Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3 คุณค่าของงานศิลปะ

หน่วยที่ 3 คุณค่าของงานศิลปะ

Description: หน่วยที่ 3

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 3 คุณคา่ ของ งานศลิ ปะ

รายการสอน 01 02 03 04 คณุ คา่ ของงาน ศลิ ปะกบั ศลิ ปะกบั สงั คม ศลิ ปะกบั ศลิ ปะ ชวี ติ ประจาวนั เศรษฐกจิ

คุณคา่ ของงานศลิ ปะ คณุ ค่าทางความงาม ธรรมชาติของมนุษยท์ ยี่ งั มีความเปน็ โลกียชนอยู่ ทัง้ ศลิ ปินผสู้ รา้ งสรรค์งานศิลปะหรือผู้ช่นื ชมศิลปะ หรอื มนุษยท์ ัว่ ไปที่ไมไ่ ด้ สนใจงานศลิ ปะ ลว้ นมีการรบั รูอ้ ารมณ์พ้นื ฐานรว่ มในเร่อื งของสงิ่ ท่ีเรยี กวา่ “งาม” หรือ “ไมง่ าม” มนุษย์ทกุ รปู นามมสี ัญชาตญาณท่ตี อ้ งการความพึง พอใจในการเสพรสแห่งความงาม ความสะเทอื นอารมณ์ องค์ประกอบทที่ าให้ ชอบหรอื ไมช่ อบ กเ็ ป็นเรือ่ งของความสวยงามเสยี ส่วนใหญ่ ย่ิงมคี วามเจริญ มากขน้ึ เพียงใด กย็ ง่ิ ตอ้ งการความงามทีว่ ิจิตรมากข้ึนเพียงนนั้ คุณค่าทางเช้ือชาติ มนุษย์ในสังคมหน่ึง ๆ หรือประชากรในชาติ ใด ๆ ย่อมมีกิจนิสัยทางศิลปะต่าง ๆ ปรากฏออกมาให้เห็นเป็นแบบอย่างทาง เช้ือชาติแห่งตนจนไดเ้ กดิ ศิลปะในรูปแบบประจาชาติข้ึนมาและดารงอยู่ได้ด้วย เวลาอันเน่ินนาน เช่น ศิลปะตะวันตก ศิลปะตะวันออก ศิลปะไทย ศิลปะจีน ศิลปะอินเดยี ฯลฯ ตา่ งแสดงออกดา้ นคุณคา่ ทางเช้ือชาติตา่ งกัน

คุณค่าทางวัฒนธรรม เมื่องานศิลปะเริ่มต้นสร้างสรรค์ ศิลปินผู้สร้างย่อมสานึกอยู่เสมอว่าเขาสร้างงานน้ันข้ึนมา ทาไม เพื่อใคร และหวังผลอะไร ศิลปินต้องคิดและพิจารณาสร้างข้อตกลงขึ้นในใจว่าจะสร้างสรรค์รูปแบบด้วยลักษณะและ ภาวะเช่นไรจึงจะทาให้ผลงานสามารถสื่อความหมายให้แก่มนุษย์ในสังคมเกิดการเรียนรู้ เข้าใจ และยอมรับผลงานศิลปะที่ได้ สร้างสรรค์ขึ้นมา เพราะมนุษย์ต้องอยู่ร่วมกันเป็นหมู่เหล่าเผา่ พันธุ์หรอื เป็นชาติเดียวกัน ภายใต้เง่ือนไขระยะเวลาอันยาวนาน จึงมีกิจนิสัย ความคิด ความเช่ือ ความพอใจโดยรวมเป็นไปในแนวคล้ายกัน ด้วยเหตุน้ี เมื่อจะแสดงออกสิ่งใดให้ปรากฏ ออกมาเป็นวัตถุธรรม เช่น งานศิลปะ การสร้างสรรค์ส่ิงน้นั ๆ ย่อมมาจากพ้ืนฐานความคดิ กิจนิสัย คติความเชื่อของหมู่ชนใน สงั คมน้ัน ๆ คุณค่าทางปรัชญา ปรัชญา หมายถึง หลักแห่งความรับรู้และความจริง ดังน้ัน คุณค่าทางปรัชญาของศิลปะจึง หมายถึงการทาผลงานศิลปะทีใ่ ห้หลกั ความรู้และความจรงิ แกผ่ ้ชู ่นื ชม คุณค่าทางประวัติศาสตร์ การสร้างสรรค์ศิลปะใด ๆ จะด้วยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ผลงานแต่ละยุคสมัยท่ีปรากฏ ของแตล่ ะกลุ่มชนลว้ นได้บันทึกสภาพของสังคมนั้น ๆ ไว้สาหรับคนรุน่ หลังหรอื สังคมอื่นไดอ้ ่าน ไมว่ ่าจะเป็นความเจริญ ความ เส่ือม ความเชื่อ ค่านิยม คุณค่า สติปัญญา ความสามารถ ต่างถูกถ่ายทอดลงสู่ผลงานศิลปะเหล่าน้ัน แล้วผ่านสู่การรับรู้ของ ผู้อ่ืน

ศลิ ปะกับ ศิลปะเป็นผลงานสร้างสรรค์ท่ีมนุษย์สร้างขึ้น มีคุณลักษณะใน ชีวติ ประจาวนั ด้านความงามที่สะเทือนอารมณ์ มีเน้ือหาสาระโน้มน้าวจิตใจให้ หว่ันไหวตามเจตนาท่ีผู้สร้างสรรค์วางไว้ ศิลปะเป็นเคร่ืองปรุงแต่ง อารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ให้แสดงออกในทางท่ีงดงาม ควรค่าแก่ การรับรูแ้ ละการยอมรับของเพอื่ นมนษุ ย์ มนุษย์ได้สร้างสรรค์ส่ิงต่าง ๆ มากมาย เพ่ือใช้สอยตามความ จาเปน็ กบั ชีวิตประจาวนั เชน่ การประดับประดา ตกแต่งอาคาร วัตถุ สิ่งของเคร่ืองใช้ ร่างกายมนุษย์ และส่ิงแวดล้อม เมื่อสร้างสรรค์ ประดิษฐ์ตกแต่งวัตถุ ตลอดจนส่ิงของได้สวยงาม ส่ิงนั้นอาจถูก เรียกว่า “ศิลปะ” หรือ “ประยุกต์ศิลป์” ทั้งน้ี จะเป็นไปตามเง่ือนไข หน้าท่ีของการสร้างสรรค์ส่ิงนั้นว่าจะให้เกิดประโยชน์ในทางจิตใจ การใช้สอย หรือเศรษฐกจิ

หนา้ ท่ขี องศิลปะ 1 ทาหน้าท่ีปรุงแต่งอารมณ์ความรู้สึกท่ีมนุษย์ 4 ทาหน้าท่ปี รงุ แตง่ ร่างกายมนุษย์ แสดงออกให้งดงาม 2 ทาหน้าท่ีปรุงแต่งความคิดท่ีมนุษย์แสดงออก 5 ทาหน้าที่ปรงุ แตง่ สภาพแวดล้อม ให้ควรคา่ แก่การยอมรบั จากเพื่อนมนษุ ย์ 3 ทาหน้าทปี่ รุงแตง่ วตั ถุเครือ่ งใช้ เครื่องบริโภค ให้น่าชม นา่ ใช้ น่าบรโิ ภค

ศลิ ปะกับสังคม ศิลปะกับสังคม เป็นการแสดงออกทางศิลปะต่อสังคมที่ต่างไปจาก ศลิ ปะเพ่ือสังคม โดยผลงานจะสนับสนุนเหตุผลทางสงั คมเพียงอย่างเดียวใน ทางบวก ซึ่งศิลปะกับสงั คมจะสะท้อนเรอื่ งราวแนวคดิ ต่าง ๆ ต่อสงั คมทั้งใน ทางบวกและทางลบ โดยมีเปา้ หมายทจี่ ะเห็นสังคมดขี ึ้นกว่าเดิมตลอดไป ศิลปะกับสังคมจึงเป็นผลงานทางศิลปะท่ีสะท้อนสภาวะอันแท้จริง ของสังคมในแต่ละด้านของมุมมองที่สังคมอาจหลงลืมหรือจงใจให้เป็น เช่นนัน้ อย่างรู้เทา่ ทนั และไมต่ กเป็นทาสของสังคมในทางทผี่ ดิ ศิลปะกับสังคมท่ีดีต้องถือการแสวงหาสื่อและจินตนาการเฉพาะตัว หน้าท่ีของศิลปะก็คือการค้นหาความจริงในสังคม แม้ส่ิงที่เป็นความจริงนั้น อาจไม่งามในความรู้สึกก็ตาม แต่เงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของศิลปะน้ัน ศิลปะมิได้แสดงออกเพียงรูปแบบด้านเดียว หากคือการแสดงออกที่สะท้อน ปรากฏการณ์อันเกิดข้ึนในสังคมด้วย ศิลปะมิใช่เพียงเพ่ือประดับหรือวาง เรียงรายในพิพิธภัณฑ์ ศิลปะถูกใช้ในการเรียกร้อง แสดงความไม่พึงพอใจ และเป็นปฏิปักษ์ต่อส่งิ ไม่ดไี มง่ ามมาตลอด

ศลิ ปะสะท้อนสงั คม

ศลิ ปะกบั เศรษฐกจิ ศิลปะเปรียบเสมือนเครื่องจัดระดับฐานะของสังคมโลกมา ทุกยุคทุกสมัย กล่าวคือ เหตุผลทางเศรษฐกิจในแต่ละสังคมเป็น ส่ิงสาคัญของการสร้างสรรค์ศิลปะ ไม่ว่าในฐานะสิ่งจรรโลงโลกหรือ สินค้า เศรษฐกิจมีส่วนทาให้ศิลปะมีลักษณะ รูปแบบ เน้ือหาสาระ ตลอดจนคณุ คา่ แตกต่างกนั ไป เพราะสังคมโลกใดมีโภคทรัพย์ท่ีมัง่ ค่ัง ด้วยความสามารถทางเศรษฐทรัพย์ ย่อมสามารถแสวงหาวัตถุดิบที่มี คุณค่า มีราคามาสร้างสรรค์ศิลปะให้ทรงคุณค่าได้เป็นอเนกอนันต์ ในทางตรงกันข้าม สังคมที่ขาดแคลนโภคทรัพย์อับจนเศรษฐกิจ ย่อม ไม่อาจกระทาการประดิษฐ์ตกแต่งให้ฟุ่มเฟือยใด ๆ ได้ ทาได้เพียง รูปแบบง่าย ๆ หยาบ ๆ และศิลปะ ก็จะกลายเป็นส่ิงที่อยู่ นอกเหนือไปจากปจั จัยในการดาเนินชีวติ และหมดความหมายไปจาก การพัฒนาอาชีพและเศรษฐกิจของสังคม เพื่อให้ผลงานศิลปะต่าง ๆ มคี วามหมายกบั เศรษฐกจิ ของสังคม