Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (เล่ม1) นามและอัพยยศัพท์

(เล่ม1) นามและอัพยยศัพท์

Description: (เล่ม1) นามและอัพยยศัพท์

Search

Read the Text Version

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 1 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ แผนการสอนวชิ าบาลีไวยากรณ เลม ๑ หนวยท่ี ๑ เรือ่ ง ความรเู บ้ืองตน เกีย่ วกบั บาลีไวยากรณ เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั การศึกษาพระปริยัติธรรม อันเปนสวนคันถธุระตามหนาที่ของพระภิกษุสงฆ สาวก เพ่ือธำรงรักษาไวซ่ึงภาษาบาลีอันเปนภาษาที่รักษาไวซ่ึงพระพุทธพจน และใช เปนความรูพื้นฐานในการศึกษาพระไตรปฎก เพื่อเปนการสืบทอดอายุและจรรโลง พระพทุ ธศาสนา จุดประสงค ๑. นักเรยี นรปู ระวตั คิ วามเปนมาของภาษาบาลี ๒. นกั เรยี นรูความหมายของภาษาบาลี ๓. นกั เรียนรูความหมายของบาลีไวยากรณ ๔. นักเรียนสามารถแบง หมวดของบาลไี วยากรณไ ดถกู ตอ ง ๕. นกั เรียนสามารถบอกความหมายช่ือหมวดตาง ๆ ของบาลีไวยากรณ ไดถูกตอ ง เน้อื หา ๑. ประวตั ิความเปน มาของภาษาบาลี ๒. ความหมายของบาลไี วยากรณ ๓. วเิ คราะหรากศัพทของบาลีไวยากรณ ๔. บาลไี วยากรณแ บงออกเปน ๔ ภาค ๕. บาลีไวยากรณแ บง ออกเปน ๙ หมวด 1

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 2 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) กิจกรรม ๑. ประเมนิ ผลกอนเรียน ๒. ครนู ำเขาสบู ทเรยี น ๓. นักเรยี นตั้งปญหาเกี่ยวกบั เนื้อหาทสี่ อน ๔. ครูสรุปเน้อื หาทัง้ หมด ๕. ประเมินผลหลังเรียน ๖. ใบงาน ๗. กจิ กรรมเสนอแนะ - แบง กลมุ ไปคน ควา เร่อื งทีส่ อน เชน ชมพทู วปี หรอื คำศัพท เชน อักขรวธิ ี และนามศพั ท เปน ตน สอ่ื การสอน ๑. ตำราทีใ่ ชประกอบการเรียน-การสอน ๑.๑ หนงั สือพระไตรปฎก ๑.๒ หนงั สอื พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบุญ สำนกั เรยี นวัดปากน้ำ จัดพิมพ ๒๕๔๐ ๑.๓ หนงั สือพจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ สถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยตุ ฺโต) ๑.๕ หนงั สอื บาลไี วยากรณ นิพนธโ ดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจาฯ ๑.๖ หนังสอื ปาลทิ เทส ของสำนักเรียนวัดปากนำ้ ๒. อุปกรณท ี่ควรมีประจำหอ งเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบอรด ๒.๒ เคร่อื งฉายขา มศีรษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพิวเตอร - โปรเจคเตอร 2

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 3 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ วิธีวัดผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขาใจ ๒. สงั เกตพฤติกรรมการมีสว นรว มในกจิ กรรม ๓. สังเกตความกา วหนา ดานพฤติกรรมการเรียนรูข องผูเ รยี น ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมินผลกอ นเรยี น-หลงั เรยี น 3

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 4 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ความรูเบื้องตน เกีย่ วกับบาลไี วยากรณ ประวตั ิความเปน มาของภาษาบาลี ภาษาบาลี เปนภาษาที่ชาวอินเดียโบราณใชเปนเคร่ืองมือในการติดตอ สื่อสารมากอนครั้งพุทธกาล ๒,๐๐๐ กวาป และย่ิงเปนภาษาที่มีความสำคัญมาก เม่ือพระพุทธเจาทรงใชเปนภาษาในการเผยแผพระพุทธศาสนา และจารึกลงใน พระไตรปฎกแมในปจจุบันก็ยังคงมีการใชภาษานี้กันอยูในบางประเทศ เชน ประเทศ อนิ เดียในบางรฐั และประเทศศรีลงั กา เปนตน ในสวนของประเทศไทยนั้น ถึงแมจะมิไดใชภาษาบาลีเปนเครื่องมือใน การติดตอสื่อสาร แตก็ไดมีการศึกษาเลาเรียนภาษาบาลีมาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบันนี้ โดยอยูในความอุปถัมภของพระมหากษัตริยไทยทุกพระองค ที่ทรงบำเพ็ญแก พระพุทธศาสนามาทุกยุคทุกสมัย ถือเปนสวนสำคัญที่ทำใหพระพุทธศาสนาในประเทศไทย มีความเจริญรงุ เรืองเปน ปกแผน ตลอดมา ภาษาบาลีนี้ ในท่ีบางแหงนักเรียนอาจจะไดยินชื่อเรียกแตกตางกันไป เชน มคธภาษาบาง ตันติภาษาบาง มูลภาษาบาง แตโดยรวมแลว คำทั้ง ๓ นี้ เปนชื่อ เรียกของภาษาบาลนี ่ันเอง มคธภาษา หมายถึง ภาษาของชาวมคธ กลาวคือ หลังจากที่พระพุทธเจา ไดตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแลว ไดทรงถือเอาแควนมคธ (แควนมคธเปนช่ือของ แควนๆ หน่ึงใน ๑๖ แควนของประเทศอินเดีย) เปนสถานท่ีประกาศศาสนาเปน ครัง้ แรก ตันติภาษา หมายถึง ภาษาที่มีแบบแผน คือมีหลักไวยากรณทำหนาที่ กำกบั ในประโยคอยางแนน อนตายตัว มูลภาษา หมายถงึ ภาษาด้งั เดมิ เพราะเปนภาษาที่เสฏฐบคุ คล ๔ จำพวก ใชพูด ไดแก ๑. อาทิกัปปกบุคคล (คนที่เกิดในตนกัปป) ๒. พรหม ๓. อสุตาลาป- บุคคล (คนท่ีไมเ คยไดย นิ คำพดู จากผอู ืน่ ) ๔. พระพทุ ธเจา ในคมั ภีรป ทรูปสทิ ธิ ไดป ระพนั ธเ ปนคาถาไววา สา มาคธี มลู ภาสา นรา ยายาทกิ ปปฺ กา พฺรหมฺ าโน จสสฺ ุตาลาปา สมฺพทุ ฺธา จาป ภาสเร ฯ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 4

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 5 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ภาษามาคธี เปนภาษาดง้ั เดมิ ที่ใชพูดกันโดยมนษุ ยตนกปั ป ๑ พวกพรหม ๑ บคุ คลผูไมเ คยไดยินถอ ยคำจากผูอนื่ ๑ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา ๑ ฯ ความหมายของคำวา “บาลีไวยากรณ” คำวา บาลีไวยากรณ แยกออกเปน ๒ ศัพท คอื บาลี ๑ ไวยากรณ ๑ ใน ขอ นจี้ ะแสดงความหมายของคำวา บาลี กอน คำวา “บาลี” นั้น ไดมีนักวิชาการหลายแขนงใหคำจำกัดความไวแตกตาง กนั ออกไป ดังตอ ไปนี้ ปาลิ (อติ .) บาลี พระบาลี คือพระพุทธพจนอันเปนหลักเดิม ไดแก คำใน ปาลิ (อติ .) พระไตรปฎก จัดเปนพระปริยัติธรรม, บาลี คือ ภาษาท่ีใชเปน หลกั ในพระพทุ ธศาสนา. ปาลฺ รกขฺ เณ, อิ. บาลี น. ระเบียบ, ระเบียบคำท่ีพุทธาทิบัณฑิตประกาศ, แบบแผน, คม, บาลี คมดาบ, ขอบ, ปาก, ราวปา, แถว, แนว, ลำดับ, เหตุ, มูลเคา. (พจนานุกรมมคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบุญ สำนักเรียน วดั ปากนำ้ จดั พิมพ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๔๘๘) ภาษาที่ใชเปนหลักในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท, พุทธพจน. (ป., ส. ปาล)ิ (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๔๗๗) ๑. ภาษาอันรักษาไวซ่ึงพุทธพจน, ภาษาท่ีใชทรงจำและจารึก รักษาพุทธพจนแตเดิมมา อันเปนหลักในพระพุทธศาสนา ฝา ยเถรวาท ถอื กันวา ไดแก ภาษามคธ ๒. คัมภีรพ ระพทุ ธศาสนา ตน เดิม ท่ีเปน พระพุทธวจนะ อนั พระสังคีตกิ าจารยรวบรวมไว คอื คัมภีรพระไตรปฎกท่ีพระอรหันต ๕๐๐ องค ประชุมกัน รวบรวม จัดสรรใหเปนหมวดหมูในคราวปฐมสังคายนา, พระพุทธพจน, ขอความท่ีมาในพระไตรปฎก (พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับ ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโฺ ต) หนา ๑๓๖) เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 5

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 6 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ ในหนังสือคูมือเลมนี้จะใหความหมายของคำวา “บาลี” วา “ภาษาท่ีรักษา ไวซ ึ่งพระพทุ ธพจน” รากศพั ทของคำวา “บาล”ี ปาลิ เปน อิ การนั ต มาจาก ปาล ธาตุ ในการรักษา ลง ณี ปจ จัย ในนาม กิตก (ปาล+ณี = ปาล)ี ปจจยั ที่เน่อื งดวย ณ ลบ ณ ทง้ิ เสีย คงสระ อี ไว ไมต อ งทฆี ะ ตน ธาตุ เพราะตน ธาตเุ ปน ทีฆะสระอยแู ลว บาลี มวี เิ คราะหว า พุทฺธวจนํ ปาเลตีติ ปาลี (ภาสา) ฯ คำแปล ยา ภาสา - อ.ภาษาใด ปาเลติ - ยอมรักษาไว พุทฺธวจนํ - ซึ่ง พระพุทธพจน อิติ - เพราะเหตุนน้ั สา ภาสา - อ.ภาษานั้น ปาลี - ชือ่ วา ปาลๆี แปลวา ภาษาท่รี ักษาไวซึง่ พระพุทธพจน แบบแผนท่ีพระธรรมสังคหกาจารยทั้งหลายวางไว เรียกวา บาลีๆ แปลวา ภาษาซึง่ รกั ษาไวซ่ึงพระพุทธพจน คำวา “ไวยากรณ” นั้น ไดมีนักวิชาการหลายแขนง ใหคำจำกัดความไว แตกตา งกันออกไป ดงั ตอ ไปนี้ เวยยฺ ากรณ (ว.ิ ) ผูเรียนซึ่งไวยากรณ, ผูเรียนไวยากรณ, วิ. วฺยากรณํ อธิเตติ เวยยฺ ากรณ (นปุ. ) เวยฺยากรโณ. ณ ปจ . ราคาทิตัท. แปลง อิ เปน ย เอ อาคม ซอ น ยฺ. ปกรณอันประกอบพรอมแลวดวยวิธีเปนเคร่ืองอันอาจารย ทั้งหลายกระทำศัพททั้งหลายใหแจง, ปกรณอัน ประกอบ พรอมแลวดวยวิธีเปนเครื่องอันอาจารยทั้งหลายกระทำศัพท ทั้งหลายใหแ จม แจง, ไวยากรณ ช่ือวชิ าจัดระเบียบแหงภาษา, เปนคำรอยแกว. วิ. วฺยากรเณน สมฺปยุตฺตํ เวยฺยากรณํ. (พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบุญ สำนกั เรียน วัดปากนำ้ จัดพิมพ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๖๗๔) เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 6

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 7 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ไวยากรณ น. วิชาภาษาวาดวยรูปคำและระเบียบในการประกอบคำใหเปน ไวยากรณ ประโยค (ป. เวยฺยากรณ; ส. ไวยากรณ วา นักศึกษาไวยากรณ. วฺยากรณ วา ตำราไวยากรณ) (พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ สถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๗๖๕) ๑. ระเบยี บของภาษา, วิชาวาดวยระเบยี บแหงภาษา ๒. คำ หรือขอความทเี่ ปน รอ ยแกว , ความรอยแกว ดูนวงั คสตั ถุศาสน (ไวยากรณ คือความรอยแกวลวน ไดแก พระอภิธรรมปฎก ท้ังหมด และพระสูตรที่ไมมีคาถา เปนตน) (พจนานุกรมพุทธ ศาสนฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก [ป.อ. ปยุตฺโต] หนา ๒๘๙) ในหนังสือคูมือเลมน้ี จะใหความหมายของคำวา “ไวยากรณ” วา “ปกรณ อนั ประกอบ พรอ มแลว ดว ยวาจาเปน เครอ่ื งกระทำใหแ จง ” รากศพั ทของคำวา “ไวยากรณ” ไวยากรณ มาจาก วิ บทหนา กร ธาตุ ในการกระทำ ลง ยุ ปจ จัย (วิ+กรฺ+ยุ) พฤทธ์ิ อิ เปน เอ เอา เอ เปน ไอย (เอยฺย) ทีฆะ อ ท่ี ย เปน อา แปลง ยุ เปน อณ ลงการนั ตสะกด เปน ไวยากรณ ไวยากรณ มวี ิเคราะหว า พยฺ ากรเณน สมปฺ ยตุ ฺตนฺติ เวยยฺ ากรณํ (ปกรณ)ํ ฯ คำแปล ยํ ปกรณํ - อ.ปกรณใด สมฺปยุตตฺ ํ ประกอบพรอ มแลว พฺยากรเณน - ดวยวาจาเปนเคร่ืองกระทำใหแจง อิติ - เพราะเหตุนั้น ตํ ปกรณํ - อ.ปกรณนั้น เวยฺยากรณํ - ชื่อวา เวยฺยากรณๆ แปลวา ปกรณอันประกอบพรอมแลวดวยวาจา เปนเครื่องกระทำใหแจง ปกรณอ ันเปนเคร่อื งกระทำใหแจง เรียกวา ไวยากรณๆ แปลวา ปกรณ อันประกอบพรอ มแลว ดวยวาจาเปนเคร่อื งกระทำใหแ จง เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 7

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 8 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ รวมความหมายของคำวา “บาลีไวยากรณ” บาลีไวยากรณ แปลวา ปกรณอันประกอบพรอมดวยวาจาเปนเครื่อง กระทำใหแ จง ซงึ่ บาลี (ภาษาที่รักษาไวซ งึ่ คำสงั่ สอนของพระพทุ ธเจา ) หรือแปลวา ปกรณอันเปน เครื่องกระทำใหแ จง ซึง่ บาลี บาลไี วยากรณ มวี เิ คราะหวา ปาลึ วฺยากโรตีติ ปาลิเวยยฺ ากรณํ (ปกรณํ) ฯ คำแปล ยํ ปกรณํ - อ.ปกรณใด วฺยากโรติ - ยอมกระทำใหแจง ปาลึ - ซึ่งบาลี อิติ - เพราะเหตุน้ัน ตํ ปกรณํ - อ.ปกรณนั้น ปาลิเวยฺยากรณํ - ช่ือวา ปาลิเวยฺยากรณๆ แปลวา ปกรณอันประกอบพรอมแลวดวยวาจาเปนเคร่ืองกระทำให แจงซ่งึ บาลี การแบง หมวดบาลีไวยากรณ บาลีไวยากรณ แบง ออกเปน ๔ ภาค คือ ๑. อกั ขรวิธี วาดวยอกั ษร จดั เปน ๒ คอื ๑. สมญั ญาภธิ าน แสดงชือ่ อักษรท่ีเปนสระและพยัญชนะ พรอมท้ังฐานกรณ ๒. สนธิ ตอ อกั ษรที่อยใู นคำอน่ื ใหเนอื่ งเปน อันเดยี วกนั ๒. วจวี ิภาค แบงคำพูดออกเปน ๖ สว น คือ ๑. นาม ๒. อัพยยศัพท ๓. สมาส ๔. ตัทธติ ๕. อาขยาต ๖. กิตก ๓. วากยสมั พนั ธ วาดวยการก และประพันธผูกคำพูดท่ีแบงไวในวจีวิภาค ใหเขา เปน ประโยคอนั เดยี วกัน ๔. ฉนั ทลกั ษณะ แสดงวิธีแตง ฉนั ท คอื คาถาทีเ่ ปนวรรณพฤธแิ์ ละมาตราพฤธิ์ บาลีไวยากรณ แบง ออกเปน ๙ หมวด คือ ๑. อกั ขรวิธี แสดงอกั ษรพรอมทั้งฐานกรณเปน ตน ๒. สนธิ ตอ อักษรที่อยูใ นคำอื่นใหเ นอื่ งเปนอนั เดยี วกนั เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 8

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 9 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ๓. นาม แจกช่ือคน สัตว ท่ี สิ่งของ และสภาพตางๆ, สัพพนาม แจกศัพทท่ีสำหรับใชแทนนามท่ีออกช่ือมาแลวเพื่อจะได ๔. สมาส ไมเ รียกซำ้ ใหร กโสต พรอมทงั้ ลงิ ค วจนะ วภิ ัตติ ๕. ตัทธิต ยอ นามตั้งแตส องบทขน้ึ ไป เขาเปน บทเดียวกนั ๖. อาขยาต ใชป จจัยแทนศัพทใ หน อยลง มเี น้อื ความไดเต็มที่ แจกกิริยาศัพท พรอมท้ัง วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ๗. กติ ก ทำใหร วู าจก ๘. อุณณาทิ ใชป จจยั เปน เครอ่ื งหมายใหร สู าธนะหรือกาล ๙. การก มีวธิ ใี ชค ลายกติ ก แตมกั เปน ปจเจกปจจยั โดยมาก เปนเครื่องแสดงลักษณะของคำพดู ถานับรวมท้ัง ฉันทลักษณะ ที่ทานจัดไวเปนหมวดหน่ึงตางหาก มิไดสงเคราะห เขาในมูลกจั จายน กเ็ ปน ๑๐ หมวด เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 9

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 10 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ แบบประเมนิ ผลตนเองกอนเรียน หนวยที่ ๑ วัตถปุ ระสงค เพื่อประเมินผลความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเร่ือง “ความรู คำช้ีแจง เบ้ืองตน เกี่ยวกบั บาลีไวยากรณ” ใหนักเรียนอานคำถาม แลว เขยี นวงกลมลอ มรอบขอคำตอบที่ถูกตอง ทส่ี ุดเพียงขอเดียว ๑. ภาษาบาลมี ถี ิน่ กำเนิดมาจากประเทศอะไร? ก. อินเดีย ข. ศรีลังกา ค. ไทย ง. พมา ๒. คำวา “ภาษาทมี่ ีแบบแผน” เปนความหมายของคำใด? ก. บาลภี าษา ข. มคธภาษา ค. ตนั ตภิ าษา ง. มลู ภาษา ๓. คำวา “มคธภาษา” หมายถึงขอ ใด? ก. ภาษาของชาวมคธ ข. ภาษาที่เกิดในแควนมคธ ค. ภาษาท่พี ระพุทธเจาใชประกาศศาสนาครงั้ แรก ง. ถกู ทกุ ขอ ๔. คำวา “บาล”ี มีวิเคราะหว าอยางไร? ก. ปาลึ วฺยากโรตีติ ปาลี ข. ตนฺตึ ปาเลตตี ิ ปาลี ค. พุทธฺ วจนํ ปาเลตตี ิ ปาลี ง. วยฺ ากรณํ ปาเลตตี ิ ปาลี ๕. คำวา “บาลี” มีรากศพั ทมาจากศพั ทใด? ก. ปาล+ณี ข. ปาล+อิ ค. ปาล+ณยฺ ง. ปาล+อี ๖. คำวา “ไวยากรณ” มีรากศพั ทม าจากศัพทใด? ก. วิ+กรฺ+ณ ข. วิ+กรฺ+ยุ ค. ว+ิ ย+กร+ฺ ณี ง. วิ+กรฺ+อ ๗. คำวา “บาล”ี หมายถึงอะไร? ก. ภาษาทีร่ ักษาไวซ ึ่งพระพทุ ธพจน ข. ภาษาท่ีมแี บบแผน ค. ภาษาทเ่ี กิดในอนิ เดยี ง. ภาษาของชาวมคธ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 10

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 11 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ ๘. คำวา “ไวยากรณ” หมายถงึ อะไร? ก. ปกรณอนั ประกอบพรอ มแลวดวยวาจาอนั เปนเคร่อื งกระทำใหแจง ข. วธิ กี ารแยกศพั ท ค. วิธีการประกอบศพั ท ง. ความรงุ เรืองของภาษา ๙. คำวา “บาลีไวยากรณ” หมายถึงอะไร? ก. วธิ กี ารแยกศัพทบาลี ข. วธิ ีการประกอบศัพทบาลี ค. ปกรณอ นั ประกอบพรอ มแลว ดว ยวาจาเปนเคร่ืองกระทำใหแ จงซง่ึ บาลี ง. ปกรณอ นั ประกอบดวยไวยากรณ ๑๐. คำวา “บาลีไวยากรณ” วิเคราะหม าจากอะไร? ก. พทุ ธฺ วจนํ ปาเลตีติ ปาลเิ วยฺยากรณํ ข. พยฺ ากรเณน สมปฺ ยุตฺตนตฺ ิ ปาลิเวยยฺ ากรณํ ค. ปาลึ วฺยากโรตีติ ปาลิเวยยฺ ากรณํ ง. เวยฺยากรณํ อธเิ ตติ ปาลเิ วยฺยากรณํ ๑๑. บาลไี วยากรณแ บงไวเปน กภี่ าค? ก. ๒ ภาค ข. ๔ ภาค ค. ๘ ภาค ง. ๑๐ ภาค ๑๒. บาลีไวยากรณแ บง ออกเปนกหี่ มวด? ก. ๓ หมวด ข. ๕ หมวด ค. ๗ หมวด ง. ๙ หมวด ๑๓. วจวี ภิ าควาดว ยเรือ่ งอะไร? ก. วา ดว ยอกั ษร ข. วาดวยการแบงคำพดู ออกเปน ๖ สวน มีนามเปนตน ค. วาดวยการก ง. วา ดว ยวิธแี ตงฉนั ท เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 11

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 12 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ๑๔. การตออักษรท่ีอยใู นคำอน่ื ใหเ นอ่ื งเปนอันเดียวกัน คือความหมายของขอ ใด? ก. สนธิ ข. นาม ค. สมาส ง. กิตก ๑๕. ตัทธติ คืออะไร? ก. ยอนามตง้ั แตส องบทขึ้นไปเขาดวยกัน ข. ใชปจ จัยแทนศพั ทใหนอยลงมเี นือ้ ความไดเตม็ ที่ ค. ใชป จ จยั เปนเครอื่ งหมายใหร สู าธนะหรือกาล ง. แสดงอักษรพรอมทัง้ ฐานกรณ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 12

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 13 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรยี น หนว ยที่ ๑ วัตถุประสงค เพอื่ ประเมนิ ผลความกา วหนา ของนกั เรียนเก่ยี วกับเรอ่ื ง “ความรู คำช้แี จง เบือ้ งตนเกย่ี วกับบาลีไวยากรณ” ใหนักเรียนอา นคำถาม แลวเขยี นวงกลมลอ มรอบขอคำตอบท่ี ถกู ตอ งท่ีสุดเพียงขอ เดยี ว ๑. คำวา “บาล”ี มีวิเคราะหวาอยา งไร? ก. วฺยากรณํ ปาเลตตี ิ ปาลี ข. ตนตฺ ึ ปาเลตตี ิ ปาลี ค. พุทฺธวจนํ ปาเลตีติ ปาลี ง. ปาลึ วยฺ ากโรตีติ ปาลี ๒. คำวา “ไวยากรณ” มาจากรากศัพทใด? ก. ว+ิ ย+กร+ฺ ณี ข. ว+ิ กรฺ+อ ค. ว+ิ กรฺ+ณ ง. ว+ิ กร+ฺ ยุ ๓. คำวา “ไวยากรณ” หมายถงึ อะไร? ก. ความรุงเรืองของภาษา ข. วิธีการแยกศพั ท ค. วิธีการประกอบศัพท ง. ปกรณอ นั ประกอบพรอมแลวดว ยวาจาอันเปนเครอ่ื งกระทำใหแ จง ๔. คำวา “บาลีไวยากรณ” มีวเิ คราะหว า อะไร? ก. ปาลึ วฺยากโรตีติ ปาลเิ วยฺยากรณํ ข. พยฺ ากรเณน สมปฺ ยตุ ฺตนฺติ ปาลิเวยฺยากรณํ ค. พุทธฺ วจนํ ปาเลตตี ิ ปาลเิ วยฺยากรณํ ง. วฺยากรณํ อธิเตติ ปาลิเวยฺยากรณํ ๕. ภาษาบาลีมีถ่ินกำเนิดมาจากประเทศอะไร? ก. ไทย ข. ศรลี งั กา ค. อนิ เดีย ง. พมา เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 13

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 14 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ ๖. คำวา “มคธภาษา” หมายถงึ ขอ ใด? ก. ภาษาของชาวมคธ ข. ภาษาท่เี กดิ ในแควนมคธ ค. ภาษาทพ่ี ระพทุ ธเจาใชประกาศศาสนาครงั้ แรก ง. ถูกทุกขอ ๗. คำวา “บาล”ี หมายถงึ อะไร? ก. ภาษาท่รี ักษาไวซ่งึ พระพุทธพจน ข. ภาษาทม่ี ีแบบแผน ค. ภาษาท่เี กดิ ในอินเดยี ง. ภาษาของชาวมคธ ๘. คำวา “บาล”ี มีรากศัพทมาจากศัพทใ ด? ก. ปาล+อี ข. ปาล+อิ ค. ปาล+ณี ง. ปาล+ณฺย ๙. คำวา “บาลไี วยากรณ” หมายถงึ อะไร? ก. วิธกี ารแยกศพั ทบ าลี ข. วิธกี ารประกอบศพั ทบ าลี ค. ปกรณอันประกอบดวยไวยากรณ ง. ปกรณอ ันประกอบพรอ มแลว ดวยวาจาเปนเครื่องกระทำใหแจง ซึง่ บาลี ๑๐. คำวา “ตันตภิ าษา” มคี ำจำกดั ความวา อยา งไร ? ก. ภาษารกั ษาพระพทุ ธพจน ข. ภาษาของชาวมคธ ค. ภาษาอนั เปน มูลเคา ง. ภาษาทมี่ ีแบบแผน ๑๑. บาลีไวยากรณแบง ไวเ ปน ก่ภี าค? ก. ๒ ภาค ข. ๔ ภาค ค. ๘ ภาค ง. ๑๐ ภาค ๑๒. บาลีไวยากรณแบง ออกเปนก่หี มวด? ก. ๓ หมวด ข. ๕ หมวด ค. ๗ หมวด ง. ๙ หมวด เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 14

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 15 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ๑๓. บาลไี วยากรณภาคใดทแ่ี บง คำพูดออกเปน ๖ สวน มี นาม เปนตน? ก. อักขรวิธี ข. วจีวิภาค ค. วากยสัมพนั ธ ง. ฉันทลักษณะ ๑๔. การตออักษรทอ่ี ยูใ นคำอ่ืนใหเ นอ่ื งเปนอนั เดยี วกัน คือความหมายของขอใด? ก. สนธิ ข. นาม ค. สมาส ง. กติ ก ๑๕. บาลีไวยากรณห มวดใดทีใ่ ชป จ จยั แทนศัพทใหนอ ยลงมีเนื้อความไดเต็มที่? ก. สมาส ข. ตทั ธิต ค. อุณณาทิ ง. การก เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 15

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 16 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ เฉลยแบบประเมินผลตนเอง หนว ยท่ี ๑ ขอ กอนเรียน หลงั เรยี น ๑. ก ค ๒. ค ง ๓. ง ง ๔. ค ก ๕. ก ค ๖. ข ง ๗. ก ก ๘. ก ค ๙. ค ง ๑๐. ค ง ๑๑. ข ข ๑๒. ง ง ๑๓. ข ข ๑๔. ก ก ๑๕. ข ข เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 16

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 17 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ แผนการสอนวชิ าบาลไี วยากรณ หนว ยท่ี ๒ เรือ่ ง นามศพั ท เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั ศึกษาโครงสรางและความหมายของนามศพั ทแตล ะประเภท เพอ่ื ใหน ักเรียน มคี วามรพู น้ื ฐานในการจำแนกนามศพั ทแตละประเภทไดถ กู ตอ ง จุดประสงค ๑. เพอื่ ใหนักเรียนๆ รูแ ละเขาใจความหมายของศัพทไ ดอ ยา งถกู ตอง ๒. นักเรียนสามารถแยกประเภทของนามศพั ทไ ด ๓. นกั เรียนสามารถอธบิ ายความหมายของนามศพั ทแ ตละประเภทได เนอ้ื หา ๑. นามศพั ท ๒. นามนาม ๓. คุณนาม ๔. สพั พนาม กิจกรรม ๑. ประเมนิ ผลกอ นเรยี น ๒. ครนู ำเขา สูบ ทเรียน และอธิบายเนอื้ หา ๓. นกั เรยี นตั้งปญ หาเกีย่ วกบั เนอื้ หาท่ีสอน ๔. บัตรคำ ๕. ครสู รุปเน้อื หาท้งั หมด ๖. ประเมินผลหลังเรยี น 17

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 18 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ๗. ใบงาน ๘. กิจกรรมเสนอแนะ - แบงกลุม คนศพั ทน ามศพั ทแ ตละประเภท แลว นำมาเสนอ - แบง กลมุ ตอคำศัพทบนกระดานตามประเภทของนามศัพท โดยครูเขยี นชองของนามศัพทแตละประเภท แลว ใหนกั เรียน เขยี นคำตามประเภทของนามศัพทใ นชอ ง สอ่ื การสอน ๑. ตำราที่ใชประกอบการเรยี น-การสอน ๑.๑ หนงั สอื พระไตรปฎ ก ๑.๒ หนงั สอื พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบญุ สำนักเรียนวัดปากนำ้ ๑.๓ หนงั สือพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สือพจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต) ๑.๕ หนงั สือบาลไี วยากรณ นพิ นธโดย สมเด็จพระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สือปาลทิ เทส ของสำนกั เรยี นวดั ปากน้ำ ๒. อุปกรณทีค่ วรมีประจำหอ งเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบอรด ๒.๒ เครอื่ งฉายขามศรี ษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพวิ เตอร - โปรเจคเตอร ๓. บัตรคำ ๔. ชารต แสดงโครงสรางของนามศพั ท ๕. ใบงาน ๕.๑ ใหนกั เรียนคนคำศัพทท ่ใี หว าเปน นามศพั ทชนิดใด ๕.๒ ใหนักเรียนประกอบศพั ทค ุณนามทใ่ี หเ ปน ช้นั ตา งๆ 18

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 19 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ วธิ ีวดั ผล-ประเมินผล ๑. สอบถามความเขา ใจ ๒. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว นรวมในกจิ กรรม ๓. สังเกตความกา วหนา ดา นพฤติกรรมการเรยี นรขู องผูเ รียน ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอ นเรยี น-หลังเรยี น 19

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 20 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ นามศพั ท โครงสรา งของนามศัพท นามศพั ทนั้น ประกอบดว ยโครงสรางหลัก ๓ อยา ง คอื :- นามนาม คณุ นาม สัพพนาม - สาธารณนาม - ปกติ - ปรุ ิสสพั พนาม - อสาธารณนาม - วิเสส - วเิ สสนสพั พนาม - อตวิ เิ สส ความหมายของนามศัพท สรรพส่ิงในโลก ทั้งท่ีมีวิญญาณและไมมีวิญญาณ หรือทั้งท่ีเปนนามธรรม และรปู ธรรม จะเปน คน สัตว ท่ี สงิ่ ของ และสภาพ อยางใดอยางหนึ่ง เม่อื ยังไมม ใี คร สมมตชิ อ่ื เรียก สักแตวาเปน คน สตั ว ที่ สง่ิ ของ และสภาพเทานั้น เรียกวา นาม เสียงหรือสำเนียงก็ดี อักษรที่ใชแทนสำเนียงก็ดี ซ่ึงปรากฏเปนถอยคำได เชน ปตุ โฺ ต-บุตร, ทกโฺ ข-ขยัน เปน ตน เรียกวา ศัพท ความหมายของคำวา “นาม” คำวา “นาม” น้นั ไดมนี ักวชิ าการหลายแขนงใหค ำจำกัดความแตกตางกันออก ไป ดังตอ ไปน้ี นาม (นปุ. ) ความนอ มไป, ความนอ มไปในอารมณท ้ัง ๖, ช่ือ, นามคอื คำชนิด หน่ึงในไวยากรณ สำหรับเรียก คน สัตว ท่ี และสิ่งของตางๆ หรือชื่อสิ่งที่มิใชรูป คือจิตและเจตสิก เรียกวา นามธรรม หรือ อรูปธรรม ซึ่งเปน คกู นั กบั รปู ธรรม. ว.ิ นมยฺ เต อตฺเถสวฺ ติ ิ นามํ. นาเมหิ นามยตตี ิ วา นามํ. ส. นามนฺ. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 20

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 21 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ นาม (อัพ.นิบาต) ชื่อวา, ขึ้นชื่อวา, ธรรมดาวา. ลงใน ครห ปสํสน สฺา ปฺห. รูปฯ ๒๘๒ ส.นาม (หนังสือพจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบุญ สำนักเรียนวัดปากน้ำ จัดพิมพ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๓๘๒) นาม, นาม- (นามมะ) น. ชื่อ, ราชาศัพทวา พระนาม, คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ สำหรับเรียก คน สัตว และส่ิงของตางๆ ; สิ่งท่ีไมใชรูป คือ จิตใจ, คูกับ รูป (ป.).(หนังสือพจนานุกรมฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๔๓๘) นาม ธรรมท่ีรูจักกันดวยชื่อ กำหนดรูดวยใจ เปนเร่ืองของจิตใจ, ส่งิ ทไี่ มมีรปู ราง ไมใชรูปแตนอ มมาเปน อารมณของจิตใจได ๑. ในท่ีท่ัวไปหมายถึงอรูปขันธ ๔ คือเวทนาสัญญาสังขาร- วิญญาณ ๒. บางแหงหมายถึงอรูปขันธ ๔ นั้นและนิพพาน (รวมท้ัง โลกตุ ตรธรรมอน่ื ๆ) ๓. บางแหงเชนในปฏิจจสมุปบาท บางกรณี หมายเฉพาะเจตสิก- ธรรมท้ังหลาย เทียบ รูป (หนังสือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก [ป.อ. ปยตุ ฺโต] หนา ๑๒๐) ในหนงั สือคูม ือเลม น้ีจะใหความหมายวา นาม หมายถึง สรรพสงิ่ ทั้งท่มี ี วญิ ญาณและไมม วี ิญญาณ ซึง่ ยังมไิ ดสมมตชิ ือ่ ความหมายของคำวา “ศพั ท” คำวา “ศัพท” น้ัน ไดมีนักวิชาการหลายแขนงใหคำจำกัดความแตกตางกัน ออกไป ดังตอ ไปน้ี สทฺท (ว.ิ ) ออกเสยี ง กลา ว, เปลง , รอ งเรียก, ทอ ง, สาธยาย สทฺท (ป.ุ ) การกลาว ฯลฯ เสียง, สำเนียง, คำ, ถอยคำ, คำพูด, คำกลาว, ศัพท. วิ. สทฺทียตีติ สทฺโท. สทฺทฺเน, อ. แปลง 21

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 22 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ท่ีสุดธาตุเปน ทฺท. สปนฺติ อเนนาติ วา สทฺโท. สปฺสม วาเย. โท ทวฺ ติ ตฺ ํ, ปโฺ ลโป. (หนังสือพจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบุญ สำนักเรียน วดั ปากนำ้ จัดพิมพ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๗๐๐) ศัพท-, ศัพท (สับทะ, สับ) น. เสียง, คำ, คำยากที่ตองแปล; เรื่อง (ส. ศพฺท; ป. สทฺท วา เสียง, คำ). (หนังสือพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๗๖๘) ในหนงั สือคมู ือเลม นี้จะใหความหมายวา ศพั ท หมายถงึ เสยี ง หรือ อักษร และสัญลกั ษณ ๑ ทใ่ี ชแ ทนเสียง ประเภทของศัพทใ นภาษาบาลี ศพั ทใ นภาษาบาลี แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ ๑. สัญชาตศิ พั ท ไดแก คำพดู ดงั้ เดมิ ทคี่ น หามลู เดมิ ไมได เชน กํ - น้ำ, ขํ - ฟา, กุ - แผนดนิ , ดนิ นำ้ ไฟ ลม เปน ตน ๒. สัญญัติศัพท ไดแก คำพูดผสมที่ปรุงแตงมาจากธาตุและปจจัยตางๆ สำเรจ็ มาโดยสาธนะวธิ แี หงนามกติ กบาง อยา งอ่นื บาง ตวั อยา งภาษาบาลี เชน พทุ โฺ ธ มาจาก พธุ ฺ ธาตุ ในความตรัสรู ลง ต ปจ จัย ในกริ ยิ ากิตก แปลวา พระพุทธเจา , ตรสั รูแลว เปนตน ตัวอยางภาษาไทย เชน โรงเรียน มาจากคำวา โรง+เรียน เปนตน รวมความหมายของนามศพั ท คำวา “นามศัพท” ก็คือการเอาคำ ๒ คำน้ี คือ นาม + ศพั ท มารวมกนั โดย มีความหมายวา เสียงหรอื สำเนียง และสัญลักษณท บ่ี ง ถึงช่อื ๑ สัญลักษณ หมายถึง การแสดงกิริยาอาการที่สามารถส่ือความหมายในสังคมน้ัน ๆ เชน ในสังคมไทย การพยักหนา หมายถึง การยอมรับ, การสั่นศีรษะ หมายถงึ การปฏเิ สธ เปน ตน หรือ อวจั นภาษา นัน่ เอง. 22

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 23 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ประเภทของนามศพั ท นามศพั ทน ้นั แบงออกเปน ๓ คอื นามนาม ๑ คุณนาม ๑ สพั พนาม ๑ นามนาม คำวา “นามนาม” น้ันมาจากคำ ๒ คำ คือ นาม + นาม นามตัวแรก หมายถงึ ชอื่ ของ คน สตั ว ท่ี ส่งิ ของ นามตัวทีส่ อง หมายถึง ช่อื ทีถ่ ูกสมมติใหเ ปน ช่อื ของนาม นามทเ่ี ปนช่อื ของคน สตั ว ท่ี สิง่ ของ เรียกวา นามนาม นามนาม แปลวา ชือ่ ของชื่อ หมายความวา การตงั้ ช่อื ใหกบั คน สัตว ที่ ส่งิ ของ ประเภทของนามนาม นามนามแบง ออกเปน ๒ ประเภท คอื สาธารณนาม ๑ อสาธารณนาม ๑ ๑. สาธารณนาม คอื ช่ือท่ที ั่วไปแก คน สตั ว ท่ี สิง่ ของ หรอื ชอ่ื ทไ่ี มเจาะจง เชน มนุสโฺ ส - มนษุ ย, ตริ จฉฺ าโน - สัตวดิรจั ฉาน, นครํ - เมอื ง เปนตน ๒. อสาธารณนาม คอื ช่อื ทีไ่ มท ว่ั ไปแก คน สตั ว ที่ สง่ิ ของ หรือช่อื ทเี่ ฉพาะ เจาะจง เชน พมิ พฺ ิสาโร - พระเจา พิมพสิ าร, เอราวโณ - ชา งชือ่ เอราวรรณ เปน ตน คณุ นาม คุณนาม หมายถึง นามที่แสดงลักษณะของนามนาม (คน สัตว ที่ ส่ิงของ ที่ต้ังช่ือแลว) เพ่ือเปนเคร่ืองหมายใหรูวา นามนามน้ัน ดีหรือชั่ว, สูงหรือต่ำ, ดำหรือ ขาว เปนตน ประเภทของคณุ นาม คณุ นามแบง ออกเปน ๓ ช้นั คอื ปกติ ๑ วิเสส ๑ อตวิ เิ สส ๑ ๑. ชั้นปกติ คอื คุณนามทแ่ี สดงลกั ษณะของนามนามธรรมดา ไมมพี เิ ศษอะไร 23

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 24 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ ขอ สงั เกต ภาษาไทย ไมม คี ำวา กวา ยิง่ เกิน ลว ง เชน นางสมศรีสวย, นายรวยดี เปนตน ภาษาบาลี ไมมีปจจัยตอทาย และไมมีอุปสัคและนิบาตนำหนา เชน ปณฺฑโิ ต - เปนบัณฑิต, ปาโป - เปนบาป, มหนโฺ ต - ใหญ เปน ตน ๒. ช้ันวิเสส คือ คุณนามที่แสดงลักษณะของนามนาม ขั้นดีกวาชั้น ปกตเิ ลก็ นอย ขอ สงั เกต ภาษาไทย มีคำวา กวา ยง่ิ เกนิ ลว ง เชน นายแดงรวยกวา นายดำ ภาษาบาลี มปี จจัยคือ ตร อิย ตอ ทา ย และมอี ปุ สัคคือ อติ นำหนา เชน ปณฺฑิตตโร - เปนบัณฑิตกวา, ปาปโย - เปนบาปกวา, อติปณฑฺ ิโต - เปนบณั ฑิตยงิ่ เปน ตน ๓. ชั้นอตวิ เิ สส คือ คณุ นามท่แี สดงลักษณะของนามนาม ขั้นดที ีส่ ดุ ขอสังเกต ภาษาไทย มีคำวา ท่ีสุด, เกินเปรียบ, ย่ิงนัก เชน นายยอดดีท่ีสุด, นายสมชายเกง ย่งิ นัก เปน ตน ภาษาบาลี มีปจจัยคือ ตม, อิฏ ตอทาย มีอุปสัคและนิบาตคือ อติวิย นำหนา เชน อติวิยปาโป - เปนบาปย่ิงนัก, ปณฺฑิตตโม - เปน บัณฑติ ทส่ี ดุ , กนฏิ โ  - นอยท่สี ดุ เปน ตน สพั พนาม สัพพนาม หมายถึง นามท่ีเปนช่ือสำหรับใชแทนนามนามท่ีออกช่ือมาแลว ขางตน เพ่อื มิใหเปนการกลาวซ้ำ ๆ ซาก ๆ ซง่ึ ฟงแลว ไมไพเราะเสนาะโสต เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 24

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 25 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ ประเภทของสพั พนาม สพั พนามแบง ออกเปน ๒ คือ ปุริสสัพพนาม ๑ วิเสสนสัพพนาม ๑ ๑. ปุริสสัพพนาม หมายถึง คำที่ใชแทนชื่อนามนามโดยตรง เชน ทาน เจา สู เอง็ มึง เปนตน ตามสถานภาพทางสงั คมของแตละบคุ คล ๒. วิเสสนสัพพนาม ไมไดเปนคำพูดท่ีใชแทนตัวนามนามโดยตรงทีเดียว มีลักษณะคลายกับคุณนามแตก็ไมไดเปนคุณนามแมเพียงโดยปริยาย เมื่อใชประกอบ เขากับนามนามตัวใด ก็มุงหมายเพื่อใชนามนามตัวน้ันปรากฏแนชัดขึ้น ท้ังเปนการ แสดงใหร คู วามตา งกันแหงนามนามนั้นกับนามนามอน่ื ซ่ึงไดอ อกชือ่ มาแลว ดวย อน่ึง วิเสสนสัพพนามนี้ สำหรับบอกความกำหนดแนนอน และใหรูวานาม นามน้ันอยใู นท่ใี กลห รอื ไกล ความสมั พันธของนามศพั ท นามศพั ทท ้งั ๓ คอื นามนาม คณุ นาม สพั พนาม ยอ มมีความเกี่ยวเนอื่ งกนั จะขาดอยางใดอยางหน่ึงไมได เพราะวานามนามเปนประธานของนามศัพท คุณนาม เปนสิ่งแสดงถึงลักษณะของนามนามวาเปนอยางไร สวนสัพพนามเปนของใชแทนชื่อ ของนามนามที่ไดออกช่ือนามนามมาแลวขางตน ถาขาดสัพพนามก็ยังจัดวาเปนการ บกพรอง ไมไพเราะหู ในนามศัพทท้ัง ๓ นามนามถือวาเปน สิง่ สำคัญทส่ี ุด เพราะถาไมมีนามนามแลว คณุ นามและสพั พนามจะเกดิ ขน้ึ มาไมไ ด อนงึ่ นามศพั ทท ้งั ๓ ตอ งประกอบเครอื่ งปรงุ ๓ อยาง คอื ลงิ ค วจนะ และ วภิ ัตติ (ซงึ่ จะไดอ ธิบายในหนว ยตอ ไป) 25

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 26 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ แบบประเมินผลตนเองกอ นเรียน หนว ยที่ ๒ วัตถุประสงค เพ่ือประเมินผลความรเู ดมิ ของนกั เรยี นเก่ยี วกับเรอื่ ง “นามศพั ท” คำชีแ้ จง ใหน กั เรียนอา นคำถาม แลวเขยี นวงกลมลอ มรอบขอคำตอบท่ี ถูกตองทสี่ ุดเพียงขอเดียว ๑. นามศัพทแ บง ออกเปน ๓ ประเภท คืออะไรบา ง ? ก. ปกตินาม วิเสสนาม อติวเิ สสนาม ข. นามนาม คณุ นาม สพั พนาม ค. สาธารณนาม อสาธารณนาม สาธารณาสาธารณนาม ง. นยิ มนาม อนยิ มนาม นิยมานิยมนาม ๒. คำวา “อติปาโป - เปนบาปย่งิ ” เปนคณุ นามชัน้ ใด ? ก. ปกติ ข. วเิ สส ค. อตวิ เิ สส ง. มหาวิเสส ๓. คำวา “นครํ - เมอื ง” เปนนามนามประเภทใด ? ก. สาธารณนาม ข. อสาธารณนาม ค. นยิ มนาม ง. วิเสสนาม ๔. คำวา “ทาน” เปน สัพพนามประเภทใด ? ก. อตวิ เิ สสสัพพนาม ข. วิเสสนสัพพนาม ค. สาธารณสัพพนาม ง. ปรุ ิสสัพพนาม ๕. นามท่สี ำหรับใชแทนนามนาม เรียกวาอะไร ? ก. คณุ นาม ข. ปกตินาม ค. อสาธารณนาม ง. สัพพนาม ๖. นามท่ีแสดงลักษณะของนามนาม คอื อะไร ? ก. สัพพนาม ข. นามนาม ค. คณุ นาม ง. อนิยมนาม ๗. สาธารณนาม คืออะไร ? ก. ชอ่ื ท่ีทัว่ ไป ข. นามทเี่ จาะจง ค. นามทใ่ี ชแ ทนนามนามโดยตรง ง. นามที่แสดงลกั ษณะของนามนาม เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 26

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 27 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ๘. คำวา “ท่ีสุด” มอี ยูในคุณนามช้นั ใด ? ก. ปกติ ข. วเิ สส ค. อตวิ ิเสส ง. มหาวิเสส ๙. คำวา “กํ-นำ้ , ข-ํ ฟา ” เปนศัพทประเภทใด ? ก. สัญชาตศิ ัพท ข. สญั ญัติศพั ท ค. ปกติศพั ท ง. สภาวศพั ท ๑๐. ขอใดมใิ ชน ามนาม ? ก. คน ข. สตั ว ค. พระอานนท ง. ขา พเจา เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 27

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 28 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ แบบประเมินผลตนเองหลังเรียน หนว ยที่ ๒ วตั ถุประสงค เพ่ือประเมินผลความกาวหนาของนักเรยี นเกย่ี วกบั เร่ือง “นามศพั ท” คำช้แี จง ใหน กั เรียนทำเคร่ืองหมายถูก (3) และผดิ (2) หนาขอ ตอ ไปน้ี ( ) ๑. นามศัพทแ บง ออกเปน ๒ คอื สาธารณนามและอสาธารณนาม ( ) ๒. นามศัพทห มายถงึ เสยี งหรอื สำเนยี งทบ่ี ง ถงึ ชื่อ ( ) ๓. กรุงเทพมหานคร (เทวมหานคร)ํ จดั เปน อสาธารณนาม ( ) ๔. พระภกิ ษุ (ภกิ ขฺ ุ ) จดั เปน สาธารณนาม ( ) ๕. ปณฑฺ ติ ตโร เปน คุณนามช้นั วเิ สส ( ) ๖. ปาปตโม เปน คณุ นามชัน้ อตวิ เิ สส ( ) ๗. คุณนามเปนนามท่ีใชเ รียกช่ือคน สัตว สงิ่ ของ ( ) ๘. สพั พนาม หมายถึงนามที่แสดงลักษณะอาการของนามนาม ( ) ๙. คุณนามแบง เปน ๒ คอื ปกติ ๑ วเิ สส ๑ ( ) ๑๐. สัพพนามแบงเปน ๓ คอื ปรุ ิสสพั พนาม ๑ อิตถีสัพพนาม ๑ วิเสสนสัพพนาม ๑ ( ) ๑๑. พทุ ฺโธ เปนศพั ทป ระเภทสัญชาตศิ ัพท ( ) ๑๒. สัญญัติศพั ทคือศพั ทท ีผ่ สมปรุงแตงมาจากธาตุและปจจัยตางๆ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 28

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 29 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ เฉลยแบบประเมนิ ผลตนเอง หนว ยที่ ๒ ขอ กอ นเรยี น หลังเรียน ๑. ข 2 ๒. ข 3 ๓. ก 3 ๔. ง 3 ๕. ง 3 ๖. ค 3 ๗. ก 2 ๘. ค 2 ๙. ก 2 ๑๐. ง 2 ๑๑. 2 3 ๑๒. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 29

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 30 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) แผนการสอนวิชาบาลไี วยากรณ หนวยที่ ๓ เร่ือง ลิงค วจนะ วภิ ตั ติ เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั ในภาษาบาลีมีการใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณ เพื่อบงบอกถึงสถานภาพ ของส่ิงน้ันๆ เชน ใชสัญลักษณของเพศบงลักษณะของมนุษยวา เพศชาย-เพศหญิง เปน ตน โดยใชชอื่ เรียกเครือ่ งหมายหรือศพั ทดังกลา ววา ลงิ ค ๆ แปลวา เพศ สง่ิ ทั้งปวงที่ปรากฏข้ึนมาในโลกท่ผี ูพ ูดกลา วถึง เพอื่ ใหรวู าสิง่ นนั้ ๆ มีจำนวน มากหรอื นอ ย เรียกวา วจนะๆ มี ๒ ประเภท คือ เอกวจนะและพหุวจนะ ในภาษาบาลี มีสิ่งท่ีใชแจกหรือจำแนกนามศัพท ใหมีเนื้อความเน่ืองถึงกัน และใชเปน เครื่องหมายบอกวจนะและอายตนบิ าตได เรียกวา วภิ ตั ติ จุดประสงค ๑. เพ่ือใหน กั เรยี น เรยี นรแู ละเขา ใจความหมายของลงิ ค วจนะ วภิ ตั ตไิ ด อยา งถกู ตอง ๒. นกั เรียนแยกประเภทของลงิ ค วจนะ วิภตั ตไิ ด ๓. นักเรยี นสามารถอธิบายความหมายของลงิ ค วจนะ วภิ ัตตไิ ด เนือ้ หา ๑. ลิงค ๒. วจนะ ๓. วภิ ตั ติ กิจกรรม ๑. ประเมินผลกอ นเรยี น ๒. ครูนำเขา สบู ทเรียน 30

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 31 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ ๓. นกั เรยี นต้ังปญ หาเกี่ยวกับเน้ือหาที่สอน ๔. บตั รคำ ๕. ครูสรุปเน้อื หาทัง้ หมด ๖. ประเมินผลหลังเรียน ๗. ใบงาน ๘. กจิ กรรมเสนอแนะ - แบง กลุมไปคน ศัพทของลิงคแลว นำมาเสนอ - แบงกลุม ตอคำศัพทบนกระดานตามประเภทของลิงค โดย ครูเขียนชองของลิงคแตละประเภท แลวใหนักเรียนเขียนคำ ตามประเภทของลงิ คใ นชอ ง สือ่ การสอน ๑. ตำราที่ใชประกอบการเรยี น - การสอน ๑.๑ หนงั สอื พระไตรปฎก ๑.๒ หนงั สือพจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป.หลงสมบญุ สำนักเรียนวัดปากน้ำ จดั พมิ พ ๒๕๔๐ ๑.๓ หนงั สือพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนังสือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยตุ ฺโต) ๑.๕ หนงั สือบาลีไวยากรณ นพิ นธโ ดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สอื ปาลทิ เทส ของสำนักเรียนวดั ปากนำ้ ๒. อุปกรณทีค่ วรมปี ระจำหอ งเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบ อรด ๒.๒ เครื่องฉายขามศีรษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพิวเตอร - โปรเจคเตอร 31

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 32 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) วธิ วี ดั ผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขา ใจ ๒. สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว นรว มในกจิ กรรม ๓. สังเกตความกา วหนาดา นพฤตกิ รรมการเรียนรขู องผเู รียน ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอ นเรยี น-หลังเรียน 32

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 33 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ลิงค ธรรมดาส่ิงท้ังปวงท่ีปรากฏในโลกน้ี ยอมมีเครื่องหมายหรือสัญลักษณบงบอก สถานท่ีหรือลักษณะประจำของส่ิงน้ันๆ เสมอ ตัวอยางเชน เม่ือจะกลาวถึงมนุษยหรือ สัตว เราก็ใชสัญลักษณของเพศบงบอกลักษณะของมนุษยวา เพศชาย-เพศหญิง หรือกำหนดลกั ษณะของสัตวว า เพศผ-ู เพศเมยี เปน ตน ในภาษาบาลีก็เชนเดียวกัน มีการใชสัญลักษณเปนเครื่องบงบอกลักษณะ ของนามศัพท โดยใชชอื่ เรยี กวา ลิงค ความหมายของลงิ ค คำวา “ลิงค” น้ัน ไดมีนักวิชาการหลายแขนง ใหคำจำกัดความหมายไว แตกตางกนั ออกไป ดังตอ ไปน้ี ลงิ ฺค (นป.ุ ) เสียง, อาการ, ลักษณะ, ชนิด, อยาง, รูปพรรณ, นิมิต, นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, ของลับ (องคชาติ), เพศ, ลิงค (ประเภทคำของไวยากรณ). ลิงฺคฺ จิตฺตีกรณคมเนสุ, อ. หรือ ลีน+อํค ลบ น รัสสะ แปลงนิคคหิตเปน งฺ. (หนังสือพจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบุญ สำนกั เรยี นวัดปากนำ้ จดั พมิ พ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๖๑๗) ลิงฺค น. เคร่ืองหมาย; ประเภทคำในไวยากรณที่บอกใหรูวา คำน้ันเปนเพศอะไร เชน ปุงลิงคคือเพศชาย อิตถีลิงค คือเพศหญิง; ลิงค ก็วา (ป.,ส.). (พจนานุกรม ฉบับ ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๗๒๓) ลงิ ค เพศ, ในบาลีไวยากรณม ี ๓ อยา ง คอื ปงุ ลิงค เพศชาย, อิตถีลิงค เพศหญิง, นปุงสกลิงค มิใชเพศชายมิใช เพศหญิง (พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดยพระธรรมปฎ ก [ป.อ. ปยตุ โฺ ต] พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๒๕๘) เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 33

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 34 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ในหนังสือคูมือเลมนี้ จะใหความหมายของคำวา “ลิงค” เชนเดียวกันกับ นกั วิชาการทา นอน่ื ๆ คอื หมายถงึ “เพศ” ประเภทของลิงค ลงิ คน้นั แบง เปน ๓ ประเภท คอื ๑. ปงุ ลงิ ค แปลวา เพศชาย เพศหญงิ ๒. อิตถลี งิ ค แปลวา มิใชเพศชาย มิใชเ พศหญิง ๓. นปงุ สกลงิ ค แปลวา ลิงคนนั้ ยังจดั เปน ประเภทไดอีก ๒ อยางคอื ๑. จัดโดยกำเนิด คือ เปนไปตามธรรมชาติ เชน ปุริโส - ชาย จัดเปน ปุงลงิ ค, อิตฺถ-ี หญงิ จัดเปนอติ ถลี งิ ค เปน ตน ๒. จดั โดยสมมติ คือ ไมต รงกับธรรมชาติ เชน ศัพทวา ทาโร - เมยี สมมติ ใหเ ปนปงุ ลิงค, ภมู ิ - แผนดนิ สมมตใิ หเปน อติ ถลี งิ ค เปน ตน นามศัพทเปนลิงคตางกนั ดงั นี้ นามนามบางศัพทเปนลิงคเดียว คือจะเปนปุงลิงค อิตถีลิงค หรือ นปุงสกลิงค ก็เปนไดอ ยางเดยี ว เชน อมโร เปน ปงุ ลงิ คอยางเดียว อจฺฉรา เปน อิตถลี งิ คอ ยา งเดียว องคฺ ํ เปน นปุงสกลิงคอ ยา งเดยี ว นามนามบางศพั ทมีรปู อยา งเดียวกันแตเ ปน ได ๒ ลิงค คือ ปุงลิงคและ นปงุ สกลิงค เชน ศพั ทวา อกฺขร ถาเปน ปุงลิงค มีรปู เปน อกฺขโร ถา เปนนปุงสกลิงค มรี ปู เปน อกขฺ รํ เปนตน เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 34

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 35 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ นามนามบางศัพทมีรากศัพทเปนอยางเดียวกัน เปล่ียนแตสระที่สุด ศพั ทเทา นนั้ เปนได ๒ ลิงค คือ ปงุ ลงิ คแ ละอติ ถลี ิงค เชน ศพั ทวา กุมาร ถาเปน ปุงลิงค มรี ปู เปน กุมาโร ถาเปนอติ ถีลงิ ค มรี ปู เปน กมุ ารี เปน ตน คณุ นามและสพั พนามเปนไดท้ัง ๓ ลิงค คุณนาม เชน ศัพทว า กมฺมการ กมฺมกาโร ถาเปนปุงลิงค มรี ปู เปน กมฺมการนิ ี ถาเปนอติ ถีลิงค มีรปู เปน กมฺมการํ เปนตน ถาเปน นปุงสกลิงค มีรปู เปน โส สพั พนาม เชน ต ศัพท สา ถา เปนปงุ ลงิ ค มีรปู เปน ตํ เปนตน ถา เปนอิตถลี ิงค มีรูปเปน ถา เปนนปุงสกลิงค มีรูปเปน ประโยชนข องลงิ ค ลิงคน ั้นมปี ระโยชนตอ การเรยี นภาษาบาลี ๓ ประการ คอื ๑. เพอ่ื กำหนดใหร ูวา ศพั ทใ ดเปน ลงิ คใ ด ใน ๓ ลงิ ค นนั้ ๒. เพื่อเปนประโยชนใ นการแจกวภิ ัตติ ๓. เพ่ือเปนประโยชนในการนำนามศพั ทไ ปแจกตามการันต เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 35

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 36 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ วจนะ คำพูดท่ีระบุถึงจำนวนของนามศัพทวามีมากหรือนอย ในภาษาบาลีเรียกวา วจนะ ความหมายของวจนะ คำวา “วจนะ” น้ัน ไดมีนักวิชาการหลายแขนง ใหคำจำกัดความหมาย แตกตา งกันออกไป ดงั ตอ ไปน้ี วจน (นปุ.) ถอยคำ, คำพดู , คำกลาว, การพูด, การกลาว, คำ, ดำรัส, พระดำรัส พระพุทธดำรัส พระพุทธฎีกา (คำของ พระพุทธเจา ) ว.ิ วจุ ฺจเตติ วจนํ. วจุ ฺจติ อเนนาติ วา วจน.ํ ยุ ปจ . (พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป. หลงสมบญุ สำนักเรยี นวัดปากน้ำ จัดพมิ พ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๖๒๔) วจนะ (วะจะ-) (แบบ) น. คำพูด, ถอยคำ. (ป., ส.) (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๗๔๑) วจนะ คำพดู ; ส่ิงทบี่ ง จำนวนนามทางไวยากรณ เชน บาลมี ี ๒ วจนะ คอื เอกวจนะ บงนามจำนวนเพียงหน่ึง และ พหวุ จนะ บง นามจำนวนตั้งแตสองข้นึ ไป (พจนานุกรม- พุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก [ป.อ. ปยุตโฺ ต] พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๒๖๓) ในคูมือหนังสือเลมนี้ จะใหความหมายของคำวา “วจนะ” เชนเดียวกันกับ นกั วชิ าการทา นอื่น ๆ คือ หมายถึง “คำพูด หรอื ส่งิ ทีบ่ ง จำนวนนาม” ประเภทของวจนะ วจนะแบง ออกเปน ๒ ประเภท คอื เอกวจนะ ๑ พหุวจนะ ๑ ๑. เอกวจนะ หมายถึง คำพูดกลา วถงึ ของสิง่ เดยี ว เชน ปรุ โิ ส – ชายคนเดียว เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 36

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 37 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ ๒. พหุวจนะ หมายถงึ คำพดู กลาวถึงของหลายสิ่ง ตงั้ แตส องสิ่งขึน้ ไป เชน ปุริสา - ชายหลายคน วจนะนั้นยงั แบงออกเปน อกี ๒ ประเภท คอื ทวฺ ิวจนะ และเทฺววจนะ ๑. ทวฺ ิวจนะ หมายถึง บคุ คลหรอื สิง่ ของทม่ี ี ๒ เทา น้ัน เชน ภควนตฺ า ภควนฺเต ซ่ึงจะไดกลาวถงึ โดยละเอียดในเร่ืองวาดว ยกติปยศัพท ๒. เทฺววจนะ หมายถึง ศัพทท่ีสามารถแจกดวยวิภัตติไดท้ัง ๒ วจนะ คือ เอกวจนะและพหุวจนะ เชน ศัพทวา ปุริส ในรูปของปฐมาวิภัตติ ฝายเอกวจนะ = ปุริโส, ฝายพหุวจนะ = ปุริสา เปนตน เพราะศัพทบางศัพทเปนไดเพียงวจนะเดียว เทา น้ัน เชน อตตฺ (ตน) เปน เอกวจนะอยางเดยี ว, ปฺจ (๕) เปน พหุวจนะ อยา งเดียว ขอ เหมือนกนั และขอแตกตางระหวางวจนะกบั สงั ขยา ท้งั วจนะทงั้ สงั ขยา ตา งกน็ บั นามนามเหมอื นกนั แตวจนะบอกจำนวนของนามนามยังไมชัดเจน ยังไมระบุชัดลงไปวาเทาไร กันแน เชน ปรุ ิโส - อ.บุรุษ, ปรุ ิสา - อ.บรุ ุษ ท. สวนสังขยานับจำนวนนามนามโดยระบุแนชัดลงไปวามีจำนวนเทานี้ มจี ำนวนเทานั้น เชน เอโก ปุรโิ ส - อ.บุรุษ คนหนึง่ , จตตฺ าโร ปรุ สิ า - อ.บุรุษ ท. ๔ คน หมายเหตุ : วจนะที่ใชในนามนาม เปนเคร่อื งหมายใหร ูว ิภัตติ วจนะทใ่ี ชใ นอาขยาต เปน เครื่องหมายของบรุ ุษ ประโยชนของวจนะ วจนะนั้นมปี ระโยชน ๓ อยา ง คอื ๑. เพื่อเปนเคร่อื งบอกใหร จู ำนวนมากหรือนอย ๒. เพอ่ื ใชแสดงความเคารพ ๓. เพื่อเปนเครือ่ งหมายใหรูวภิ ตั ติ 37

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 38 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) วภิ ตั ติ นามศัพทท่ีประกอบดวยลิงคแลวนั้นยังไมสามารถนำไปใชได หากจะนำไป ใชตองนำไปประกอบวภิ ัตติเสียกอน ความหมายของวภิ ตั ติ คำวา “วิภัตติ” น้ัน ไดมีนักวิชาการหลายแขนง ใหคำจำกัดความหมาย แตกตางกันออกไป ดงั ตอ ไปนี้ วิภตฺติ (อิต.) การแบง, การจำแนก, วิภัตติ ชื่ออักขระซ่ึงทานบัญญัติ ไวในบาลีไวยากรณ สำหรับลงทายนาม มี ๑๔ ตัว มี สิ โย เปนตน เปนเคร่ืองกำหนดคำเชื่อม (อายตนิบาต) และกำหนดลิงคว จนะ อยา ง ๑ สำหรับลงทายธาตุ มี ๙๖ ตวั มี ติ อนฺติ เปน ตน เปนเครอ่ื งกำหนดใหรูกาล เปนตน อยาง ๑. วิปุพฺโพ, ภชฺ ภาชเน, ภาชฺ วิสุกริยายํ วา, ติ. แปลง ชฺ เปน ตฺ ถาต้ัง ภาชฺ พึงรัสสะ อา เปน อ หรือ แปลง ติ เปน ตฺติ ลบที่สุดธาตุ, วิ. กมฺมาทิวเสน จ เอกตฺตาทิวเสน จ ลิงฺคตฺถํ วิภชนฺตี ติ วิภตฺติโย. รูปฯ อาขยาตกัณฑ. (พจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบญุ สำนักเรียนวดั ปากนำ้ จดั พมิ พ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๖๕๗) วภิ ตั ติ (-พัด) น. การแบง, การจัดเปนพวก, การจำแนก; ประเภทคำใน ภาษาบาลีเปนตนที่แปลงทายคำแลวเพ่ือบอกการก หรือกาล (ป.) (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๗๕๗) วิภัตติ ช่ือวิธีไวยากรณภาษาบาลีและสันสกฤต สำหรับแจก ศัพทโดยเปล่ียนทายคำใหมีรูปตางๆ กันเพ่ือบอก การกและกาลเปนตน เชน คำนาม โลโก อ.โลก, โลกํ ซ่ึงโลก, โลกา จากโลก, โลเก ในโลก; คำกิริยา เชน 38

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 39 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ นมติ ยอมนอม, นมตุ จงนอม, นมิ นอมแลว เปนตน (พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก [ป.อ. ปยตุ โฺ ต] พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๒๗๙) ในหนังสือคูมือเลมนี้ จะใหความหมายของคำวา “วิภัตติ” เชนเดียวกันกับ นักวชิ าการทานอ่ืนๆ คือ หมายถึง “แจก หรอื จำแนก” ประเภทของวภิ ตั ติ วิภตั ตนิ นั้ แบงออกเปน ๒ ประเภทกอ น คอื วิภัตตนิ าม ๑ วภิ ัตติอาขยาต ๑ ๑. วิภัตตินาม ใชแจกนามศัพท คือ นามนาม คุณนาม และสัพพนาม เพอ่ื เปนเครอ่ื งหมายใหรูวจนะและอายตนิบาต ๒. วิภัตติอาขยาต ใชแจกธาตุ เพื่อบอกใหรู กาล บท วจนะ และบุรุษ เชน ติ - อนฺต,ิ สิ - ถ, มิ - ม ซ่ึงจะกลาวตอ ไปในตอนทวี่ า ดวยอาขยาต วิภัตตนิ ามแบง เปน ๒ ลกั ษณะ ๑. วาโดยฝา ย มี ๒ ฝาย คอื ๑. เอกวจนะ ๒. พหวุ จนะ ๒. วา โดยหมวด มี ๗ หมวด คอื ๑. ปฐมาวิภัตติ ๒. ทตุ ิยาวภิ ตั ติ ๓. ตติยาวิภัตติ ๔. จตุตถวี ภิ ตั ติ ๕. ปญจมวี ภิ ตั ติ ๖. ฉฏั ฐวี ิภัตติ ๗. สตั ตมีวิภัตติ 39

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 40 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ วิภัตตนิ นั้ มี ๑๔ ตวั แบง เปนเอกวจนะ ๗ พหุวจนะ ๗ ดงั น้ี วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ที่ ๑ (ป.) สิ โย ทุติยา ที่ ๒ (ทุ.) อํ โย ตติยา ที่ ๓ (ต.) นา หิ จตตุ ถี ท่ี ๔ (จ.) ส นํ ปญ จมี ท่ี ๕ (ป.ฺ ) สมฺ า หิ ฉฏั ฐี ที่ ๖ (ฉ.) ส นํ สัตตมี ที่ ๗ (ส.) สมฺ ึ สุ ขอ ควรทราบ ปฐมาวิภัตติใชใ น ๒ ลักษณะ คือ ๑. เปน ลงิ ฺคตฺโถ หรือ กตฺตา ท่ีเปน ตวั ประธานในประโยค - ประโยคท่ีเปนลิงคัตถะ เชน เสฏิโน ปตุ ฺโต ฯ - ประโยคท่เี ปนกตั ตา เชน ภิกขฺ ุ ธมมฺ ํ เทเสติ ฯ ๒. เปน อาลปนํ เปน คำสำหรบั รองเรียก เชน สุณาถ ภิกขฺ เว ฯ ประโยชนข องวภิ ตั ติ วิภัตตนิ ้นั มปี ระโยชน ๓ อยา ง คือ ๑. เพือ่ บอกใหร ูวจนะ ๒. เพ่ือบอกใหรอู ายตนบิ าต ๓. เพื่อกำหนดลงิ คไดแมนยำ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 40

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 41 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ñ แบบประเมนิ ผลตนเองกอ นเรยี น หนว ยที่ ๓ วตั ถุประสงค เพ่อื ประเมนิ ผลความรเู ดิมของนกั เรียนเก่ยี วกับเรอ่ื ง คำชีแ้ จง “ลงิ ค วจนะ วภิ ตั ติ” ใหนักเรียนอานคำถาม แลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคำตอบท่ี ถูกตอ งทส่ี ุดเพยี งขอเดยี ว ๑. ลงิ คใ นภาษาบาลีจดั เปนกปี่ ระเภท? ข. ๓ ประเภท ก. ๒ ประเภท ง. ๕ ประเภท ค. ๔ ประเภท ข. ๓ อยาง ๒. ลงิ คในภาษาบาลีแบงออกเปนก่ีอยาง? ง. ๕ อยา ง ก. ๒ อยาง ค. ๔ อยาง ข. คำบอกจำนวนของนามศพั ท ง. เพศของนามศัพท ๓. คำวา ลิงค หมายถึงอะไร? ก. ลกั ษณะอาการของนามศัพท ข. ๒ ลิงค ค. คำใชแ ทนนามศัพท ง. ถูกทุกขอ ๔. คำวา ทวิ ส - วัน เปนไดก ่ีลงิ ค? ข. ลงิ คโดยสมมติ ก. ๑ ลิงค ง. นปุสกลงิ ค ค. ๓ ลิงค ข. คำกลา วถึงลักษณะของนาม ๕. คำวา ทาโร - เมยี จดั เปน ? ง. คำทีเ่ ปนประธานในประโยค ก. ลิงคโ ดยกำเนิด ค. อิตถลี ิงค ข. ๔ ง. ๘ ๖. วจนะหมายถงึ อะไร? ก. สวนแหงคำพูด ค. คำสำหรบั บอกใหร จู ำนวนของนาม ๗. วจนะทา นแบง ออกเปนเทาไร? ก. ๒ ค. ๖ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 41

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 42 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ ๘. ศพั ทใดตอ ไปนี้เปนเอกวจนะอยา งเดียว? ก. ภควนตฺ า ข. อรหา ค. ปรุ ิสา ง. อตฺตา ๙. ขอ ใดตอ ไปน้มี ใิ ชประโยชนข องวจนะ? ก. เปนเครือ่ งบอกใหร ูจำนวนมากนอ ย ข. ใชแ สดงความเคารพ ค. เปนเครือ่ งหมายใหรวู ภิ ัตติ ง. เปน เคร่อื งหมายใหร ูลงิ ค ๑๐. วจนะอะไรท่บี อกถงึ จำนวนของนามวามี ๒ เทา นนั้ ? ก. เอกวจนะ ข. พหุวจนะ ค. ทฺวิวจนะ ง. เทฺววจนะ ๑๑. คำวา วภิ ตั ติ หมายถงึ อะไร? ก. การแบงจำนวนของนามศพั ท ข. การแบง เพศของนามศพั ท ค. การแบง ลิงคของนามศัพท ง. การแจกหรือจำแนกนามศัพท ๑๒. วิภตั ตนิ ามทั้งหมดมกี ่ตี วั ? ก. ๗ ตัว ข. ๑๔ ตวั ค. ๑๖ ตวั ง. ๒๘ ตัว ๑๓. นา - หิ เปนวิภัตตอิ ะไร? ก. ทตุ ยิ าวิภตั ติ ข. จตุตถวี ิภัตติ ค. สัตตมวี ิภตั ติ ง. ตตยิ าวิภตั ติ ๑๔. ฉัฏฐีวภิ ตั ติ ลงวิภัตติตวั ใดบา ง? ก. สิ - โย ข. ส - นํ ค. สมฺ า - หิ ง. สฺมึ - สุ ๑๕. วิภัตตใิ ดทำหนาทเี่ ปนประธานในประโยค? ก. ปฐมาวภิ ัตติ ข. ตติยาวภิ ัตติ ค. ฉัฏฐีวภิ ตั ติ ง. สัตตมีวภิ ตั ติ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 42

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 43 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ แบบประเมินผลตนเองหลงั เรยี น หนว ยท่ี ๓ วัตถปุ ระสงค เพื่อประเมินผลความกาวหนา ของนักเรียนเก่ยี วกับเรอ่ื ง คำชี้แจง “ลงิ ค วจนะ วิภัตติ” ใหน กั เรียนเขียนขอ อักษรในชอง ข. ไวห นา เลขขอท่ีมคี วามหมาย ตรงกันขา มกบั ชอง ก. ชอ ง ก. ชอง ข. ( ) ๑. คำพดู กลา วถึงของหลายส่งิ ก. ลงิ ค ( ) ๒. บอกใหร จู ำนวน, ใชแสดงความเคารพ ข. วจนะ ( ) ๓. นามนามศัพทเดียวเปน ได ๒ ลงิ ค ค. วภิ ตั ติ ( ) ๔. เปนได ๓ ลงิ ค ฆ. ปงุ ลิงค ( ) ๕. ทตุ ิยาวิภัตติ ง. พหุวจนะ ( ) ๖. การแจกหรือจำแนก จ. ประโยชนข องลงิ ค ( ) ๗. ฉัฏฐีวภิ ัตติ ฉ. ประโยชนของวจนะ ( ) ๘. ลงิ ฺคตโฺ ถ หรือ กตฺตา และอาลปนํ ช. ประโยชนของวิภตั ติ ( ) ๙. บอกใหร จู ำนวนของนาม ฌ. อกฺขโร - อกฺขรํ ( ) ๑๐. เพศชาย ญ. ทาโร ( ) ๑๑. เพศ ฏ. คณุ นามและสพั พนาม ( ) ๑๒. เปน เอกวจนะไดอ ยางเดยี ว ฐ. อตตฺ า ( ) ๑๓. ลงิ คโ ดยสมมติ ฑ. อํ – โย ( ) ๑๔. บอกใหร วู จนะและอายตนบิ าต ฒ. ส – นํ ( ) ๑๕. เปนประโยชนในการแจกวภิ ัตตแิ ละ ณ. ปฐมาวิภตั ติ นำนามศพั ทไ ปแจกตามการนั ต เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 43

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 44 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ เฉลยแบบประเมนิ ผลตนเอง หนว ยที่ ๓ ขอ กอนเรยี น หลังเรยี น ๑. ก ง ๒. ข ฉ ๓. ง ฌ ๔. ข ฏ ๕. ข ฑ ๖. ค ค ๗. ก ฒ ๘. ง ณ ๙. ง ข ๑๐. ค ฆ ๑๑. ง ก ๑๒. ข ฐ ๑๓. ง ญ ๑๔. ข ช ๑๕. ก จ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 44

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 45 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ แผนการสอนวิชาบาลไี วยากรณ หนว ยที่ ๔ เร่ือง อายตนบิ าต และการนั ต เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคัญ ในภาษาบาลีน้ัน มีกลุมคำชนิดหนึ่งซึ่งทำหนาที่เช่ือมความในประโยค ให ติดตอกัน มีความหมายไพเราะและสละสลวย ตามหลักศัพทศาสตร กลุมคำดังกลาว เชน ซึ่ง, ดวย, แก, จาก, ของ, ใน เปน ตน เรียกวา อายตนบิ าต ในการนำนามศพั ทไ ปแจกดวยวภิ ัตตทิ ง้ั ๗ นั้น เบ้ืองตน ตอ งกำหนดสระทส่ี ดุ แหงศัพทกอ น สระท่ีสดุ แหง ศพั ทน้ี ทางภาษาบาลีเรยี กวา การันต จดุ ประสงค ๑. เพอ่ื ใหน กั เรียนมคี วามเขา ใจในการเชื่อมความ ระหวางนามศพั ทแ ละ กริ ยิ าศัพทใ นประโยค ๒. เพ่ือใหนักเรยี นรูจักอายตนิบาตและใชอ ายตนิบาตไดถ กู ตอง ๓. นักเรยี นสามารถแบงอายตนบิ าตตามวภิ ัตตหิ มวดตา งๆ ได ๔. เพื่อใหน กั เรียนเขาใจถึงหนา ทีข่ องการนั ต ๕. เพ่อื ใหนักเรียนกำหนดรศู ัพทน้นั ๆ วา เปน การนั ตใ ดไดอยา งถกู ตอง ๖. นกั เรียนสามารถนำศัพทไ ปแจกไดต ามแบบของลงิ คประเภทนน้ั ๆ เนื้อหา ๑. อายตนบิ าต ๒. การันต กิจกรรม ๑. ประเมนิ ผลกอ นเรยี น ๒. ครูนำเขาสูบทเรยี น และอธบิ ายเนื้อหา 45

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 46 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ๓. ครผู ูกประโยคใหนักเรยี นเติมสำเนียงอายตนิบาตใหถ กู ตอ ง ๔. นกั เรียนตัง้ ปญหาเกยี่ วกบั เน้ือหาทีส่ อน ๕. บัตรคำ ๖. ครูสรุปเน้อื หาท้ังหมด ๗. ประเมินผลหลังเรียน ๘. ใบงาน ๙. กจิ กรรมเสนอแนะ - ครูควรจดั เตรยี มบตั รคำอายตนบิ าตมาดวย สอื่ การสอน ๑. ตำราทีใ่ ชป ระกอบการเรยี น-การสอน ๑.๑ หนังสือพระไตรปฎก ๑.๒ หนงั สอื พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป.หลงสมบญุ สำนักเรียนวดั ปากนำ้ ๑.๓ หนงั สอื พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สอื พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยตุ ฺโต) ๑.๕ หนังสือบาลไี วยากรณ นพิ นธโ ดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจาฯ ๑.๖ หนังสือปาลทิ เทส ของสำนักเรยี นวดั ปากนำ้ ๒. อปุ กรณที่ควรมีประจำหองเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบอรด ๒.๒ เครอื่ งฉายขา มศีรษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพวิ เตอร - โปรเจคเตอร ๓. บัตรคำ 46

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 47 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ñ วธิ ีวดั ผล-ประเมินผล ๑. สอบถามความเขา ใจ ๒. สังเกตพฤตกิ รรมการมีสว นรวมในกจิ กรรม ๓. สังเกตความกา วหนา ดา นพฤติกรรมการเรยี นรขู องผูเรยี น ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอ นเรยี น-หลังเรยี น 47

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 48 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ñ อายตนบิ าต ในภาษาบาลีน้ัน มีกลุมคำชนิดหนึ่งซึ่งทำหนาที่เชื่อมความในประโยค ให ตดิ ตอ กนั มีความหมายไพเราะและสละสลวย เชน มาจากบา น, ไปสูวดั , อยูใ นปา , กิน ซ่ึงอาหาร เปนตน คำวา จาก, ส,ู ใน, ซงึ่ ในภาษาบาลีเรียกวา อายตนิบาต ความหมายของอายตนบิ าต คำวา “อายตนิบาต” น้ัน ไดมีนักวิชาการใหคำจำกัดความไวแตกตางกัน ออกไป ดังตอ ไปนี้ อายตน (นป.ุ ) ท่ีเปนที่มารวมกัน, ที่เปนท่ีมาประชุมกัน, ท่ีเปนที่มา พรอ มกนั , ทีป่ ระชมุ , ที่เปนทตี่ อ , แดนติดตอกนั , เทวาลยั , ทอ่ี ย,ู ประเทศ ที่เกดิ , บา นเกิดเมอื งนอน, บอเกดิ , เหต,ุ ฝูง, ปทบูรณะ (การทำบทใหเต็มใหสละสลวย), ลัทธิ อุ. ตติ ฺถายตนํ ลัทธิเดียรถีย. อายปุพฺโพ, ตนุ วติ ถฺ าเร, อ. อถวา อาปุพฺโพ, ยตฺ ปยตเน, ยุ. ส. อายตน. (พจนานุกรม มคธ- ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบูรณ สำนักเรียนวัดปากน้ำ จดั พมิ พ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๙๖) นปิ าต (ป.ุ ) การตกไปโดยไมเหลือ, การตกไปในระหวาง, การไม เปลยี่ นแปลง, การประชมุ , ความตกไป, นบิ าต คอื คำเรียก อัพยยศัพท มี ป เปนตน อีกอยางหนึ่งเรียกคัมภีรใน พระพุทธศาสนา. นิปุพโฺ พ, ปตฺตเน, โณ. อภฯิ ลง อ ปจ. ส. นิปาต (พจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบรู ณ สำนกั เรียนวดั ปากน้ำ จัดพิมพ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนา ๙๖) อายตนะ (-ยะตะนะ) น. เคร่ืองรูและสิ่งรู เชน ตาเปนเครื่องรู รูปเปนสิ่งรู, ในพระพุทธศาสนา หมายถึง จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กายใจ เรียกวา อายตนะภายใน เปนเคร่ืองติดตอกับ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 48

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 49 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ อายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ. (ป., ส.). นิบาต (-บาด) น. คำที่ใชนำหนาหรือตอทายช่ือคัมภีรในพระพุทธศาสนา เชน สุตตนบิ าต นบิ าตชาดก เอกนบิ าต. (ป., ส.นิบาต). อายตนะ ท่ีตอ, เคร่ืองติดตอ, แดนตอ, ความรู, เคร่ืองรูและส่ิงรู เชน ตาเปนเครื่องรู รูปเปนส่ิงท่ีรู, หูเปนเครื่องรู, เสียงเปน ส่งิ ท่รี ู เปน ตน , จัดเปน ๒ ประเภท คือ อายตนะ ภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ (หนังสือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) หนา ๔๑๑) นิบาต ศัพทภาษาบาลีที่วางไวระหวางขอความในประโยค เพื่อ เชื่อมความหรือเสริมความ เปนอัพยยศัพทอยางหนึ่ง (พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก [ป.อ. ปยุตฺโต] พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๑๒๕) ในหนังสือคูมือเลมนี้ จะใหความหมายของคำวา “อายตนิบาต” วา “คำเชอ่ื มหรอื คำตอ ทต่ี อในระหวางเนอื้ ความนน้ั ๆ ” อายตนิบาตนั้น ใชเชื่อมหรือตอเนื้อความระหวางนามศัพทกับนามศัพท และกิรยิ าศัพทก บั นามศัพท ตัวอยางเชน นาม + อายตนิบาต + นาม - ลูกของพอ , ลิงบนตน ไม กริ ิยา + อายตนิบาต + นาม - ถวายซึง่ ภัตตาหาร, ฟน ดวยมีด. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 49

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 50 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ñ สำเนยี งอายตนิบาต สำเนยี งอายตนิบาตจดั ตามวภิ ัตติทั้ง ๗ ฝายเอกวจนะและพหุวจนะ ดังนี้ :- วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อ. (อนั วา ) อ. -ท. (อนั วา -ท้งั หลาย) ทุ. ซ่งึ , สู, ยัง, ส้ิน, ตลอด, กะ, เฉพาะ ซง่ึ -ท., สู -ท., ยัง -ท., สน้ิ -ท. ตลอด -ท., กะ -ท., เฉพาะ-ท. ต. ดว ย, โดย, อนั , ตาม, เพราะ, มี ดว ย-ท., โดย-ท., อัน-ท., ตาม-ท. เพราะ -ท., มี -ท. จ. แก, เพื่อ, ตอ แก -ท., เพือ่ -ท., ตอ -ท. ป.ฺ แต, จาก, กวา, เหตุ แต- ท., จาก-ท., กวา -ท.,เหต-ุ ท. ฉ. แหง , ของ, เม่ือ แหง -ท., ของ -ท., เม่ือ -ท. ส. ใน, ใกล, ที่, ครน้ั เม่อื , ในเพราะ, ใน-ท., ใกล- ท., ท-่ี ท., ครั้นเม่อื -ท. เหนือ, บน ในเพราะ -ท., เหนอื -ท., บน -ท. อา. แนะ , ดกู อน, ขา แต แนะ -ท., ดกู อ น -ท., ขาแต -ท. ขอ สงั เกต พหุวจนะ ก็ใชสำเนียงอายตนิบาตเหมือนกับเอกวจนะ เพียงแตเพิ่มคำวา “ทงั้ หลาย” ตอ ทาย เชน ซ่ึง.........ท., สู.........ท., ยงั .........ท. เปน ตน อายตนบิ าตตอ งอาศัยวิภตั ติ ถาไมมีวภิ ตั ติ จะบอกสำเนยี งอายตนิบาตไมได ประโยชนข องอายตนิบาต อายตนิบาตเปนประโยชนเกื้อกูลแกภาษา คือ เช่ือมเน้ือความของศัพทให เนื่องกัน ไดเนื้อความชัดเจนและไพเราะข้ึน เปรียบเหมือนดอกไมที่รอยดวยดายและ เขม็ ถา ไมม อี ายตนบิ าตกจ็ ะทำใหเ นอ้ื ความกระจดั กระจายไดค วามไมช ดั เปรยี บเหมอื น ดอกไมท ่ไี มไดร อยดวยดา ยและเขม็ ฉะนั้น เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 1) 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook