Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ย่อ วินัยนักธรรม เอก

ย่อ วินัยนักธรรม เอก

Description: ย่อ วินัยนักธรรม เอก

Search

Read the Text Version

ยอ่ ความนกั ธรรมเอก วนิ ยั มขุ เลม่ ๓

กณั ฑท์ �ี ๒๓ สังฆกรรม สงั ฆกรรม = กจิ ที่จะต้องทาํ เปน็ การสงฆ์ มูลเหตุ มี ๒ ประการคือ ๑. ภิกษุมากข�นึ ๒. มพี ุทธประสงคใ์ ห้สงฆ์เปน็ ใหญใ่ นการบรหิ ารคณะ ญัตติ = คําเผดียงสงฆ์ คําสวด มี ๒ ประเภท อนสุ าวนา = คําประกาศความปรึกษา/ขอ้ ตกลงของสงฆ์ สังฆกรรม มี ๔ ประเภท กรรมทตี� ้องทําด้วย ข้อกาํ หนดอืน� ๆ สังฆกรรม บอกสงฆ์ ต�งั ญตั ติ สวดอนุสวนา ในสมี า ทําฉันทะ เขา้ หัตถบาส √ ๑๒๓ ๑. อปโลกนกกรรม √√ ๒. ญัตตกิ รรม √√ √√ ๓. ญัตตทิ ตุ ยิ กรรม ๔. ญตั ติจตุตถกรรม √√ √ √ √√√ √ ๑. อปโลกนกรรม = กรรมที่ทําเพยี งบอกกันให้รใู้ นทีป่ ระชุมสงฆ์ กรรมวบิ ัติ = สังฆกรรมที่ทําไม่ถูกระเบยี บตามพทุ ธบัญญตั ิ = มี ๕ อยา่ ง คอื ทําใหส้ ังฆกรรมน�นั เสียไป ทาํ แลว้ ไม่เป็นอันทํา ๑. นสิ สราณา = ขบั ไล่ กรรมยอ่ มวบิ ตั ิดว้ ยเหตุ ๔ ๒. โอสารณา = เรยี กเขา้ หมู่ ๑. โดยวตั ถุ = <๒๐ปี, อภัพบุคคล, ทับสีมา, ผิดระเบียบ ๒. โดยสมี า = ใหญ่เกิน, เล็กเกนิ , นิมติ ขาด, ฉายา, ไม่มี ๓. ภัณฑูกรรม = ปลงผม ๓. โดยปริสะ(บรษิ ทั ) = ไมค่ รบสงฆ์, ไม่นําฉนั ทะ, คัดค้าน ๔. โดยกรรมวาจา = ไมร่ ะบุวตั ถุ-สงฆ์-บคุ คล ๔. พรหมทัณฑ์ = ไมว่ า่ กลา่ วตักเตือน ไม่ต�ังญตั ติ, ตัง� ญัตตภิ ายหลัง, สวดผด, ไมค่ วรสวด ๕. กัมมลักขณะ = แจกอาหารในโรงฉนั ๒. ญตั ตกิ รรม = กรรมท่ปี ระกาศใหร้ ูโ้ ดยตง�ั ญัตติ วา่ จะทาํ อะไร แต่ไมต่ อ้ งสวดอนุสาวนา = มี ๙ อยา่ ง คือ ๑. นสิ สราณา = ถอนพระธรรมกถึก ๒. โอสารณา = เรียกอปุ สมั ปทาเปกขะท่ถี ามอตั รายธิ รรมแล้วเข้าทา่ มกลางสงฆ์ ๓. อโุ บสถ = แสดงพระปาติโมกข์ ๔. ปวารณา = ว่ากล่าวตักเตือนกนั ๕. สมมติต่างเรอื่ ง = สมมตติ น/ผ้อู นื่ ถามอตั รายิกธรรม ๖. การให้ = บาตรและจีวรที่เปน็ นสิ สัคคีย์ ๗. ปฏคิ คหะ = รบั อาบตั อิ นั ภกิ ษแุ สดงในสงฆ์ ๘. ปจั จกุ กัฑฒนะ = ประกาศเล่อื นวันปวารณา ๙. กมั มลักขณะ = ประกาศเรมิ่ ต้นระงับอธกิ รณ์ด้วย ติณวัตถารกวนิ ยั ๓. ญตั ตทิ ุติยกรรม = กรรมอันมวี าจาครบ ๒ ๔. ญัตติจตตุ ถยกรรม = กรรมทมี่ วี าจาครบ ๔ ต้องทําในสีมาเทา่ นั�น = มี ๗ อย่าง คือ = มี ๗ อย่าง คือ ๑. นิสสราณา = คว่าํ บาตร ๑. นสิ สราณา = ลงโทษภกิ ษุผู้ประพฤตมิ ิชอบ ๒. โอสารณา = การหงายบาตร ๒. โอสารณา = ยกโทษ ๓. สมมติต่างเร่อื ง = สมมติสมี า ๓. สมมตติ า่ งเร่อื ง = สมมติภิกษุผ้ใู หโ้ อวาทภกิ ษณุ ี ๔. ให้ต่างอย่าง = ผา้ กฐนิ ๔. การให้ = ใหป้ ริวาสและมานัต ๕. ประกาศถอน หรอื เลิกอานสิ งส์กฐิน ๕. นิคคหะ = ปรบั ใหต้ ง�ั ต้นประพฤตใิ หม่ ๖. แสดงทส่ี ร้างกฎุ ี ๖. สมนภุ าสนา = สวดประกาศห้ามภกิ ษุถือรั�น ๗. กมั มลักขณะ = กรรมที่ต้องสวดระงบั อธกิ รณด์ ้วย ตณิ วัตถารกวินยั ๗. กัมมลกั ขณะ = อปุ สมบท และ อพั ภาน กําหนดจํานวนสงฆอ์ ย่างตา�ํ ในสังฆกรรมทั�ง ๔ จาํ นวนสงฆ์ผทู้ าํ กรรม ปวารณา สงั ฆกรรม อัพภาน Note : กัมมารหะ = ภกิ ษผุ ู้ถูกสมมตใิ ห้เป็นเจ้าหนา้ ทท่ี าํ การสงฆ์ ๑. จตุวรรค (๔ รูป) x ให้ผ้ากฐิน อปุ สมบท x ๒. ปญั จวรรค (๕ รปู ) √ กมั มปตั ตะ = ภิกษุผเู้ ขา้ ในจาํ นวนสงฆ์ผูท้ ํากรรมทุกประเภท xx x คณุ สมบัติ ๓. ทสวรรค (๑๐ รูป) √ √√ ๑. เปน็ ภกิ ษุปกติ ๔. วสี ติวรรค (๒๐ รปู ) √ x ๒. มสี ังวาสเสมอด้วยสงฆ์ ปัจจันตชนบท √ √√ ๓. เปน็ สมานสงั วาสของกันและกัน √√

พัทธสมี า กัณฑ์ท�ี ๒๔ สีมา = แดนทผี่ กู แล้ว สีมา อพัทธสมี า = แดนที่ไม่ได้ผูก (เขต/แดน) พัทธสมี า : มี ๒ ขนาด = เขตท่สี งฆก์ ําหนดขึน� เอง โดยจัดตง�ั นมิ ติ ๑. ขนาดเลก็ ๒. ขนาดใหญ่ = จภุ ิกษุได้ ๒๑ รปู (นง่ั หตั ถบาสกัน) = กวา้ งไมเ่ กนิ ๓ โยชน์ นิมติ = มี ๘ ชนดิ ๑. ภูเขา ๒. ศิลา ๓. ป่าไม้ ๕. จอมปลวก ๗. แม่น�าํ ๔. ต้นไม้ ๖. หนทาง ๘. น�าํ Note : นมิ ิตต้องมตี ง�ั แต่ ๓ ขน�ึ ไป (ต่าํ กว่านั�นไม่ได้ เพราะชักแนวบรรจบกนั ไม่ถึง) ผงั การวาง ลกู นมิ ติ กงฉากตรง กงฉาเส�ียว จัตุรสั เหล่ยี มรี ส่เี หล่ยี มสอบ ตะโพน บณั เฑาะว์ วธิ ผี ูกพัทธสมี าตามธรรมเนยี มในบดั น�ี : ๑. ตอ้ งขอพระราชทานวิสุงคามสีมากอ่ น (รบั อนุญาตจากบ้านเมอื ง) ๒. ตอ้ งประชมุ สงฆ์ในเขตสีมาท�งั หมด (นาํ ฉันทะด้วย) ๓. ตอ้ งสวดถอนก่อน : ๓.๑ สวดถอน ติจวี ราวิปปวาส (กอ่ น) ๓.๒ สวดถอน สมานสังวาสสีมา (ภายหลัง) ๔. จัดเตรียมนิมติ วางไว้ ๘ ทิศ หรือ ๔ ทศิ (ตามต้องการและเหมาะกบั สถานท)ี่ ๕. เมอ่ื สมมติสมี า ตอ้ งประชุมสงฆใ์ นนิมติ ท�ังหมด ๖. ทักนมิ ิต : - ใช้ภกิ ษุ ๔ รูปก็พอ (ทีเ่ หลืออยูใ่ นโรงอโุ บสถ) - ยืนอยภู่ ายในนมิ ิต + หันหน้าไปทางทิศนนั� - เรม่ิ ตน้ ต�งั แตท่ ิศตะวันออกเป็นต้นไป เวียนขวาจนยอ้ นกลับมาทักทศิ ตะวนั ออกอกี ๗. สวดกรรมวาจาสมมตสิ ีมานน�ั ในโรงอโุ บสถ โดยภกิ ษุผูฉ้ ลาดสามารถรูปหนึง่ ๗.๑ สวดกรรมวาจาสมมตเิ ขตภายในนิมิต เปน็ สวานสงั วาสสีมา ด้วยญัตตทิ ตุ ิยกรรม (กอ่ น) ๗.๒สวด สมมตติ จิ ีวราวปิ ปวาส (ภายหลัง) ๘. เสรจ็ พธิ ี พทั ธสมี า มี ๓ ประเภท ๑. ขัณฑสีมา สมี าทีย่ กเฉพาะโรงอุโบสถ ๒. มหาสีมา สมี าทีผกู รอบบริเวณวัด ๓. สีมาสองชัน� สมี าที่มีขัณฑสีมาอย่ภู ายในสมี า อพัทธสีมา : มี ๓ ประเภท ๑. คามสมี า/นคิ มสมี า เขตที่กําหนดด้วยบ้าน/หมู่บา้ น ได้แก่ วสิ ุงคามสมี า ๒. สัตตพั ภันตรสมี า สมี าทก่ี าํ หนดด้วยแนวสงฆ์โดยรอบ ๗ อพั ภนั ดร(๔๙ วา) ๓. อทุ กุกเขปสีมา เขตสามัคคีช่ัววกั นาํ� สาด แห่งคนมอี ายแุ ละกาํ ลังปานกลาง กาํ หนดลงใน แมน่ �ํา, ทะเล หรือชาตสระ (ประชุมสงฆ์บนเรอื แพ) Note : คามสีมา/ นิคมสีมา/ วิสุงคามสมี า ทาํ สงั ฆกรรมได้ แต่จะสมมตเิ ป็นตจิ ิวราวปิ ปวาสไม่ได้ ๑. สงฆ์ไม่รู้ สมี าสังกระ = สมี าคาบเก่ยี วกัน สีมาวิบตั ิ เกดิ จาก ๒. พัทธสีมา ๒ แห่ง มตี ้นไมพ้ าดกงิ่ ถึงกนั ๓. การทําสงั ฆกรรมในนาํ� หา้ มโยงเรอื แพกับฝัง่ เพราะจะกลายเป็น อทุ กกุ เขป ซ่ึงสงั กระกัน กับคามสีมา

กัณฑท์ ี� ๒๕ สมมติเจา้ หน้าทท�ี ําการสงฆ์ เจ้าหน้าทท่ี ําการสงฆ์ เรยี กวา่ \"อธกิ าร\" คุณสมบตั ิของภิกษุเจา้ หนา้ ทีท� าํ การสงฆ์ ๕ ประการ คอื ๑. ไมล่ ําเอยี งเพราะ ความชอบ ๒. ไม่ลาํ เอียงเพราะ ความเกลียดชงั องค์คณุ ทว�ั ไป ๔ ประการ ๓. ไมล่ าํ เอยี งเพราะ ความงมงาย (สรรพสาธารณ์ ๔) ๔. ไมล่ ําเอียงเพราะ ความกลัว ๕. เข้าใจการทําหนา้ ที่อยา่ งนน�ั องค์คุณเฉพาะ ๑ การแต่งตงั� เจ้าหน้าทที� ําการสงฆ์ คุณสมบตั ิ ๕ ความสมคั รใจ สวดญตั ติทุตยิ กรรมวาจา เง�ือนไข : การสมมติเจ้าหน้าทที� าํ การสงฆ์ √ √ √ ประเภทเจา้ หน้าทท�ี าํ การสงฆ์ มี ๕ แผนก คือ เจา้ หน้าท�อี ธกิ ารแหง่ คุณสมบัติ ๑. จีวร หน้าที� ช�อื เ ้วนจากอคติ ๔ เ ้วนจากอค ิต ๔ เว้นจากอค ิต ๔ เว้นจากอค ิต ๔ ต้องรูจ้ กั ประเภท รบั ไม่รบั - จีวรทถ่ี วายแกส่ งฆท์ ่ตี นสังกัดอยู่ ๑.๑ รบั จีวร จีวรปฏิคคาหกะ - ถวายแก่สงฆท์ ี่ตนไม่ได้สงั กดั อยู่ √ - จีวรทถ่ี วายเป็นปาฏปิ คุ คลกิ (เจาะจง) √ √ - จีวรประเภทใด-เทา่ ไร-รบั ไวห้ รอื ไม่ จาํ ไว้ด้วย ต้องรจู้ กั ประเภท เก็บ แจก ๑.๒ เก็บจีวร จวี รนทิ หกะ - อัจเจกจวี ร : แจกแก่ภกิ ษุทจี่ าํ พรรษา (เมือ่ ออกพรรษา) - จวี รเขาถวายไม่พอแจก (จนกว่าจะพอแจก) √ - จีวรทพ่ี อแจกทั่วกัน √ - จวี รมจี ํานวนเท่าไร-เกบ็ ไวห้ รือไม่ จําไว้ดว้ ย ๑.๓ แจกจีวร จวี รภาชกะ ตอ้ งรจู้ กั ประเภท แจก เก็บ - จีวรพอแจกได้ทวั่ กัน - ผ้ากฐนิ /เปน็ มูลแห่งเสนาสนะปจั จัย √ √ - จวี รมีจาํ นวนเท่าไร-แจกแล้วหรอื ไมไ่ ด้แจก : จาํ ไว้ด้วย - ควรกาํ หนดเขต, กาล, วัตถ,ุ บคุ คล และนิยมต่างๆด้วย ๒. อาหาร ต้องร้จู กั ประเภท แจก ไมแ่ จก - ภัตไมเ่ จาะจงผู้รบั ๒.๑ แจกภัต ภัตตุทเทสกะ - ภัตเจาะจงผูร้ บั √ √ ๒.๒ แจกยาคู ยาคุภาชกะ ๒.๓ แจกผลไม้ ผลภาชกะ - ภตั ที่มแี จกไมท่ ่วั กนั แจกไปแล้วถงึ ลําดบั แคไ่ หน : จําไว้ ๒.๔ แจกของเคี�ยว ชชั ชภาชกะ - การแจกภัต ๒ อย่าง : ๑.แจกอาหาร ๒. รับกิจนมิ นต์ เสนาสนะท�ีจะแจกให้ถอื มี ๒ ชนดิ คอื ๓. เสนาสนะ ๓.๑ ผแู้ จกเสนาสนะ เสนาสนคหาปกะ ๑. กุฎีหลังๆ หรอื เปน็ ห้องๆ ๓.๒ ผู้แตง่ ตงั� เสนาสนะ เสนาสนะปัญญาปกะ ๒. เตียงนอนเป็นที่ สําหรับอยู่รว่ มกันในกฎุ หี ลังใหญ่ ต้องรู้จกั ประเภท ๔. อาราม เ ้วนจากอค ิต ๔ ๔.๑ ผู้ใช้คนทาํ การวดั อารามกิ กเปสกะ - อารามกิ (คนทาํ การวัด) มี ๒ จําพวก : ๑. เลขวัด(สังกดั วัด) ๒. ลกู จ้าง ๔.๒ ผู้ใชส้ ามเณร สามเณรเปสกะ ๔.๓ ผ้ดู ูแลการปลกู สร้าง นวกมั มิกกะ - มีหน้าที่ ๒ อยา่ ง : ๑.สร้าง ๒. ซอ่ ม - เงือ่ นไข : เสร็จเรว็ +ไม่แพง ๕. คลงั ตอ้ งรจู้ ักประเภทของ : ควรเก็บ-ไมค่ วรเกบ็ ๕.๑ ผูร้ ักษาคลงั ภัณฑาคาริก ๑. ครภุ ณั ฑ(์ ใชเ้ พอื่ การสงฆ)์ ๒. ลหุภณั ฑ์ (แบง่ เปน็ แผนก) ๕.๒ ผู้จ่ายของเล็กนอ้ ย อปั ปมัตตกวิสชั ชะ ๑. เภสชั บําบดั โรค ๒. ของ ๙ อยา่ ง (เครื่องอุปโภค-บรโิ ภค)

Note : ภัต ๗ อยา่ ง ความหมาย ประเภท หมายเหตุ ชอื� ภตั อาหารถวายสงฆ์ (พอแจก) ทัว� ไป อาหารอุทศิ สงฆ์ (ไมพ่ อแจก) ๑. สังฆภตั อาหารท่ไี ด้ในทนี่ มิ นต์ - ถ้ามีพอแจก = สงั ฆภัต ๒. อุทเทสภตั อาหารถวายตามสลาก ตามกาล - ไม่พอแจก = อเุ ทสภตั ๓. นิมนั ตนภตั อาหารถวายปกั ษ์ละคร�ัง ๔. สลากภตั อาหารถวายในวนั อโุ บสถ วธิ ีแจกเหมือน : สงั ฆภตั /อุเทสภัต ๕. ปกั ขิกภตั อาหารถวายในวันปาฏิบท ๖. อโุ ปสถกิ ภัต ๗. ปาฏิปทกิ ภตั Note : เสนาสนะ การใหถ้ ือเสนาสนะเนือ� งด้วย\"สมยั \" ภิกษทุ ไี� ม่ตอ้ งย้ายเสนาสนะในคราวนอกพรรษา ได้แก่ ๑. ภกิ ษุผทู้ ําอุปการะแก่สงฆ์ ๑. เม่ือวันเข้าพรรษาแรก = ปรุ ิมิโก ๒. ภกิ ษุผู้ได้ปฏสิ ังขรณ์เสนาสนะนน�ั (สงฆใ์ หอ้ ยมู่ ีกาํ หนดปี) ๓. ภิกษผุ เู้ ปน็ ภณั ฑาคาริก ๒. เมอื่ วันเขา้ พรรษาหลัง = ปจฺฉิมิโก ๓. ในระหว่างพ้นจากน�นั = อนตฺ รามตุ ฺตโก ฐานะของผถู้ ือเสนาสนะ ลักษณะเสนาสนะ ๑. พระเถระผใู้ หญ่ เสนาสนะใหญ/่ ทง�ั บรเิ วณ ๒. พระเถระผ้นู อ้ ย เสนาสนะขนาดย่อม ๓. เปน็ ผู้ทาํ อุปการะแกส่ งฆ์ เสนาสนะท่ที ําการนนั� สะดวก ๔. เป็นผเู้ ลา่ เรียน/ประกอบกิจใดๆ เสนาสนะใกล/้ อยู่หมเู่ ดียวกนั ๕. เปน็ ผ้อู าศัย/เป็นทอี่ าศัยของกนั เสนาสนะใกล/้ อยหู่ มู่เดยี วกนั Note : คลัง จําเพาะภิกษอุ าพาธเท่านั�น รายละเอียด ๘. เศษผา้ พอทําจวี รได้ ประเภทแหง่ ของเลก็ น้อย ๑. เขม็ ๓. รองเท้า ๙. เภสัช ๕ ๒. มดี ๔. รดั ประคดเอว ๖. ผา้ กรองนา�ํ ๑. เภสัชสาํ หรบั บําบัดโรค ๗. ธมกรก ๕. สายโยงบาตร ๒. ของ ๙ อยา่ ง

กัณฑท์ ี� ๒๖ กฐิน กฐิน = จดั เปน็ ญตั ติทตุ ยิ กรรม แตต่ อนอปโลกน์ จดั เปน็ อปโลกนกรรม ลําดบั = ไม้สะดึงท่ใี ช้สําหรับขึงเพือ่ ตดั เยบ็ จีวร ๑ = ทรงอนญุ าตไวแ้ ก่ภิกษุสงฆ์ท่ีอยจู่ าํ พรรษาถ้วนไตรมาส(ครบ ๓ เดือนบรบิ ูรณ์) ๒ ๓ หัวข้อ รายละเอียด ๔ ๕ พุทธประสงค์ เพื่อความสามัคคีของภิกษทุ ่ีจาํ พรรษารว่ มกัน ๖ เขตกฐินตามปกติ ตง�ั แต่แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๑๑ - ข�ึน ๑๕ คาํ่ เดือน ๑๒ ๗ เขตอานิสงสก์ ฐนิ ภิกษุได้กรานกฐนิ แลว้ เขตกฐินยดื ออกไปอีก ๔ เดอื น ๘ ตง�ั แต่แรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๒ - ขึ�น ๑๕ ค่ํา เดอื น ๔ ๙ ๑๐ สิทธิของภกิ ษุผู้กรานกฐิน ๑. เป็นผู้จําพรรษาถ้วนไตรมาส ๑๑ ๑๒ ต้องประกอบดว้ ยองค์กาํ หนด ๒. อยูใ่ นอาวาสเดียวกนั ๑๓ ๓ ประการ คือ ๓. ภกิ ษุมจี าํ นวนตงั� แต่ ๕ รปู ข�ึนไป ๑๔ การกรานกฐิน ๑. เมื่อผา้ เกดิ ขน�ึ แก่สงฆใ์ นกาลเชน่ น�ัน (พอทาํ เป็นไตรจวี รได)้ ๒. สงฆ์พรอ้ มใจกนั ยกใหภ้ ิกษรุ ปู หนงึ่ เพื่อทําการ ๓. ภกิ ษุรับผ้าน�นั เอาไปทําเป็นจีวร แล้วเสรจ็ ภายในวันนน�ั ๔. มาบอกแก่ภิกษผุ ยู้ กผา้ นน�ั ให้อนโุ มทนา ๕. ภิกษเุ หล่านั�นอนโุ มทนา ผา้ ทใ�ี ช้ทาํ เปน็ ผ้ากฐิน ผใู้ ดผหู้ นึง่ (คฤหสั ถ์/สหธรรมกิ )ถวายแกส่ งฆ์ เป็นอันใชไ้ ด้ มี ๕ ชนดิ ๑. ผ้าใหม่ ๒.เทยี มใหม่ ๓. ผา้ เก่า ๔. ผา้ บังสุกุล ๕. ผา้ ตกตามร้าน ผ้าที�ไมค่ วรใช้เปน็ ผา้ กฐิน ๑. ผา้ ที่ตนไมไ่ ด้เปน็ กรรมสิทธิ� ๒. ผ้าท่ไี ด้มาโดยมิชอบ ๓. ผ้าท่ีเปน็ นสิ สัคคยี ์ ๔. ผา้ ทเ่ี กบ็ ไวค้ า้ งคืน องค์ของภิกษุผสู้ มควรกรานกฐนิ ๑. รจู้ ักบุพพกรณ์ มี ๘ ประการ ๒. รจู้ กั ถอนไตรจีวร ๓. รู้จกั อธษิ ฐานไตรจวี ร ๔. รู้จกั การกราน ๕. รจู้ กั มาติกา (หัวขอ้ ในการเดาะกฐนิ ) ๖. ร้จู กั ปลิโพธ (กังวลเป็นเหตุยงั ไมเ่ ดาะกฐิน) ๗. รู้จกั เดาะกฐนิ ๘. รจู้ ักอานสิ งส์กฐนิ คุณสมบัตผิ คู้ วรได้ผา้ กฐนิ : ภกิ ษจุ วี รเก่า พรรษามาก เปน็ พหสู ูต สงฆ์ หรอื บุคคลเป็นผูก้ รานกฐิน สงฆ์ ภิกษุ ≥ ๕ รูป (รวมภิกษผุ ู้กรานกฐนิ ดว้ ย ๑ รูป) คณะ ภิกษุ < ๕ รปู ลงมา บุคคล ภิกษรุ ูปทก่ี รานกฐนิ ของบรวิ ารผ้ากฐินเปน็ ของใคร : แจกแก่ภกิ ษุอ่นื ๆ ที่เหลือโดยลําดบั แหง่ ผ้าจํานําพรรษา หรอื โดยพรรษา เหตทุ ที� ําให้กฐินเดาะ : มี ๓ ประการ ๑. ปลโิ พธขาดทั�ง ๒ อยา่ ง (อาวาสปลิโพธ + จีวรปลิโพธ) (เดาะ = เสยี หาย/ใชไ้ ม่ได)้ ๒. สงฆ์พร้อมใจกันเดาะกฐนิ เสยี ในระหวา่ ง ๓. สิน� เขตอานิสงสก์ ฐนิ อานิสงส์กฐนิ : มี ๕ ประการ ๑. เทีย่ วไปโดยไม่ตอ้ งบอกลา ๒. เทีย่ วจาริกไป โดยไมต่ ้องถือไตรจวี รไปครบสํารบั (๓ ผืน) ๓. ฉนั คณโภชน์ และ ปรมั ปรโภชนไ์ ด้ ๔. เกบ็ อตเิ รกจีวรได้ตามปรารถนา ๕. จีวรซง่ึ เกดิ ข�นึ ในทีน่ ัน� เปน็ ของควรได้แกพ่ วกเธอ วิบัติ ๓ : การกรานกฐนิ วิบตั ิ ๑. วัตถวุ ิบัติ ใชผ้ า้ ตอ้ งห้าม ๔ ชนิด(ขา้ งต้น) ๒. กาลวิบตั ิ ไมใ่ ชก่ าลจีวร ๓. กริ ยิ าท่ที ําวบิ ตั ิ ทาํ บพุ พกรณไ์ มถ่ ูกตอ้ ง หรอื ไมท่ าํ เสยี เลย

= ธรุ ะทพี่ งึ ทําในเบอ�ื งต้นแห่งการกรานกฐิน บุพพกรณ์ = ตอ้ งทาํ ให้แลว้ เสร็จภายในวนั นนั� = มี ๗ ประการ คอื ๑. ซกั ผ้า ๒. กะผ้า ๓. ตดั ผา้ ๔. เนา/ด้น ๕. เยบ็ ๖. ย้อม ๗. ทําพินทุกัปปะ สงั ฆาฏิ? จีวร ? เหลืองเจือแดงเข้ม คลํา� สบง ? เหลืองหม่น ตม สีกรัก คราม เดาะก ิฐน ํกาหนด ้ดวยรู้จกั มาติกา : หวั ข้อแหง่ การเดาะกฐนิ มี ๘ หวั ขอ้ คอืเรยี กชอ�ื วา่ ๑. หลีกไป ๒. ทําจีวรเสรจ็ แล้ว ปกฺกม นนตฺ ิกา ๓. สันนิษฐาน นิฏฐฺ า นนตฺ กิ า ๔. ทาํ เสีย/หาย สนนฺ ิฏฐฺ า นนตฺ ิกา ๕. สนิ� หวัง นาส นนฺตกิ า ๖. ได้ยนิ ขา่ ว อาสวจฺ เฉทิกา ๗. ร่วมเขตกบั ภิกษุทั�งหลาย สว นนตฺ ิกา ๘. เดาะกฐนิ พร้อมกบั ภกิ ษทุ ั�งหลาย สมี าติกฺ กนฺติกา สหุพภฺ ารา : เหตุยงั ไมเ่ ดาะกฐิน รู้จักปลิโพธ : เขตแหง่ จวี รกาลขยายออกไปตลอด ๔ เดือนฤดูหนาวตามกาํ หนด มี ๒ อยา่ ง : แต่ถ้าไม่มปี ลิโพธเม่ือใด เขตแหง่ จีวรกาลยอ่ มสน�ิ เม่ือนนั� ๑. อาวาสปลิโพธ : หลกี ไปแลว้ แตผ่ ูกใจว่าจะกลับมา ๒. จีวรปลิโพธ : มหี วังจะไดจ้ วี รอกี : ภิกษไุ มไ่ ดท้ าํ จวี รเลย / ทําคา้ งไว้ / เสยี หายไปเวลาทาํ แต่มหี วังจะไดจ้ ีวรอกี ๒Note : ถา้ ขาดพรอ้ มกนั ทง�ั อยา่ ง หมดอานสิ งสก์ ฐนิ + สิ�นเขตจวี รกาล = เดาะกฐิน

กัณฑ์ที� ๒๗ บรรพชา & อุปสมบท การบวชด้วย บรรพชา = เวน้ ความชั่วทกุ อย่าง จดั เป็นการให้ ๑. ไตรสรณคมณ์ อุปสมบท = การบวชเป็นภิกษุ บรรพชา ๒. เอหิภกิ ภุอุปสมั ปทา การบวชในสมัยพุทธกาล อุปสมบท รายละเอยี ด บรรพชา : ทรงอนุญาตใหพ้ ระสาวกอุปสมบทกลุ บุตร แยกออกเปน็ ๒ ตอน คือ อุปสมบท ๑. การใหค้ รองผ้ากาสายะ ๒. การให้รบั ไตรสรณคมน์ : ผ้ทู ี่บวชเป็นสามเณรรูปแรก คอื \"พระราหลุ กมุ าร\" (พระสารบี ตุ รบวชให)้ : วธิ ีอุปสมบท ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ประทานดว้ ยพระองค์เอง แยกเปน็ ๒ ตอน ๑. พระดาํ รสั วา่ \"มาเถิดภกิ ษุ หรือ เปน็ ภกิ ษุมาเถิด ๒. พระดาํ รัสว่า \"ประพฤตพิ รหมจรรย์ เพ่อื ทําท่ีสดุ ทกุ ข์โดยชอบเถิด\" : ผทู้ ่บี วชเป็นรูปแรก คือ \"พระอญั ญาโกณฑัญญะ\" การบรรพชาเป็นสามเณร ๑. คุณสมบัติผบู้ วช : อายุพอไลก่ าไลไ่ กไ่ ด้(แต่อายทุ เ่ี หมาะสมตามมตพิ ระมหาสมณเจ้าฯ วา่ ๑๕ ปี) ๒. ขอ้ กาํ หนด : ๑. ตอ้ งมีภกิ ษุอยดู่ ้วยกนั รู้เห็น ๒. ไมท่ ําแบบงุบงบิ เข้าลกั ษณะที่ลกั พาลูกเขามาบวช ๓. ผูบ้ รรพชาตอ้ งสมคั รใจ ๔. มารดาบิดา หรือผ้ปู กครองต้องอนญุ าต ๕. กระทาํ พธิ บี รรพชาตอ่ หนา้ ภกิ ษทุ งั� หลาย ๓. วธิ ใี หบ้ รรพชา : ๑. ใหป้ ลงผมและหนวด ๒. ใหถ้ อื ผ้ากาสายะเข้าไปหาพระอปุ ัชฌาย์ แลว้ กล่าวคําขอบรรพชา \" สพฺพทกุ ฺขนิสฺสรณ...... \" ๓. พระอปุ ัชฌายบ์ อก \"ตจปญั จกกมั มฏั ฐาน\" (เกสา-โลมา-นขา-ทนตฺ า-ตโจ) ตอ่ จากนัน� จึงบอกเปน็ ปฏิโลมอกี (ตโจ-ทนฺตา-นขา-โลมา-เกสา) ๔. พระอปุ ชั ฌาย์ชกั อังสะออกจากไตรสวมให้ แล้วมอบผ้าใหใ้ นมือ ๕. ออกไปครองผ้า ๖. บรรพชาเปกขะ เข้ามาขอรบั สรณคมนจ์ ากพระอปุ ้ชฌาย์ ๗. จบวธิ ีบรรพชา อปุ สมบท : การบวชเป็นภิกษุ ด้วยญตั ติจตุตถกรรมวาจา ๑. คุณสมบตั ิผู้บวช : ๑. ตอ้ งเป็นผ้ชู าย ๒. มีอายคุ รบ ๒๐ ปบี รบิ ูรณ์ : นบั ตัง� แตว่ นั ปฏสิ นธมิ าจนถงึ วันทอ่ี ุปสมบท : อายุเมอ่ื วนั บวช = ๑๙ ปี ๓ เดือน หมายเหตุ : ถา้ อายุตา่ํ กวา่ ๒๐ ปี - พระอุปชั ฌาย์ ปาจิตตยี ์ - ภิกษุนอกนนั� ทุกกฎ ๓. ไม่ใช่อภพั บุคคล : อภัพบคุ คลอปุ สมบทไมข่ นึ� / ถูกห้ามอุปสมบทตลอดชาติ ๓.๑ ห้ามเด็ดขาด (อภพั บคุ คล) ๓.๒ ห้ามไมเ่ ดด็ ขาด(ไมใ่ ช่อภพั บคุ คล) ๑. คนมเี พศบกพรอ่ ง : ๒ จําพวก ๑. หา้ มบรรพชา : ๘ จําพวก ๒. คนประพฤตผิ ดิ ธรรมวนิ ยั : ๗ จําพวก ๒. ห้ามอปุ สมบท : ๑๐ จําพวก ๓. คนทําผดิ ตอ่ กําเนิดของตน : ๒ จําพวก

ปณฑฺ โก : บณั เฑาะก์ ๓ จําพวก ๑. คนมีเพศบกพรอ่ ง : ๒ จาํ พวก อุภโตพฺย�ชฺ นโก : คนมี ๒ เพศ ๑. ชายมรี าคะกล้า/รกั ร่วมเพศ ๒. ชายถูกตอน หา้ มเพราะ : อาจเกิดการเขา้ ใจผิดว่ามหี ญิงปลอมบวชดว้ ย ๓. กะเทย หา้ มเพราะ : เปน็ ที่รงั เกียจ ๒. คนประพฤตผิ ิดธรรมวนิ ัย : ๓. คนทาํ ผดิ ตอ่ กําเนิดของตน มี ๒ จําพวก ดงั น�ี มี ๗ จาํ พวก ดังนี� ๓.๑ ปติ ุฆาต = ฆา่ พอ่ ๑. คนฆา่ พระอรหนั ต์ ๓.๒ มาตุฆาต = ฆ่าแม่ ๒. ข่มขืนนางภกิ ษุณี ๓. คนลักเพศ = เดียรถียป์ ลอมบวช ๔. ภกิ ษไุ ปเข้ารีตเดยี รถยี ์ ๕. ภกิ ษตุ ้องอาบตั ิปาราชกิ ละเพศแลว้ ๖. ภกิ ษทุ ําสงั ฆเภท ๗. คนทํารา้ ยพระพทุ ธเจ้าถึงหอ้ พระโลหิต อภัพบุคคลทไี� ม่ถกู หา้ มเด็ดขาด ๑. หา้ มบรรพชา : ๘ จําพวก ๒. หา้ มอุปสมบท : มี ๑๐ จําพวก หมวด ๑. โรคตดิ ตอ่ / โรคเรอื� รงั ๑. คนไมม่ อี ุปัชฌาย์ อปุ ัชฌาย์ ๒. คนมอี วัยวะบกพรอ่ ง ๒. มคี นอนี่ จากภกิ ษเุ ปน็ อุปัชฌาย์ ๓. มอี วยั วะไมส่ มประกอบ ๓. ถือเอาสงฆเ์ ปน็ อุปัชฌาย์ บริขาร ๔. พกิ าร ๔. ถอื เอาคณะเปน็ อปุ ัชฌาย์ ๕. ทรุ พล ๕. ไมม่ บี าตร ๖. คนมีเก่ยี วขอ้ ง = มารดาบดิ ายังไม่อนญุ าต ๖. ไม่มีจีวร ๗. คนเคยถูกอาชญาหลวง ๗. ไม่มที ง�ั บาตรและจวี ร ๘. คนประทุษรา้ ยความสงบ ๘. คนยมื บาตรเขามา ๙. คนยืมจวี รเขามา ๑๐.คนยืมทัง� บาตรและจวี ร อุปสมบท : การบวชเปน็ ภิกษุ ด้วยญตั ติจตุตถกรรมวาจา (ต่อ) ๒. สมบัตแิ หง่ การอปุ สมบท : ๑. วัตถุสมบัติ : คุณสมบัตขิ องผูจ้ ะอุปสมบท ๒. ปรสิ สมบตั ิ : สงฆผ์ ้จู ะรับกุลบุตรใหอ้ ุปสมบท - ปจั จันตประเทศ ๕ รปู - มัธยมประเทศ ๑๐ รปู ๓. สีมาสมบตั ิ : ต้องทาํ ในสมี าทถี่ ูกตอ้ งดว้ ยลักษณะ + นาํ ฉันทะ + น่ังหตั ถบาส ๔. กรรมวาจาสมบัติ : ตงั� ญัตติ ๑ หน แล้วสวดอนุสาวนา ๓ หน การสวดต้องถกู ตอ้ งตามระเบยี บ โดยระบุ ๑. ระบวุ ตั ถุ ๒. ระบสุ งฆ์ ๓. ระบบุ คุ คล ๔. สวดถกู ต้อง + ชดั เจน ๓. บพุ กจิ กอ่ นการอปุ สมบท : ๑. ให้บรรพชา มี ๑๐ อย่าง ๒. ให้ขอนิสยั ๓. ให้ถอื อุปัชฌาย์ Note : \"โส ภาเสยยฺ \" ๔. สมมติชื�อภาษามคธของอุปสัมปทาเปกขะ และ บอกนามพระอปุ ัชฌาย์ ๕. บอกบาตรและจีวร ๖. สั่งใหอ้ ปุ สัมปทาเปกขะออกไปยืนขา้ งนอก ๗. สมมติภกิ ษุรูปหน่ึง เป็นผซู้ กั ซอ้ มอนั ตรายกิ ธรรมกับอปุ สมั ปทาเปกขะ ๘. เรยี กอุปสมปทาเปกขะเขา้ ท่ามกลางสงฆ์ ๙. ใหอ้ ุปสัมปทาเปกขะกลา่ วคาํ ขออปุ สมบท ๑๐.สมมตภิ ิกษุรปู หนึ่งสอบถามอตั รายกิ ธรรมกับอุปสัมปทาเปกขะในทา่ มกลางสงฆ์ แปลว่า \"ท่านผูน้ �ันพงึ พูด\" (คา้ นในทา่ มกลางสงฆ)์

อุปสมบท : การบวชเป็นภกิ ษุ ดว้ ยญตั ติจตตุ ถกรรมวาจา (ต่อ) ๔. ปจั ฉิมกิจ : กิจที่จะพงึ ทาํ ภายหลงั / เมอื่ อุปสมบทเสร็จแล้ว มี ๖ ประการ คอื ๑. วัดเงาแดดในทนั ที : ปจั จบุ ันกาํ หนดดว้ ยนาฬิกา = เวลาสําเร็จญตั ติ ๒. บอกประมาณแหง่ ฤดู : บอกเดอื น ปกั ษ์ และดิถแี ห่งฤดู = ปัจจบุ ันบอกศกั ราชด้วย ๓. การบอกสว่ นแห่งวัน : บอกยาม = ปัจจุบันไมไ่ ด้บอกแลว้ ๔.การบอกสงั คตี ิ : การบอกประมวล ๑. สมี า ๔. อปุ ชั ฌาย์ ๒. อาวาส ๕. กรรมวาจาจารย์ ๓. ที�อุปสมบท ๖. จาํ นวนสงฆ์ ๖. นสิ ยั ๔ : ปจ้ จัยเครอ่ื งอาศยั ของบรรพชิต ๑. เที�ยวบณิ ฑบาต มี ๔ อยา่ ง คือ ๒. นุง่ ห่มผ้าบงั สกุ ลุ ๓. อยโู่ คนต้นไม้ ๔. ฉนั ยาดองด้วยนาํ� มูตรเนา่ ๗. อกรณียกจิ ๔ : กจิ ท่ีบรรพชติ ทาํ ไม่ไดโ้ ดยเดด็ ขาด ๑. เสพเมถนุ ๒. ลักของเขา ๓. ฆา่ สัตว์ ๔. พูดอวดคณุ วเิ ศษที�ไม่มีในตน Note : นิสัย ๔ + อกรณยี กจิ ๔ = อนศุ าสน์ : คาํ สอนที่พระอุปชั ฌาย์ หรอื พระกรรมวาจาจารย์ บอกแก่ภกิ ษุเมือ่ บวชเสรจ็ ๑. ววิ าทาธิกรณ์ อธิกรณ์ ๔ ๒. อนุวาทาธิกรณ์ = การทะเลาะกัน โดยปรารถพระธรรมวนิ ัย ๓. อาปตั ตาธิกรณ์ = การกล่าวหากนั ดว้ ยอาบตั ิชนิดต่างๆ ๔. กิจจาธกิ รณ์ = การตอ้ งอาบัติ การปรับอาบตั ิ และการแก้ไขเพื่อพน้ อาบตั ิ = กิจธุระต่างๆ ทเี่ ป็นสงั ฆกรรม เช่น ให้ผา้ กฐนิ ให้อปุ สมบท เป็นต้น กัณฑ์ที� ๒๘ วิธีระงับวิวาทาธิกรณ์ หัวขอ้ รายละเอียด ๑. วิวาทาธกิ รณ์ : เรยี ก \"อฏั ฐารสเภทวตั ถ\"ุ = เร่ืองทําความแตกกนั ๑๘ อยา่ ง หมวดอา้ งถึง มี ๙ คู่ ววิ าทกนั วา่ ธรรมวินยั ตถาคต ๑. น�ีเปน็ ธรรม - น�ีไมเ่ ปน็ ธรรม ๒. น�ีเป็นวนิ ัย - นี�ไมเ่ ปน็ วนิ ยั อาบตั ิ ๓. น�ตี ถาคตตรัสไว้ - น�ีตถาคตไมไ่ ดต้ รสั ไว้ ๔. น�ีตถาคตเจ้าทรงประพฤติมา - นตี� ถาคตเจ้าไมไ่ ด้ทรงประพฤตมิ า ๕. นต�ี ถาคตเจ้าทรงบัญญัตไิ ว้ - น�ีตถาคตเจา้ ไม่ได้ทรงบัญญตั ไิ ว้ ๖. น�เี ปน็ อาบตั ิ - นไี� มเ่ ปน็ อาบตั ิ ๗. น�เี ป็นอาบัติเบา - นเ�ี ป็นอาบตั ิหนัก ๘. นีเ� ป็นอาบตั ิมสี ว่ นเหลือ - น�เี ป็นอาบตั ิไมม่ สี ่วนเหลือ ๙. น�เี ปน็ อาบตั ิหยาบ - นี�ไมเ่ ป็นอาบัตหิ ยาบ ๒. วิวาทมูล : ๑. ววิ าทกนั ด้วยความปรารถนา ดี ๒. ววิ าทกันด้วยความปรารถนาเลว รากเหง้าของการถกเถียง มจี ติ ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ คอื มจี ิตประกอบดว้ ยลกั ษณะอนั เปน็ โทษ ๖ ประการ คอื /โตแ้ ยง้ มี ๒ ประเภท ๑. อโลภะ คทู่ ่ี ๑ = เป็นผ้มู กั โกรธ - ถือโกรธ ๒. อโทสะ คทู่ ่ี ๒ = เปน็ ผลู้ บหลู่ - ผู้ตีตนเสมอท่าน ๓. อโมหะ คู่ที่ ๓ = เป็นผรู้ ษิ ยา - ผตู้ ระหนี่ คู่ที่ ๔ = เป็นผู้อวดดี - คนเจา้ มารยา คทู่ ่ี ๕ = เปน็ ผู้มีความปรารถนาลามก คทู่ ี่ ๖ = เป็นผู้ถอื เอาแต่ความเห็นตนเอง - ถือแนน่

หัวข้อ รายละเอยี ด ๓. กรณศี กึ ษา : ๑. เร�อื งพระวนิ ัยธร & พระธรรมกถึก สมัย : พุทธกาล วิวาทกันดว้ ยเรอื� ง : เหลอื น�ําชาํ ระไว้ ๒. เร�ืองภิกษชุ าววชั ชบี ตุ รกลา่ ววัตถุ ๑๐ ประการ สมยั : หลงั พุทธปรินิพพาน ๑๐๐ ปี วิวาทกันด้วยเรื�อง : ปฏิบตั ยิ ่อหย่อนในพระวนิ ยั ดว้ ยเรือ่ งวตั ถุ ๑๐ ประการ ๓. เร�ืองเดยี รถึยป์ ลอมบวชในพระศาสนา สมัย : หลงั พทุ ธปรินิพพาน สมัยพระเจ้าอโศก วิวาทกันด้วยเรอ�ื ง : เดยี รถยี ป์ ลอมบวชเพอ่ื หวงั ลาภสักการะ & แสดงลทั ธติ น ๔. การปอ้ งกนั : ๑. ในส่วนธรรม ใหแ้ สดงโอวาทปาฏโิ มกข์ในที่ประชมุ สงฆเ์ นื่องๆ มี ๓ ทาง ๒. ในสว่ นวินัย ด้วยสวดพระปาตโิ มกขท์ ุกก่งึ เดอื น ใหป้ ุจฉาวิสชั นาถึงวินยั ๓. ในสว่ นพระสาวก ให้สังคายนาพระธรรมวนิ ยั ตลอดจนจารึกลงในปกรณต์ ่างๆ ๕. วิธรี ะงบั ววิ าทาธกิ รณ์ : มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. สัมมุขาวินยั : ระงบั ต่อหนา้ มี ๓ อย่าง คือ ๑.๑ ระงบั ดว้ ยการตกลงกันเอง : ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ยอมรบั ว่าผิด สงเคราะห์ด้วยองค์ ๔ ๑. สงั ฆสัมมขุ ตา ต่อหนา้ สงฆ์ ๒. ธมั มสัมมุขตา ต่อหน้าธรรม ๓. วนิ ยสัมมุขตา ต่อหนา้ วินยั ๔. ปุคคลสัมมุขตา ต่อหนา้ บุคคล(คูก่ รณี) ๑.๒ ระงับดว้ ยการตงั� ผวู้ นิ ิจฉัย : ทงั� ๒ ฝา่ ย พรอ้ มกันเลือกตง�ั พระเถระ ≥ ๑ รูป ๑.๓ ระงบั ด้วยอาํ นาจสงฆ์ : ประชุมสงฆ์เพ่อื วินิจฉยั ชีข� าด - ถ้าครบองค์ ๔ ผู้ฟ�ืนขึน� มาและวนิ จิ ฉัยใหม่ ตอ้ งอาบตั ิปาจิตตีย์ - กรณีเกิดเสยี งเซง็ แซ่พดู ไมไ่ ดย้ ิน สงฆจ์ ะเลอื กภกิ ษบุ างรปู ในหมู่ ให้แยกออกไปวินิจฉัยกไ็ ด้ (อุพฺพาหกิ า = กิรยิ าทถ่ี อนนําไป) - ภิกษผุ ถู้ ูกเลอื กนน�ั ตอ้ งพร้อมด้วยองค์ ๑๐ ประการ คือ ๑. เป็นผู้มศี ีล ๒. เปน็ พหสู ูต ๓. เป็นผทู้ รงปาตโิ มกข์ ๔. เป็นผู้มน่ั ในพระวินยั ๕. เป็นผูส้ ามารถรแู้ จงให้คู่วิวาทเขา้ ใจและเล่อื มใส ๖. เปน็ ผูฉ้ ลาดยงั อธิกรณ์ทีเ่ กิดข�ึนใหร้ ะงับได้ ๗. ร้เู รือ่ งอธกิ รณ์ ๘. รู้เหตเุ กิดอธกิ รณ์ ๙. รกู้ ารตดั สินอธกิ รณ์ ๑๐.รู้ทางตดั สนิ อธกิ รณ์ ๒. เยภุยยสกิ า : ระงับดว้ ยเสยี งขา้ งมาก - พงึ สมมติภกิ ษรุ ูปหนึง่ ผู้พร้อมดว้ ยองค์ ๕ ให้เป็นผู้จบั สลาก (ลงคะแนนเสยี ง) ด้วยญัตตทิ ุตยิ กรรมวาจา องค์ ๕ ประกอบด้วย วิธีจับสลาก ๓ คือ วธิ ีจับสลากทไี� มเ่ ปน็ ธรรม ๑. ไม่ถึงฉันทาคติ ๑. ปกปดิ ๑. ภกิ ษุยงั มาไม่พร้อมกัน ๒. ไม่ถงึ โทสาคติ ๒. กระซบิ บอก ๒. ภิกษุทงั� หลายไมไ่ ด้จบั ตามมติ ๓. ไมถ่ ึงโมหาคติ ๓. เปดิ เผย ๔. ไม่ถึงภยาคติ ๕. รจู้ ักสลากท่คี วรจับ/ไม่ควรจบั

กณั ฑท์ �ี ๒๙ วิธีระงับอนวุ าทาธิกรณ์ หัวข้อ รายละเอียด ๑. มลู เหตุ : ภิกษุทศุ ีลในหมูส่ งฆไ์ ดป้ ระพฤติล่วงละเมดิ พระวินยั แลว้ ไม่ยอมรบั ๒. ประเภทแห่งการโจท : ๑. โจทดว้ ยปรารถนาดี มี ๒ ประเภท ๒. โจทด้วยปรารถนาเลว ๓. เรอื� งมมี ูล ๓ ประการ : ๑. ไดเ้ ห็นมาเอง ๒. ได้ยินมาเอง หรือผูอ้ ื่นบอก + เช่อื ว่าจริง ๓. รังเกียจโดยอาการ (สงสยั ) ๔. ภิกษผุ ูต้ ัดสนิ อรรถคดี : ๑. เปน็ กาลอันสมควร ตอ้ งประกอบด้วยองค์ ๕ คือ ๒. เปน็ เร่ืองจรงิ หรอื แนใ่ จว่าจรงิ ๓. ประกอบด้วยประโยชน์ ๔. จกั ได้ภิกษุผู้เคยเหน็ กัน เคยคบกัน เข้าเป็นฝา่ ย โดยธรรมวินัย ๕. ไม่ก่อความแตกแห่งสงฆ์ ๕. ภิกษุผ้จู ะเปน็ โจทก์ : ตอ้ งตั�งในธรรม ๕ ประการ คอื ทําไว้ในใจอกี ๕ ประการ คือ ๑. จักพูดโดยกาละ - ไมพ่ ดู โดยอกาละ ๑. ความการญุ ๒. จกั พูดแตค่ าํ จรงิ - ไม่พดู คาํ เทจ็ ๒. ความมุ่งประโยชน์ ๓. จกั พดู แตค่ าํ สุภาพ - ไม่พูดคําหยาบ ๓. ความเอน็ ดู ๔. จักพูดแตค่ ําท่ปี ระกอบด้วยประโยชน์ ๔. ความออกจากอาบัติ - ไม่พูดคําไร้ประโยชน์ ๕. ความทําวินยั เป็นเบื�องต้น ๕. จักมเี มตตาจติ พดู - ไมพ่ ดู เพราะเพง่ โทษ ๖. การโจท : มี ๒ อย่าง ๑. ด้วยกาย แสดงอาการไมน่ บั ถอื วา่ เปน็ ภกิ ษุ / การยืน่ หนงั สอื กลา่ วหา ๒. ด้วยวาจา กลา่ วคําโจท : ระบวุ ตั ถถุ อื เป็นการโจทเพราะอาจร้ถู ึงอาบตั ิ ๗. ผูว้ นิ จิ ฉยั อธิกรณ์ : ๑. สงฆ์ กรณเี ป็นเรื่องสาํ คัญ มี ๓ ประการ คือ ๒. คณะ กรณเี ปน็ เรอ่ื งไม่สาํ คัญ อพุ ฺพาหิกา ๓. บุคคล กรณเี ป็นเรื่องเล็กนอ้ ย ๘. องคข์ องภกิ ษผุ ูเ้ ข้าสูท่ ี�วินจิ ฉัย ๑. พึงเป็นผู้เจยี มตน มี ๗ ประการ คือ ๒. พงึ เป็นผู้รู้จักนั่ง ๓. ไม่นง่ั เบยี ดพระเถระ น�งั ๔. ไม่น่ังกดี กนั ภกิ ษุออ่ นกวา่ ๕. พงึ นงั่ ณ อาสนะอนั สมควร ๖. ไมค่ วรพูดเร่ืองตา่ งๆ น�ิง ๗. พงึ รักษาดษุ ณียภาพ Note : ถ้าไมข่ อโอกาสกอ่ นโจท(กล่าวหา) ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ๙. จําเลย : ๑. ให้การตามความเป็นจริง พงึ ตง�ั อยูใ่ นธรรม ๒ ประการ ๒. ไม่ขนุ่ เคือง กรณแี หง่ การระงับอธิกรณ์ตามคําสารภาพของจําเลย และพยาน จาํ เลยสารภาพ คาํ พยาน ระงบั ด้วยสมถะ ๒ คือ เปน็ ธรรม ไม่มี ๑. สมั มขุ าวินัย พรอ้ มหน้าสงฆ์ ๒. ปฏิญญาตกรณะ ปรบั อาบัติตามคาํ สารภาพ ไมเ่ ปน็ ธรรม เป็นธรรม ๑. สัมมขุ าวนิ ยั พรอ้ มหนา้ สงฆ์ ๒. ตัสสปาปิยสกิ า เพิ่มโทษจากอาบตั ทิ ี่ต้องแลว้ ถา้ จําเลยปฏิเสธ ผ้พู ิจารณาคดีพึงซกั ถามโจทก์ถึงเรอ�ื งตา่ งๆ คือ ๑. เรื�องทจ�ี าํ เลยทาํ ถงึ วบิ ัติ ๒. รูปพรรณของผู้ทาํ อริ ิยาบถ และอาการกาํ ลงั ทํา ๓. วนั -เดอื น-ปี-เวลา ที�ทาํ ๔. สถานท�ี และทศิ ทที� าํ ๕. ชือ� ผู้บอกและเหตุใหบ้ อก ประกอบกับ กาลและสถานท�ที ีบ� อก ๖. อาการนาํ ใหเ้ กิดรงั เกยี จ อนั ได้เห็นหรือได้ฟัง

หวั ข้อ รายละเอยี ด ๑๐. ลักษณะคาํ พยาน : เบิกความสมโดย สนั นิษฐาน ๑.๑ เห็นสมควรดว้ ย ใจความสาํ คญั พลความอันไม่สําคัญ ควรฟัง ไมค่ วรฟัง ๑.๒ เห็นเทียบเคยี งได้กับเห็น √ √ √ √ ๑.๓ เหน็ ยันกัน (ขัดแยง้ กนั ) √ √ x x √ ๑.๔ คําพยานผ่าหมาก x x √ ๑๑. การพจิ ารณาและสนั นษิ ฐาน คาํ กลา่ วหาของ คําพยาน การพิจารณาและสันนิษฐาน ของสงฆ์ โจทก์ จําเลย โจทก์ จาํ เลย ของสงฆ์ ๑ ไมเ่ หมอื นกันเลย - ไมค่ วรฟงั ๒ ไม่มมี ูล - ปรับอาบตั ิโจทก์ตามฐานะ - ระงับดว้ ยสมั มุขาวนิ ัย ๓ คาํ ใหก้ าร คาํ ใหก้ าร - ไมค่ วรฟงั ตา่ งจาก ตา่ งจาก - ปรับตามคําของโจทก์ พยาน จําเลย - ระงบั ดว้ ยสัมมขุ าวินัย+ตัสสปาปิยสิกา ๑๒. เมอ�ื ภกิ ษุผู้พิจารณาคดแี ถลงแก่สงฆแ์ ล้ว สงฆย์ อ่ มมธี ุระ ๒ อยา่ ง คอื ๑. สอดสอ่ ง ๒. รบั รอง ๑๓. ทฎิ ฐาวิกมั ม์ : ๑. อาบต้ ิ มี ๘ ประการ คอื ๒. อาบตั ิท่เี ปน็ เทสนาคามนิ ี (ปลงได้) - การทําความเหน็ ใหแ้ จง้ การทาํ ความเห็นใหแ้ จง้ ใน ๓. ในอาบัตทิ ่ยี ังไมไ่ ดแ้ สดง - เป็นการแสดงความเห็นแย้ง ๔. ในสาํ นกั สมานสังวาส ชแี� จงความเหน็ รว่ มดว้ ย ๕. ในสํานักของผูต้ งั� อย่ใู นสมี าเดยี วกนั เป็นการสว่ นตวั ๖. ในสาํ นกั ของผูเ้ ป็นปกตตั ตะ แต่ไม่ได้กลา่ วคัดค้าน ไม่ทาํ ความเหน็ ให้แจ้ง ๗. พร้อมกนั ๔ หรอื ๕ รูป ๘. ด้วยนึกในใจ ๑๔. ปฏกิ โกสนา : การกล่าวค้านจังๆ ๑๕. ตัสสปาปยิ สิกา : กริ ยิ าที่ทําดว้ ยความท่ีผ้นู �นั เปน็ ผู้ลามก ให้การวกวน ๑. มี ๒ นยั : ๑.๑ โดยสมถวธิ ี = การปรบั โทษจําเลยผกู้ ระทําการละเมิดแล้วไม่รับสารภาพ ๑.๒ โดยนคิ หวิธี = การลงโทษ โดยเพิ่มโทษขึน� อีกสว่ นหน่งึ จากเดิม ๒. ลกั ษณะการให้การที�ไมเ่ ป็นทพ�ี อใจ ๒.๑ ใหก้ ารกลับไปกลับมา ๒.๒ ปฏเิ สธแลว้ กลับปฏิญญา ปฏิญญาแล้วกลับปฏิเสธ ๒.๓ พดู ถลากไถล เพอ่ื กลบเกลอื่ นข้อทีถ่ ูกซกั ถาม ๒.๔ พูดมสุ าซึ่งๆหน้า ๑๖. ถ้อยคําทีร� บั ฟงั โดยฐานเปน็ - ถอ้ ยคําของอนุปสัมบัน เพราะสงั วาสต่างกัน โจทไมไ่ ด้ - ในพระวนิ ยั : ในอนิยต สิขาบทที่ ๑ \"พงี โจทภกิ ษุทส่ี งฆจ์ ะนิคหะขึ�นกอ่ น จากนน�ั ใหเ้ ธอให้การแล้วค่อยปรบั อาบตั \"ิ ๑๗. อธกิ รณ์ที�อุทธรณ์ สงฆ์วนิ ิจฉัย รื�อวินจิ ฉัยใหม่ การปรับอาบตั ิ ได้ ไม่เปน็ ธรรม ไม่เปน็ อาบตั ิ ไม่ได้ เปน็ ธรรม ปาจิตตยี ์(สขิ าบทท่ี ๓ แห่งสัปปาณวรรค) ๑๘. วธิ รี ะงบั อนวุ าทาธกิ รณด์ ้วย กรณี ระงบั ด้วย ไมต่ อ้ งพจิ ารณา ๑. จาํ เลยมีสตสิ มบูรณ์ (พระอรหันต)์ สติวนิ ยั มี ๒ อยา่ ง คือ ๒. จาํ เลยถกู โจทในเรอ่ื งทําในคราวเป็นบา้ อมฬู หวนิ ัย(ญัตติจตุตถกรรม) (ในคราวแรกจดั สัมมขุ าวินยั เข้าด้วย) ๑๙. โทษแหง่ อนวุ าทาธกิ รณ์ โทษ ๑. จักทําใหเ้ สยี สีลสามญั ตา และ ทฏิ ฐสิ ามัญญตา เปน็ นานาสังวาส เกดิ นกิ าย ๒. จกั ทาํ ใหเ้ สยี สามคั คี ตา่ งๆ

คุณสมบัตขิ องโจทก์ คุณสมบตั ขิ องจาํ เลย ๑. พงึ ฟังคําวินิจฉยั ของสงฆโ์ ดยเคารพ ๑. พงึ มสี มณสญั ญา ๒. ไม่ดอ�ื รั�นเอาแต่ใจตวั ๒. พงึ เกรงอาชญาสงฆ์ ๓. พงึ ให้การตรงๆ อยา่ แกต้ วั ด้วยคําเท็จ กัณฑ์ท�ี ๓๐ วิธรี ะงบั อาปตั ตาธิกรณ์ หัวข้อ รายละเอยี ด ๑. ความหมาย : ๒. การแกไ้ ข : มี ๒ วธิ ี คอื อาบตั ทิ ีภ่ ิกษตุ อ้ งเข้าแลว้ จําตอ้ งทาํ คนื คอื จําตอ้ งปลดเปลอื� งเสีย ๓. วธิ ีระงบั ครกุ าบตั ิ : ๑. การอยูก่ รรม = อาบตั ิสังฆาทิเสส ด้วยวุฎฐานวิธี ๒. การปลงอาบัติ = ถลุ ลัจจยั - ทพุ ภาสิต คอื การประพฤติวตั ร ๔ อยา่ ง คอื ๑. ปรวิ าส = อยู่ใหค้ รบวนั ทปี่ กปิดอาบัติ ๔. จาํ นวนสงฆ์ผทู้ ํากรรม : ๒. มานตั = นบ้ ราตรี (ครบ ๖ ราตรี) Note : ๓. อัพภาน = การเรียกเขา้ หมู่ ๔. ปฏิกสั สนา = กริ ยิ าชักเขา้ หาอาบัตเิ ดิม (ต้องอาบัติเดมิ ซาํ� อีก ตอ้ งเร่ิมใหม่) ๑. สงฆจ์ ตวุ รรค = ๔ รูป ใหป้ รวิ าส ให้มานัต และปฏกิ ัสสนา ๒. สงฆว์ สี ตวิ รรค = ๒๐ รปู ให้อพั ภาน - กรรมทง�ั หมดในวุฏฐานวิธนี ี� ใช้ ญัตติจตตุ ถกรรม ทัง� น�นั ปริวาส ๑. วุฏฐานวธิ สี ําหรบั อาบตั ิทป�ี กปิด ๑. พึงอย่ปู ริวาสส�ินวันทีจ่ งใจปกปิด ๒. ลกั ษณะปิดอาบตั ิ : มี ๕ คู่ ๒. พงึ ประพฤติมานตั ตามระเบียบ ๓. ภกิ ษผุ ู้รบั บอกอาบตั ิ : ๔. ปรวิ าส ๓ ชนิด : ๓. ถงึ ขออัพภานกะสงฆ์ ๒๐ รปู ปรวิ าส ๑. เป็นอาบัติ และร้วู ่าเป็นอาบตั ิ ถา้ ยังสงสัยไม่แนใ่ จ ยังไม่เข้าลกั ษณะ ๓ ชนดิ ๒. เปน็ ปกตัตตะ และรู้วา่ เป็นปกตัตตะ เป็นปกตัตตะ+ไม่ถกู ลงอกุ เขปนยี กรรม Note : ๓. ไมม่ ีอันตราย และรวู้ า่ ไม่เป็นอันตราย ๔. อาจอยู่ และรู้วา่ อาจอยู่ สามารถไปถึงถิน่ ของภิกษุผู้อยูใ่ กลท้ ส่ี ดุ ๕. ใครจ่ ะปดิ และปดิ ไว้ กาํ หนดด้วยอรุณขน�ึ ภกิ ษผุ คู้ วรรับบอกอาบัติ : ภิกษุผไู้ มค่ วรรบั บอกอาบัติ : ๑. ภิกษุท่เี ป็นสมานสังวาสแหง่ กันและกัน ๑. ภกิ ษผุ ูเ้ ปน็ นานาสังวาส ๒. ไมใ่ ชภ่ ิกษทุ ีถ่ ูกสงฆล์ งอุกเขปนยี กรรม ๒. ภกิ ษุผ้ถู ูกสงฆ์ลงอุกเขปนยี กรรม ชนิด รายละเอยี ด ๑. ปฏจิ ฉนั นปรวิ าส : ปรวิ าสเพ่อื ครกุ าบัตทิ ีป่ กปิดไว้ ๒. สโมธานปรวิ าส : ปิดไว้ตา่ งจาํ นวนกัน : มี ๓ อยา่ ง คือ ต้องอาบตั ิ อยู่ปริวาส จํานวนครงั� จํานวนอาบัติ วันปกปดิ จํานวนวัน ๒.๑ โอธานสโมธาน >๑ ๑ เท่ากัน เท่าวันทีป่ กปิด ๑ ตัว ๒.๒ อคั ฆสโมธาน >๑ ๑ ไม่เทา่ กนั เท่าจํานวนวันที่มากที่สุด ๒.๓ มสิ สกสโมธาน >๑ บางตัวเท่า เทา่ จาํ นวนวันทมี่ ากทส่ี ดุ บางตวั ไม่เทา่ ๓. สุทธนั ตปรวิ าส : อยไู่ ปจนกว่าจะเห็นวา่ บริสทุ ธิ� ๓.๑ จฬู สุทธันตปริวาส = สําหรับจาํ นวนอาบตั ิ และจํานวนราตรีทพ่ี อจําได้ ๓.๒ มหาสทุ ธนั ตปริวาส = สาํ หรบั จาํ นวนอาบตั ิ และจํานวนราตรีท่ีพอจาํ ไมไ่ ด้เลย - สัมพหลุ า = สาํ หรบั ผู้จําจาํ นวนอาบตั ไิ มไ่ ด้ ถึงขอปริวาสประมวลเขา้ เป็นสัมพหุลา - สโมธานปรวิ าส หากต้องการอยู่เพม่ิ ต้องบอกแก่สงฆใ์ ห้สวดเพ่ิมให้ - สทุ ธันตปริวาส ไมม่ กี ําหนดวัน ขอคราวเดยี วอยไู่ ด้ตลอดไปจนกว่าจะเหน็ วา่ บรสิ ุทธิ�

๕. เครือ� งกะ ปริวาส(ตอ่ ) มี ๒ อยา่ ง คอื ๒. กะในเบอ�ื งปลาย : สําหรบั ผูจ้ าํ จํานวนราตรีไม่ได้ ๑. กะในเบื�องตน้ วนั อปุ สมบท ตอ้ งครกุ าบตั ิ ปจั จบุ นั จาํ นวนวนั ทตี่ อ้ งอย่ปู รวิ าส ๖. บทสามทาน-เกบ็ ปริวาส บาลี คําแปล ๖.๑ คําเกบ็ ปรวิ าส \" วตตฺ ํ นิกขฺ ิปาม,ิ ปารวิ าสํ นิกขฺ ปิ ามิ \" ข้าพเจา้ เกบ็ วตั ร, ข้าพเจา้ เก็บปริวาส ๖.๑ คําสมาทานปรวิ าส \" ปรวิ าสํ สมาทยิ าม,ิ วตฺตํ สมาทิยาม\"ิ ข้าพเจ้าขึน� ปรวิ าส, ขา้ พเจา้ ขึน� วัตร ๗. รตั ตเิ ฉทแห่งปรวิ าสิกภิกษุ : ๑. สหวาโส =อยูร่ ว่ ม (เหมือนมานัตตจรกิ ภิกษุ) มี ๓ อย่าง คือ ๒. วิปฺปวาโส =อยู่ปราศ (ปราศจากภกิ ษรุ ปู เดยี ว) ๓. อนาโรจนา =ไมบ่ อก (เหมือนมานตั ตจริกภิกษุ แต่ไมต่ ้องบอกทุกวนั ) ๘. วตั รของปริวาสกิ ภิกษุ : เหมือนมามานตั ตจารกิ ภิกษุ เวน้ แต่ไม่ต้องบอกทกุ วนั จะไปไหนต้องบอกสงฆ์ และต้องมีปกตัตตภิกษอุ ย่างนอ้ ย ๑ รปู ไปดว้ ย มานัต ๑. มานตตฺ จาริโก = ผู้ประพฤติมานตั (พน้ จากความเปน็ ภิกษุปกตตั ตะ) ๒. รัตตเิ ฉท : ๑. สหวาโส อยูร่ ว่ ม : อยรู่ ่วมชายคาเดียวกับปกตัตตภกิ ษุ = การขาดราตรแี หง่ มานัต = มี ๔ อยา่ ง ๒. วิปปฺ วาโส อย่ปู ราศ : อย่ใู นอาวาสทไี่ ม่มสี งฆเ์ ปน็ เพ่อื น ๓. อาวาสทีเ� หมาะ ๓. อนาโรจนา ไม่บอก : ไม่บอกมานตั ทกุ วนั + ไมบ่ อกแกป่ กตตั ตภกิ ษุ สําหรบั ประพฤติมานตั ผู้ยังไม่ได้บอกในวันน�ัน : ประกอบด้วยลักษณะ ๔ ประการ ๔. ขอ้ หา้ ม ๔. อเู น คเณ จรณํ ประพฤติ : ประพฤติในอาวาสที่มีปกตัตตภิกษุ ของมานตั ตจารกิ ภิกษุ ในคณะพรอ่ ง ไม่ครบจํานวนสงฆ์ (<๔ รูป) Note : ๑. ในอาวาสนั�นมีภกิ ษนุ ้อย แต่ครบจํานวนสงฆ์ ๕. ทรงอนุญาตกจิ ๕ อยา่ ง : ๒. ต�ังอยหู่ ่างจากการไปมาของภิกษุอ่ืน ๖. วตั ตเภท : ๓. มภี กิ ษมุ าพอร้ไู ด้ ๔. มกี ฎุ ีเดย่ี วทจี่ ะอยไู่ ด้ตามลาํ พงั : ไม่ใหย้ ินดีรบั กจิ การของปกตตั ตภกิ ษุ ๑๑ อยา่ ง คอื ๑. การอภวิ าท ๖. การนําท่นี อนมาให้ ๒. การลกุ รบั ๗. การล้างเทา้ ๓. การทําอัญชลีกรรม ๘. การตงั� ตัง่ รองเท้า ๔. การทําสามจี กิ รรม ๙. การตงั� กระเบ�อื งเช็ดเท้า ๕. การนาํ อาสนะมาให้ ๑๐. การรบั บาตรจีวร ๑๑. การถหู ลงั ใหใ้ นเวลาอาบนํา� มานตั ตจาริกภกิ ษลุ ว่ งละเมิดในข้อเหลา่ น�ี ปรับอาบัติทุกกฎ แต่ทรงอนญุ าตให้มานัตตจาริกภกิ ษุทาํ กิจเหล่านี� เป็นคู่กันตามลาํ ดับพรรษาแก-่ อ่อน ใหม้ านัตตจารกิ ภกิ ษุทําตามลําดับพรรษาแหง่ กนั และกนั แม้กบั ปกตัตตภกิ ษุ ๑. อุโปสโถ = การทําอุโบสถ ๒. ปวารณา = การปวารณา ๓. วสสกิ สาฏโิ ก = การับผา้ วัสสิกสาฎก ๔. โอโณชนํ = การสละวตั ร ๕. ภตั ตํ = การรับภตั ตามลําดับพรรษาไดอ้ ยู่ ความแตกแหง่ วัตร = การละเลยวัตรซึง่ เป็นหนา้ ที่ ปรับอาบัติทุกกฎ

๗. เนอ�ื ความแห่งวัตร ๑๐ หมวด หมวดที� เนอ�ื ความ รายละเอียด การใหอ้ ุปสมบท, ให้นิสยั , มีสามเณรไว้อปุ ฏั ฐาก ฯลฯ ๑ หา้ มไม่ให้ทาํ การในหนา้ ทีข่ องพระเถระ ๒ ให้ตั�งอยใู่ นความระมัดระวงั ไมต่ อ้ งอาบัติซาํ� หรือ เพิม่ อีก ๓ ห้ามมใิ ห้ถือสิทธิแหง่ ปกตัตตภกิ ษุ หา้ มติกรรม-ตภิ กิ ษุท�งั หลาย, ไม่พงึ หา้ มอุโบสถ ๔ หา้ มสทิ ธอันจะพงึ ถอื เอาโดยลาํ ดบั พรรษา ให้พอใจในลาํ ดบั สดุ ทา้ ย ๕ หา้ มไมใ่ ห้เชิดตวั และให้ระวงั เพอื่ เป็นอยา่ งนั�น ห้ามปเุ รสมณะ และปจั ฉาสมณะ ๖ ใหบ้ อกประจาน ๗ ห้ามวปิ ปวาส อยปู่ ราศจากสงฆ์ แยกเป็น ๓ ตอน แตกออกเป็น ๓ วาระ ๑. ห้ามไปในถ่นิ อันหาภิกษุไม่ได้ ๑. อาวาส ๒. มภี กิ ษุแต่เปน็ นานาสังวาส ๒. ถ่นิ มใิ ช่อาวาส ๓. ให้ไปเฉพาะถ่นิ ท่มี ภี กิ ษุเป็นสมานสงั วาส ๓. ทัง� ถน่ิ ทอี่ อกไปและไปสู่ ๘ ห้ามสมโภคกบั ปกตัตตภกิ ษุ เปน็ รัตติเฉท สมโภค : ๑. หา้ มนงั่ อาสนะเดียวกับปกตัตตภกิ ษุ ๙ ใหแ้ สดงสามีจกิ รรมแกป่ กตตั ตภกิ ษุ+ห้ามสมโภค ๒. ห้ามจงกรมเดยี วกบั ปกตตั ตภกิ ษุ ๑๐ ห้ามสมโภคกับภกิ ษุผู้ประพฤตวิ ุฏฐานวธิ ีดว้ ยกัน แตม่ ีข้อใหแ้ สดงสามีจกิ รรมแกเ่ ธอท�งั หลาย Note : - วตั รสาํ หรบั มานัตตจารกิ ภกิ ษุ ทา่ นปรับอาบัตทิ กุ กฏแก่ผลู้ ะเมิด โดยฐานะละเมดิ วตั ร (วตั ตเภท) - อพภฺ านารโห = ผู้ควรอัพภาน : มานัตตจารกิ ภกิ ษุ ผปู้ ระพฤตมิ านัตครบกําหนดแลว้ พึงขออัพภาน ในสํานกั สงฆว์ ีสตวิ รรค (๒๐ รูป) วุฏฐานวิธี : ปกณิ กะ ๑. อันตราบตั ิ : อาบตั ิท่ีตอ้ งระหว่างประพฤตวิ ุฎฐานวธิ ี ตอ้ งกลบั ประพฤติวฏุ ฐานวธิ นี �นั ตง�ั ต้นใหม่ ๒. ภิกษุผู้ควรให้ประพฤติ (มูลายปฏกิ สสฺ นา) วฏุ ฐานวิธีใหม่ : มี ๓ ประการ คอื : อันตราบตั ทิ ีภ� ิกษจุ ะพงึ ตอ้ ง มี ๔ อย่าง คือ ต้องอันตราบตั ิในชว่ งเวลาท�ี วฏุ ฐานวธิ ีสําหรับอนั ตราบัติ : พงึ ขอ ปฏิกัสสนา ปริวาส มานตั สโมธานปรวิ าส ๑. กําลังประพฤติมานตั √ √ ๒. กาํ ลงั ประพฤตปิ ริวาส √√√ ๓.อยู่ปรวิ าสแล้ว กําลังประพฤติมานตั √ √ ๔. กําลังอยปู่ ริวาส อยู่ปริวาสแล้ว √ √ ประพฤติมานตั ประพฤตมิ านตั แลว้ ประเภท อปุ สมบทใหม่ ๑. ภกิ ษุผูป้ ระพฤตวิ ฏุ ฐานวิธีอยู่ ยังไมท่ นั เสร็จ ลาสิกขา ตอ่ ใหค้ รบจํานวนท่คี า้ งไว้ ๒. ภิกษผุ ูต้ ้องครกุ าบัติแลว้ ลาสกิ ขาไป ตอ้ งประพฤติวฏุ ฐานวธิ ใี หม่ ๓. ภกิ ษุ ๔ ประเภท ทตี่ ้องครุกาบัติหรอื ประพฤตวิ ุฏฐานวิธีอยู่ เมื�อหายแลว้ ๓.๑ ภิกษบุ า้ ๓.๒ ภิกษอุ าพาธถึงเพ้อ เหมือนขอ้ ๑ หรือ ๒ ๓.๓ ภิกษกุ ระสับกระสา่ ยเพราะเวทนากลา้ ถึงไมม่ สี ติสัปชญั ญะ ๓.๔ ภิกษุถูกสงฆ์ลงอกุ เขปนียกรรม ลกั ษณะอย่างน�ี อาปตั ตาธกิ รณ์ ระงบั ด้วยสมถะ ๒ ประการ คอื ๑. สัมมขุ าวนิ ัย = พร้อมหนา้ (ครบองค์ ๔) ๒. ปฏญิ ญาตกรณะ = ทาํ ตามทีร่ บั เปน็ สัตย์

วธิ รี ะงบั ลหกุ าบตั ดิ ว้ ยตณิ วัตถารกวนิ ัย ด้วยการใหป้ ระนีประนอมกนั หรือ ใหแ้ ลว้ ๆกันไป ๑. ใชเ้ ม�ือมเี หตุ ๒ ประการ คือ ๑. ภิกษทุ �งั หลายมากดว้ ยกนั เกดิ ทะเลาะววิ าทกัน แตกแยกกนั ๒. ถ้าปรบั ใหก้ นั และกนั แสดงอาบัตแิ ลว้ จะเกิดอธิกรณร์ นุ แรงข�นึ ๒. วิธรี ะงับ : ๑. ภกิ ษทุ �งั หลายประชุมพร้อมเพรยี งกันในทีแ่ ห่งเดียวกนั ๒. ภกิ ษุรปู หนึง่ ถงึ สวดประกาศขอมติสงฆด์ ้วยญตั ตกิ รรม เพื่อระงบั อธิกรณด์ ว้ ยตณิ วัตถารกวธิ ี ๓. ภกิ ษุรูปหนงึ่ ของฝา่ ยหนงึ่ พึงประกาศขออนมุ ัติเพ่อื เป็นผู้แสดงแทนซง่ึ อาบตั ิฝ่ายตน และของตน ๔. อกี ฝ่ายกพ็ ึงทาํ เหมอื นกัน ๕. ต่างฝา่ ยพึงสวดประกาศขออนุมัตสิ งฆ์ด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา แสดงอาบัตนิ นั� แทนฝา่ ยของตน และของตนเอง ในท่ามกลางสงฆด์ ว้ ยติณวตั ถารกวธิ ี ๖. ภกิ ษุเหลา่ น�ันเป็นผ้พู น้ แล้วจากอาบตั เิ หล่านนั� ๓. ขอ้ ยกเวน้ ทไ�ี มพ่ น้ จากอาบตั ิ : ๑. เวน้ อาบัติทมี� โี ทษลา�ํ ๑. อาบัติปาราชิก มี ๔ ประการ ๒. อาบัตสิ ังฆาทเิ สส ๒. เวน้ อาบตั ิท�ีเนื�องดว้ ยคฤหสั ถ์ ๑. ดา่ คฤหัสถ์ ๒. ปฏกิ ัสสวะ : รบั แล้วกลับคาํ ๓. เวน้ ผู้แสดงความเหน็ แย้ง ๔. เว้นผู้ทไี� มอ่ ยูใ่ นทป�ี ระชมุ น�นั ๔. ระงับดว้ ยสมถะ ๒ ประการ ๑. สัมมขุ าวินยั = พร้อมหน้า (ผู้แสดง & ผ้รู ับอย่ตู ่อหนา้ กนั + ครบองค์ ๔) ๒. ติณวัตถารกวนิ ยั = ประนปี ระนอม สรุป ๑. อาปตั ตาธกิ รณ์นน�ั ระงบั ดว้ ยสมถะ ๓ ประการ คอื ๑. สัมมขุ าวินยั ๒. ปฏิญญาตกรณะ ๓. ตณิ วัตถารกะ ๒. ภิกษุต้องอาบตั ิแลว้ ไม่ทําคนื เป็นเหตใุ ห้เส�อื มเสีย ๒ อย่าง คือ ๑. เสยี สีลสามญั ญตา ๒. แตกสามัคคี ๓. เหตุแห่งการลงอุกเขปนียกรรม มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. เพราะไมย่ อมรับวา่ ตอ้ งอาบัติ ๒. เพราะไม่ยอมทาํ คืนอาบตั ิ ๔. ภิกษุปฏิบตั เิ พือ� ความต�งั อยยู่ �ังยนื แห่งพระธรรมวนิ ยั ดงั นี� ๑. ภกิ ษพุ งึ อยใู่ นลชั ชีธรรม ใคร่ความบรสิ ุทธ�ิ ๒. อาบตั ิท่ไี ม่ควรจะตอ้ ง อย่าต้อง อาบัตทิ ี่ตอ้ งแลว้ พึงทําคืนเสยี ๓. เปน็ ผู้มีศลี เสมอด้วยเพอ่ื นสหพรหมจารที ั�งหลาย

กัณฑ์ที� ๓๑ กจิ จาธกิ รณแ์ ละวธิ รี ะงบั เนอื� งดว้ ยนคิ คหะ หวั ข้อ รายละเอียด ๑. กจิ จาธกิ รณ์ มี ๔ อย่างคือ : เรอื่ งท่ีเกิดขึน� แลว้ สงฆ์ตอ้ งจดั ทาํ โดยทําเปน็ สังฆกรรมด้วยวธิ อี ย่างใดอยา่ งหน่งึ เพอ่ื ความสงบเรยี บรอ้ ยในหม่สู งฆ์ ๑. อปโลกนกรรม : เพียงบอกกันในทีป่ ระชุมสงฆ์ ๒. ญัตตกิ รรม : เพยี งต�ังญตั ติ ๓. ญตั ตทิ ุติยกรรม : ตงั� ญัตติ และสวดอนสุ าวนาหนเดียว ๔. ญตั ตจิ ตุตถกรรม : ตง�ั ญตั ติ และสวดอนุสาวนา ๓ หน ๒. หลกั ของผปู้ กครองหมู่ : ๑. นคิ คหะ = การข่ม มอี งคป์ ระกอบ ๒ ประการ ๒. ปัคคหะ = การยกยอ่ ง ๓. ผ้คู วรแก่นิคคหะ ๑. ภกิ ษุ : ทาํ นิคคหกรรม ๖ อยา่ ง มี ๒ พวก คือ ๒. คฤหสั ถ์ : ให้สงฆค์ วาํ่ บาตร ๔. นคิ คหะแกภ่ ิกษุผ้ปู ระพฤตมิ ิชอบ : มี ๖ อยา่ ง คือ ๔.๑ ตัชชนียกรรม = ข(ู่ โจทใสร่ า้ ยภิกษุอ่นื ) ๔.๒ นิยสกรรม = ถอดยศ ปรับให้ถือนสิ ัยใหม(่ แม้ในสาํ นกั ภกิ ษผุ ู้ออ่ นกว่า) ๔.๓ ปพั พาชนยี กรรม = ขบั ไล่ ทาํ แกภ่ กิ ษุผู้ประทษุ ร้ายตระกูล (ประจบคฤหสั ถ์+ประพฤตลิ ามก โจษจนั ทว่ั ) ๔.๔ ปฏิสารณียกรรม = ใหส้ ํานึกผิด ขอโทษ/ขอขมาโทษคฤหสั ถ์ ไมร่ ว่ มกิน ๔.๕ อุกเขปนยี กรรม = ยกเสียจากหมู่ ยกออกจากการสมโภคกับสงฆ์ ไมร่ ่วมอยู่ ๔.๖ ตสั สปาปยิ สิกากรรม = ลงโทษภกิ ษผุ ้ใู ห้การกลับกรอก(จาํ เลยให้การเท็จ) ตดั สทิ ธิตา่ งๆ ๑. ตัชชนยี กรรม ๑. วิธกี ารทาํ ๑. พงึ โทษภกิ ษนุ นั� ขน�ึ กอ่ น ๒. พงึ ให้เธอให้การ ๓. ปรบั อาบัตเิ ธอ ๔. ภิกษุผูฉ้ ลาดรูปหน่ึง พงึ สวดประกาศความและการทาํ ตชั ชนยี กรรมแกเ่ ธอ ด้วยญัตตจิ ตตุ ถกรรมวาจา ๒. ลกั ษณะกรรมอันเป็นธรรม ๑. ทาํ ตอ่ หนา้ ภกิ ษุนน�ั : ถามกอ่ นแล้วจงึ ทาํ ทาํ ตามปฏญิ ญา มีดังน�ี ๒. ทําเพราะตอ้ งอาบตั ิ : อาบตั นิ นั� เปน็ เทสนาคามนิ +ี ยังไม่แสดง ๓. โจทก่อนแลว้ จงึ ทํา : ใหก้ ารกอ่ นแล้วจึงทํา ปรบั อาบตั แิ ลว้ จงึ ทํา ๔. ทําโดยธรรม : สงฆพ์ รอ้ มเพรียงกนั ทาํ ๓. ภกิ ษุผู้ถกู ลงตชั ชนยี กรรม ๑. ผูท้ ําอธิกรณ์ขน�ึ ในสงฆ์ ๑, เป็นพาล ๑, คลกุ คลดี ว้ ยคฤหัสถ์ ๑ ประกอบดว้ ยองค์ ๓ คือ ๒. มีวิบัติ ๓ : สีลวิบตั ิ ๑, อาจารวบิ ตั ิ ๑, ทฏิ ฐวิ บิ ตั ิ ๑ ๓. กล่าวติเตียนพระพุทธ ๑, พระธรรม ๑, พระสงฆ์ ๑ ๔. วัตรสาํ หรบั ภกิ ษผุ ูถ้ กู ลงตชั ชนยี กรรม ดงั น�ี ๔.๑ ไมพ่ ึงทําหน้าทข�ี องพระเถระ : มีการให้อปุ สมบท เป็นตน้ ๔.๒ ใหต้ ง�ั อยใู่ นความระมดั ระวงั : ไม่พึงต้องอาบตั ิน�นั หรืออาบตั อิ ื่นๆอกี ไมพ่ ึงติกรรม หรอื ติภกิ ษุทล่ี งโทษตน ๔.๓ หา้ มมใิ หถ้ ือสิทธิแหง่ ปกตตั ตภกิ ษุ : มกี ารหา้ มอุโบสถ เป็นต้น ๕. ตน้ บญั ญัติ : พระปัณฑกู ะ และ พระโลหติ กะ (พวกภิกษฉุ พั พคั คยี ์) ๖. วธิ รี ะงบั ตัชชนียกรรม ๑. ภกิ ษผุ ู้ถกู ลงตัชชนียกรรม ถงึ หม่ ผา้ เฉวียงบา่ เข้าไปหาสงฆ์ ๒. ไหว้เท้าภิกษผุ ูแ้ กก่ ว่า นัง่ กระโหย่ง ประนมมอื กลา่ วคําขอระงบั กรรมนั�น ๒ ครง�ั ๓. ภกิ ษุผูฉ้ ลาดสามารถ ถึงประกาศบรรยายความตอ่ สงฆ์ และการทส่ี งฆ์ระงับกรรม นัน� แกเ่ ธอ ด้วยญตั ติจตุตถกรรมวาจา

๑. วธิ รี ะงบั กรรม ๒. นิยสกรรม ๒. ต้นบญั ญตั ิ : เหมือนตัชชนยี กรรม : พระเสยยกะ ๓. ปัพพาชนยี กรรม ๑. วิธีทํากรรม และระงับกรรม : เหมอื นตัชชนยี กรรม ตา่ งทก่ี รรมวาจา ๒. ลกั ษณะเป็นเหตุทาํ กรรม : มี ๔ ประการ คือ ๑. เลน่ คะนอง ๒. เลน่ อนาจาร ทาํ ได้ ๓ ทาง คอื ๓. ลบลา้ งพระบัญญตั ิ ๔. มจิ ฉาชพี ๓. ตน้ บัญญตั ิ : พระอสั สชิ กับ พระปนุ ัพพสุกะ (พวกภิกษฉุ ัพพัคคีย์) ๔. ปฏสิ ารณยี กรรม ๑. เหตุ : ภิกษุปากกล้า ด่าวา่ คฤหัสถ์ผ้มู ศี รทั ธาเลอ่ื มใสพระพทุ ธศาสนา เป็นทายกทายิกา ๒. วิธีทํากรรม : เหมอื นตัชชนยี กรรม ตา่ งกันที่กรรมวาจา : ถา้ ภกิ ษผุ ูถ้ ูกลงปฏสิ ารณียกรรมไม่อาจไปขอขมาโทษคฤหสั ถไ์ ดเ้ องตามลาํ พัง พึงสมมติภกิ ษุ รูปหนง่ึ เปน็ อนุฑตู ตดิ ตามไปด้วย ๓. วิธสี มมตอิ นุฑตู ๑. ใหภ้ กิ ษนุ นั� รับ : มี ๒ อยา่ ง ๒. ประกาศแกส่ งฆ์ ด้วยญตั ติทุตยิ กรรม ๔. หน้าที�ของอนุฑูต ๑. ชว่ ยพดู ไกล่เกลยี่ ให้เป็นการสว่ นตัว หรอื ในนามของสงฆ์ ๒. รับอาบัติของภิกษุนนั� แสดงต่อหนา้ คฤหสั ถ์ ๓. จดั ใหภ้ กิ ษนุ �ัน ขอขมาโทษคฤหสั ถ์ ๕. ลักษณะแห่งเหตทุ าํ ปฏิสารณียกรรม มี ๒ หมวด คอื หมวดท�ี ๑ หมวดท�ี ๒ ๑. ขวนขวายเพือ่ มิใช่ลาภ แหง่ คฤหัสถ์ ๑. พูดติเตยี นพระพุทธเจา้ ๒. ขวนขวายเพือ่ มใิ ช่ประโยชน์ แหง่ คฤหสั ถ์ ๒. พดู ตเิ ตยี นพระธรรม ๓. ขวนขวายเพอ่ื อยู่ไมไ่ ด้ แหง่ คฤหสั ถ์ ๓. พูดติเตยี นพระสงฆ์ ๔. ด่าวา่ เปรยี บเปรยเขา ดว้ ยประการต่างๆ ๔. พดู กดเขา พดู ขม่ เขา ๕. ยยุ งให้เขาเกดิ ความแตกแยกกัน ๕. ทาํ ความลบั ทม่ี คี วามเป็นธรรมแก่เขาให้คลาดเคลือ่ นไป จากความเปน็ จรงิ (ให้การเท็จ) ๖. ลักษณะเปน็ เหตใุ หร้ ะงบั กรรม วัตร และวิธีระงบั กรรม : เหมอื นกับกรรมอน่ื ๆ ๗. ตันบัญญัติ : พระสธุ รรม ผดู้ ่าจติ ตคฤหบดี ๕. อกุ เขปนยี กรรม ๒. วตั ร ๑. นคิ คหกรรมนส�ี งฆ์พึงทําแก่ภกิ ษุผ้ทู าํ ความผดิ ๓ สถาน คอื ๒.๑ ไม่พงึ ลุก-รบั -กราบ-ไหว้ ๒.๒ ไม่พึงยังภิกษใุ หแ้ ตกกัน ๑.๑ ในเพราะไมเ่ หน็ อาบตั ิ ๒.๓ พงึ คบพวกภกิ ษุและศึกษาสิกขาบท ๑.๒ ในเพราะไม่ทาํ คืนอาบตั ิ ๒.๔ ไมพ่ ึงอยูร่ ว่ มกับปกตัตตะภกิ ษุ ๑.๓ ในเพราะไม่สละทิฎฐิอันชว�ั ๓. ต้นบัญญตั ิ : ตอ้ งเพราะไมเ่ หน็ อาบัติ + ไม่ทาํ คืน = พระฉันนะ : ต้องเพราะไม่สละทฏิ ฐิชั่ว = พระอริฏฐะ Note : อกุ เขปนยี กรรมน�ี เป็นการลงโทษภิกษอุ ยา่ งรุนแรง

๖. ตัสสปาปยิ สิกากรรม ๑. วธิ ที ํากรรม ลักษณะกรรมที�เป็นธรรม และวตั ร : เชน่ เดยี วกับกรรมตา่ งๆ ๒. ต้นบญั ญตั ิ : พระอุปวาฬะ (พวกภกิ ษฉุ ัพพคั คีย์) ๗. การควํ�าบาตรและหงายบาตร = เปน็ นคิ คหะ แก่คฤหัสถ์ผปู้ ระพฤติมชิ อบต่อพระรตั นตรัย = การไมใ่ ห้ไปคบคา้ สมาคมดว้ ย โดยมีลกั ษณะ ๓ ประการ คือ ๑. ไมร่ บั บิณฑบาต ๒. ไม่รับนิมนต์ ๓. ไมร่ ับไทยธรรม ตน้ บญั ญตั ิ : พระเจา้ วฑั ฒลจิ ฉวี ๑. สงฆ์พงึ ทาํ แกค่ ฤหสั ถผ์ ปู้ ระกอบด้วยโทษ ๘ ประการ คอื ทภี่ กิ ษุเมตตยิ ะและภมุ มชะ ชกั นําใหใ้ สค่ วาม ๑. ขวนขวายเพื่อมิใช่ลาภ แหง่ ภกิ ษทุ งั� หลาย พระทพั พมลั ลบตุ รวา่ เป็ นชกู ้ บั ภรรยาของตน ๒. ขวนขวายเพอื่ มิใช่ประโยชน์ แหง่ ภกิ ษุท�งั หลาย ๓. ขวนขวายเพอื่ อยไู่ มไ่ ด้ แห่งภิกษุทง�ั หลาย ๔. ด่าเปรียบเปรยภกิ ษทุ �ังหลาย ๕. ยุยงภกิ ษุทั�งหลายใหแ้ ตกกัน ๖. กลา่ วตเิ ตยี นพระพุทธ ๗. กลา่ วติเตียนพระธรรม ๘. กลา่ วตเิ ตียนพระสงฆ์ ๒. วธิ ีควํ�าบาตร ๑. ประชุมสงฆ์ ๒. สวดประกาศบรรยายความ และการทีส่ งฆ์ทํากรรมน�นั แก่เธอ ด้วยญตั ติทุติยกรรมวาจา ๓. ห้ามมใิ หภ้ ิกษุคบหาคฤหสั ถค์ นนัน� (ใครละเมดิ ข้อห้าม ลงโทษฐานสมคบกับคฤหัสถด์ ้วยการคบหาอนั ไมส่ มควร) ๓. วิธหี งายบาตร ๑. คฤหสั ถ์ผู้นนั� ถึงหม่ เฉวียงบ่า(สขี าว) ๒. เขา้ ไปหาสงฆ์ ไหวภ้ กิ ษทุ ง�ั หลาย นั่งกระโหยง่ ประนมมอื กล่าวคาํ ขอการหงายบาตรตอ่ สงฆ์ ๓. ภกิ ษุผฉู้ ลาดสามารถรูปหน่ึง พึงสวดประกาศตอ่ สงฆเ์ พอื่ หงายบาตร (อภยั โทษ) ให้แก่เขา ดว้ ยญัตตทิ ตุ ยิ กรรมวาจา ๔. ภิกษทุ �ังหลายกท็ ําการคบหาคฤหสั ถค์ นนนั� ไดอ้ ีก สรปุ สงฆ์จะทาํ นคิ คหะตอ่ ภิกษหุ รือคฤหสั ถ์ด้วยกรรม ๖ อยา่ งข้างต้น หรือด้วยกฎหมายคณะสงฆก์ ็ตาม ต้องอยูใ่ นธรรม ๓ ประการ คอื ๑. มตั ตญั �ตุ า = ความเป็นผู้ร้ปู ระมาณ ๒. กาลัญ�ตุ า = ความเป็นผรู้ ู้จักาล ๓. ปุคคลญั �ุตา = ความเป็นผรู้ จู้ กั บุคคล

กณั ฑ์ที� ๓๒ สังฆเภท และ สงั ฆสามคั คี สงั ฆเภท = ความแตกแยกแหง่ สงฆ์ ไม่ยอมทําอโุ บสถ ปวารณา หรือสงั ฆกรรมรว่ มกนั สงั ฆราชี สงั ฆสามัคคี = สงฆต์ ้องครบ ๔ รปู ทง�ั ๒ ฝา่ ย + ผู้ทาํ หนา้ ทีป่ ระกาศใหจ้ บั สลากลงคะแนนช�ขี าดอกี ๑ รปู (เป็นรูปท่ี ๙) = ความร้าวรานแหง่ สงฆ์ มคี วามเหน็ ไม่ลงรอยกัน+ประพฤติไม่เสมอกัน แตย่ ังไมถ่ ึงกับแยกทําอโุ บสถ ปวารณา และสงั ฆกรรม = ความพรอ้ มเพรียงแห่งสงฆ์ มูลเหตุแห่งความตงั� มั่นและความย่งั ยืนแห่งพระศาสนา สังฆเภท ๑. บุคคลผูท้ ําสังฆเภท : ตอ้ งเป็นภิกษุเทา่ นน�ั และตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ ๓ ประการ คอื ๑. เปน็ ปกตัตตะ = ภิกษโุ ดยปกติ ประกอบด้วยสลี สามญั ญตา+ทิฏฐิสามญั ญตา ๒. เป็นสมานสงั วาส = การอยกู่ นิ ร่วมเสมอกนั มคี วามพรอ้ มเพรยี ง ทาํ สงั ฆกรรมร่วมกัน ๓. อยใู่ นสีมาเดียวกัน = อยู่ในเขตกาํ หนดสงฆ์ ๒. บุคคลผไู้ ม่อาจทําสังฆเภท ๓. สาเหตุทีท� าํ ใหส้ งฆแ์ ตกแยกกัน : มี ๒ ประการ คอื : เป็นเพยี งสนับสนุน มี ๖ ประเภท คอื ๑. ภิกษณุ ี ๒. นางสกิ ขมานา ๓. สามเณร ๔. สามเณรี ๕. อุบาสก ๖. อบุ าสกิ า ๔. อาการทีส� งฆ์จะแตกกนั มี ๕ ประการ คือ ๑. ดว้ ยกรรม ทาํ สังฆกรรม ๒. ด้วยอทุ เทส สวดปาติโมกข์ ๓. กล่าวดว้ ยโวหาร ต�ังญตั ติ ๔. ดว้ ยอนุสาวนา ประกาศดว้ ยกรรมวาจา ๕. ด้วยการให้จบั สลาก ใหล้ งคะแนนชขี� าด ๕. เหตุการณเ์ กิดสังฆเภทในอดีต มี ๔ ครัง� คอื คร�ังท�ี ๑ ครัง� ท�ี ๒ คร�งั ที� ๓ ครง�ั ท�ี ๔ ๑. When พทุ ธกาล พทุ ธกาล สมยั พระเจ้าอโศก สมยั พระเจา้ วฏั ฏคามนีอภัย ๒. Who พระเทวทตั และพวก พระวนิ ัยธร-พระธรรมกถึก เดยี รถีย์ พวกภกิ ษคุ ณะมหาวหิ าร ๓. Where กบั คณะอภัยคีรีวิหาร ๔. What วดั โฆสิตาราม วัดอโศการาม ๕. How นครโกสัมพี เมืองปาฏลีบตุ ร ทูลขอวตั ถุ ๕ นาํ� ชําระในเวจกุฎี เดยี รถียป์ ลอมบวช คณะมหาวิหารตง�ั ข้อรังเกยี จ คณะอภยั คีรีว่าเป็นกุลทูสกะ ให้พระสารีบุตรไปตาม ชาวบ้านไม่ใส่บาตร กําจดั ผู้มคี วามเห็นไม่ลง ทาํ ตณิ ณวัตรกวินยั รอยกบั พระโมคคัลลบี ุตร ฐานแหง่ นานาสงั วาส ความพรอ้ มเพรยี งแหง่ สงฆเ์ กดิ จากเหตุ ๒ ประการคือ ๑. ออกไปเข้านกิ ายอน่ื เอง ๒. ถกู สงฆล์ งอุกเขปนยี กรรม ๑. ววิ าทาธิกรณ์ ระงับดว้ ยการตกลงกันเอง หรือยอมรับคาํ วินจิ ฉยั ของสงฆ์/ภิกษุ ฐานะแหง่ สมานสงั วาส ๒. อาปัตตาธิกรณ์ ระงบั ด้วยติณวัตถารกวนิ ัย ๑. กลับเข้าหมู่เอง ๒. สงฆ์ระงับอกุ เขปนียกรรม สังฆสามัคคี มี ๒ ประการ คอื ๑. สงั ฆ์ไม่วนิ จิ ฉัยเรือ่ งแล้วทําสามัคคี ไมเ่ ปน็ ธรรม ๒. สงฆ์วินิจฉยั เรื่องสาวหามูลเหตแุ ลว้ ทําสามัคคี เป็นธรรม

กณั ฑ์ที� ๓๓ ปกิณณกะ ๑. การลาสกิ ขา = การบอกคนื สกิ ขา ๒. นาสนา = ให้ฉบิ หายเสีย (จบั สกึ ) ๓. ทัณฑกรรม = การลงโทษสามเณรท่ีทาํ ผิดเลก็ นอ้ ย ๔. ประณาม = ขบั ไล่ / ไม่คบดว้ ย การลาสกิ ขา ๑. การลาสกิ ขา = การบอกคนื สิกขา กลบั ไปเปน็ คฤหัสถ์ = ทําได้ ๒ แบบ คือ ปฏิญญาตนต่อหนา้ ๑. ภกิ ษุ ๒. คนอ�นื ที�มใิ ช่ภิกษุ ๒. คําปฏิญญา ๔ ประการ ๑. ลา กลุ่มทไี� มใ่ ชม่ นุษย์ กลมุ่ ท�ีเป็นมนษุ ย์ พระพุทธ สกิ ขา อทุ เทส อุปชั ฌาย์ สทั ธวิ ิหารกิ สมานปุ ชั ฌาย์ พระธรรม วินยั อาจารย์ อันเตวาสิก สมานาจรยิ กะ พระสงฆ์ ปาตโิ มกข์ สพรหมจารี ๒. ปฏิญญาตนเป็น กลุ่มคนในศาสนา กล่มุ คนนอกศาสนา คฤหัสถ์ อบุ าสก อารามิก สามเณร เดยี รถยี ์ สาวกเดียรถีย์ ๓. ปฏเิ สธความเปน็ สมณะ ศักยปุตติยะ ๔. แสดงความไม่ ตอ้ งการ เก่ียวข้องด้วยวัตถเุ ป็นเขตลาอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง ๓. การปฏิญญาต้องทําเป็นกิจจลักษณะ คือ พรอ้ มดว้ ยองค์ ๕ คือ องค์ ๕ รายละเอียด หมายเหตุ ๑. จติ : ทาํ ด้วยตงั� ใจเพ่ือลาสิกขาจรงิ ๆ - ไมน่ ับการท่องเลน่ หรือ กลา่ วโดยอาการแสดงวนิ ยั กถา ๒. กาล : ปฏิญญาดว้ ยคาํ เดด็ ขาด - ไมน่ ับการรําพงึ พูดถงึ อดตี หรอื อนาคต) ๓. ประโยค : กลา่ วปฏิญญาด้วยตนเอง - การนงุ่ หม่ อย่างคฤหสั ถ์ ทกุ กฏ - การนงุ่ หม่ อย่างเดยี รถยี ์ ถุลลัจจัย - เขา้ รีตเดยี รถยี ์ ขาดจากความเปน็ ภกิ ษุ Note : แตถ่ า้ นุ่งหม่ อย่างคฤหสั ถแ์ ลว้ กลับไปอยบู่ า้ นแล้ว = กายประโยค เป็นอันลาเช่นกนั ๔. บคุ คล : ผู้ปฏิญญาเปน็ คนปกติ - ไม่บ้า - ไม่เสียสติถึงเพ้อ - ไมใ่ ชผ่ ู้กระสับกระส่ายเพราะทกุ ขเวทนาถงึ ไม่รูต้ วั ๕. ความเข้าใจ : ผ้รู บั ปฏญิ ญาเข้าใจคาํ น�นั ทนั ที - ปฏญิ ญาดว้ ยภาษาท่ีผฟู้ ังเข้าใจ (ต้องแปลบาลดี ้วย) - ปฏิญญาต่อผู้ใดผู้น�ันตอ้ งฟงั เขา้ ใจ ถ้าผ้นู �นั ไมเ่ ข้าใจแต่ผ้อู ื่นเขา้ ใจกใ็ ช้ไม่ได้ นาสนา ๓ (จบั สึก) ๑. ภิกษตุ ้องปาราชิกแลว้ ยังปฏญิ ญาณตนเป็นภิกษุ ๑. ลิงคนาสนา = ใหฉ้ บิ หายจาก เพศ ๒. บุคคลผ้อู ุปสมบทไมข่ ึ�น แต่ไดร้ บั อุปสมบทแต่สงฆ์ = ใหฉ้ บิ หายจาก การกินรว่ ม ๓. สามเณรผปู้ ระกอบดว้ ยองค์ ๑๐ คอื ๒. สัมโภคนาสนา = ใหฉ้ ิบหายจาก สงั วาส ๓. สงั วาสนาสนา ๑. เป็นผมู้ ักผลาญชีวิต ๖. พดู ตเิ ตยี นพระพทุ ธ ๒. เป็นผมู้ กั ขโมย ๗. พดู ตเิ ตียนพระธรรม ๓. เสพเมถุน ๘. พูดตเิ ตียนพระสงฆ์ ๔. มกั พดู ปด ๙. เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ ๕. ดืม่ น�าํ เมา ๑๐. ประทษุ ร้ายภิกษณุ ี(ขม่ ขืน)

๓. ทณั ฑกรรม ๑. ทําแก่สามเณรผู้ประกอบดว้ ยองค์อนั เปน็ โทษ ๕ ประการ คอื ๑. ขวนขวายเพอื่ มิใชล่ าภ แห่งภิกษุทง�ั หลาย ๒. ขวนขวายเพื่อมิใช่ประโยชน์ แห่งภกิ ษุทัง� หลาย ๓. ขวนขวายเพอ่ื อยู่ไมไ่ ด้ แหง่ ภิกษุทงั� หลาย ๔. ดา่ วา่ เปรียบเปรยภิกษทุ ง�ั หลาย ๕. ยยุ งภิกษทุ งั� หลายใหแ้ ตกกัน ๒. เหตุใหถ้ ูกลงทัณฑกรรม ๓. การลงทณั ฑกรรม ๒.๑ สามเณรผปู้ ระพฤตลิ ว่ งสิกขาบท ๕ ขอ้ เบอื� งปลาย ๓.๑ การกกั บรเิ วณ ๒.๒ สามเณรไม่มคี วามเอือ� เฟ�ือในกจิ วตั ร ที่จะต้องศกึ ษาเล่าเรยี น ๓.๒ กศุ ลววิ ฒั น์ ๔. ผู้มีหนา้ ท�ีลงทณั ฑกรรมแกส่ ามเณร ๔.๑ พระสงฆ์ ๔.๒ ผปู้ กครอง (บุคคล) ๔. ประณาม ๑. วธิ ปี ระณาม : มี ๒ วิธี ๑.๑ ประณามเปน็ การสงฆ์ : มี ๔ อย่าง ๑.๒ ประณามเปน็ การบุคคล : มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. การทาํ อกุ เขปนยี กรรมแกภ่ กิ ษุ ในเพราะ ๑. พระอุปชั ฌาย์ : ประณามสทั ธิวิหาริก ผูป้ ระพฤตมิ ชิ อบ ๑. ไม่เห็นอาบัติ ตอ้ งแลว้ ไมย่ อมรบั ๒. พระอาจารย์ : ประณามอนั เตวาสกิ ผปู้ ระพฤตมิ ชิ อบ ๒. ไมท่ าํ คืนอาบตั ิ ตอ้ งแลว้ ไม่ทําการออก จากอาบตั ติ ามวิธกี รรม ๓. ไม่ละทิฎฐิบาป เสยี สลี สามญั ญตา ๒. การควา�ํ บาตร : ทาํ แก่อบุ าสกผ้ปู ระกอบดว้ ย องคซ์ ่ึงเปน็ โทษ ๘ ประการ ๓. การลงพรหมทัณฑ์ : การลงโทษอยา่ งสูงสุด (โดยไม่ว่ากลา่ วตักเตอื นส่งั สอน) ๔. การไลส่ ามเณรออกจากหมู่ท�ังเพศ ๒. บคุ คบทท�ี รงอนญุ าตให้ประณาม ๑. สหธรรมิก ๒. คฤหสั ถ์ ภาคผนวก ภกิ ษุณี ๑. วธิ ีอปุ สมบทภิกษุณี : ๕. ภิกษณุ ีสงฆ์ต้องอาศยั ภิกษุสงฆ์ในกิจดังน�ี ๑. อุปสมบท ๑. บรรพชาเป็นสามเณรี ๒. ต้องจาํ พรรษาในอาวาสทีม่ ภี ิกษุ ๓. ตอ้ งถามอโุ บสถ และไปฟังโอวาทแหง่ ๒. เม่อื อายุ ๑๘ ปเี ตม็ แลว้ พงึ ขอสิกขมานา (๒ ปี) ภิกษุสงฆท์ ุกก่ึงเดอื น ๓. ขออปุ สมบทต่อภิกษุณสี งฆแ์ ละภิกษสุ งฆ์ ๔. จําพรรษาแลว้ ต้องปวารณาในภกิ ษสุ งฆ์ ๕. การศกึ ษาธรรมวนิ ยั ใหเ้ รยี นจากภกิ ษุ ๒. สิกขาบทของภกิ ษณุ ี : มี ๒ ส่วน ๖. ตอ้ งอาบัติสงั ฆาทิเสสแลว้ ต้องประพฤติ ๑. สาธารณสกิ ขาบท : เหมือนของภกิ ษุ มานตั ปักษห์ น่ึงในสงฆท์ งั� ๒ ฝา่ ย ๗. เกดิ อธิกรณข์ ึ�นตอ้ งใหภ้ กิ ษสุ งฆ์ระงับและ ๒. อสาธารณสกิ ขาบท ปรบั โทษผูผ้ ิด ๓. อาบัติ : มีครบ ๗ เหมือนภิกษุ สกิ ขาบทปรบั แรงกวา่ ทุกกฏ เว้นถลุ ลจั จยั สงเคราะหเ์ ข้าเป็นปาติโมกข์ ๔. สกิ ขาบทท�ีเป็นมูลเฉท : มี ๘ เหมอื นภกิ ษุ

พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ และ พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบับที� ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ หมวด ๑ สมเด็จพระสงั ฆราช : พระมหากษตั ริ�แต่งตงั� -ถอดถอน (มาตรา ๗) หมวด ๒ มหาเถรสมาคม : สมเดจ็ พระราชาคณะเป็นกรรมการโดยตําแหนง่ (มาตรา ๑๒) : พระราชาคณะเปน็ กรรมการโดยการแตง่ ต�งั จากสมเดจ็ พระสงั ฆราช ต�ังแต่ ๘-๑๒ รปู (มาตรา ๑๒ มวี าระ ๒ ปี (มาตรา ๑๔) : อธิบดีกรมการศาสนา เป็นเลขาธกิ ารมหาเถรสมาคมโดยตําแหนง่ (มาตรา ๑๓) : อํานมหาเถรสมาคมมีอํานาจหน้าที� ดังน�ี (มาตรา ๑๕ ทว)ิ ๑. ปกครองคณะสงฆ์ ๒. ปกครองและกาํ หนดการบรรพชาสามเณร ๓. ควบคุมและสง่ เสริมการศาสนศึกษา การศกึ ษาสงเคราะห์ การเผยแพร่ การสาธารณปู การ และการสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์ ๔. รกั ษาหลักพระธรรมวินัย ๕. ปฏิบตั หิ นา้ ท่อี นื่ ๆ ตามทีบ่ ัญญตั ิไว้ใน พรบ.น�ี หรือกฎหมายอนื่ หมวด ๓ การปกครองคณะสงฆ์ พระสงั ฆาธกิ าร เขตการปกครอง เจ้าคณะปกครอง (มาตรา ๒๑) เจา้ คณะใหญ่ เจ้าคณะใหญ่ เจ้าคณะ เจ้าคณะภาค/รอง ภาค เจ้าคณะภาค/รอง ส่วนภูมิภาค เจ้าคณะจังหวัด/รอง จงั หวัด เจ้าคณะจังหวดั /รอง (มาตรา ๒๒) เจ้าคณะอาํ เภอ/รอง อาํ เภอ เจ้าคณะอาํ เภอ/รอง เจา้ คณะตาํ บล/รอง ตาํ บล เจา้ คณะตาํ บล/รอง เจา้ อาวาส/รอง จํานวนและเขตปกครองใหเ้ ป็นไปตามกฎมหาเถราสมาคม หมวด ๔ นิคหกรรม และการสละสมณเพศ : มหาเถรสมาคมมีอาํ นาจตรากฎหมายมหาเถรสมาคม เพอ่ื ลงโทษ คดี ลงโทษใหส้ กึ - ภิกษลุ ่วงละเมิดพระธรรมวินัย (มาตรา ๒๖) ภายใน ๒๔ ชม. - ภิกษุไม่ยอมรบั นิคหกรรม/ละเมดิ พระธรรมวินยั /ไม่สงั กัดวดั /ไม่มีวดั (มาตรา ๒๗) ภายใน ๓ วนั - เป็นบุคคลล้มละลาย (มาตรา ๒๘) ภายใน ๓ วนั - ต้องคดีอาญา เจา้ หน้าที่รฐั สามารถจบั สกึ ได้ (มาตรา ๒๙) - เม่อื ต้องจําคุก เจา้ หนา้ ที่รัฐสามารถจับสึกไดก้ ่อน (มาตรา ๓๐) หมวด ๕ วัด : มฐี านะเป็นนิติบุคคล / เจ้าอาวาสเปน็ ผ้แู ทนของวดั ในกจิ การทั่วไป : หา้ มมิให้บุคคลใดยกอายุความขึ�นส้กู ับวัดหรือกรมการศาสนา ๑. วัด : มี ๒ อย่าง คือ (มาตรา ๓๑) ๒. วดั และทซ�ี �ึงขน�ึ ตอ่ วดั มี ดังน�ี (มาตรา ๓๓) ๑. วดั ท่ไี ด้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ๑. ท่ีวดั : ทตี่ ั�งวัด+เขตของวดั ๒. สํานกั สงฆ์ ๒. ที่ธรณสี งฆ์ : ทซี่ ึ่งเปน็ สมบัตขิ องวัด ๓. ทก่ี ัลปนา : ทีซ่ ง่ึ มคี นอทุ ิศแตผ่ ลประโยชน์ให้วดั หมวด ๖ ศาสนสมบัติ (มาตรา ๔๐) : แบ่งเปน็ ๒ ประเภท ๑. ศาสนสมบัติกลาง : ไมใ่ ช่ของวดั ใดวัดหน่งึ : กรมการศาสนาดูแลรักษา ๒. ศาสนาสมบัติของวัด : ทรัพยส์ ินของวดั : การดูแลรักษา-จดั การ เปน็ ไปตามกาํ หนดกฏกระทรวง หมวด ๗ บทกําหนดโทษ คดคี วาม จาํ คกุ ปรับ มาตรา ๔๒ - ผูม้ ไิ ด้รบั แตง่ ตงั� เปน็ พระอุปชั ฌาย์ หรือถูกถอน ทาํ การบรรพชาอปุ สมบทแกบ่ ุคคลอ่ืน ไม่เกิน ๑ ปี มาตรา ๔๓ - ผูฝ้ ่าฝืนมาตรา ๑๕(๒), ๒๖, ๒๗(๓), ๒๘ มาตรา ๔๔ - ภิกษปุ าราชิกแลว้ มาบวชใหม่ ไมเ่ กิน ๑ ปี มาตรา ๔๔(๒) - หมิ่นประมาท ดหู มิน่ แสดงความอาฆาตพระสังฆราช มาตรา ๔๔(๓) - ผูใ้ ดใสค่ วามคณะสงฆใ์ หเ้ สือ่ มเสียแตกแยก ไมเ่ กิน ๑ ปี ≤ 20,000 ไมเ่ กิน ๑ ปี ≤ 20,000 หมวด ๘ เบด็ เตล็ด : การแต่งต�งั ภิกษใุ นตาํ แหน่งปกครองและไวยาวจั รกร : การปกครองคณะสงฆอ์ ืน่ ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารที่กาํ หนดในกฏกระทรวง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook