อื คณิตศาสตร์กับปญั หาหรอื มีแนวทางของตนเอง เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์ ดว้ ยภาษาอยา่ งงา่ ย สมเหต ุ สื่อสารให้ผ้อู ่นื เข้าใจใน สถานการณต์ า่ ง ๆ ทต่ี นเอง ในแก้ปญั หา เพือ่ แก้ปญั หา อยา่ งไม่เปน็ ทางการสือ่ สาร สมผลตามวยั และหา ความคดิ ของตนเอง พบในชีวติ จรงิ และอธบิ าย ทางคณิตศาสตร์ท่ีเกิดข้นึ และสอ่ื ความหมายทาง ความสมั พันธอ์ ย่างง่าย ได้อย่างหลากหลายและ ได้อยา่ งสมเหตสุ มผล ในสถานการณต์ ่าง ๆ คณติ ศาสตร์ รวมทัง้ และนำไปใช้คาดการณไ์ ด ้ เหมาะสมกบั วัย เนื้อหา ตามวยั ในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ ง สามารถเชอื่ มโยงทาง และสถานการณ์ รวมทง้ั เหมาะสม คณติ ศาสตร์ และคดิ สรา้ งสรรค์ บอกความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ในระดบั เนื้อหาท่เี รียน ภาษาในชีวติ ประจำวนั กบั เพ่อื นำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิต ภาษาและสญั ลกั ษณท์ าง ประจำวันได ้ คณิตศาสตรไ์ ด้ เหมาะสม กับเนือ้ หาและสถานการณ ์ ระดบั 2 คำอธิบาย ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์ มคี วามคดิ รเิรมิ่ คดิ หลากหลาย มที ักษะการแก้ปัญหาทาง ท่ีมีในการแก้ปญั หาในชวี ิต และสามารถ ปรับเปลย่ี น คณติ ศาสตร์ ให้คำอธบิ าย ประจำวนั ทเี่ หมาะสมกบั วยั กลยทุ ธใ์ นการแก้ปัญหาให ้ ในคำตอบของตัวเองอยา่ ง โดยใชก้ ระบวนการแกป้ ญั หา ใชค้ วามรูท้ างคณติ ศาสตร์ ใชศ้ พั ท์ สญั ลกั ษณ์ แผนภมู ิ อธบิ ายความรแู้ ละหลกั การ เหมาะสมตามสถานการณ ์ ให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ทางคณติ ศาสตรอ์ ยา่ ง ท่มี ี เพอื่ สนบั สนนุ ความคดิ แผนภาพ เพอื่ สอื่ ความหมาย ทางคณติ ศาสตรอ์ ย่างง่าย ในชีวิตประจำวนั สื่อสารและส่ือความหมาย เหมาะสมและคำนงึ ถึง ของตนเองอยา่ งสมเหต-ุ ทางคณติ ศาสตร์ ให้ผ้อู ืน่ ท่ีสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงความ ทางคณติ ศาสตร์ รวมทัง้ ความสมเหตุสมผลของ สมผลตามวัย หาและ เขา้ ใจความคิดของตนเอง เชอ่ื มโยงภายในคณติ ศาสตร์ สามารถเช่อื มโยงทาง คำตอบทไี่ ด ้ อธิบายความสัมพนั ธอ์ ยา่ ง ได้อยา่ งหลากหลาย เช่อื มโยงคณิตศาสตร์กบั คณติ ศาสตร์ และคดิ สรา้ งสรรค์ ง่ายสรา้ งและใช้ขอ้ ความ มปี ระสทิ ธิภาพ เหมาะสม ศาสตรอ์ ื่น ๆ และเช่ือมโยง คาดการณ์พร้อม ให้ กบั วยั เน้อื หา และ คณติ ศาสตรก์ บั ชวี ติ ประจำวนั เหตุผลเบือ้ งต้น เพื่อ สถานการณ์ อยา่ งสมเหตสุ มผลตามวยั สนบั สนนุ หรือคดั คา้ น

26 กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สมรรถนะหลักดา้ นคณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำวัน (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 ในระดับเนอื้ หาทีเ่ รยี นเพื่อ การแกป้ ญั หา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การเชอ่ื มโยง การคดิ สรา้ งสรรค ์ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวนั ได้ ระดบั 3 คำอธิบาย มที กั ษะการแกป้ ัญหา แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวัน ระบคุ วามสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู นำเสนอและอธบิ ายข้อมูล เช่ือมโยงความรหู้ รอื ปัญหา ใช้ความคิดคล่อง ความคิด การให้เหตุผล การสอื่ สาร โดยประยกุ ตค์ วามร ู้ เพอ่ื ยนื ยนั หรอื คดั คา้ นขอ้ สรปุ ท่ีส่ือความหมายใหผ้ ้อู ่นื ทางคณิตศาสตรก์ ับ ยืดหยนุ่ ความคดิ ริเริ่ม และการสอ่ื ความหมาย ความเขา้ ใจทางคณติ ศาสตร์ หรือขอ้ ความคาดการณ ์ เขา้ ใจตรงกนั ไดต้ าม สง่ิ ทต่ี นเองพบไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และความละเอยี ดลออ การเชอื่ มโยงทางคณติ ศาสตร ์ โดยเลอื กกระบวนการ น้นั ๆ อย่างสมเหตสุ มผล วตั ถปุ ระสงค์โดยใช้การพูด และเหมาะสม ในการคดิ แก้ปัญหาทาง และการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ แก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ หรอื ใช้เหตุผลแบบอุปนัย และเขียน วัตถุ รปู ภาพ คณิตศาสตร์และขยาย เพอ่ื ใหร้ เู้ ทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลง ทเี่ หมาะสมในการแกป้ ญั หา (Inductive Reasoning) กราฟ  สญั ลักษณท์ าง ความคดิ ท่มี ีอยู่เดิมเพื่อ ของระบบเศรษฐกจิ สังคม และดำเนนิ การจนไดค้ ำตอบ ในการสร้างความสมั พันธ์ คณิตศาสตร์ และตัวแทน สร้างแนวคิดใหม่โดยใช้ วฒั นธรรม และสภาพแวดลอ้ ม ทส่ี มเหตุ สมผล ขอ้ ความคาดการณ์ หรือใช้ อ่ืน ๆ คณติ ศาสตร์เปน็ ฐานเพ่อื นำความรูค้ วามสามารถ เหตผุ ลแบบนริ นยั (Deductive ใหร้ เู้ ทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลง เจตคติ ทกั ษะทมี่ ไี ปประยกุ ต ์ Reasoning) ในการตรวจสอบ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดข้ึนในสังคม ในการเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ และ ข้อสรปุ และสรา้ งเหตผุ ล ในสภาพการณ์ใหม่ เพอ่ื สนับสนุนท่ีชดั เจน ใหไ้ ด้มาซง่ึ ความรูใ้ หมแ่ ละ นำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิต ประจำวันได ้

27กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน สมรรถนะหลักดา้ นคณิตศาสตร์ในชีวติ ประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 การแกป้ ญั หา การใหเ้ หตุผล การสื่อสาร การเชือ่ มโยง การคดิ สรา้ งสรรค์ ระดับ 4 คำอธบิ าย มีทกั ษะด้านการแกป้ ัญหา แกป้ ัญหาในชวี ิตประจำวัน ใช้ความคดิ คล่อง ความคิด การใหเ้ หตผุ ล การสอ่ื สาร โดยประยกุ ตค์ วามร้ ู ยืดหยุ่น ความคิดริเร่มิ และการสอื่ ความหมายทาง ความเขา้ ใจทางคณติ ศาสตร์ ระบุถงึ ความสมั พนั ธ์ของ ออกแบบการนำเสนอและ เชอ่ื มโยงความรู้หรอื ปญั หา และความคิดละเอยี ดลออ คณติ ศาสตร์ การเชื่อมโยง เพอื่ ทำความเข้าใจปัญหา ข้อมลู เพื่อยืนยันหรอื อธิบายเพอ่ื ส่ือความหมาย ทางคณิตศาสตร์กับความรู้ ในการคิดแกป้ ัญหาทาง ทางคณติ ศาสตร์ และการคดิ ระบปุ ระเดน็ ปัญหา คดั ค้านขอ้ สรุปหรือ ใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจตรงกัน ปญั หา หรอื สถานการณ์ คณิตศาสตร์ และขยาย อย่างสร้างสรรค์ เพอื่ ให้รู้ วิเคราะหป์ ญั หา วางแผน ข้อความคาดการณน์ ัน้ ๆ ได้ตามวตั ถุประสงค์ โดยใช้ อืน่ ทต่ี นเองพบ ซ่ึงอาจ ความคิดที่มีอย่เู ดมิ เทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลง แก้ปัญหา และดำเนินการ อยา่ งสมเหตุสมผล และใช้ การพดู และเขยี น วัตถุ เป็นการเช่ือมโยงภายใน เพอื่ สร้างแนวคิดใหม่ ของระบบเศรษฐกจิ สงั คม จนไดค้ ำตอบทสี่ มเหตสุ มผล เหตผุ ลแบบอปุ นัย รูปภาพ กราฟ สัญลกั ษณ์ คณิตศาสตร์ เชือ่ มโยง ปรบั ปรุงหรือพฒั นา วฒั นธรรมและสภาพแวดลอ้ ม (Inductive Reasoning) ทางคณิตศาสตร์และ คณติ ศาสตร์กับศาสตร ์ องคค์ วามรทู้ างคณติ ศาสตร์ นำความร้คู วามสามารถ ในการสร้างความสัมพันธ์ ตวั แทนอนื่ ๆ ได้อย่างมี อน่ื ๆ และ เชื่อมโยง หรือศาสตร์อนื่ ๆ โดยใช้ เจตคติ ทกั ษะทม่ี ี ไปประยกุ ต ์ และข้อความคาดการณ์ ประสิทธิภาพ คณติ ศาสตร์กับชวี ิต คณติ ศาสตรเ์ ปน็ ฐาน เพอ่ื ใชใ้ นการเรียนรู้ส่ิงตา่ ง ๆ และใช้เหตุผลแบบนิรนัย ประจำวนั   ได้อยา่ งมี ใหร้ เู้ ทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลง และในสถานการณ์ใหม่ ๆ (Deductive Reasoning) ประสิทธิภาพ ตา่ ง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ ในสังคม เพ่ือให้ได้มาซึง่ ความรใู้ หม่ ในการตรวจสอบขอ้ สรุป หรอื การสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ ๆ และสรา้ งเหตผุ ลสนบั สนุน และนำไปประยกุ ต์ใช้ใน ที่น่าเชือ่ ถือ ชีวิตประจำวนั ได ้

28 กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน สมรรถนะท่ี 4 ในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) สมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) หมายถึง ความสามารถในการสืบเสาะ หาความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ อธิบายปรากฏการณ์รอบตัวโดยใช้เครื่องมือหรือวิธีการท่ีเหมาะสม เช่ือมโยงความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์อย่างเป็นเหต ุ เป็นผล แสดงข้อคิดเห็นในการโต้แย้งโดยใช้หลักฐานและเหตุผลประกอบอย่างสมเหตุสมผล และเป็นผู้มีคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีเกิดจากการศึกษา หาความรดู้ ้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

29กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ในชวี ิตประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะที่ 5 การแกป้ ญั หา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การเช่ือมโยง การคิดสรา้ งสรรค์ ระดบั 1 คำอธิบาย 1. ระบผุ ลของปรากฏการณ์ 6. ระบุปัญหาท่ีควรแกไ้ ข ชา่ งสงั เกต สนใจปรากฏการณ ์ ตา่ ง ๆ และ/หรือระบุ นำเสนอแนวทางใหม ่ รอบตวั ชา่ งสงั เกต มคี วามคิด เหตขุ องผลท่เี กิดขึน้ 2. อธิบายปรากฏการณ์และ 4. ตั้งคำถามเกย่ี วกบั 5. สนทนาดว้ ยการรบั ฟงั ในการแก้ปัญหา และ สร้างสรรค์ในการตง้ั คำถาม การเปลีย่ นแปลง ตา่ ง ๆ ปรากฏการณ ์ และใหค้ วามคดิ สนับสนนุ ทดสอบวธิ กี ารแกป้ ญั หานน้ั ตามจินตนาการที่อาจเป็น ในชีวิตประจำวนั ด้วย ทพี่ บในชีวติ ประจำวัน หรือคัดค้านเก่ยี วกบั หรือไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ระบุ โดยอาจเป็นคำถามท่ี ความรู้ รวมทง้ั ปัญหาท ่ ี เหตุและ/หรอื ผล และอธิบาย การใช้หลกั เหตุผล สามารถหาคำตอบได้ โตแ้ ยง้ กนั ดว้ ยการช้ีแจง ปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั ทีไ่ ม่ซบั ซ้อน หรอื เปน็ คำถามจาก เหตุผลโดยมหี ลักฐาน โดยใช้เคร่อื งมอื หรือวิธีการ 3. สรา้ งและ/หรอื ใชเ้ ครอ่ื งมอื จินตนาการ ประกอบ อยา่ งงา่ ยประกอบการอธิบาย ใช้หลกั ฐานและให้เหตุผล อยา่ งง่ายประกอบการ สนับสนุนหรอื คดั ค้าน อธบิ ายปรากฏการณห์ รือ ความคิดเหน็ ใจกว้าง รับฟงั การเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ความคดิ เห็น และกล้าเสนอ ความคิดเห็นของตน

30 กรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รียนระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล การสอื่ สาร การเชอ่ื มโยง การคิดสรา้ งสรรค ์ ระดับ 2 คำอธิบาย 1. ระบุเหตุและผลของ 8. รวบรวมข้อมลู ทเี่ ก่ียวข้อง ชา่ งสังเกต อยากรู้อยากเหน็ ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ใน กับการแก้ปญั หา กำหนด และตง้ั คำถามอย่างเปน็ ชวี ิตประจำวัน 3. อธบิ ายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ 5. ตง้ั คำถามเก่ยี วกับ 7. สนทนาด้วยการรับฟงั เกณฑ์ อุปสรรคและ วิทยาศาสตร์เกี่ยวกบั 2. อธบิ ายไดว้ า่ ความสมั พนั ธ ์ โดยใชห้ ลักฐานที่รวบรวม ปรากฏการณ์ที่พบในชีวติ และให้ความคิดสนับสนุน ข้อจำกดั ที่สอดคลอ้ งและ ปรากฏการณร์ อบตัว ใด ๆ อาจเป็นหรอื ไมเ่ ป็น หรือสำรวจตรวจสอบได้ ประจำวนั ซ่ึงเปน็ คำถาม หรอื คดั ค้านเกยี่ วกบั ตรงกับประเด็นปญั หา ออกแบบแนวทางการสำรวจ ความสัมพนั ธ์ในเชิงเหตุ ท่ีนำไปสู่การสืบเสาะ ขอ้ กล่าวอ้าง และยอมรบั นำสู่ การพิจารณาวธิ กี าร ตรวจสอบบนพนื้ ฐานของ และผล 4. สรา้ งและ/หรอื ใชเ้ ครอื่ งมอื หาความรู้ สามารถหา ในขอ้ กลา่ วอา้ งทม่ี หี ลกั ฐาน ใหมใ่ นการแก้ปญั หาท่ี วทิ ยาศาสตร์ เพอื่ ใหไ้ ดค้ ำตอบ หรอื วิธีการอยา่ งง่ายเพือ่ เปน็ ไปได้ ปรบั ปรงุ แนวทาง ของคำถามทเี่ ปน็ วิทยาศาสตร์ ประกอบการอธบิ าย คำตอบไดโ้ ดยมหี ลกั ฐาน สนบั สนุน โดยไม่ลำเอียง การแก้ปญั หาน้นั โดยใช้ รวมทงั้ คำตอบในเรอ่ื งทอ่ี ยากรู้ ปรากฏการณ์หรือการ สนับสนุนหรือคัดค้าน แม้ขอ้ กลา่ วอ้างนั้นจะ ขอ้ มูลจากการทดสอบ ระบุเหตแุ ละผลของ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ แตกตา่ งจากขอ้ กลา่ วอ้าง ปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำ 6. ออกแบบแนวทางการ ของตนเองโดยมีหลกั ฐาน วันและอธิบายลักษณะของ โดยคำนึงถงึ ขอ้ จำกัด สบื เสาะหาความรู้ ประกอบ เพอื่ ใช้ประเมิน ความสมั พนั ธข์ องปรากฏการณ ์ และเสนอแนะแนวทาง ความน่าเชอื่ ถือของ ทเี่ กดิ ข้นึ โดยใช้เครื่องมอื หรอื โดยคำนงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ วิธกี ารอย่างง่ายประกอบ การปรบั ปรงุ เครือ่ งมอื ในการดำเนินการในชีวติ ข้อกล่าวอา้ ง การอธิบาย ใชห้ ลักฐานและ หรือวธิ กี ารนน้ั ให้เหตผุ ลสนับสนุนหรือ ประจำวนั คัดค้านความคดิ เหน็ ยอมรับ คำอธิบาย หรือความคดิ เห็น ที่มีความแตกต่างกัน

31กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สมรรถนะหลักดา้ นคณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะที่ 5 การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล การสอื่ สาร การเชื่อมโยง การคดิ สรา้ งสรรค ์ ระดบั 3 คำอธิบาย อยากร้อู ยากเห็น มุ่งม่ันอดทน 1. ใชค้ วามสมั พนั ธเ์ ชิงเหตุ 9. รวบรวมข้อมูลทเี่ ก่ียวขอ้ ง ในการศกึ ษาหาความรู้ มคี วาม และผลในการอธิบายและ กบั การแกป้ ัญหาที่มี รอบคอบในการรวบรวม พยากรณป์ รากฏการณ ์ 3. อธบิ ายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ 5. ต้ังคำถามเก่ียวกับ 7. ต้งั คำถามและตอบ ความซบั ซ้อนในระดบั หลกั ฐานอยา่ งเปน็ วทิ ยาศาสตร์ 2. จำแนกความสัมพนั ธ์ ท้งั ปรากฏการณ์ทาง ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ี คำถามทเี่ กย่ี วกบั ขอ้ โตแ้ ยง้ ชุมชนรว่ มกับผูอ้ ื่นอยา่ ง เพือ่ ใชใ้ นการอธบิ ายและ ของปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ธรรมชาตแิ ละปรากฏการณ ์ พบในชวี ติ ประจำวัน โดยระบุรายละเอียด สร้างสรรคโ์ ดยมีการ พยากรณป์ รากฏการณท์ ่อี าจ ออกเป็นความสมั พนั ธเ์ ชงิ ทีเ่ ปน็ ผลจากการกระทำ ซงึ่ เป็นคำถามท่นี ำไปสู่ พร้อมขยายความในเรอื่ ง กำหนดเกณฑ์ อุปสรรค เปน็ ปรากฏการณธ์ รรมชาติ เหตแุ ละผล และทไ่ี ม่ใช่ ของมนษุ ย์ โดยระบุ การสบื เสาะหาความรู้ ท่เี กี่ยวข้อง และข้อจำกัดทสี่ อดคลอ้ ง หรอื ปรากฏการณ์ท่ีเป็นผล ความสมั พนั ธเ์ชงิ เหตแุ ละผล เหตผุ ลและหลักฐานท่ีใช้ และตรงกบั ประเดน็ ปญั หา จากการกระทำของมนษุ ย์ สนับสนนุ คำอธิบายนนั้ 6. ออกแบบแนวทางท่ ี 8. รบั ฟงั ความคดิ เปรยี บเทยี บ นำสู่การพิจารณาวิธกี าร ออกแบบแนวทางการสำรวจ หลากหลายในการสบื เสาะ ข้อโต้แย้งในประเดน็ ใหม่ในการแกป้ ัญหาท่ี ตรวจสอบอย่างหลากหลาย 4. สรา้ งและ/หรอื ใชเ้ ครอื่ งมอื หาความรู้ โดยคำนงึ ถึง เดยี วกนั และวิพากษ์โดย เหมาะสมและเป็นไปได้ บนพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ หรอื วิธีการอยา่ งง่ายเพอื่ ความเปน็ ไปไดใ้ นการ ใช้การวเิ คราะห์หลักฐาน ด้วยการทำการทดสอบ ประเมนิ และเลอื กดำเนินการ ประกอบการอธิบาย ปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจำวนั สนับสนุนหรือคดั คา้ น พร้อมมกี ารปรบั ปรงุ สืบเสาะหาความรูเ้ พอ่ื ให้ได ้ ปรากฏการณ์หรือ ประเมนิ แนวทางทอี่ อกแบบ โดยปราศจากอคติ คำตอบของคำถามทกี่ ำหนด เพ่ือเลอื กและดำเนนิ การ ใชห้ ลกั ฐานและเหตผุ ล การเปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ ตามแนวทางดังกลา่ ว สนบั สนนุ หรอื คดั คา้ นขอ้ วพิ ากษ์ โดยคำนึงถึงขอ้ จำกดั ของ เพอ่ื ไดม้ าซง่ึ คำตอบของ รบั ฟงั และยอมรับคำอธบิ าย เครือ่ งมือหรอื วิธกี ารน้นั คำถามที่กำหนดไว ้ หรือขอ้ โต้แย้งทีห่ ลากหลาย ดำเนนิ การปรับปรุง รวมท้งั ใหเ้ หตุผลประกอบ เคร่ืองมอื หรือวธิ ีการ ความนา่ เชื่อถือของข้อโต้แย้ง อย่างเหมาะสม รวมท้งั ของตน เสนอแนะแนวทาง การปรับปรงุ เครื่องมอื หรอื วิธกี ารนั้น

32 กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สมรรถนะหลกั ด้านคณิตศาสตรใ์ นชวี ิตประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 การแก้ปัญหา การใหเ้ หตุผล การสอ่ื สาร การเชอ่ื มโยง การคิดสรา้ งสรรค ์ ระดบั 4 คำอธิบาย ใฝเ่ รยี นรู้ อยากรู้อยากเห็น 1. สร้างขอ้ กล่าวอา้ งหรอื 7. รวบรวมขอ้ มูลทเ่ี กยี่ วข้อง รับผดิ ชอบในการแสวงหา คำอธบิ ายประกอบการ กบั การแก้ปญั หาทม่ี ี ความรู้ รอบคอบในการ ให้เหตผุ ลโดยใชห้ ลกั ฐาน 2. อธบิ ายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ 4. ตั้งคำถามเก่ยี วกับ 6. โต้แย้งประเด็นตา่ ง ๆ ความซบั ซอ้ นทั้งในระดับ รวบรวมหลกั ฐานอย่างเป็น เชงิ ประจกั ษ์ ในการจำแนก ท้ังปรากฏการณท์ าง ปรากฏการณ์ทีพ่ บในชวี ิต โดยใหเ้ หตผุ ลสนับสนุน ชมุ ชน สังคม และโลก วทิ ยาศาสตร์ เพื่อใช้ในการ ความสมั พนั ธ์เชิงเหตุผล ธรรมชาตแิ ละปรากฏการณ ์ ประจำวัน โดยอาจเป็น หรอื คัดค้าน พรอ้ มทงั้ รว่ มกบั ผอู้ น่ื อยา่ ง สรา้ งคำอธิบายประกอบการ และความสมั พันธท์ ไ่ี ม่ใช่ ท่ีเป็นผลจากการกระทำ ปรากฏการณท์ างธรรมชาต ิ สรา้ งสรรค์โดยการ ใหเ้ หตุผล และเปน็ หลกั ฐาน ความสัมพนั ธ์เชงิ เหตุผล ของมนษุ ย์ โดยระบุ และปรากฏการณท์ ่เี ปน็ มหี ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษเ์ พอื่ กำหนด จัดลำดบั และ ประกอบการอธิบายและ เหตุผลและหลักฐานท่ใี ช้ ผลจากการกระทำของ การตัดสนิ ใจเลือกเหตุผล ประเมนิ เกณฑ์ อปุ สรรค จำแนกความสัมพันธข์ อง สนับสนุนคำอธิบายน้นั มนษุ ย์ โดยคำถามดงั กลา่ ว และขอ้ จำกัดท่สี อดคลอ้ ง ปรากฏการณท์ ีอ่ าจเปน็ คำนึงและยอมรับผลท่ี แสดงถงึ วัตถุประสงค์ท่ี ทดี่ ี นา่ เช่ือถอื มากท่ีสุด และตรงกับประเดน็ ปรากฏการณ์ธรรมชาตหิ รือ เกดิ ข้นึ จากคำอธิบายนน้ั หลากหลายในการได้มา รบั ฟังและให้ความคิด ปัญหา นำสกู่ ารพจิ ารณา ปรากฏการณ์ท่ีเปน็ ผลจาก ซงึ่ คำตอบทผี่ า่ นการ สนบั สนนุ หรอื คัดคา้ นท่ี วธิ กี ารใหมใ่ นการแกป้ ญั หา การกระทำของมนษุ ย์ 3. สรา้ งและ/หรอื ใชเ้ ครอื่ งมอื สืบเสาะหาความร้ ู เก่ียวกับขอ้ โต้แย้งนัน้ ทีเ่ หมาะสมและเป็นไปได้ ออกแบบแนวทางการสำรวจ หรอื วิธีการเพือ่ ประกอบ อย่างสรา้ งสรรค์ ดว้ ยการทำการทดสอบ ตรวจสอบอยา่ งหลากหลาย การอธิบายปรากฏการณ์ 5. ออกแบบแนวทางท่ ี พรอ้ มมกี ารปรับปรงุ บนพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือ หรอื การเปลี่ยนแปลง หลากหลายในการสบื เสาะ ด้วยความตระหนกั และ ประเมินและเลือกดำเนินการ ตา่ ง ๆ ทซ่ี ับซอ้ น หาความรู้ เพ่ือประเมนิ ความรับผดิ ชอบต่อชุมชน สำรวจตรวจสอบเพื่อใหไ้ ด้ และเลือกดำเนนิ การตาม สงั คม และโลกโดยคำนงึ คำตอบอยา่ งเปน็ วิทยาศาสตร์ โดยคำนึงถงึ ข้อจำกดั ของ แนวทางที่เหมาะสมทีส่ ุด ถึงคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ ร โดยมีหลกั ฐาน และนำเสนอ เครอ่ื งมอื หรอื วธิ กี ารน้นั ในการตอบคำถามที่ตง้ั ไว้ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ผลการสืบเสาะหาความรู้ ออกแบบการทดสอบ พรอ้ มทัง้ นำเสนอผล อยา่ งซอื่ สตั ย์บนหลกั ฐานที่ เครอ่ื งมือหรือวิธกี ารท่ีใช้ เปน็ ทย่ี อมรบั สามารถออกแบบ ประกอบการอธิบาย เพื่อ การสำรวจตรวจสอบอยา่ ง การทดสอบเครื่องมอื หรอื ยนื ยันความนา่ เช่ือถอื ซอื่ สตั ย์ โดยระบุหลกั ฐาน และนำสกู่ ารปรับปรุง เครอ่ื งมือ/วิธีการดังกลา่ ว เชงิ ประจักษท์ ่ีไดร้ บั การ ยอมรบั จากสาธารณะ ซ่ึงนำไปส่กู ารพัฒนา ความเป็นผ้รู ักในความ มีเหตผุ ล

33กรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สมรรถนะหลกั ด้านคณติ ศาสตร์ในชีวิตประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะที่ 5 การแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล การสือ่ สาร การเช่ือมโยง การคดิ สร้างสรรค ์ วธิ กี ารทใี่ ชป้ ระกอบการอธบิ าย ให้เหตผุ ลสนบั สนนุ หรือ คัดคา้ นขอ้ วพิ ากษ์ ปราศจาก อคติ รบั ฟงั และยอมรบั คำอธิบายหรือขอ้ โต้แย้งที่ หลากหลาย รวมทั้งใหเ้ หตผุ ล ประกอบความนา่ เช่ือถือ ของขอ้ โตแ้ ย้งของตน อยา่ งสรา้ งสรรค์ สมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐานนี้มีความสัมพันธ์ สอดคล้อง เช่ือมโยงกับสมรรถนะหลักสำคัญท้ัง 7 สมรรถนะ ในลักษณะของการสนับสนุนซ่ึงกันและกัน และเลื่อนไหล (flow) หากัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของสมรรถนะหลัก ดา้ นการคดิ ขัน้ สงู และการพฒั นานวตั กรรม และสมรรถนะหลกั ด้านการสื่อสาร

34 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

35กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สมรรถนะหลักท่ีสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีลักษณะเป็นสมรรถนะท่ัวไป (generic competency) หรือสมรรถนะแกน (core competency) ซึ่งเป็นสมรรถนะข้ามวิชาหรือคร่อมวิชา คือเป็นสมรรถนะท่ีสามารถพัฒนาให้เกิดข้ึนแก่ผู้เรียนได้ในสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ หลากหลาย หรือนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ รยี นร้สู าระตา่ ง ๆ ไดด้ ีข้นึ ลึกซง้ึ ขนึ้ สมรรถนะในลกั ษณะนี้ เป็นสมรรถนะทมี่ ีลักษณะ “Content – free” คอื ไม่เกาะติด เนื้อหา หรือไมข่ ้ึนกบั เนื้อหา เพียงแตส่ มรรถนะบางสมรรถนะ อาจพัฒนาไดด้ กี ว่ากบั เนอ้ื หาบางเน้อื หา ซึ่งแตกต่างไปจากสมรรถนะเฉพาะ (specific competency) ท่ีเป็นสมรรถนะเฉพาะวิชา/สาขาวิชา ซึ่งจำเป็นสำหรับวิชาน้ัน ๆ ตัวอย่างเช่น ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จะมีสมรรถนะเฉพาะของวิชา เช่น สมรรถนะด้าน หลกั ภาษา สมรรถนะดา้ นการประพันธ์ หรอื ในกลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ จะมีสมรรถนะเฉพาะของวิชา เช่น สมรรถนะด้านการวาดภาพ การป้นั การประดษิ ฐ์ เปน็ ตน้ ดงั นนั้ สมรรถนะหลกั ทสี่ ำคญั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานทรี่ ะบไุ วใ้ นทนี่ ี้ ครผู สู้ อนทกุ รายวชิ าทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรจู้ งึ สามารถชว่ ยกนั พฒั นาสมรรถนะหลกั เหลา่ นใ้ี หเ้ กิดขึ้นแก่ผเู้ รียนได ้ สมรรถนะหลักท่สี ำคัญของผ้เู รียนระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ประกอบด้วย (1) สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะชวี ิตและความเจรญิ แห่งตน (Life Skills and Personal Growth) (2) สมรรถนะหลกั ด้านทักษะอาชีพและการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) (3) สมรรถนะหลักด้านการคิดข้นั สูงและการพัฒนานวตั กรรม (Higher - Order Thinking Skills and Innovation Development) (4) สมรรถนะหลกั ด้านการร้เู ทา่ ทันส่ือ สารสนเทศ และดจิ ทิ ัล (Media Information and Digital Literacy) (5) สมรรถนะหลักด้านการส่อื สาร (Communication) (6) สมรรถนะหลักด้านการทำงานแบบรวมพลังเป็นทมี และมีภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) (7) สมรรถนะหลกั ด้านการเป็นพลเมืองตน่ื รูท้ ีม่ ีสำนึกสากล (Active Citizenship with Global Mindedness) รายละเอียดคำอธบิ ายสมรรถนะ ระดบั สมรรถนะ และพฤตกิ รรมบง่ ชี้ของแตล่ ะสมรรถนะ มีดังนี้

36 กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 1. สมรรถนะหลักด้านทักษะชวี ิตและความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะหลักด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) หมายถึง ความสามารถที่จำเป็นในการใช้ชีวิตอย่างมี ประสิทธิภาพและมีความสุข โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้สร้างความสมดุลและพอดีในการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน มีการตระหนักรู้ตนเอง เข้าใจ อารมณ์ความรู้สึกของตนเองและผู้อ่ืน รู้จุดเด่นและจุดควรพัฒนาของตนและนำมาใช้ในการกำหนดเป้าหมายของชีวิต มีทักษะการเรียนรู้และการกำกับตนเอง มีสติสัมปชัญญะ มีคุณธรรม น้อมนำหลักศาสนาท่ีตนนับถือมาเป็นเครื่องยึดเหน่ียวในการดำรงชีวิต กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น สามารถป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงจากภัย ต่าง ๆ บริหารจัดการตนเองและดำเนินชีวิตสู่เป้าหมาย ปรับตัวและฟ้ืนคืนสภาพอย่างรวดเร็วเมื่อเผชิญกับปัญหาและความเปล่ียนแปลง สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี พร้อมเกอ้ื กูล ช่วยเหลอื เพอ่ื น ครอบครวั และผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง เพือ่ ความสขุ ในการอยูร่ ว่ มกนั ปฏิบัตหิ นา้ ทต่ี ่อสังคมไดเ้ หมาะสมกับบทบาทและหน้าที่ มีการพัฒนาตนเองให้มี ชีวติ อย่างสมดลุ ทุกด้าน ทัง้ ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม สตปิ ญั ญา และสุนทรยี ะ มีความพึงพอใจ ในการใช้ชวี ติ นบั ถือตนเอง พง่ึ พาตนเอง และพัฒนาตนเอง ให้มสี ขุ ภาวะทด่ี ี มีสนุ ทรยี ภาพ ชนื่ ชม ความงามของธรรมชาติและศิลปวฒั นธรรม เห็นความสำคญั มีส่วนรว่ มในการรักษา สืบทอด สง่ ตอ่ ทะนบุ ำรุงรกั ษาวฒั นธรรม ให้ดำรงสืบทอดต่อไปได้

37กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะชวี ิตและความเจรญิ แห่งตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 6 ระดับ ความสามารถทางอารมณ ์ ทกั ษะการเรยี นรู้ การรจู้ กั ตนเองและเขา้ ใจผอู้ นื่ การดแู ลตวั เอง และสงั คม สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 และการกำกบั ตนเอง ระดบั 1 คำอธิบาย (Self and Mutual และความปลอดภยั จรยิ ธรรม สนุ ทรยี ะ (Learning Skill & รู้จักตนเอง พ่งึ ตนเองและ Underst anding (Health an d Safety) (Interpersonal ดแู ลตนเองได้เหมาะสม Relationship & Social - (Moral Ch aracter) (Esth etic) Self - Direct ed Learner ตามวยั มีสขุ นสิ ยั ในการทำ Emotional Competence) กิจวัตรประจำวัน สามารถ ปอ้ งกนั ตนเองจากภัย ต่าง ๆ ควบคุมอารมณ์ของตนได้ 1. ชา่ งสงั เกต รจู้ กั ตงั้ คำถาม และปรบั ตนให้เลน่ เรยี น 1. ทำสิง่ ต่าง ๆ ด้วย 1. ปฏบิ ตั ิตามสขุ บญั ญัติ 1. รู้และส่อื สารอารมณ์ 1. ละเวน้ การกระทำท ี่ 1. ชน่ื ชมและเข้าร่วมใน มเี ป้าหมายในการเรยี น และทำกจิ กรรมต่าง ๆ รว่ ม ความม่ันใจ บอกส่ิงที่ ทำกจิ วัตรประจำวนั ความร้สู ึกของตนเอง ไม่ควรทำและตั้งใจ กจิ กรรมทางศลิ ปะ รแู้ ละแสวงหาความรู้ กบั เพอ่ื น ๆ ได้ มสี มั มาคารวะ เมื่อดใี จ เสียใจ โกรธ ทำความดี หรอื ช่วย นาฏศลิ ป์ ดนตรี รวมทงั้ จากการอ่านหรือวธิ ี และปฏิบัตติ นตอ่ ผู้อ่ืน สามารถทำได้ และ ท้งั การกนิ เลน่ เรยี น ผิดหวัง ใหผ้ อู้ ื่นรับรู้ คนในครอบครวั และ กิจกรรมทางศิลป- ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สามารถ ส่งิ ทที่ ำไมไ่ ดบ้ อกได้วา่ ชว่ ยทำงาน พกั ผอ่ น และเขา้ ใจได้ พร้อมทั้ง ผู้อ่นื วฒั นธรรม คิดหาวธิ ีแกป้ ญั หาที่เกดิ ขึ้น นอนหลับอย่างพอดี ควบคุมและแสดง 2. สามารถประเมนิ กบั ตน และลองแก้ปัญหา ตนชอบ ไมช่ อบ พอเหมาะกบั วัย อารมณอ์ อกมาเป็น 2. มีสัมมาคารวะต่อ 2. ชนื่ ชม เหน็ คุณค่า ตนเอง บอกจุดพัฒนา ดว้ ยตนเอง มสี ุนทรียภาพ อะไร บอกความคิด พฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมได้ ผใู้ หญแ่ ละปฏบิ ตั ติ นตอ่ ความงามของ ของตนเองได้ ในความงามของศิลปะและ ความรสู้ กึ ความตอ้ งการ 2. ระมัดระวงั ตนเองจาก ธรรมชาต ิ ธรรมชาติรอบตัว เข้ารว่ มใน ความสามารถและ ภัยตา่ ง ๆ บอกหรอื 2. รว่ มเลน่ และเรยี นกบั ผู้อนื่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม รอบตวั และไมท่ ำลาย กิจกรรมทางศลิ ปวัฒนธรรม ข้อจำกัดของตนเอง ถามครู หรือผูใ้ หญ ่ เพ่อื น ๆ ได้ รูจ้ กั ธรรมชาติ ของสงั คม รวมทัง้ มีเปา้ หมาย และผอู้ ่ืนได้ และบอก ในเรือ่ งที่ไม่รู้ ไมแ่ น่ใจ แบ่งปัน สามารถ ในการทำงานและสามารถ ความแตกตา่ งระหวา่ ง ก่อนตดั สินใจ ประเมินตนเอง พรอ้ มบอก ตนเองและผู้อ่นื ได้ แก้ปญั หาดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี จดุ พฒั นาของตนเองได ้

38 กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะชีวติ และความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 6 ระดับ ความสามารถทางอารมณ ์ ทกั ษะการเรยี นรู้ การรจู้ กั ตนเองและเขา้ ใจผอู้ น่ื การดแู ลตวั เอง และสงั คม สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 และการกำกบั ตนเอง ระดับ 2 คำอธบิ าย (Self and Mutual และความปลอดภยั จรยิ ธรรม สนุ ทรยี ะ (Learning Skill & เข้าใจตนเองและผอู้ ื่น Understanding (Health and Safety) (Interpersonal (Esthetic) Self - Directed Learner พึ่งตนเอง ดูแลตนเองและ Relationship & Social - (Moral Character) ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างเหมาะสม Emotional Competence) ทั้งดา้ นรา่ งกายและจิตใจ ระมดั ระวงั ตนเองจากภยั 1. ตงั้ เปา้ หมายในการเรยี น และความเสี่ยงต่าง ๆ เลอื กและทำกิจกรรมต่าง ๆ 1. ตัดสินใจเลือกทำ 1. ดูแลร่างกาย และจิตใจ 1. ควบคมุ อารมณ์ 1. กระทำสง่ิ ดีงามตาม 1. ชนื่ ชมส่งิ แวดล้อมรอบ มวี ธิ ีในการแสวงหา ท่ีตนสนใจ ตงั้ เป้าหมาย กิจกรรมทีส่ นใจตาม ให้มีสขุ ภาวะ โดยใช้ ความรู้สึกและจัดการ พื้นฐานของสงั คม ตัว และยนิ ดที ่จี ะดูแล ความรู้ หาวิธีและลงมือปฏบิ ตั ใิ ห้ ความถนดั และ ชีวิตอยา่ งสมดุล และ และปรบั ปรงุ สิง่ ตา่ ง ๆ 2. สร้างแรงจงู ใจในการ บรรลเุ ปา้ หมายอยา่ งม่งุ มน่ั ถกู สขุ ลักษณะ กับอารมณข์ องตนเอง โดยรับผิดชอบตอ่ การ ในธรรมชาต ิ เรยี นรู้ สะท้อนผลการ มคี วามเชือ่ มัน่ และภูมใิ จ ความสามารถอยา่ ง สอดคลอ้ งกับการ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสถานการณ ์ กระทำของตน ปฏบิ ตั ิของตนและ ในความสามารถของตนเอง มั่นใจ แสดงออก และ เปล่ียนแปลงตามวยั ต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิด 2. ช่นื ชมและแสดงออก ปรบั ปรงุ ตนเองอยเู่ สมอ รจู้ ดุ เด่นและจดุ ด้อยของ ตอบสนองตอ่ อารมณ์ และหาทางออกให้ ปัญหาด้วยวิธกี าร 2. มคี วามอดทนและ ถึงความคิด อารมณ์ ตนเองและผูอ้ ่ืน ยอมรบั และความรู้สกึ ของ สภาวะอารมณ์กลบั สู่ ท่ีเหมาะสมและ เคารพผอู้ ื่น ความรสู้ ึกผ่านศิลปะ ความแตกตา่ งทงั้ ดา้ น ตนเอง และผอู้ ่ืนใน ปกติ สรา้ งสรรค์ แขนงตา่ ง ๆ ทส่ี อดคลอ้ ง ความคดิ เหน็ และด้าน ทางบวก 2. รบั ฟังและตอบสนอง กบั บริบทสังคม และ กายภาพของผอู้ นื่ ควบคุม 2. ระมัดระวงั ตนเองจาก ตอ่ ผ้อู ื่นอยา่ งเหมาะสม วัฒนธรรม อารมณ์ ความร้สู กึ จัดการกบั อันตราย และความ อารมณข์ องตนเองที่เกิดข้นึ เสี่ยงต่าง ๆ ท้งั โรคภัย และปรบั ตนใหเ้ ขา้ กับ อุบัติภยั ภยั ธรรมชาติ สถานการณ์ทเ่ี ปลยี่ นแปลง ภยั ทางเพศ ภัยจาก สิ่งเสพตดิ และอบายมขุ ต่าง ๆ รวมทงั้ ภยั จาก สอื่ สารสนเทศและ เทคโนโลยี

39กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียนระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะชีวติ และความเจรญิ แห่งตน (Life Skills and Personal Growth) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 6 ความสามารถทางอารมณ์ ทกั ษะการเรยี นรู้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ปฏิบตั ิตน การรจู้ กั ตนเองและเขา้ ใจผอู้ น่ื การดแู ลตวั เอง และสงั คม สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 และการกำกบั ตนเอง ตามกฎระเบียบของโรงเรียน (Self and Mutual และความปลอดภยั จรยิ ธรรม สนุ ทรยี ะ (Learning Skill & และชุมชนด้วยความเต็มใจ Understanding (Health and Safety) (Interpersonal (Esthetic) Self - Directed Learner มีสนุ ทรยี ภาพในความงาม Relationship & Social - (Moral Character) รอบตวั และเขา้ รว่ มในกจิ กรรม Emotional Competence) ทางศลิ ปวฒั นธรรมของสงั คม ระดับ 3 คำอธิบาย 1. พฒั นาทักษะและ พ่ึงตนเองรบั รคู้ วามสามารถ 1. สำรวจ แสดงออกถงึ 1. ดแู ลตนเองใหม้ สี ขุ ภาวะ 1. แสดงออกทางอารมณ์ 1. กระทำส่ิงดีงามตาม 1. ชืน่ ชมและซาบซึ้งใน กลยุทธ์ในการพฒั นา และความถนดั ของตน พฒั นา สำนกึ รับรู้ตัวตน เชื่อว่า โดยสามารถระบุปัจจยั ความคดิ และพฤตกิ รรม พ้นื ฐานของสงั คม โดย คุณคา่ ของความงาม การเรยี นร้ขู องตนเอง ตนเองใหม้ ีความม่ันใจและ ตนเองมคี วามสามารถ ที่ส่งผลตอ่ ตนเองทัง้ ได้อยา่ งเหมาะสม มี รบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทำ ของธรรมชาติ และ 2. ต้ังเป้าหมายในการ เหน็ คณุ ค่าในตนเอง ยอมรบั (ได้แก่ อารมณ์ ทางบวกและทางลบ ความยดื หยนุ่ และฟน้ื คนื ของตน เรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเอง และเคารพความแตกตา่ ง ความรสู้ กึ ความตอ้ งการ ในแงส่ ขุ ภาพกายและจติ สภาพจากปญั หาได้ มีจิตสำนกึ ดแู ล และ 3. พฒั นาความมงุ่ มั่น ของตนเองและผอู้ ืน่ รวมทัง้ อตั ลกั ษณ์ ความปรารถนา) อยา่ งเป็นองค์รวมได ้ (Flexible and 2. มคี วามอดทน เคารพ รักษาธรรมชาตแิ ละ ความไม่ย่อท้อ และ แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสม และพฒั นาตนเองให้มี 2. ระมดั ระวงั และป้องกัน Resilience) ผอู้ ่ืนและยนื หยัดใน ทรัพยากร มสี ติในการดำเนนิ ชวี ิต เขา้ ใจผลลพั ธ์จากการกระทำ ความม่ันใจและเห็น ตนเองจากภยั และ ความถกู ตอ้ ง มคี วามยดื หยนุ่ และฟน้ื คืน คณุ คา่ ในตนเองพงึ่ ตนเอง ความเสย่ี งตา่ ง ๆ ทั้ง 2. เขา้ ใจผลลพั ธ์จาก 2. ช่นื ชมและซาบซ้ึงใน สภาพจากปญั หาได้ สามารถ การกระทำทงั้ ในระยะ คณุ ค่าของศิลป- รักษาสัมพันธภาพกับผอู้ ่ืน สั้นและระยะยาว วฒั นธรรม ดแู ลตนเองให้มีสขุ ภาวะ สามารถรกั ษาสมั พนั ธภาพ ภยั ทางเพศ ภยั จากคน ของไทยและสากลและ อย่างเป็นองค์รวม ปอ้ งกัน เคารพและเขา้ ใจ แปลกหนา้ ภยั จากการ 3. ยอมรับความแตกตา่ ง ใช้ศิลปะเปน็ เครื่องมือ ตนเองจากภยั และความเสยี่ ง ความรสู้ กึ ของผอู้ ืน่ ถกู กลน่ั แกลง้ ทงั้ ทางกาย ทางความคดิ ความรสู้ กึ ในการแสดงออกถงึ ต่าง ๆ ทง้ั ทางกาย วาจา วาจา และความรสู้ กึ และพฤตกิ รรมของ มโนทัศนเ์ กีย่ วกบั รวมถงึ โรคภัย อุบัตภิ ยั ตนเองและผ้อู นื่ ตนเอง ภยั ธรรมชาติ ภัยจาก

40 กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รยี นระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สมรรถนะหลักด้านทกั ษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะที่ 6 การรจู้ กั ตนเองและเขา้ ใจผอู้ นื่ การดแู ลตวั เอง ความสามารถทางอารมณ ์ จรยิ ธรรม สนุ ทรยี ะ ทกั ษะการเรยี นร ู้ ระดบั และความปลอดภยั (Esthetic) และการกำกบั ตนเอง (Self and Mutual (Health and Safety) และสงั คม (Moral Character) (Learning Skill & และความรสู้ กึ กระทำสง่ิ ดงี าม Understanding (Interpersonal Self - Directed Learner Relationship & Social - สอื่ สารสนเทศและ Emotional Competence) ตามพ้นื ฐานของสงั คม เทคโนโลยี และภัยจาก โดยรบั ผดิ ชอบต่อการกระทำ ส่ิงเสพติดและอบายมขุ ของตน มคี วามอดทน ตา่ ง ๆ ไมย่ อ่ ท้อ และมสี ตใิ นการ ดำเนนิ ชีวติ ยืนหยัดในความ ถกู ต้อง ชนื่ ชมและซาบซึ้งใน คุณคา่ ของความงามรอบตวั ใช้ศลิ ปะเปน็ เคร่ืองมือในการ แสดงออกถงึ มโนทศั นเ์ กย่ี วกบั ตนเอง มเี ปา้ หมายในการ เรียนรแู้ ละพฒั นาทักษะและ กลยทุ ธใ์ นการเรียนรู้ของ ตนเอง

41กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สมรรถนะหลักดา้ นทกั ษะชวี ิตและความเจรญิ แหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 6 ระดับ ความสามารถทางอารมณ ์ ทกั ษะการเรยี นร ู้ การรจู้ กั ตนเองและเขา้ ใจผอู้ น่ื การดแู ลตวั เอง และสงั คม สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 และการกำกบั ตนเอง ระดับ 4 คำอธบิ าย (Self and Mutual และความปลอดภยั จรยิ ธรรม สนุ ทรยี ะ (Learning Skill & Understanding (Health and Safety) (Interpersonal (Esthetic) Self - Directed Learner Relationship & Social - (Moral Character) Emotional Competence) 1. สรา้ งแรงจูงใจและนำ พง่ึ ตนเอง กำหนดเปา้ หมาย 1. พง่ึ ตนเอง สะท้อนและ 1. มีวินยั ในการดแู ล 1. สามารถจดั การอารมณ์ 1. เปน็ คนดี สามารถ 1. ช่ืนชมและซาบซง้ึ ตนเองในการเรียนรู้ ชวี ิตตามความสามารถและ ตอบสนองตอ่ มโนทัศน์ จัดการตนเองใหม้ ี ความรู้สึก ความคิด แยกแยะสง่ิ ดีชว่ั ถกู ผดิ ความงามในธรรมชาติ ความถนดั ของตน ดำเนนิ ชวี ติ เกีย่ วกบั ตวั เองทกี่ ำลัง สุขภาวะทางกายท่ีดี ความตอ้ งการ พฤตกิ รรม มคี วามกลา้ หาญเชิง ศิลปวฒั นธรรมและ 2. เรยี นรวู้ ธิ กี ารเรยี นรู้ ตามหลักของปรัชญา พัฒนา (Developing อยา่ งสมดลุ กบั สขุ ภาวะ พร้อมแสดงออก จรยิ ธรรม โดยใช้ทักษะการเรยี นรู้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง มวี ินัย Concept of Self) ดา้ นอนื่ ๆ โดยมสี ขุ ภาพ 2. รักษาเอกลักษณค์ วาม หลากหลาย ทั้งทักษะ ในการดแู ลจดั การตนเองให้มี กำหนดเปา้ หมายชวี ิต แขง็ แรง กิน อยู่ ดู และตอบสนองต่อ 2. ยนื หยดั ในการทำสงิ่ ที่ เปน็ ไทยใหธ้ ำรงต่อไป การเรยี นรู้ทกั ษะ สขุ ภาวะทีด่ ีและสมดลุ ตามความสามารถและ ฟงั เปน็ สถานการณ ์ ถูกต้อง นอ้ มนำหลัก และใช้ศลิ ปะเปน็ ประเมนิ ความเส่ยี งและ ความถนดั ของตน ในชีวิตประจำวันได้ ศาสนาหรือความเชอ่ื ที่ เครือ่ งมอื ในการพฒั นา การสืบคน้ ขอ้ มลู ทกั ษะ ปกปอ้ งตนเองใหป้ ลอดภยั วางแผนและดำเนิน 2. ประเมนิ ความเสย่ี ง อยา่ งเหมาะสม ตนยึดถอื มาเป็นเคร่อื ง ตนเอง การสืบสอบ ทกั ษะ จากภยั ตา่ ง ๆ จดั การอารมณ ์ ชีวติ ตามหลักของ และปกปอ้ งตนเองให้ ยดึ เหนี่ยวในการดำรง การสรา้ งความรูแ้ ละ พร้อมแสดงออกและ ปรัชญาเศรษฐกจิ ปลอดภัยจากภัยตา่ ง ๆ 2. พัฒนาความเขา้ ใจ ชีวติ นวัตกรรม ทกั ษะ ตอบสนองต่อสถานการณ ์ ทั้งโรคภัย อุบัตภิ ัย เกยี่ วกบั สัมพันธภาพ ในชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ ง พอเพียงเพ่ือไปส่ ู ภัยธรรมชาติ ภัยทาง ความรสู้ ึกทางเพศ การประยุกตใ์ ช้ความรู้ เหมาะสม แก้ปัญหาเมือ่ เป้าหมาย เพศ ภัยจากส่งิ เสพตดิ (Sexuality) และความ เพ่ือพัฒนาตนเองและ เผชญิ กับสถานการณว์ ิกฤติ และอบายมขุ ตา่ ง ๆ รบั ผดิ ชอบท่ที ำให้เกดิ ชีวิต รวมทัง้ พัฒนา อย่างเป็นระบบ และ รวมทัง้ ภัยจากสือ่ สมั พนั ธภาพทีแ่ ขง็ แรง ความสามารถในการ สร้างสรรค์ สามารถ สารสนเทศและ (Healthy ดำเนินชวี ติ ดว้ ยการ สรา้ งสมั พันธภาพทแ่ี ข็งแรง เทคโนโลยี Relationship) เป็นคนดี สามารถแยกแยะ พ่งึ ตนเอง สง่ิ ดชี วั่ ถกู ผดิ มคี วามกลา้ หาญ 3. รักษาบคุ ลกิ ภาพ เชงิ จรยิ ธรรม น้อมนำหลกั ความเป็นไทยผสานกับ ศาสนามาเปน็ เครอ่ื งยดึ เหนย่ี ว สากลอยา่ งกลมกลนื 4. แก้ปัญหาเมื่อเผชิญกับ สถานการณ์วกิ ฤติ อยา่ งเป็นระบบ และ สรา้ งสรรค์

42 กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะท่ี 6 การรจู้ กั ตนเองและเขา้ ใจผอู้ นื่ การดแู ลตวั เอง ความสามารถทางอารมณ์ จรยิ ธรรม สนุ ทรยี ะ ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับ และความปลอดภยั (Esthetic) และการกำกบั ตนเอง (Self and Mutual (Health and Safety) และสงั คม (Moral Character) (Learning Skill & ในการดำรงชวี ติ มสี นุ ทรยี ภาพ Understanding (Interpersonal Self - Directed Learner Relationship & Social - Emotional Competence) ชน่ื ชมและซาบซึง้ ความงาม รอบตวั ใชศ้ ลิ ปะเปน็ เครอื่ งมอื ในการพฒั นาตนเอง รกั ษา เอกลกั ษณค์ วามเป็นไทย และมบี คุ ลกิ ภาพความเปน็ ไทย ผสานกบั สากลอยา่ งกลมกลนื มที กั ษะการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย สร้างแรงจงู ใจและนำตนเอง ในการเรยี นรู้ ประยุกต์ใช้ ความรูเ้ พือ่ พัฒนาตนเองและ ชวี ติ อย่างย่งั ยืน

43กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2. สมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) หมายถึง ความสามารถของบุคคลที่มุ่งเน้น การสร้างความพร้อมสำหรับการทำงาน การประกอบอาชีพ และเป็นผู้ประกอบการท่ีเกื้อกลู สังคม โดยบุคคลต้องรจู้ ักความถนดั และความสนใจของตนเอง และนำไปสู่ การเลือกอาชพี ที่เหมาะสมกบั ตนเอง การพัฒนาทกั ษะในการทำงาน การทำงานดว้ ยการพึ่งพาตนเอง ยึดหลักการบรหิ ารจัดการ และการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งในการปฏิบตั ิงานดา้ นการเงิน เป็นการประกอบการทีเ่ นน้ นวตั กรรม การสรา้ งผลิตภัณฑเ์ ชงิ สรา้ งสรรค์ท่มี ีคณุ ภาพสงู มีจรรยาบรรณพรอ้ มรับผิดชอบสงั คม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook