สื่อการสอน หน่วยท่ี 1 เครอื่ งมือและอปุ กรณ์เขยี นแบบ วิชาเขยี นแบบเทคนคิ เบื้องตน้ รหัสวิชา 20100-1001 ครผู ู้สอน นายรฐั กร ลำ่ สวย แผนกวชิ าช่างเชอ่ื มโลหะ วิทยาลยั การอาชพี แจ้ห่ม สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
หนว่ ยที่ 1 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์เขยี นแบบ 1. เคร่ืองมืออปุ กรณเ์ ขยี นแบบ เคร่อื งมือและอปุ กรณ์เขียนแบบ มรี ายละเอยี ดดังนี้ 1. โตะ๊ เขียนแบบ(Drawing Table) ลักษณะโตะ๊ เขียนแบบมีสว่ นประกอบที่สำคญั 3 สว่ นดงั นี้ - กระดานทำด้วยไม้อดั ปิดผิวหน้าด้วยโฟเมกา้ - ขาโต๊ะ ทำดว้ ยเหลก็ สี่เหลยี่ ม - สกรูปรับมมุ การใชง้ าน ใช้กับงานเขียนแบบทกุ ชนิดชว่ ยให้การเขียนแบบเสรจ็ เรว็ ข้ึน ขนาดความสูงของผู้เขียนไม่ มปี ัญหาต่อการใช้โต๊ะเขยี นแบบเพราะกระดานเขียนแบบสามารถปรับมุมได้ การเก็บรกั ษา - อยา่ ใหข้ องมคี มถกู พน้ื ผวิ ของกระดาน เพราะจะทำให้เปน็ รอย - หลังเลกิ ใช้ใหใ้ ชผ้ า้ สะอาดเชด็ ทำความสะอาดทกุ มมุ - ใช้มอื คลายลอ็ กพับกระดานลงมาตดิ กับขาโต๊ะ 2. กระดานเขยี นแบบ (Draftng Board) ลกั ษณะของกระดานเขยี นแบบ ทำดว้ ยไมอ้ ัดปดิ ผวิ ดว้ ยโฟเมก้า การใช้งาน ส่วนมากจะใช้งานสนาม เพราะการขนย้ายสะดวกตลอดจนการใช้งานสถานศึกษา ที่ไม่มี โตะ๊ เขียนแบบมาตรฐาน การเก็บรกั ษา - อย่าใหข้ องมีคมถกู พ้นื ผิวของกระดาน เพราะจะทำให้เปน็ รอย - หลงั เลิกใช้ใหใ้ ชผ้ า้ สะอาดเช็ดทำความสะอาดทกุ มุม - ถา้ เป็นรกระดานไม้อัดอย่าให้เปียกนำ้ จะทำให้เกิดการบวมได้
- ถ้าเปน็ เมลามนี หรอื พลาสติกอย่าให้ถกู ความรอ้ นมากจนเกิดไปจะทำให้เกดิ การบดิ รปู กระดานเขยี นแบบ 3. กระดาษเขียนแบบ ลักษณะเป็นกระดาษสี่เหลี่ยมพื้นผ้า ผิวเรียบ สีขาว ขนาดของกระดาษจะใช้ตามมาตรฐาน สากล เป็นระบบเมตริก มขี นาดต้ังแต่ A0 จนถงึ A6 การใช้งาน ในปจั จุบนั ใชก้ ระดาษเขยี นแบบตามมาตรฐานสากลมขี นาดตั้งแต่ A0 จนถึง A6 ใชส้ ำหรบั งานเขยี น แบบมาตรฐาน งานพมิ พท์ ัว่ ๆ ไป รวมท้ังงานเขียนและสิ่งพิมพ์ต่างๆซงึ่ กระดาษเขียนแบบท่ีมีขนาดจากมีขนาด เลก็ A6 จะมีขนาดเทา่ กับไปรษณยี บัตร วธิ กี ารตดิ กระดาษเขียนแบบมีดังน้ี - นำกระดาษเขยี นแบบมาวางบนกระดาษเขียนแบบ - นำบรรทดั ทวี่ างบนกระดาษเขียนแบบหัวบรรทัดท่ีแนบชดิ ขอบกระดานเขยี นแบบ - เลื่อนกระดาษเขียนแบบให้ห่างขอบกระดาษเขียนแบบด้านซ้ายมือ 50 มิลลิเมตรให้เส้นกรอบด้าน ขนานนอนเปน็ เส้นเดียวกันกับบรรทัดที ดา้ นมตี ราวัด - ปิดกระดาษกาวหรือเทปใสท่ ีม่ มุ ดา้ นบนซา้ ยและขวา โดยปดิ ตามขวางกับมมุ กระดาษเขยี นแบบ - เล่ือนบรรทดั ทลี งมา เพื่อไม่ใหก้ ระดาษเขียนแบบย่น จากนั้นปิดกระดาษกาวหรือเทปใสมุมกระดาษ เขยี นแบบท่เี หลอื
4. บรรทัดขนาด ลักษณะที่ใช้อยู่ทำด้วยพลาสติก รูปร่างเป็นบรรทัดด้านขอบบนมาตราวัด มีเชือกคล้องกับ รอกทป่ี ลายทัง้ 2 ข้างทำใหก้ ารเคล่อื นท่ีในทิศทางขนึ้ -ลงขนานกบั ขอบของกรดาษเขียนแบบตลอดเวลา การใช้งาน ใช้สำหรับการลากเส้นในแนวขนานนอนและเป็นฐานรองรับ ฉากสามเหลี่ยมการประกอบ กับกระดาษเขียนแบบ โดยใช้เชือกทั้ง 2 ข้างยึดติดกับกระดานเขียนแบบทิศทางในการเคลื่อนที่จะเลื่อนข้ึน เล่อื นลง นิยมใช้งานในการเขียนแบบเป็นอย่างมาก การเก็บรักษา เมื่อทำงานเสร็จปลดเชือกใช้ผ้าเช็ดให้สะอาด อย่าให้ของมีคม ส่วนที่เป็นพลาสติกและ เชือกเพราะจะทำให้เกดิ การชำรุด เกบ็ ใสถ่ งุ เก็บบรรทัดขนาน 5. บรรทดั ที ลกั ษณะทำดว้ ยไมห้ รือพลาสตกิ เป็นรูปตัวทมี สี ว่ นประกอบหลกั อยู่ 2 สว่ น - ส่วนหวั ผวิ ดา้ นท่ใี ช้กับขอบกระดาษหรอื โต๊ะเขียนแบบจะต้องเรียบได้ฉาก - ส่วนบรรทัด มีลักษณะแบบเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าขอบด้านบนจะเอียงและมีมาตราวัดเป็น ระบบเมตริก ดา้ นซ้ายยึดตดิ กบั ส่วนหัวและตั้งฉากกนั ด้านปลายเจาะรไู วส้ ำหรับเก็บโดยการแขวนไวก้ บั ตะปู การใช้งาน ใช้กับกระดานหรือโต๊ะเขียนแบบ โดยใช้เขียนเส้นขนานนอนและเป็นมาตรฐานฉาก สามเหลี่ยม บรรทัดที่ใช้สำหรับงานฝึกหรืองานสนามเพราะว่าหาซื้อง่ายราคาถูกในงานสนามไม่อาจจะหา เครื่องกลเขยี นแบบตลอดจนบรรทดั ขนานได้
6. ฉากสามเหลี่ยม ทใ่ี ชใ้ นการเขยี นแบบมอี ยู่ดว้ ยกนั 2 ชนิดดงั น้ี - ฉากสามเหลี่ยมแบบตายตวั ลกั ษณะ ทำจากพลาสตกิ เป็นรูปสามเหลี่ยม ทีบ่ ริเวณขอบฉาก สามเหลี่ยมจะมีด้านเรียบและด้านเอียงมีมาตราวัดมีหน่วยเป็นระบบเมตริก การใช้งาน ขอบด้านเรียบใช้กับ ดินสอ ขอบด้านเอียงใช้กับปากกา ใชร้ ว่ มกับบรรทดั ทีหรอื ฉากสามเหล่ยี ม 2 อันประกอบกันก็ไดใ้ ช้ในการเขยี น การเกบ็ รักษา อย่าให้ของมีคมถูกฉากสามเหลยี่ มเพราะจะทำใหเ้ กดิ การชำรุดได้ เมอ่ื ทำงานเสร็จใช้ผ้า สะอาดเช็ดทำความสะอาด - ฉากสามเหลี่ยมแบบปรับมุม ลักษณะ ทำจากพลาสติกมีส่วนประกอบหลักอยู่ 2 ส่วนคือส่วนที่เป็น ฉากอยูก่ ับทีแ่ ละสว่ นที่เคล่ือนท่ีมมี าตราวัดมุมตดิ กบั ในบรรทัด การใช้งาน ใชแ้ ทนฉากสามเหลีย่ มแบบตายตัวและใชร้ ว่ มกบั บรรทดั ที นยิ มใชใ้ นการเขยี นแบบมาก การเกบ็ รกั ษา อย่าใหข้ องมีคมถูกฉากสามเหลี่ยมแบบปรับได้เพราะจะทำให้เกิดการชำรุด เม่ือทำงาน เสร็จใชผ้ ้าสะอาดเชด็ ทำความสะอาด 7. บรรทัดมาตราส่วน ลกั ษณะ ทำจากโลหะหรอื พลาสตกิ ใบบรรทัดมีลกั ษณะแบนและสามเหลยี่ มส่วนที่เป็น สามเหลี่ยม 6 ด้านแต่ละด้านมีมาตราส่วนตรงกลางเป็นร่องครึ่งวงกลมมีความยาว 150 300 และ 600 มิลลเิ มตร การใช้งาน ใช้สำหรับงานเขียนแบบก่อสร้างสถาปัตยกรรมหนว่ ยทใ่ี ชว้ ดั เปน็ ระบบเมตรกิ การเกบ็ รักษา อยา่ ใหข้ องมีคมถกู เพราะจะทำใหเ้ กิดชำรุด เมอื่ ทำงานเสร็จใชผ้ ้าแห้งทำความสะอาด
8. บรรทัดเขียนส่วนโคง้ ลกั ษณะ ทำด้วยพลาสตกิ มรี ปู รา่ งโค้งและมีการโคง้ หลายลกั ษณะตา่ งกันไป การใช้งาน ในการเขียนส่วนโค้งที่ไม่สามารถใช้วงเวียนหรือเครื่องมืออุปกรณ์อื่นๆ เขียนได้ การเขียนส่วนโค้ง นั้นจะต้องผ่านจุดอย่างน้อย 3 จุด การเก็บรักษา อย่าให้ถูกของมีคมเพราะจะทำให้เกิดการชำรุด อย่าให้ถูก ความรอ้ นมากจนเกินไปเพราะจะทำให้เกิดการบิดงอ 9. บรรทดั วดั มุม นยิ มใชใ้ นงานเขยี นแบบมี 2 ชนิด - ไม้โปรแทรกเตอร์ ลักษณะ ทำดว้ ยพลาสติกส่ีเหล่ียมพื้นผ้า มีมาตราวดั มุมตงั้ แต่ 0 ถงึ 180 องศา มี มาตราวัดความยาวหนว่ ยเป็นระบบเมตริกและอังกฤษ การใช้งาน ใช้สำหรับมุมในงานเขียนแบบมีมมุ ตั้งแต่ 0 ถึง 180 องศา นยิ มใชก้ ันมากในวิชาเรขาคณติ การเก็บรักษา อย่าใหข้ องมีคมเพราะจะทำให้เกดิ การชำรดุ - ครึ่งวงกลมวดั มุม การใชง้ าน สำหรับการวดั มุมในงานเขียนแบบเร่งด่วน โดยไม่ตอ้ งพึ่งบรรทัดทีและ ฉากสามเหลีย่ ม ใช้วดั มุมไดต้ งั้ แต่ 0 ถึง 180 องศา การเกบ็ รกั ษา อย่าใหเ้ สยี ดสีกบั วตั ถอุ ืน่ ๆ มากจนเกินไปเพราะจะทำให้เกิดการบิดงอ 10. วงเวียน แยกตามลกั ษณะของขาวงเวยี นไดเ้ ปน็ 2 ชนิด - วงเวียนขาตาย หมายถึง วงเวียนท่ปี รบั เปลยี่ นระยะขาวงเวียนโดยใชม้ ือดึงออกและบบี เข้า ลกั ษณะ ทำดว้ ยโลหะสแตนแลสและพลาสติกมีสว่ นประกอบอยู่ 3 สว่ นดงั น้ี 1. สว่ นที่เปน็ ขาตรงสว่ นปลายเปน็ โลหะแหลมคม 2. สว่ นทีเ่ ป็นแขนหรือรศั มีสว่ นปลายมดี นิ สอหรอื ไส้ดินสอหรือปากกายึดดว้ ยสกรู 3. ส่วนทเ่ี ปน็ ดา้ มส่วนมากเป็นพลาสติกจะมลี ายเพือ่ ใหจ้ ับไดส้ ะดวก
การใช้งาน ใช้สำหรับเขียนส่วนโค้งวงกลมแบ่งมุมแบ่งเส้น ตลอดจนเป็นส่วนหนึ่งในการเขียนรูปทรง เรขาคณิตรูปต่างๆได้ การเก็บรักษา อย่าให้วงเวียนส่วนเป็นปลายแหลมขีดเขียนบนโลหะเพราะจะทำให้เกิด การชำรดุ ได้เมอื่ ทำงานเสร็จแลว้ ใช้ผ้าเชด็ ให้สะอาด - วงเวยี นขาสปรงิ ทำดว้ ยโลหะสแตนเลสมีส่วนประกอบหลักอยู่ 4 ส่วนดงั นี้ 1. ส่วนขาตรงปลายมีลกั ษณะแหลมคมใชส้ กรูปรับขน้ึ ลง 2. สว่ นแขนหรอื รศั มีทปี่ ลายประกอบเข้ากบั ดนิ สอหรือปากกายดึ ดว้ ยสกรู 3. สว่ นสกรปู รับขนาดเป็นสกรใู ช้ในการปรบั ระยะห่างระหว่างขากบั แขนของวงเวียน 4. ส่วนด้ามเปน็ โลหะหรือพลาสติกมีลายกันล่นื ขณะปฏิบตั งิ าน การใช้งาน ใช้สำหรับงานที่ละเอียดโดยเฉพาะงานเขียนวงกลมที่มีขนาดเล็ก การเก็บรักษา ต้องทะนุถนอม โดยเฉพาะเปน็ เกลียวท่ีขอบบางมาก อย่าใช้ปลายวงเวียนเขียนบนผิวโลหะเพราะจะทำให้เกดิ การชำรุดได้ 11. ดิไวเดอร์ ทำด้วยโลหะสแตนเลสมีสว่ นประกอบหลักอยู่ 3 ส่วนดังน้ี 1. สว่ นขามี 2 ขา้ งใชส้ กรยู ดึ และปรบั ข้นึ ลง 2. ส่วนสกรปู รบั ขนาด เป็นสกรใู ช้ในการปรับขาดไิ วเดอร์ท้งั 2 ข้างให้ไดข้ นาดความยาวทต่ี อ้ งการ 3. สว่ นดา้ มเป็นโลหะหรอื พลาสตกิ มีลายกันลนื่ ขณะปฏิบตั งิ าน การใชง้ าน ใชส้ ำหรบั การถา่ ยแบบจากบรรทดั หรอื จากชนิ้ งาน โดยใชม้ ือปรับที่สกรูตามตอ้ งการ การเก็บรักษา การใช้งานจะต้องทะนุถนอมและระมัดระวังปลายแหลมทั้ง 2 ข้าง อย่าให้ปลายแหลม ขีดเขยี นลงบนผวิ โลหะเพราะจะทำให้เกิดการชำรดุ ได้ เมอื่ ทำงานเสรจ็ ใชผ้ ้าสะอาดเชด็ ทำความสะอาด
12. ปากกาเขียนแบบ ลักษณะประกอบพลาสติกยกเว้นปากทำด้วยโลหะ มีส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ส่วนคอื ส่วนด้ามหรือโครงร่าง ไส้ใส่หมึก และปาก การประกอบกันโดยใช้เกลียว ขนาดของเส้นปากกาเขียนแบบมี ตงั้ แต่ 0.13 ถึง 2.00 มิลลิเมตร การใช้งาน ใชส้ ำหรบั เขียนลงบนกระดานไข ห้ามใช้กับกระดานท่ีผิวอ่อนขรุขระเน่ืองจากจะทำให้เน้ือ ของกระดาษอดุ ตัน การเก็บรักษา เมื่อใช้งานหมึกหมดต้องถอดทุกชิ้นสว่ น ยกเว้นปากกาโลหะล้างด้วยน้ำให้สะอาด เข็ด ดว้ ยผา้ สะอาดจนแหง้ ประกอบเขา้ ดว้ ยกันทกุ สว่ นนำเก็บลงในกล่อง 13. ดินสอ ทใ่ี ชใ้ นการเขยี นแบบมี 2 ชนิด ดงั น้ี - ดินสอเปลือกไม้ ประกอบ 2 ส่วน คือเปลือกไม้และไส้ดินสอ ซึ่งไส้ดินสอมี 3 ชนิดได้แก่ ชนิดแข็ง ชนิดปานกลาง และชนิดอ่อน การใช้งานขึ้นอยู่กับไส้ดินสอและการเหลาดินสอ การเก็บรักษา ต้องใชเกรด ดินสอให้เหมาะสมกบั งาน เพ่ือเป็นการประหยัดและไม่ตอ้ งเหลาบ่อยๆ อยา่ ให้ดินสอหล่นถกู พน้ื จะทำให้ดินสอ หกั ภายในได้
14. กบเหลาดินสอ ลกั ษณะมี 2 สว่ นหลักๆ ดังน้ี 1. โครง ซ่งึ ทำมาจากโลหะหรือพลาสติก ซง่ึ ในสว่ นน้ีจะเกบ็ เศษเปลือกไม้ทีเ่ หลาดนิ สอไวด้ ้วย 2. ส่วนคมตดั หรือใบมดี ทำจากโลหะทีม่ คี วามแข็งใชส้ ำหรบั เปลือกดินสอออกให้ดนิ สอท่ีแหลมคม การใชง้ าน ใชส้ ำหรับเหลาดินสอท่เี ป็นเปลอื กไม้ การเกบ็ รกั ษา อยา่ ใหห้ ล่นถกู พ้นื เพราะจะทำให้เกดิ การชำรุด เมือเลิกใช้งานเอาเศษเปลอื กไมท้ ้ิงถังขยะใชผ้ า้ สะอาดเช็ดทำความสะอาด 15. ยางลบ ลักษณะ เปน็ ยางท่มี ีความยืดหยุน่ มหี ลายลักษณะ เชน่ วงกลม ส่เี หลีย่ ม ทำมาจากยางพารา การใชง้ าน ใชส้ ำหรับทำความสะอาดในการลบรอยขีดเขียนจากดนิ สอ การเกบ็ รักษา อยา่ ใหโ้ ดนความ ร้อนมากเกินไป ทำความสะอาดด้วยผ้าสะอาดก่อนเก็บลงกล่อง 16. แปรงปัดฝุ่น ลักษณะมีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ส่วนโครงกับส่วนขนแปรงวัสดุที่ใช้ทำโครงเป็นไม้หรือ พลาสติกสว่ นขนแปรงใชพ้ ลาสตกิ หรือขนสตั ว์ การใช้งาน ใช้สำหรบั ปดั ฝุ่นจากเศษยางลบในงานเขยี นแบบ การเก็บรักษา อย่าใหถ้ กู ความร้อนมากเกินไป ทำความสะอาดโดยเคาะฝนุ่ ออกแล้วเชด็ ดว้ ยผ้าสะอาด
17. อุปกรณช์ ว่ ยประหยดั เวลาเขียนแบบ ท่จี ำเปน็ มี 3 ชนดิ ดงั น้ี - แผ่นแบบ ลักษณะเป็นแผ่นบางทำด้วยพลาสติกภายในแผ่นแบบเป็นรูปทรงเรขาคณิตต่างๆ เช่น สามเหลยี่ มส่เี หลี่ยม วงกลม วงรี หา้ เหล่ียมเปน็ ต้น 1. แผ่นแบบชนิดตา่ งๆ การใชง้ าน ช่วยใหก้ ารเขยี นแบบได้รวดเรว็ ยิ่งขึน้ โดยผเู้ ขียนแบบจะต้องเลือก แผน่ แบบให้เหมาะสมกับการใช้งาน การเก็บรักษา อย่าให้ถูกเสยี ดสีกับวตั ถุอ่ืนมากเพราะมาตราวัดหรือตัวเลข ขอกขนาดจะลบเลือน 2. แผ่นแบบตัวอักษร ลักษณะทำด้วยพลาสติกบรรทัดเป็นร่องรูปตัวอักษรไทย ตัวอังกฤษ ตัวเลข และเครื่องหมายต่างๆ การใช้งาน โดยใช้ดินสอหรือปากกาเขียนแบบเขียนตามร่องตัวอักษร เพื่อให้เกิดความ สวยงาม การเกบ็ รกั ษา อยา่ ให้ถกู ของมีคมหรอื ความรอ้ นเพราะจะทำให้เกิดการชำรดุ ได้ 3. ลีรอย ลักษณะ มีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ชุดเขียนด้วยปากกา และบรรทัดตัวอักษรไทย อักษร อังกฤษ และตัวเลขทำดว้ ยพลาสติก การใช้งาน ใช้ปากกาเขยี นบนสว่ นทเ่ี ปน็ บรรทดั ทีม่ ีตวั อักษร การเก็บรักษา ต้องระมัดระวังอย่ากดปากกาแรงจนเกินไปอาจทำใหช้ ำรุดได้ เมื่อทำงานเสรจ็ แล้วใช้ผา้ สะอาด เช็ดทำความสะอาด เกบ็ ลงในกลอ่ ง
แบบทดสอบหลงั เรียน จงเลือกคำตอบที่ถกู ต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. Technical Drawing มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. การเขยี นแบบในสมยั ก่อน ข. การเขียนแบบเทคนิค ค. ววิ ฒั นาการเขยี นแบบ ง. การเขยี นแบบเครื่องมือ 2. การเขียนแบบของไหล มีลกั ษณะเก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ ใดมากที่สุด ก. เป็นงานเขียนแบบเครื่องมือและอุปกรณ์ทุกชนิดที่ใชใ้ นงานอุตสาหกรรม ข. เป็นการเขียนแบบแผ่นคล่ีโลหะแผน่ เพ่ือนาไปข้นึ รูปเป็นชิ้นงานในลกั ษณะตา่ งๆ ค. เป็นการแสดงแผนภาพวงจรในระบบไฮดรอลิก - นิวแมติกส์ ง. เป็นการเขยี นแบบท่ีใชส้ ัญลกั ษณ์งานเช่ือมลงในแบบ 3. การเขยี นแบบเกี่ยวกบั งานสิ่งประดิษฐท์ ี่คดิ คน้ ไดเ้ ป็นการเขยี นแบบลกั ษณะใด ก. การเขียนแบบสถาปัตยกรรม ข. การเขียนแบบงานผลิตภณั ฑ์ ค. การเขียนแบบโครงสร้าง ง. การเขยี นแบบสิทธิบตั ร 4. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ การเกบ็ รักษาโตะ๊ เขยี นแบบ ก. อยา่ ใหข้ องมีคมถูกพ้ืนผิวของกระดาน เพราะจะทาใหเ้ ป็นรอย ข. หลงั เลิกใชง้ านทกุ คร้ังใหใ้ ชผ้ า้ ทาความสะอาด ค. ใชม้ ือคลายลอ็ กพบั กระดานลงมาติดกบั ขาโตะ๊ ง. ถา้ เป็นกระดานไมอ้ ดั อยา่ ใหเ้ ปี ยกน้า จะทาใหเ้ กิดการบวม 5. ชนิดของกระดาษ A4 มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรเทา่ ใด ก. 297 420 ข. 210 297 ค. 148 210 ง. 105 148 6. ฉากสามเหลี่ยม มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. Set Square ข. Parallel Slide ค. Irregular Curves ง. Scales
7. ขอ้ ใดไม่ใช่ลกั ษณะของ วงเวยี นขาสปริง ก. ส่วนขาตรงส่วนปลายมีลกั ษณะแหลมคมใหส้ กรูปรับข้ึนลง ข. ส่วนแขนหรือรัศมีมีท่ีปลายประกอบเขา้ กบั ดินสอหรือปากกายดึ ตวั สกรู ค. ปรับขนาดเป็นสกรูใชใ้ นการปรับระยะห่างระหวา่ งขากบั แขนวงเวียน ง. ส่วนท่ีเป็นขาตรงส่วนปลายเป็นโลหะแหลมคม 8. เสน้ ในการเขียนแบบ หมายถึง ก. การใชเ้ ทคนิคนาเสน้ ต้งั แต่หน่ึงเส้นข้ึนไปมาประกอบกนั กลายเป็นรูปร่าง ข. จุดหลายๆ จุดมาติดต่อกนั มีทิศทางไดห้ ลายทิศทางมีลกั ษณะเป็นเส้นต่างๆ ค. การใชจ้ ุดหลายๆจุดมารวมกนั ใหไ้ ดร้ ูปร่างของเส้นข้ึนมา ง. การนาเสน้ มารวมกนั ทาใหเ้ กิดรูปร่างข้นึ 9. Light Continuous Line มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. เส้นประ ข. เสน้ ลกู โซ่ ค. เส้นเตม็ บาง ง. เสน้ มือเปลา่ 10. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญ่ท่ีนิยมใชเ้ ขียนแบบมี 2 ชนิด คือ ก. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญ่ตวั ตรงและตวั เอียง ข. ตวั อกั ษรพิมพใ์ หญต่ วั เอียงและตวั หนา ค. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญต่ วั หนาและตวั ตรง ง. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญต่ วั เอนและตวั ตรง หนงั สอื ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน
สอื่ การสอน หน่วยท่ี 2 ลกั ษณะของเสน้ และการใช้งาน วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น รหัสวชิ า 20100-1001 ครูผสู้ อน นายรฐั กร ลำ่ สวย แผนกวิชาช่างเชอ่ื มโลหะ วทิ ยาลัยการอาชีพแจ้หม่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
หนว่ ยที่ 2 ลกั ษณะของเสน้ และการใชง้ าน 1. ความหมายและลกั ษณะของเส้นต่างๆ เส้น (Line) หมายถึง จุดหลายๆ จุดมาต่อติดกันมีทิศทางได้หลายทิศทางมีลักษณะเป็นเส้นตรง เส้น โค้ง เสน้ แสดงรอยตัด เสน้ แต่ละชนิดจะมีความหนาขน้ึ อยกู่ ับการใช้งาน เส้นในการเขียนแบบ หมายถึง การใช้เทคนิคนำเส้นตั้งแต่หนึ่งเส้นขึ้นไปมาประกอบกันกลายเป็น รปู รา่ งตามทเี่ ราตอ้ งการ 2. ชนิดของเส้นทใี่ ชเ้ ขียนแบบ เสน้ ทใี่ ชเ้ ขยี นในงานเขยี นแบบ มีท้ังหมด 7 ชนิดดังน้ี 1. เส้นเตม็ หนาหรอื เสน้ เต็มหนกั 2. เส้นเต็มบาง 3. เส้นประ 4. เสน้ ลกู โซ่หนาหรอื เสน้ ศูนยก์ ลางใหญ่ 5. เส้นลกู โซบ่ างหรือเส้นศูนยก์ ลางเลก็ 6. เสน้ มอื เปลา่ 7. เส้นแสดงรอยตัดระยะยาว 3. ความหมายของกลุม่ เส้นชนิดต่างๆ 1. เส้นเต็มหนาหรือเส้นเต็มหนัก ลักษณะของเส้นมีความหนาตั้งแต่ 0.25 ถึง 0.7 มิลลิเมตรส่วน ความยาวนน้ั อยู่กับการใชง้ าน 2. เส้นเต็มบาง ลักษณะมีความหนาตั้งแต่ 0.25 ถึง 0.35 มิลลิเมตร ส่วนความยาวขึ้นอยู่กับการใช้ งาน 3. เส้นประ ลักษณะมีความหนาตั้งแต่ 0.35 ถึง 0.5 มิลลิเมตร ความยาว 3 ถึง 4 มิลลิเมตรเว้นช่วง หา่ งกนั 1 มลิ ลเิ มตร 4. เสน้ ลูกโซห่ นาหรือเส้นศูนยก์ ลางใหญ่ มีความหนาต้งั แต่ 0.5 ถงึ 0.7 มิลลิเมตร เสน้ ยาวมีความยาว ประมาณ 7 มลิ ลเิ มตร เว้นช่วง 1 มิลลเิ มตรต่อด้วยเส้นสนั้ เกือบจะเปน็ จดุ จากน้นั ความดว้ ยเสน้ ยาวสลับกันไป
5. เส้นลูกโซ่บางหรือเส้นศูนย์กลางเล็ก มีความหนาตั้งแต่ 0.25 ถึง 0.35 มิลลิเมตรเส้นยาวมีความ ยาว 10 มลิ ลิเมตร เว้น 1 มิลลเิ มตรเส้นส้ันเกอื บจะเปน็ จดุ 6. เส้นมือเปล่า มคี วามหนาตั้งแต่ 0.25 ถึง 0.35 มิลลเิ มตรความยาวข้นึ อย่กู บั การใช้งาน 7. เส้นแสดงรอยตัดระยะยาว ลกั ษณะของเส้นเป็นเสน้ ตรงแลว้ ต่อดว้ ยเส้นซิกแซก ซ่งึ จะสลบั กันไปมามีความ หนาต้งั แต่ 0.25 ถงึ 0.35 มิลลเิ มตรความยาวข้นึ อยู่กบั การใชง้ าน 4. ชนดิ ขนาดของตัวอักษรไทย ตัวอกั ษรองั กฤษ และตัวเลข ในงานเขียนมาตรฐานสากล ตวั อักษรท่ีใช้กันก็คือตวั อักษรอังกฤษ ส่วนงานเขียนแบบเทคนิคจะ ใชต้ ัวอกั ษรอยู่ 2 ชนิด ดงั นี้ 1. ตวั อักษรไทย 2. ตัวอกั ษรองั กฤษ
ในงานเขียนแบบตามมาตรฐานสากล ตัวเลขที่ใช้เป็นเลขอารบิค ส่วนตัวเลขไทยไม่ใช่เพราะไม่เป็น ตวั เลขสากล ในงานเขยี นแบบมี 2 ชนิดดงั นี้ 1. ตัวเลขอารบคิ 123 4 5 678 9 0 2. เลขไทย 123 4 5 678 9 0
แบบทดสอบหลงั เรียน จงเติมคำในช่องว่างให้ถกู ต้อง 1. เส้นหมายถึง หมายถงึ ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. 2.เสน้ ในการเขียนแบบหมายถงึ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3.เส้นในการเขยี นแบบมีกี่ชนิด อะไรบ้าง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ........................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 4.เลขอารบิคในงานเขยี นแบบมีก่ชี นิด อะไรบ้าง ...................................................................................................................................................... ........................ ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... .................................... 5.ตวั อักษรลอก หมายถึง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................
ใบงานท่ี 2 ประกอบแผนการสอนบทท่ี 2 เรือ่ ง เส้น ตวั อักษรและตัวเลขทใ่ี ชเ้ ขียนแบบ จุดประสงคข์ องงาน 1. เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจเส้น ตวั อักษรและตวั เลขท่ีใช้เขยี นแบบได้ 2. เพอื่ ให้ผูเ้ รียนเขยี นแบบเสน้ ตวั อักษรและตวั เลขทใ่ี ชเ้ ขยี นแบบได้ กจิ กรรม 1. ให้นักศกึ ษาดูรูปตวั อยา่ งแลว้ เขยี นเส้น ตวั อกั ษรและตัวเลขท่ีใชเ้ ขียนแบบ 2. ให้นักศึกษาร่วมกันเขยี นเส้น ตัวอกั ษรและตวั เลขท่ใี ช้เขยี นแบบพร้อมอธิบายว่าคือเส้นชนิดอะไร และ ให้บันทึกผลและรายงานหน้าชั้นเรียน ให้จัดทำสื่อประกอบการรายงานด้วย เมื่อรายงานหน้าชั้นเรียน แล้วให้ผู้ฟังซักถามปัญหา ข้อสงสัย ให้บันทึกผลและรายงานหน้าชั้นเรียน ให้จัดทำสื่อประกอบการรายงาน ดว้ ย 3. เมอื่ รายงานหน้าชั้นเรยี นแล้วให้ผู้ฟังซักถามปัญหา ข้อสงสยั เก่ียวกับเส้น ตวั อักษรและตัวเลขที่ ใช้เขียนแบบจากนนั้ ให้ผรู้ ายงานตง้ั คำถามเพ่อื ถามผูฟ้ งั อยา่ งน้อย 2 คำถาม หนงั สอื ใช้ประกอบการเรียนการสอน
สอ่ื การสอน หน่วยที่ 3 รูปทรงเลขาคณิต วิชาเขยี นแบบเทคนิคเบอ้ื งตน้ รหัสวชิ า 20100-1001 ครผู สู้ อน นายรัฐกร ลำ่ สวย แผนกวิชาชา่ งเชอื่ มโลหะ วทิ ยาลยั การอาชีพแจ้ห่ม สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
หน่วยท่ี 3 รปู ทรงเลขาคณติ 1. การแบง่ เสน้ ตรงและเส้นโค้ง 1. กำหนดเสน้ ตรงและสว่ นโค้งวงกลมมาให้ ท่ีปลายเสน้ ตรงคอื จดุ A และ จดุ B 2. ใช้จดุ A เป็นศูนยก์ ลาง กางวงเวียนรศั มีพอประมาณ เขียนสว่ นโคง้ 3. ใชจ้ ุด B เปน็ ศูนย์กลาง กางวงเวียนรศั มีเทา่ เดิม เขยี นส่วนโคง้ ตัดส่วนโค้งแรกทจ่ี ุด C และ D 2. ชนิดของเส้นทีใ่ ช้เขียนแบบ เส้นทีใ่ ช้เขียนในงานเขยี นแบบ มีทง้ั หมด 7 ชนดิ ดังน้ี 1. เสน้ เตม็ หนาหรอื เสน้ เต็มหนัก 2. เสน้ เตม็ บาง 3. เสน้ ประ 4. เส้นลูกโซ่หนาหรือเสน้ ศูนยก์ ลางใหญ่ 5. เส้นลกู โซบ่ างหรอื เส้นศนู ยก์ ลางเลก็ 6. เส้นมือเปล่า 7. เส้นแสดงรอยตดั ระยะยาว
จงเลอื กคำตอบทถ่ี กู ต้องที่สดุ เพยี งข้อเดยี ว 1. มาตราสว่ นจรงิ หมายถงึ ก. ความสำพนั ธ์ของสัดส่วนทีเ่ ขียนลงในกระดาษเขียนแบบ ข. ขนาดของชนิดงานทเี่ ขียนลงในแบบมขี นาดทีเ่ ท่ากับขนาดของช้ินงาน ค. ขนาดทีเ่ ขยี นลงในแบบเล็กกว่าขนาดของช้นิ งานจรงิ ง. ขนาดทเ่ี ขยี นลงในแบบโตกวา่ ขนาดของชน้ิ งานจริง 2. Enlargement Scale มคี วามหมายตรงกับข้อใด ก. มาตราสว่ นจริง ข. มาตราสว่ นยอ่ ค. มาตราสว่ นขยาย ง. มาตราส่วนยอ่ ย 3. ขอ้ ใด ไม่ใช่ มาตราส่วนในการเขียนแบบ ก. มาตราส่วนจริง ข. มาตราส่วนย่อ ค. มาตราสว่ นขยาย ง. มาตราส่วนยอ่ ย 4. ขอ้ ใด คือลกั ษณะของเส้นตรง ก. มลี ักษณะเปน็ จดุ เรียงชดิ ติดกัน ข. มีลกั ษณะเปน็ จดุ หลายๆ จดุ เรยี งชดิ ติดกัน ค. มลี ักษณะเปน็ เส้นตรง 2 เสน้ พบกนั ท่จี ดุ จดุ หนึ่ง ง. มลี กั ษณะเปน็ ทางเดินของเสน้ ตรง 2 เส้น 5. การเขียนสว่ นโคง้ สมั ผัสมุมมี 3 ชนดิ ยกเวน้ ข้อใด ก. มุมกลบั ข.มมุ ฉาก ค. มมุ แหลม ง. มุมปา้ น 6. การเขยี นวงกลมในรปู สามเหลี่ยม มีความหมายตรงกบั ข้อใด ก. Parallel Curves Drawing ข. Triangle Inscribed Circle Drawing ค. Triangle Circumscribed Circle Drawing ง. Square Drawing 7. รปู หกเหลยี่ มด้านเท่ามีมมุ ภายในรวมกันก่ีองศา ก. 720 องศา ข. 1,080 องศา ค. 1,260 องศา ง. 1,270 องศา 8. Ellipses Drawing มีความหมายตรงกับข้อใด ก. การเขยี นรูปทรงหกเหล่ยี มดา้ นเท่า ข. การเขียนรปู ทรงแปดเหล่ยี มด้านเทา่ ค. การเขียนรปู ทรงเก้าเหลย่ี มด้านเท่า ง. การเขยี นรูปวงรี 9. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ องค์ประกอบของการกำหนดขนาด ก. เสน้ ช่วยกำหนดขนาด ข. เส้นกำหนดเขต ค. เส้นกำหนดขนาด ง. ตัวเลขกำหนดขนาด 10. เป็นยอดเหลีย่ มหรือยอดตัด เปน็ การกำหนดขนาดลกั ษณะใด ก. การกำหนดลักษณะงานกลม ข. การกำหนดขนาดลกั ษณะงานเหลี่ยม ค. การกำหนดขนาดลกั ษณะงานเป็นมุม ง. การกำหนดขนาดลักษณะงานกรวย
ใบงานที่ 3 ประกอบแผนการสอนบทท่ี 3 เร่อื ง รปู ทรงเลขาคณิต จุดประสงค์ของงาน 1. เพื่อให้ผเู้ รยี นเข้าใจรูปทรงเลขาคณิต 2. เพื่อให้ผูเ้ รยี นเขยี นแบบเส้น ตวั อักษรและตวั เลขที่ใชเ้ ขียนแบบได้ กจิ กรรม 1. ใหน้ ักศกึ ษาดรู ปู ตัวอย่างแลว้ เขียนเส้น ตัวอกั ษรและตัวเลขทใี่ ช้เขยี นแบบ 2. ให้นักศกึ ษารว่ มกันเขียนเสน้ ตัวอกั ษรและตัวเลขท่ีใชเ้ ขียนแบบพร้อมอธิบายว่าคือเสน้ ชนิดอะไร และ ใหบ้ นั ทึกผลและรายงานหนา้ ชั้นเรียน ให้จัดทำสอ่ื ประกอบการรายงานดว้ ย เมอ่ื รายงานหน้าช้ันเรยี น แลว้ ใหผ้ ู้ฟังซกั ถามปัญหา ข้อสงสยั ใหบ้ นั ทกึ ผลและรายงานหน้าช้ันเรียน ให้จดั ทำสอ่ื ประกอบการรายงาน ด้วย 3. เมื่อรายงานหนา้ ช้นั เรียนแล้วใหผ้ ฟู้ ังซกั ถามปญั หา ข้อสงสยั เกีย่ วกับเสน้ ตัวอักษรและตัวเลขท่ใี ช้ เขยี นแบบจากน้ันให้ผูร้ ายงานต้ังคำถามเพ่ือถามผฟู้ ังอยา่ งน้อย 2 คำถาม หนังสือใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
สอ่ื การสอน หน่วยที่ 4 หลักการบอกขนาดเบอ้ื งต้น วิชาเขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งตน้ รหสั วชิ า 20100-1001 ครผู สู้ อน นายรัฐกร ลำ่ สวย แผนกวชิ าชา่ งเช่อื มโลหะ วิทยาลยั การอาชพี แจห้ ่ม สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
หน่วยท่ี 4 หลักการบอกขนาดเบื้องตน้ 1. การกำหนดขนาด การกำหนดขนาด หมายถึง การบอกขนาดขอบเขตของรปู ภาพในงานเขียนแบบโดยอาศัยเส้นกำหนด ขนาด เส้นชว่ ยกำหนดขนาด เสน้ ชว่ ยกำหนดขนาด สญั ลกั ษณ์ ตวั อักษร และตัวเลขในการกำหนดขนาดความ กวา้ ง ความยาว ความสูง 2. ประเภทการกำหนดขนาดและลกั ษณะการใชง้ านชนิดต่างๆ 1. องค์ประกอบของการกำหนดขนาด แบง่ ได้เป็น 4 ชนดิ ดังนี้ - เสน้ ช่วยกำหนดขนาด เปน็ เสน้ ท่ีลากออกมาจากขอบหรือสันเหลยี่ มของแบบงาน เพอ่ื กำหนดระยะ ความกวา้ ง ความยาว และความสงู ใหก้ ับเสน้ กำหนดขนาด - เส้นกำหนดขนาด เป็นเส้นเต็มบางที่ปลายทั้ง 2 ข้างจะมีหัวลูกศรตั้งฉากกับเส้นช่วยกำหนดขนาด หรอื ชต้ี ดิ ขอบชน้ิ งาน ใชส้ ำหรบั กำหนดขนาดความกวา้ ง ความยาว และความสงู ของงานเขยี นแบบ - หวั ลกู ศร มีลักษณะเป็นรูปสามเหลย่ี มปลายแหลมทำมุม 15 องศาด้านซ้ายลกู ศรจะติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้างหรอื ขา้ งเดียวของเสน้ กำหนดขนาดกไ็ ด้ข้ึนอยู่กับลกั ษณะของงาน - ตัวเลขกำหนดขนาด ลักษณะการเขียนตัวเลขจะวางเรยี งในแนวเดียวกันกับเส้นกำหนสดขนาด โดย เรม่ิ จากดา้ นในกอ่ นก็ได้ 2. การกำหนดขนาดลักษณะงานเหลี่ยม ลักษณะและการใช้งาน เป็นการกำหนดขนาดงานที่มี ลกั ษณะเป็นเหลยี่ มในการกำหนดขนาดจะต้องยึดขอบเรยี บเปน็ เสน้ อ้างอิง หรอื เสน้ บรรทัดฐานเปน็ หลักในการ กำหนดได้แก่ ความกวา้ ง ความยาว และความสูง ใชใ้ นงานเขียนแบบ งานโลหะแผน่ 3. การกำหนดขนาดลักษณะงานกลม เป็นการกำหนดเส้นผ่าศูนย์กลาง รัศมีและความยาวของ ช้นิ งาน ท่ีมีลักษณะเป็นงานกลมและงานทรงกระบอก ไดแ้ ก่ งานคว้าน และงานกลึง 4. การกำหนดขนาดลักษณะงานปิรามิด เป็นรูปทรงที่มีจุดยอดอยู่เหนือฐาน มีลักษณะเป็นยอด แหลมหรอื ยอดตดั ประกอบไปด้วยผิวดา้ นข้างทีเ่ ปน็ พืน้ ทีส่ ามเหล่ียม หรือส่ีเหลย่ี มคางหมแู ละมพี ้ืนท่ขี องฐานปิ รามิดเป็นรูปทรงเรขาคณิตชนิดต่างๆตามที่ต้องการใช้งาน ในงานอุตสาหกรรมส่วนมากเป็นชิ้นส่วน เครือ่ งจักรกล 5. การกำหนดขนาดลักษณะงานกรวย ลักษณะและการใช้งาน กรวยมลี ักษณะเปน็ วงกลมผิวด้านข้าง โค้งเปน็ วงกลมหลายๆ วงซอ้ นกนั อย่แู ละจะลดขนาดลงเร่ือยๆ มีทง้ั ยอดแหลมและยอดตัด ใช้ในงานโลหะแผ่น โครงสร้าง 6. การกำหนดขนาดลักษณะงานที่เป็นมุม ลักษณะและการใช้งาน เป็นการกำหนดขนาด ความยาว และมุม ใช้กับชิ้นงานที่มีมุมแหลม มุมป้าน และมุมฉากได้แก่ การบากมุม การคว้าน และการลบมุม งาน ชนิ้ สว่ นเครอื่ งกล
7. การกำหนดขนาดลักษณะภาพพิกทอเรียล ลักษณะและการใช้งาน ภาพพิกทอเรียลหรือภาพ 3 มิติ หมายถึง ภาพที่เห็น 3 ด้านพร้อมๆ กันได้แก่ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน ในการกำหนด ขนาดนั้นจะกำหนดขนาดความกว้าง ความยาวหรือความหนาหรือความลึก และความสูง โดยยึดความกว้าง ความยาว และความสงู เป็นหลัก จงเตมิ คำในชอ่ งวา่ งให้ถกู ต้อง 1. การกำหนดขนาด หมายถึง ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... 2. ในงานเขียนแบบมาตรฐานสากล องค์ประกอบของการกำหนดขนาด แบ่งออกได้กช่ี นิด อะไรบา้ ง ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... 3. เสน้ ชว่ ยกำหนดขนาด คือ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... 4. เส้นกำหนดขนาด คือ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... 5. หัวลูกศร คือ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..........................................
ใบงานที่ 4 ประกอบแผนการสอนบทท่ี 4 เรอื่ ง การกำหนดขนาด จดุ ประสงค์ของงาน 1. เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเขา้ ใจการกำหนดขนาดได้ 2. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเขยี นการกำหนดขนาดรูปทรงชนดิ ต่างๆได้ กิจกรรม 1. ให้นักศกึ ษาดูรูปตวั อย่างแลว้ กำหนดขนาดรูปทรงตา่ งๆตามหัวข้อท่กี ำหนด 2. ให้นักศกึ ษาร่วมกนั สรุปในเนอ้ื หาเร่ืองการกำหนดขนาด และ ใหบ้ นั ทกึ ผลและรายงานหน้าชัน้ เรียน ให้จัดทำสื่อประกอบการรายงานดว้ ย เมอ่ื รายงานหนา้ ชั้นเรียนแลว้ ใหผ้ ฟู้ ังซกั ถามปญั หา ขอ้ สงสัย ให้ บนั ทกึ ผลและรายงานหน้าชัน้ เรียน ใหจ้ ดั ทำสื่อประกอบการรายงานดว้ ย 3. เม่ือรายงานหนา้ ชัน้ เรยี นแลว้ ใหผ้ ูฟ้ ังซักถามปัญหา ข้อสงสยั เกี่ยวกบั การกำหนดขนาดจากน้นั ให้ผรู้ ายงานต้ังคำถามเพอื่ ถามผฟู้ ังอย่างน้อย 2 คำถาม เกณฑก์ ารพจิ ารณา 1. ความพร้อมในการเตรยี มตัว 2. บคุ ลิกลกั ษณะ กริ ิยา ทา่ ทางในการพดู น้ำเสยี ง 3. ความรเู้ กี่ยวกบั เนื้อหา ความถูกต้อง ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า 4. เนอ้ื หาสาระท่ีได้จากการพูดการฟัง หนงั สอื ใช้ประกอบการเรยี นการสอน
สื่อการสอน หนว่ ยท่ี 5 มาตราสว่ นในการเขียนแบบ วชิ าเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น รหัสวชิ า 20100-1001 ครผู ู้สอน นายรฐั กร ลำ่ สวย แผนกวชิ าชา่ งเช่ือมโลหะ วิทยาลัยการอาชีพแจห้ ม่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
หนว่ ยที่ 5 มาตราสว่ นในการเขียนแบบ 1. เครื่องมืออุปกรณ์เขียนแบบ เครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ มีรายละเอียดดงั น้ี 1. โตะ๊ เขียนแบบ(Drawing Table) ลกั ษณะโตะ๊ เขยี นแบบมีส่วนประกอบที่สาคญั 3 ส่วนดงั น้ี - กระดานทาดว้ ยไมอ้ ดั ปิ ดผิวหนา้ ดว้ ยโฟเมกา้ - ขาโต๊ะ ทาดว้ ยเหลก็ ส่ีเหล่ียม - สกรูปรับมมุ การใชง้ าน ใชก้ บั งานเขียนแบบทุกชนิดช่วยใหก้ ารเขยี นแบบเสร็จเร็วข้ึน ขนาดความสูงของผเู้ ขียน ไม่มีปัญหาต่อการใชโ้ ต๊ะเขยี นแบบเพราะกระดานเขยี นแบบสามารถปรับมุมได้ การเก็บรักษา - อยา่ ใหข้ องมีคมถูกพ้นื ผวิ ของกระดาน เพราะจะทาใหเ้ ป็นรอย - หลงั เลิกใชใ้ หใ้ ชผ้ า้ สะอาดเช็ดทาความสะอาดทกุ มมุ - ใชม้ ือคลายลอ็ กพบั กระดานลงมาติดกบั ขาโตะ๊ 2. กระดานเขียนแบบ (Draftng Board) ลกั ษณะของกระดานเขียนแบบ ทาดว้ ยไมอ้ ดั ปิ ดผวิ ดว้ ยโฟเมกา้ การใชง้ าน ส่วนมากจะใชง้ านสนาม เพราะการขนยา้ ยสะดวกตลอดจนการใชง้ านสถานศึกษา ที่ไม่ มีโตะ๊ เขียนแบบมาตรฐาน การเกบ็ รักษา - อยา่ ใหข้ องมีคมถกู พ้นื ผิวของกระดาน เพราะจะทาใหเ้ ป็นรอย - หลงั เลิกใชใ้ หใ้ ชผ้ า้ สะอาดเชด็ ทาความสะอาดทุกมุม - ถา้ เป็นรกระดานไมอ้ ดั อยา่ ใหเ้ ปี ยกน้า จะทาใหเ้ กิดการบวมได้ - ถา้ เป็นเมลามีนหรือพลาสติกอยา่ ใหถ้ ูกความร้อนมากจนเกิดไปจะทาใหเ้ กิดการบิด 3. กระดาษเขียนแบบ ลกั ษณะเป็ นกระดาษสี่เหลี่ยมพ้ืนผา้ ผิวเรียบ สีขาว ขนาดของกระดาษจะใช้ตามมาตรฐาน สากล เป็นระบบเมตริก มีขนาดต้งั แต่ A0 จนถึง A6 การใช้งาน ในปัจจุบนั ใช้กระดาษเขียนแบบตามมาตรฐานสากลมีขนาดต้งั แต่ A0 จนถึง A6 ใช้ สาหรับงานเขียนแบบมาตรฐาน งานพิมพท์ ว่ั ๆ ไป รวมท้งั งานเขียนและส่ิงพิมพต์ ่างๆซ่ึงกระดาษเขียนแบบ ท่ีมีขนาดจากมีขนาดเลก็ A6 จะมีขนาดเท่ากบั ไปรษณียบตั ร วธิ ีการติดกระดาษเขยี นแบบมีดงั น้ี
- นากระดาษเขยี นแบบมาวางบนกระดาษเขยี นแบบ - นาบรรทดั ที่วางบนกระดาษเขียนแบบหวั บรรทดั ท่ีแนบชิดขอบกระดานเขียนแบบ - เลื่อนกระดาษเขียนแบบให้ห่างขอบกระดาษเขียนแบบดา้ นซ้ายมือ 50 มิลลิเมตรให้ เส้นกรอบดา้ นขนานนอนเป็นเส้นเดียวกนั กบั บรรทดั ที ดา้ นมีตราวดั - ปิ ดกระดาษกาวหรือเทปใส่ท่ีมุมดา้ นบนซ้ายและขวา โดยปิ ดตามขวางกบั มุมกระดาษ เขียนแบบ - เลื่อนบรรทดั ทีลงมา เพื่อไม่ใหก้ ระดาษเขียนแบบยน่ จากน้นั ปิ ดกระดาษกาวหรือเทป ใสมุมกระดาษเขียนแบบท่ีเหลือ - 4. บรรทดั ขนาด ลกั ษณะท่ีใชอ้ ยทู่ าดว้ ยพลาสติก รูปร่างเป็นบรรทดั ดา้ นขอบบนมาตราวดั มีเชือกคลอ้ งกบั รอกที่ปลายท้งั 2 ขา้ งทาใหก้ ารเคล่ือนท่ีในทิศทางข้ึน-ลงขนานกบั ขอบของกรดาษเขียนแบบตลอดเวลา การใช้งาน ใช้สาหรับการลากเส้นในแนวขนานนอนและเป็ นฐานรองรับ ฉากสามเหลี่ยมการ ประกอบกบั กระดาษเขียนแบบ โดยใชเ้ ชือกท้งั 2 ขา้ งยดึ ติดกบั กระดานเขียนแบบทิศทางในการเคล่ือนที่จะ เลื่อนข้ึนเลื่อนลง นิยมใชง้ านในการเขยี นแบบเป็นอยา่ งมาก การเก็บรักษา เมื่อทางานเสร็จปลดเชือกใชผ้ า้ เช็ดให้สะอาด อย่าให้ของมีคม ส่วนท่ีเป็ นพลาสติก และเชือกเพราะจะทาใหเ้ กิดการชารุด เก็บใส่ถุงเกบ็ บรรทดั ขนาน 5. บรรทดั ที ลกั ษณะทาดว้ ยไมห้ รือพลาสติกเป็นรูปตวั ทีมีส่วนประกอบหลกั อยู่ 2 ส่วน - ส่วนหวั ผิว ดา้ นท่ีใชก้ บั ขอบกระดาษหรือโต๊ะเขียนแบบจะตอ้ งเรียบไดฉ้ าก - ส่วนบรรทดั มีลกั ษณะแบบเป็ นสี่เหล่ียมผืนผา้ ขอบดา้ นบนจะเอียงและมีมาตราวดั เป็ น ระบบเมตริก ดา้ นซ้ายยึดติดกบั ส่วนหัวและต้งั ฉากกนั ดา้ นปลายเจาะรูไวส้ าหรับเก็บโดยการแขวนไวก้ บั ตะปู การใชง้ าน ใช้กบั กระดานหรือโต๊ะเขียนแบบ โดยใชเ้ ขียนเส้นขนานนอนและเป็ นมาตรฐานฉาก สามเหลี่ยม บรรทดั ท่ีใชส้ าหรับงานฝึ กหรืองานสนามเพราะว่าหาซ้ือง่ายราคาถูกในงานสนามไม่อาจจะหา เคร่ืองกลเขยี นแบบตลอดจนบรรทดั ขนานได้ 6. ฉากสามเหลี่ยม ที่ใชใ้ นการเขยี นแบบมีอยดู่ ว้ ยกนั 2 ชนิดดงั น้ี - ฉากสามเหลี่ยมแบบตายตวั ลกั ษณะ ทาจากพลาสติกเป็นรูปสามเหล่ียม ที่บริเวณขอบฉาก สามเหล่ียมจะมีดา้ นเรียบและดา้ นเอียงมีมาตราวดั มีหน่วยเป็นระบบเมตริก การใชง้ าน ขอบดา้ นเรียบใชก้ บั ดินสอ ขอบดา้ นเอียงใชก้ บั ปากกา ใชร้ ่วมกบั บรรทดั ทีหรือฉากสามเหลี่ยม 2 อนั ประกอบกนั ก็ไดใ้ ชใ้ นการ เขียน
การเก็บรักษา อย่าใหข้ องมีคมถูกฉากสามเหลี่ยมเพราะจะทาใหเ้ กิดการชารุดได้ เมื่อทางานเสร็จใช้ ผา้ สะอาดเชด็ ทาความสะอาด - ฉากสามเหลี่ยมแบบปรับมุม ลกั ษณะ ทาจากพลาสติกมีส่วนประกอบหลกั อยู่ 2 ส่วนคือ ส่วนท่ีเป็นฉากอยกู่ บั ที่และส่วนท่ีเคล่ือนท่ีมีมาตราวดั มมุ ติดกบั ในบรรทดั การใชง้ าน ใชแ้ ทนฉากสามเหลี่ยมแบบตายตวั และใชร้ ่วมกบั บรรทดั ที นิยมใชใ้ นการเขยี นแบบมาก การเกบ็ รักษา อยา่ ใหข้ องมีคมถูกฉากสามเหล่ียมแบบปรับไดเ้ พราะจะทาใหเ้ กิดการชารุด เม่ือทางานเสร็จใช้ ผา้ สะอาดเช็ดทาความสะอาด 7. บรรทดั มาตราส่วน ลกั ษณะ ทาจากโลหะหรือพลาสติกใบบรรทดั มีลกั ษณะแบนและสามเหลี่ยมส่วนท่ี เป็ นสามเหลี่ยม 6 ดา้ นแต่ละดา้ นมีมาตราส่วนตรงกลางเป็ นร่องคร่ึงวงกลมมีความยาว 150 300 และ 600 มิลลิเมตร การใชง้ าน ใชส้ าหรับงานเขียนแบบก่อสร้างสถาปัตยกรรมหน่วยที่ใชว้ ดั เป็นระบบเมตริก การเกบ็ รักษา อยา่ ใหข้ องมีคมถูกเพราะจะทาใหเ้ กิดชารุด เม่ือทางานเสร็จใชผ้ า้ แหง้ ทาความสะอาด 8. บรรทดั เขยี นส่วนโคง้ ลกั ษณะ ทาดว้ ยพลาสติกมีรูปร่างโคง้ และมีการโคง้ หลายลกั ษณะต่างกนั ไป การใชง้ าน ในการเขียนส่วนโคง้ ที่ไม่สามารถใชว้ งเวียนหรือเคร่ืองมืออุปกรณ์อ่ืนๆ เขียนได้ การเขียนส่วน โคง้ น้นั จะตอ้ งผา่ นจุดอยา่ งนอ้ ย 3 จุด การเก็บรักษา อย่าให้ถูกของมีคมเพราะจะทาใหเ้ กิดการชารุด อย่าให้ ถกู ความร้อนมากจนเกินไปเพราะจะทาใหเ้ กิดการบิดงอ 9. บรรทดั วดั มุม นิยมใชใ้ นงานเขยี นแบบมี 2 ชนิด - ไมโ้ ปรแทรกเตอร์ ลกั ษณะ ทาดว้ ยพลาสติกส่ีเหลี่ยมพ้ืนผา้ มีมาตราวดั มมุ ต้งั แต่ 0 ถึง 180 องศา มีมาตราวดั ความยาวหน่วยเป็นระบบเมตริกและองั กฤษ การใชง้ าน ใชส้ าหรับมุมในงานเขียนแบบมี มุมต้งั แต่ 0 ถึง 180 องศา นิยมใชก้ นั มากในวิชาเรขาคณิต การเก็บรักษา อยา่ ใหข้ องมีคมเพราะจะทาใหเ้ กิดการชารุด - คร่ึงวงกลมวดั มุม การใชง้ าน สาหรับการวดั มุมในงานเขียนแบบเร่งด่วน โดยไม่ตอ้ ง พ่ึงบรรทดั ทีและฉากสามเหลี่ยม ใชว้ ดั มุมไดต้ ้งั แต่ 0 ถึง 180 องศา การเก็บรักษา อยา่ ใหเ้ สียดสีกบั วตั ถุอื่นๆ มากจนเกินไปเพราะจะทาใหเ้ กิดการบิดงอ 10. วงเวียน แยกตามลกั ษณะของขาวงเวยี นไดเ้ ป็น 2 ชนิด - วงเวียนขาตาย หมายถึง วงเวยี นท่ีปรับเปลี่ยนระยะขาวงเวียนโดยใชม้ ือดึงออกและบีบเขา้ ลกั ษณะ ทาดว้ ยโลหะสแตนแลสและพลาสติกมีส่วนประกอบอยู่ 3 ส่วนดงั น้ี 1. ส่วนที่เป็นขาตรงส่วนปลายเป็นโลหะแหลมคม
2. ส่วนที่เป็นแขนหรือรัศมีส่วนปลายมีดินสอหรือไส้ดินสอหรือปากกายดึ ดว้ ยสกรู 3. ส่วนท่ีเป็นดา้ มส่วนมากเป็นพลาสติกจะมีลายเพือ่ ใหจ้ บั ไดส้ ะดวก การใช้งาน ใช้สาหรับเขียนส่วนโคง้ วงกลมแบ่งมุมแบ่งเส้น ตลอดจนเป็ นส่วนหน่ึงในการเขียนรูปทรง เรขาคณิตรูปต่างๆได้ การเกบ็ รักษา อยา่ ใหว้ งเวียนส่วนเป็นปลายแหลมขีดเขียนบนโลหะเพราะจะทาใหเ้ กิด การชารุดได้ เมือทางานเสร็จแลว้ ใชผ้ า้ เช็ดใหส้ ะอาด - วงเวียนขาสปริง ทาดว้ ยโลหะสแตนเลสมีส่วนประกอบหลกั อยู่ 4 ส่วนดงั น้ี 1. ส่วนขาตรงปลายมีลกั ษณะแหลมคมใชส้ กรูปรับข้นึ ลง 2. ส่วนแขนหรือรัศมีที่ปลายประกอบเขา้ กบั ดินสอหรือปากกายดึ ดว้ ยสกรู 3. ส่วนสกรูปรับขนาดเป็นสกรูใชใ้ นการปรับระยะห่างระหวา่ งขากบั แขนของวงเวียน 4. ส่วนดา้ มเป็นโลหะหรือพลาสติกมีลายกนั ล่ืนขณะปฏิบตั ิงาน การใชง้ าน ใชส้ าหรับงานที่ละเอียดโดยเฉพาะงานเขียนวงกลมท่ีมีขนาดเลก็ การเก็บรักษา ตอ้ งทะนุถนอม โดยเฉพาะเป็นเกลียวที่ขอบบางมาก อยา่ ใชป้ ลายวงเวยี นเขยี นบนผวิ โลหะเพราะจะทาใหเ้ กิดการชารุดได้ 11. ดิไวเดอร์ ทาดว้ ยโลหะสแตนเลสมีส่วนประกอบหลกั อยู่ 3 ส่วนดงั น้ี 1. ส่วนขามี 2 ขา้ งใชส้ กรูยดึ และปรับข้ึนลง 2. ส่วนสกรูปรับขนาด เป็นสกรูใชใ้ นการปรับขาดิไวเดอร์ท้งั 2 ขา้ งใหไ้ ดข้ นาดความยาวท่ี ตอ้ งการ 3. ส่วนดา้ มเป็นโลหะหรือพลาสติกมีลายกนั ลื่นขณะปฏิบตั ิงาน การใชง้ าน ใชส้ าหรับการถ่ายแบบจากบรรทดั หรือจากชิ้นงาน โดยใชม้ ือปรับที่สกรูตามตอ้ งการ การเก็บรักษา การใชง้ านจะตอ้ งทะนุถนอมและระมดั ระวงั ปลายแหลมท้งั 2 ขา้ ง อยา่ ใหป้ ลายแหลมขีดเขียน ลงบนผิวโลหะเพราะจะทาใหเ้ กิดการชารุดได้ เม่ือทางานเสร็จใชผ้ า้ สะอาดเชด็ ทาความสะอาด 12. ปากกาเขียนแบบ ลกั ษณะประกอบพลาสติกยกเวน้ ปากทาดว้ ยโลหะ มีส่วนประกอบหลกั อยู่ 3 ส่วนคือ ส่วนดา้ มหรือโครงร่าง ไสใ้ ส่หมึก และปาก การประกอบกนั โดยใชเ้ กลียว ขนาดของเส้นปากกาเขียนแบบมี ต้งั แต่ 0.13 ถึง 2.00 มิลลิเมตร การใชง้ าน ใชส้ าหรับเขียนลงบนกระดานไข หา้ มใชก้ บั กระดานที่ผิวอ่อนขรุขระเน่ืองจากจะทาให้เน้ือของ กระดาษอุดตนั การเก็บรักษา เมื่อใชง้ านหมึกหมดตอ้ งถอดทุกชิ้นส่วน ยกเวน้ ปากกาโลหะลา้ งดว้ ยน้าใหส้ ะอาด เข็ดดว้ ยผา้ สะอาดจนแหง้ ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั ทุกส่วนนาเกบ็ ลงในกล่อง 13. ดินสอ ที่ใชใ้ นการเขยี นแบบมี 2 ชนิด ดงั น้ี
- ดินสอเปลือกไม้ ประกอบ 2 ส่วน คอื เปลือกไมแ้ ละไส้ดินสอ ซ่ึงไสด้ ินสอมี 3 ชนิดไดแ้ ก่ ชนิดแข็ง ชนิดปานกลาง และชนิดอ่อน การใช้งานข้ึนอยู่กบั ไส้ดินสอและการเหลาดินสอ การเก็บรักษา ตอ้ งใชเกรดดินสอให้เหมาะสมกบั งาน เพื่อเป็นการประหยดั และไม่ตอ้ งเหลาบ่อยๆ อย่าให้ดินสอหล่นถูก พ้นื จะทาใหด้ ินสอหกั ภายในได้ 14. กบเหลาดินสอ ลกั ษณะมี 2 ส่วนหลกั ๆ ดงั น้ี 1. โครง ซ่ึงทามาจากโลหะหรือพลาสติก ซ่ึงในส่วนน้ีจะเกบ็ เศษเปลือกไมท้ ี่เหลาดินสอไวด้ ว้ ย 2. ส่วนคมตดั หรือใบมีด ทาจากโลหะท่ีมีความแขง็ ใชส้ าหรับเปลือกดินสอออกให้ดินสอท่ีแหลม คม การใช้งาน ใชส้ าหรับเหลาดินสอท่ีเป็ นเปลือกไม้ การเก็บรักษา อย่าให้หล่นถูกพ้ืนเพราะจะทาให้เกิดการ ชารุด เมือเลิกใชง้ านเอาเศษเปลือกไมท้ ิ้งถงั ขยะใชผ้ า้ สะอาดเช็ดทาความสะอาด 15. ยางลบ ลกั ษณะ เป็นยางท่ีมีความยดื หยนุ่ มีหลายลกั ษณะ เช่นวงกลม สี่เหลี่ยม ทามาจากยางพารา การใชง้ าน ใชส้ าหรับทาความสะอาดในการลบรอยขีดเขียนจากดินสอ การเก็บรักษา อย่าให้โดนความร้อน มากเกินไป ทาความสะอาดดว้ ยผา้ สะอาดก่อนเก็บลงกลอ่ ง 16. แปรงปัดฝ่นุ ลกั ษณะมีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ส่วนโครงกบั ส่วนขนแปรงวสั ดุท่ีใชท้ าโครงเป็นไมห้ รือ พลาสติกส่วนขนแปรงใชพ้ ลาสติกหรือขนสัตว์ การใชง้ าน ใชส้ าหรับปัดฝ่นุ จากเศษยางลบในงานเขียนแบบ การเก็บรักษา อยา่ ใหถ้ ูกความร้อนมากเกินไป ทาความสะอาดโดยเคาะฝ่นุ ออกแลว้ เช็ดดว้ ยผา้ สะอาด 17. อุปกรณ์ช่วยประหยดั เวลาเขียนแบบ ท่ีจาเป็นมี 3 ชนิดดงั น้ี - แผ่นแบบ ลกั ษณะเป็ นแผ่นบางทาดว้ ยพลาสติกภายในแผ่นแบบเป็ นรูปทรงเรขาคณิต ตา่ งๆ เช่น สามเหลี่ยมสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี หา้ เหลี่ยมเป็นตน้ 1. แผ่นแบบชนิดต่างๆ การใช้งาน ช่วยให้การเขียนแบบไดร้ วดเร็วย่ิงข้ึน โดยผูเ้ ขียนแบบจะตอ้ ง เลือกแผ่นแบบให้เหมาะสมกบั การใช้งาน การเก็บรักษา อย่าให้ถูกเสี ยดสีกบั วตั ถุอ่ืนมากเพราะมาตราวดั หรือตวั เลขขอกขนาดจะลบเลือน 2. แผ่นแบบตวั อกั ษร ลกั ษณะทาดว้ ยพลาสติกบรรทดั เป็นร่องรูปตวั อกั ษรไทย ตวั องั กฤษ ตวั เลข และเคร่ืองหมายต่างๆ การใชง้ าน โดยใชด้ ินสอหรือปากกาเขียนแบบเขยี นตามร่องตวั อกั ษร เพือ่ ใหเ้ กิดความ สวยงาม การเก็บรักษา อยา่ ใหถ้ กู ของมีคมหรือความร้อนเพราะจะทาใหเ้ กิดการชารุดได้ 3. ลีรอย ลกั ษณะ มีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ชุดเขียนดว้ ยปากกา และบรรทดั ตวั อกั ษรไทย อกั ษร องั กฤษ และตวั เลขทาดว้ ยพลาสติก การใชง้ าน ใชป้ ากกาเขยี นบนส่วนท่ีเป็นบรรทดั ท่ีมีตวั อกั ษร
การเก็บรักษา ตอ้ งระมดั ระวงั อย่ากดปากกาแรงจนเกินไปอาจทาให้ชารุดได้ เม่ือทางานเสร็จแลว้ ใช้ผา้ สะอาดเช็ดทาความสะอาด เก็บลงในกล่อง จงเติมคำในช่องว่ำงให้ถูกต้อง 1. วงเวยี นขาสปริง มีลกั ษณะ และการใชง้ านอยา่ งไรบา้ ง .................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... 1. ดิไวเวอร์ มีลกั ษณะ และการใชง้ านอย่างไรบา้ ง .................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... 2. ปากกาเขียนแบบ มีลกั ษณะ และการใชง้ านอยา่ งไรบา้ ง ................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. ดินสอ มีลกั ษณะ และการใชง้ านอยา่ งไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… 4. ยางลบ มีลกั ษณะ และการใชง้ านอยา่ งไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………
แบบทดสอบหลงั เรียน จงเลือกคำตอบท่ถี ูกต้องทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1 จาแนกชนิดของเคร่ืองมือ ลกั ษณะ วิธีการใชอ้ ปุ กรณ์เขียนแบบได(้ ดา้ น ความรู้) 1. Technical Drawing มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. การเขยี นแบบในสมยั ก่อน ข. การเขยี นแบบเทคนิค ค. วิวฒั นาการเขียนแบบ ง. การเขียนแบบเคร่ืองมือ 2. การเขยี นแบบของไหล มีลกั ษณะเกี่ยวขอ้ งกบั ขอ้ ใดมากท่ีสุด ก. เป็นงานเขียนแบบเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ทุกชนิดที่ใชใ้ นงานอุตสาหกรรม ข. เป็นการเขียนแบบแผ่นคลี่โลหะแผน่ เพื่อนาไปข้นึ รูปเป็นชิ้นงานในลกั ษณะต่างๆ ค. เป็นการแสดงแผนภาพวงจรในระบบไฮดรอลิก - นิวแมติกส์ ง. เป็นการเขยี นแบบที่ใชส้ ญั ลกั ษณ์งานเชื่อมลงในแบบ 3. การเขยี นแบบเกี่ยวกบั งานส่ิงประดิษฐ์ที่คดิ คน้ ไดเ้ ป็นการเขียนแบบลกั ษณะใด ก. การเขยี นแบบสถาปัตยกรรม ข. การเขียนแบบงานผลิตภณั ฑ์ ค. การเขยี นแบบโครงสร้าง ง. การเขยี นแบบสิทธิบตั ร 4. ขอ้ ใด ไม่ใช่ การเกบ็ รักษาโต๊ะเขยี นแบบ ก. อยา่ ใหข้ องมีคมถูกพ้ืนผิวของกระดาน เพราะจะทาให้เป็นรอย ข. หลงั เลิกใชง้ านทุกคร้ังใหใ้ ชผ้ า้ ทาความสะอาด ค. ใชม้ ือคลายลอ็ กพบั กระดานลงมาติดกบั ขาโตะ๊ ง. ถา้ เป็นกระดานไมอ้ ดั อยา่ ใหเ้ ปี ยกน้า จะทาใหเ้ กิดการบวม 5. ชนิดของกระดาษ A4 มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรเท่าใด ก. 297 420 ข. 210 297 ค. 148 210 ง. 105 148 6. ฉากสามเหล่ียม มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. Set Square ข. Parallel Slide ค. Irregular Curves ง. Scales
7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลกั ษณะของ วงเวียนขาสปริง ก. ส่วนขาตรงส่วนปลายมีลกั ษณะแหลมคมใหส้ กรูปรับข้ึนลง ข. ส่วนแขนหรือรัศมีมีท่ีปลายประกอบเขา้ กบั ดินสอหรือปากกายดึ ตวั สกรู ค. ปรับขนาดเป็นสกรูใชใ้ นการปรับระยะห่างระหวา่ งขากบั แขนวงเวียน ง. ส่วนท่ีเป็นขาตรงส่วนปลายเป็นโลหะแหลมคม 8. เสน้ ในการเขียนแบบ หมายถึง ก. การใชเ้ ทคนิคนาเส้นต้งั แต่หน่ึงเส้นข้ึนไปมาประกอบกนั กลายเป็นรูปร่าง ข. จุดหลายๆ จุดมาติดต่อกนั มีทิศทางไดห้ ลายทิศทางมีลกั ษณะเป็นเสน้ ต่างๆ ค. การใชจ้ ุดหลายๆจุดมารวมกนั ใหไ้ ดร้ ูปร่างของเส้นข้ึนมา ง. การนาเส้นมารวมกนั ทาใหเ้ กิดรูปร่างข้ึน 9. Light Continuous Line มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. เสน้ ประ ข. เสน้ ลกู โซ่ ค. เส้นเตม็ บาง ง. เสน้ มือเปล่า 10. ตวั อกั ษรพิมพใ์ หญ่ท่ีนิยมใชเ้ ขยี นแบบมี 2 ชนิด คือ ก. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญต่ วั ตรงและตวั เอียง ข. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญ่ตวั เอียงและตวั หนา ค. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญต่ วั หนาและตวั ตรง ง. ตวั อกั ษรพมิ พใ์ หญ่ตวั เอนและตวั ตรง
ใบงานท่ี 5 ประกอบแผนการสอนบทที่ 5 เรื่อง มาตราส่วนในงานเขียนแบบ จุดประสงคข์ องงาน 1. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจถึงเคร่ืองมือและอปุ กรณ์เขยี นแบบได้ 2. เพื่อใหผ้ เู้ รียนเขียนแบบโดยใชเ้ ครื่องและอุปกรณ์เขยี นแบบได้ 3. เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนเกบ็ รักษาเคร่ืองมือและอุปกรณ์เขยี นแบบได้ กิจกรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม แลว้ แสดงวิธีการใชง้ านและวธิ ีการเก็บเครื่องมือและ อปุ กรณ์เขียนแบบอยา่ งถกู ตอ้ ง 2. ใหน้ กั ศึกษาร่วมกนั สรุปเรื่อง เครื่องมือและอุปกรณ์เขยี นแบบและใหบ้ นั ทึกผลและรายงานหนา้ ช้นั เรียน ใหจ้ ดั ทาสื่อประกอบการรายงานดว้ ย เม่ือรายงานหนา้ ช้นั เรียนแลว้ ใหผ้ ฟู้ ังซกั ถามปัญหา ขอ้ สงสยั ใหบ้ นั ทึกผลและรายงานหนา้ ช้นั เรียน ใหจ้ ดั ทาส่ือประกอบการรายงานดว้ ย 3. เมื่อรายงานหนา้ ช้นั เรียนแลว้ ใหผ้ ฟู้ ังซกั ถามปัญหา ขอ้ สงสยั เกี่ยวกบั เครื่องมือและอปุ กรณ์เขียน แบบ จากน้นั ใหผ้ ูร้ ายงานต้งั คาถามเพอ่ื ถามผฟู้ ังอยา่ งนอ้ ย 2 คาถาม หนงั สือใชป้ ระกอบการเรียนการสอน
สอื่ การสอน หนว่ ยที่ 6 ภาพฉาย วชิ าเขยี นแบบเทคนคิ เบือ้ งต้น รหสั วิชา 20100-1001 ครูผูส้ อน นายรฐั กร ลำ่ สวย แผนกวิชาช่างเชอ่ื มโลหะ วทิ ยาลยั การอาชพี แจห้ ่ม สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
หน่วยท่ี 6 ภาพฉาย 1. ความหมายและลักษณะการใช้งานของภาพฉาย ภาพฉาย หมายถงึ ภาพ 2 มิตทิ ี่แสดงภาพดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ งและดา้ นบน จากภาพพิกทอเรียล ซง่ึ ภาพ แต่ละด้านจะแสดงรายละเอียดต่างๆ ไว้ชัดเจนทำให้ง่ายต่อการอ่านแบบ เขียนแบบและเป็นที่นิยมใช้กันมาก ในการเขียนแบบสั่งงาน ลักษณะการใช้งาน ของภาพฉายเป็นภาพ 2 มิติที่เกิดขึ้นเหมือนกับการหมุนชิ้นงานไปรอบๆ ครบทุก ด้าน ซึง่ จะได้ภาพท่ีปรากฏข้นึ ท้ังหมดจำนวน 6 ด้าน ไดแ้ ก่ ภาพดา้ นหน้า ด้านหลัง ด้านขา้ งขวา ด้านข้างซ้าย ดา้ นบน และดา้ นลา่ ง การใช้งานของภาพฉายใชส้ ำหรบั แบบส่งั งาน เนื่องจากเป็นภาพที่มีรายละเอยี ดของแบบ ไดช้ ดั เจนและเข้าใจงา่ ย 2. ทศิ ทางการมองการปรากฏของภาพฉาย การมองภาพฉายจากภาพพิกทอเรียล ผู้เขยี นแบบจะต้องกำหนดภาพดา้ นหน้า ด้านหลัง ดา้ นข้างขวา ด้านข้างซ้าย ด้านบน และด้านล่าง โดยใช้ลูกศรชี้ การมองต้องมองตามลูกศรชี้ ซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการเขียน แบบภาพฉาย มีทิศทางการมองภาพฉาย ดังนี้ ด้านบน เปน็ การมองโดยสายตาผมู้ องจะอยสู่ งู กวา่ ชิน้ งานหรอื การก้มลงมองภาพนั้น ด้านล่าง เป็นด้านท่อี ย่ตู รงกนั ข้ามกับภาพดา้ นบนเป็นการมองโดยสายตาผู้มองจะอยตู่ ่ำกว่าช้ินงานหรื ออการแหงนหน้าข้นึ มองนัน่ เอง ด้านข้างขวา ด้านข้างซ้าย ทางด้านข้างขวาเป็นการมองภาพทางด้านขวามือ ขนาดที่มองเห็นคือ ความสูงและความยาว ด้านข้างซ้าย เป็นด้านที่อยู่ตรงกันข้ามกับด้านขวาขนาดที่มองเห็น คือความสูงและ ความยาว ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านหน้า เป็นภาพที่อยู่ด้านหน้าหรือใกล้กับผู้มองภาพ ขนาดที่มองเห็นคือความ กวา้ งและความสูงของภาพ ใช้เป็นภาพหลกั ในการเขยี นภาพฉาย ด้านหลัง เป็นภาพที่อยู่ตรงกันข้ามกับภาพด้านหน้า ขนาดที่มองเห็นคือความกว้างและความสูงของ ภาพ การปรากฏของภาพฉาย 1. พื้นผวิ ทีเ่ ป็นเสน้ 2. พื้นผิวทีเ่ ป็นพ้นื ท่ี 3. ชนิดของภาพฉาย ในงานเขยี นแบบภาพฉายไม่นยิ มเขียนภาพฉายทั้ง 6 ดา้ นซ่ึงเปน็ การเสียเวลาในการเขียนแบบ ฉะนั้น จงึ เขียนแบบภาพฉายเฉพาะด้านทจ่ี ำเป็นเท่านัน้ คอื ด้านหน้า ดา้ นข้าง และดา้ นบน ภาพฉายที่นยิ มใชใ้ นงานเขียนแบบในปจั จุบนั มี 2 ชนดิ คอื
1. ภาพฉายมุมที่ 1 นิยมใช้กันมากประเทศยุโรปและเอเชีย การเขียนภาพฉายมุมที่ 1 จากการแบ่ง วงกลมออกเป็น 4 สว่ นเทา่ ๆกัน 2. ภาพฉายมุมที่ 3 นิยมใช้กันมากในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนนาดา โดยที่ชิ้นงานอยู่ ในตำแหนง่ มมุ ท่ี 3 ภาพ จงเติมคำในชอ่ งว่างให้ถกู ต้อง 1. ภาพฉาย หมายถึง ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... 2. จงอธิบายลักษณะและการใชง้ านของภาพฉายมาพอเขา้ ใจ ............................................................................................................................. ......................................... ......................................................................................... .............................................................................. 3. จงอธิบายทิศทางการมองของภาพฉายมาพอเขา้ ใจ ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... 4. ภาพฉายท่นี ยิ มใช้ในงานเขยี นแบบปัจจบุ นั มีก่ีชนิดอะไรบ้าง .............................................................................................................................. ......................................... ......................................................................................... .............................................................................. 5. จงอธบิ ายการเขยี นภาพฉายมุมที่ 1 มาพอเข้าใจ ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. ..........................................
ใบงานท่ี 7 ประกอบแผนการสอนบทท่ี 6 เรอ่ื ง เขียนแบบภาพฉายมุมที่ 3 ทรงเหลี่ยม จดุ ประสงค์ของงาน 1. เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเข้าใจถึงหลักเขียนแบบภาพฉายได้ 2. เพื่อให้ผเู้ รียนเขียนแบบภาพฉายมุมที่ 3 ทรงเหลีย่ มได้ กิจกรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาดูรูปตัวอย่างแล้วเขยี นแบบภาพฉายมมุ ที่ 3 ทรงเหล่ียมตามหวั ข้อทกี่ ำหนด 2. ให้นักศึกษาร่วมกนั สรุปในเนือ้ หาเรื่องการเขยี นแบบภาพฉายและ ใหบ้ ันทึกผลและรายงานหน้า ช้ันเรียน ให้จดั ทำสอ่ื ประกอบการรายงานด้วย เมอื่ รายงานหน้าช้ันเรียนแล้วให้ผู้ฟังซักถามปญั หา ข้อสงสยั ใหบ้ ันทึกผลและรายงานหนา้ ชนั้ เรียน ให้จัดทำสอ่ื ประกอบการรายงานด้วย 3. เม่ือรายงานหนา้ ช้นั เรียนแลว้ ให้ผูฟ้ ังซักถามปัญหา ข้อสงสยั เกยี่ วกบั การเขียนแบบภาพฉาย จากนนั้ ให้ผู้รายงานตั้งคำถามเพ่ือถามผู้ฟงั อย่างน้อย 2 คำถาม หนังสอื ใช้ประกอบการเรยี นการสอน
สื่อการสอน หนว่ ยที่ 7 ภาพสามมติ ิ วชิ าเขยี นแบบเทคนคิ เบอื้ งตน้ รหสั วชิ า 20100-1001 ครูผสู้ อน นายรฐั กร ลำ่ สวย แผนกวชิ าช่างเชอ่ื มโลหะ วิทยาลยั การอาชีพแจ้ห่ม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
หน่วยท่ี 7 ภาพสามมิติ 1. เคร่ืองมอื อปุ กรณเ์ ขียนแบบ เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์เขยี นแบบ มีรายละเอียดดังน้ี 1. โตะ๊ เขยี นแบบ(Drawing Table) ลกั ษณะโตะ๊ เขยี นแบบมีส่วนประกอบทส่ี ำคัญ 3 ส่วนดงั นี้ - กระดานทำด้วยไมอ้ ัดปิดผวิ หนา้ ด้วยโฟเมก้า - ขาโต๊ะ ทำด้วยเหล็กสี่เหลี่ยม - สกรปู รับมมุ การใช้งาน ใช้กับงานเขียนแบบทุกชนดิ ชว่ ยให้การเขียนแบบเสรจ็ เรว็ ข้ึน ขนาดความสูงของผู้เขยี นไม่ มีปัญหาต่อการใช้โตะ๊ เขยี นแบบเพราะกระดานเขยี นแบบสามารถปรบั มุมได้ การเก็บรักษา - อย่าให้ของมคี มถูกพืน้ ผิวของกระดาน เพราะจะทำให้เป็นรอย - หลงั เลิกใช้ใหใ้ ชผ้ า้ สะอาดเช็ดทำความสะอาดทุกมุม - ใช้มอื คลายล็อกพับกระดานลงมาติดกับขาโต๊ะ 2. กระดานเขยี นแบบ (Draftng Board) ลักษณะของกระดานเขียนแบบ ทำดว้ ยไม้อดั ปิดผวิ ด้วยโฟเมก้า การใชง้ าน สว่ นมากจะใช้งานสนาม เพราะการขนย้ายสะดวกตลอดจนการใชง้ านสถานศึกษา ท่ีไมม่ ี โต๊ะเขยี นแบบมาตรฐาน การเกบ็ รักษา - อยา่ ให้ของมีคมถูกพื้นผิวของกระดาน เพราะจะทำให้เป็นรอย - หลังเลกิ ใชใ้ ห้ใชผ้ า้ สะอาดเช็ดทำความสะอาดทุกมุม - ถ้าเปน็ รกระดานไม้อดั อยา่ ให้เปยี กนำ้ จะทำใหเ้ กิดการบวมได้ - ถา้ เป็นเมลามีนหรือพลาสติกอย่าให้ถูกความรอ้ นมากจนเกิดไปจะทำใหเ้ กิดการบิด 3. กระดาษเขียนแบบ ลักษณะเปน็ กระดาษสเี่ หล่ยี มพื้นผา้ ผวิ เรยี บ สขี าว ขนาดของกระดาษจะใชต้ ามมาตรฐาน สากล เปน็ ระบบเมตริก มีขนาดต้ังแต่ A0 จนถงึ A6 การใช้งาน ในปัจจุบนั ใชก้ ระดาษเขยี นแบบตามมาตรฐานสากลมขี นาดตั้งแต่ A0 จนถงึ A6 ใชส้ ำหรบั งานเขยี นแบบมาตรฐาน งานพมิ พท์ ว่ั ๆ ไป รวมทั้งงานเขยี นและสงิ่ พิมพต์ ่างๆซ่งึ กระดาษเขียนแบบทีม่ ีขนาด จากมีขนาดเล็ก A6 จะมขี นาดเทา่ กับไปรษณยี บตั ร วิธกี ารตดิ กระดาษเขยี นแบบมดี ังน้ี - นำกระดาษเขียนแบบมาวางบนกระดาษเขียนแบบ - นำบรรทดั ที่วางบนกระดาษเขียนแบบหวั บรรทดั ที่แนบชดิ ขอบกระดานเขยี นแบบ
- เลอื่ นกระดาษเขียนแบบให้ห่างขอบกระดาษเขียนแบบดา้ นซ้ายมอื 50 มลิ ลเิ มตรใหเ้ สน้ กรอบด้าน ขนานนอนเปน็ เสน้ เดยี วกนั กับบรรทัดที ด้านมตี ราวัด - ปิดกระดาษกาวหรือเทปใส่ท่ีมุมด้านบนซา้ ยและขวา โดยปิดตามขวางกบั มมุ กระดาษเขยี นแบบ - เลอื่ นบรรทัดทลี งมา เพ่ือไม่ให้กระดาษเขียนแบบยน่ จากนั้นปิดกระดาษกาวหรือเทปใสมุมกระดาษ เขยี นแบบทเ่ี หลือ 4. บรรทัดขนาด ลกั ษณะทีใ่ ช้อยู่ทำด้วยพลาสติก รปู รา่ งเป็นบรรทัดดา้ นขอบบนมาตราวัด มีเชอื กคล้องกับ รอกท่ีปลายทง้ั 2 ขา้ งทำให้การเคลื่อนท่ีในทศิ ทางขน้ึ -ลงขนานกับขอบของกรดาษเขยี นแบบตลอดเวลา การใชง้ าน ใชส้ ำหรับการลากเส้นในแนวขนานนอนและเป็นฐานรองรบั ฉากสามเหลย่ี มการประกอบ กับกระดาษเขยี นแบบ โดยใช้เชอื กทัง้ 2 ขา้ งยึดติดกับกระดานเขียนแบบทศิ ทางในการเคล่อื นทจ่ี ะเลอ่ื นขึน้ เลื่อนลง นิยมใช้งานในการเขียนแบบเปน็ อยา่ งมาก การเกบ็ รักษา เม่ือทำงานเสร็จปลดเชือกใชผ้ า้ เช็ดใหส้ ะอาด อย่าใหข้ องมีคม สว่ นท่ีเป็นพลาสตกิ และ เชือกเพราะจะทำให้เกดิ การชำรุด เก็บใสถ่ ุงเกบ็ บรรทดั ขนาน 5. บรรทดั ที ลกั ษณะทำดว้ ยไม้หรือพลาสติกเป็นรปู ตวั ทมี ีส่วนประกอบหลักอยู่ 2 ส่วน - ส่วนหวั ผิว ดา้ นทีใ่ ช้กับขอบกระดาษหรือโต๊ะเขียนแบบจะตอ้ งเรยี บไดฉ้ าก - สว่ นบรรทดั มีลกั ษณะแบบเป็นสีเ่ หล่ียมผนื ผ้าขอบดา้ นบนจะเอียงและมีมาตราวัดเป็น ระบบเมตริก ด้านซ้ายยึดติดกับสว่ นหัวและตง้ั ฉากกนั ดา้ นปลายเจาะรูไว้สำหรบั เก็บโดยการแขวนไว้กบั ตะปู การใชง้ าน ใช้กบั กระดานหรือโต๊ะเขียนแบบ โดยใช้เขยี นเส้นขนานนอนและเปน็ มาตรฐานฉาก สามเหลีย่ ม บรรทัดที่ใชส้ ำหรับงานฝึกหรอื งานสนามเพราะว่าหาซ้อื ง่ายราคาถูกในงานสนามไม่อาจจะหา เคร่ืองกลเขยี นแบบตลอดจนบรรทัดขนานได้ 6. ฉากสามเหลย่ี ม ทใ่ี ช้ในการเขียนแบบมีอย่ดู ้วยกนั 2 ชนิดดังนี้ - ฉากสามเหลยี่ มแบบตายตัว ลกั ษณะ ทำจากพลาสติกเปน็ รูปสามเหลี่ยม ที่บริเวณขอบฉาก สามเหล่ยี มจะมีด้านเรยี บและดา้ นเอยี งมีมาตราวดั มีหนว่ ยเปน็ ระบบเมตริก การใชง้ าน ขอบดา้ นเรยี บใชก้ ับ ดนิ สอ ขอบด้านเอียงใช้กบั ปากกา ใช้ร่วมกบั บรรทดั ทีหรือฉากสามเหล่ยี ม 2 อันประกอบกันก็ไดใ้ ช้ในการเขียน การเกบ็ รักษา อย่าใหข้ องมีคมถกู ฉากสามเหลี่ยมเพราะจะทำใหเ้ กดิ การชำรดุ ได้ เมอ่ื ทำงานเสร็จใชผ้ า้ สะอาดเช็ดทำความสะอาด - ฉากสามเหลี่ยมแบบปรับมุม ลกั ษณะ ทำจากพลาสตกิ มีส่วนประกอบหลักอยู่ 2 สว่ นคือ สว่ นท่ีเปน็ ฉากอยู่กบั ที่และส่วนทเ่ี คลื่อนท่มี มี าตราวดั มมุ ตดิ กบั ในบรรทดั การใช้งาน ใชแ้ ทนฉากสามเหลย่ี มแบบตายตัวและใชร้ ว่ มกับบรรทดั ที นยิ มใช้ในการเขียนแบบมาก การเก็บรักษา อย่าใหข้ องมีคมถูกฉากสามเหลีย่ มแบบปรบั ได้เพราะจะทำให้เกิดการชำรุด เมือ่ ทำงานเสรจ็ ใช้ ผา้ สะอาดเชด็ ทำความสะอาด
7. บรรทัดมาตราสว่ น ลักษณะ ทำจากโลหะหรอื พลาสติกใบบรรทดั มีลักษณะแบนและสามเหล่ียมส่วนทเ่ี ปน็ สามเหล่ยี ม 6 ด้านแตล่ ะดา้ นมมี าตราส่วนตรงกลางเปน็ ร่องคร่งึ วงกลมมีความยาว 150 300 และ 600 มิลลเิ มตร การใชง้ าน ใชส้ ำหรับงานเขียนแบบกอ่ สรา้ งสถาปตั ยกรรมหน่วยท่ใี ช้วดั เปน็ ระบบเมตริก การเก็บรักษา อย่าใหข้ องมีคมถกู เพราะจะทำให้เกิดชำรดุ เมอ่ื ทำงานเสร็จใชผ้ า้ แห้งทำความสะอาด 8. บรรทดั เขยี นส่วนโคง้ ลักษณะ ทำดว้ ยพลาสตกิ มรี ปู ร่างโค้งและมีการโคง้ หลายลักษณะต่างกนั ไป การใชง้ าน ในการเขียนส่วนโคง้ ท่ไี ม่สามารถใช้วงเวียนหรอื เคร่อื งมืออปุ กรณ์อืน่ ๆ เขียนได้ การเขยี นสว่ นโคง้ น้นั จะตอ้ งผา่ นจุดอย่างน้อย 3 จุด การเกบ็ รกั ษา อย่าใหถ้ ูกของมคี มเพราะจะทำใหเ้ กิดการชำรุด อยา่ ใหถ้ ูก ความร้อนมากจนเกนิ ไปเพราะจะทำใหเ้ กิดการบิดงอ 9. บรรทัดวัดมมุ นยิ มใช้ในงานเขียนแบบมี 2 ชนิด - ไมโ้ ปรแทรกเตอร์ ลกั ษณะ ทำด้วยพลาสติกสี่เหล่ียมพ้นื ผ้า มมี าตราวัดมุมตัง้ แต่ 0 ถึง 180 องศา มีมาตราวัดความยาวหน่วยเป็นระบบเมตรกิ และองั กฤษ การใชง้ าน ใช้สำหรบั มุมในงานเขียนแบบมมี ุม ต้ังแต่ 0 ถงึ 180 องศา นยิ มใช้กนั มากในวิชาเรขาคณิต การเก็บรักษา อย่าให้ของมีคมเพราะจะทำให้เกิดการชำรดุ - ครึง่ วงกลมวดั มุม การใชง้ าน สำหรบั การวัดมุมในงานเขียนแบบเร่งดว่ น โดยไม่ต้องพึ่งบรรทัดทีและ ฉากสามเหล่ียม ใช้วัดมุมไดต้ ั้งแต่ 0 ถึง 180 องศา การเกบ็ รักษา อย่าให้เสียดสีกับวัตถุอน่ื ๆ มากจนเกนิ ไปเพราะจะทำใหเ้ กิดการบดิ งอ 10. วงเวียน แยกตามลักษณะของขาวงเวียนได้เป็น 2 ชนดิ - วงเวียนขาตาย หมายถึง วงเวียนท่ปี รบั เปล่ียนระยะขาวงเวยี นโดยใชม้ อื ดึงออกและบบี เข้า ลักษณะ ทำด้วยโลหะสแตนแลสและพลาสตกิ มีส่วนประกอบอยู่ 3 สว่ นดงั น้ี 1. ส่วนที่เปน็ ขาตรงสว่ นปลายเปน็ โลหะแหลมคม 2. สว่ นที่เปน็ แขนหรือรัศมีส่วนปลายมีดินสอหรอื ไส้ดินสอหรือปากกายึดดว้ ยสกรู 3. สว่ นที่เปน็ ดา้ มสว่ นมากเป็นพลาสติกจะมลี ายเพื่อใหจ้ ับได้สะดวก การใชง้ าน ใชส้ ำหรับเขยี นสว่ นโค้งวงกลมแบ่งมมุ แบง่ เสน้ ตลอดจนเป็นส่วนหนึง่ ในการเขียนรูปทรงเรขาคณติ รูปต่างๆได้ การเกบ็ รักษา อย่าให้วงเวียนส่วนเป็นปลายแหลมขดี เขยี นบนโลหะเพราะจะทำใหเ้ กดิ การชำรุดได้ เมอื ทำงานเสร็จแลว้ ใชผ้ ้าเช็ดใหส้ ะอาด - วงเวียนขาสปรงิ ทำด้วยโลหะสแตนเลสมีสว่ นประกอบหลักอยู่ 4 สว่ นดงั น้ี 1. สว่ นขาตรงปลายมลี กั ษณะแหลมคมใชส้ กรูปรับขึ้นลง 2. สว่ นแขนหรอื รศั มีทีป่ ลายประกอบเขา้ กบั ดินสอหรือปากกายึดด้วยสกรู 3. ส่วนสกรูปรับขนาดเป็นสกรใู ช้ในการปรับระยะหา่ งระหว่างขากับแขนของวงเวยี น 4. สว่ นด้ามเปน็ โลหะหรือพลาสติกมลี ายกันลืน่ ขณะปฏิบตั ิงาน
การใชง้ าน ใชส้ ำหรับงานทล่ี ะเอียดโดยเฉพาะงานเขยี นวงกลมท่ีมขี นาดเลก็ การเก็บรกั ษา ตอ้ งทะนุถนอม โดยเฉพาะเปน็ เกลียวท่ีขอบบางมาก อยา่ ใชป้ ลายวงเวียนเขียนบนผิวโลหะเพราะจะทำให้เกดิ การชำรุดได้ 11. ดไิ วเดอร์ ทำด้วยโลหะสแตนเลสมสี ว่ นประกอบหลักอยู่ 3 สว่ นดังนี้ 1. สว่ นขามี 2 ขา้ งใชส้ กรูยดึ และปรับขนึ้ ลง 2. สว่ นสกรูปรบั ขนาด เปน็ สกรูใช้ในการปรบั ขาดิไวเดอร์ท้ัง 2 ขา้ งให้ไดข้ นาดความยาวที่ ต้องการ 3. สว่ นดา้ มเป็นโลหะหรือพลาสตกิ มีลายกันลืน่ ขณะปฏิบัตงิ าน การใช้งาน ใช้สำหรับการถ่ายแบบจากบรรทดั หรือจากช้ินงาน โดยใช้มอื ปรับท่ีสกรูตามต้องการ การเกบ็ รักษา การใชง้ านจะต้องทะนถุ นอมและระมัดระวงั ปลายแหลมท้ัง 2 ขา้ ง อย่าให้ปลายแหลมขดี เขยี น ลงบนผวิ โลหะเพราะจะทำให้เกิดการชำรุดได้ เมื่อทำงานเสรจ็ ใชผ้ ้าสะอาดเชด็ ทำความสะอาด 12. ปากกาเขยี นแบบ ลักษณะประกอบพลาสติกยกเว้นปากทำด้วยโลหะ มีส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ส่วนคือ ส่วนดา้ มหรือโครงรา่ ง ไส้ใสห่ มกึ และปาก การประกอบกันโดยใช้เกลียว ขนาดของเส้นปากกาเขียนแบบมี ตัง้ แต่ 0.13 ถึง 2.00 มลิ ลเิ มตร การใช้งาน ใชส้ ำหรบั เขยี นลงบนกระดานไข หา้ มใชก้ ับกระดานทผ่ี วิ อ่อนขรุขระเนื่องจากจะทำใหเ้ น้ือของ กระดาษอดุ ตนั การเก็บรักษา เม่ือใชง้ านหมึกหมดต้องถอดทกุ ชิน้ สว่ น ยกเวน้ ปากกาโลหะล้างด้วยน้ำให้สะอาด เข็ดด้วยผ้า สะอาดจนแห้ง ประกอบเข้าด้วยกนั ทกุ สว่ นนำเก็บลงในกล่อง 13. ดนิ สอ ท่ีใชใ้ นการเขยี นแบบมี 2 ชนดิ ดังน้ี - ดนิ สอเปลือกไม้ ประกอบ 2 สว่ น คือเปลือกไมแ้ ละไสด้ นิ สอ ซง่ึ ไส้ดนิ สอมี 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ ชนดิ แขง็ ชนิดปานกลาง และชนิดออ่ น การใชง้ านขึ้นอยู่กับไสด้ นิ สอและการเหลาดนิ สอ การเก็บรักษา ต้องใชเกรดดนิ สอใหเ้ หมาะสมกบั งาน เพื่อเป็นการประหยัดและไม่ต้องเหลาบ่อยๆ อยา่ ใหด้ ินสอหลน่ ถกู พ้ืนจะ ทำใหด้ ินสอหักภายในได้ 14. กบเหลาดนิ สอ ลกั ษณะมี 2 ส่วนหลกั ๆ ดงั นี้ 1. โครง ซึ่งทำมาจากโลหะหรอื พลาสติก ซ่ึงในสว่ นนี้จะเก็บเศษเปลือกไมท้ ่ีเหลาดนิ สอไว้ดว้ ย 2. สว่ นคมตัดหรอื ใบมีด ทำจากโลหะท่ีมีความแข็งใช้สำหรบั เปลือกดนิ สอออกให้ดนิ สอที่แหลมคม การใชง้ าน ใชส้ ำหรับเหลาดนิ สอทเี่ ปน็ เปลือกไม้ การเกบ็ รักษา อย่าให้หลน่ ถูกพ้นื เพราะจะทำให้เกดิ การชำรดุ เมอื เลิกใชง้ านเอาเศษเปลือกไมท้ ง้ิ ถงั ขยะใชผ้ ้าสะอาดเช็ดทำความสะอาด 15. ยางลบ ลกั ษณะ เปน็ ยางท่มี คี วามยืดหยุ่นมีหลายลักษณะ เช่นวงกลม ส่เี หลย่ี ม ทำมาจากยางพารา การใช้งาน ใชส้ ำหรบั ทำความสะอาดในการลบรอยขีดเขียนจากดนิ สอ การเก็บรกั ษา อย่าให้โดนความรอ้ นมาก เกินไป ทำความสะอาดดว้ ยผ้าสะอาดก่อนเก็บลงกลอ่ ง 16. แปรงปัดฝุ่น ลักษณะมสี ่วนประกอบ 2 ส่วนคือ สว่ นโครงกบั ส่วนขนแปรงวสั ดทุ ่ีใชท้ ำโครงเปน็ ไม้หรอื พลาสตกิ สว่ นขนแปรงใชพ้ ลาสตกิ หรือขนสตั ว์ การใชง้ าน ใชส้ ำหรบั ปดั ฝุ่นจากเศษยางลบในงานเขียนแบบ การเก็บรักษา อย่าใหถ้ ูกความรอ้ นมากเกินไป ทำความสะอาดโดยเคาะฝุน่ ออกแล้วเช็ดด้วยผา้ สะอาด
17. อปุ กรณช์ ว่ ยประหยัดเวลาเขียนแบบ ทจี่ ำเป็นมี 3 ชนิดดงั นี้ - แผ่นแบบ ลกั ษณะเปน็ แผน่ บางทำด้วยพลาสติกภายในแผน่ แบบเป็นรูปทรงเรขาคณิตตา่ งๆ เชน่ สามเหลยี่ มสี่เหลยี่ ม วงกลม วงรี หา้ เหลีย่ มเป็นต้น 1. แผน่ แบบชนดิ ตา่ งๆ การใชง้ าน ช่วยให้การเขยี นแบบได้รวดเรว็ ย่งิ ขึน้ โดยผ้เู ขยี นแบบจะต้องเลือก แผน่ แบบใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน การเก็บรกั ษา อย่าให้ถูกเสียดสกี ับวตั ถุอื่นมากเพราะมาตราวดั หรือตัวเลข ขอกขนาดจะลบเลอื น 2. แผ่นแบบตวั อกั ษร ลกั ษณะทำดว้ ยพลาสติกบรรทัดเปน็ รอ่ งรูปตัวอักษรไทย ตวั อังกฤษ ตัวเลข และเคร่ืองหมายต่างๆ การใช้งาน โดยใชด้ ินสอหรอื ปากกาเขยี นแบบเขียนตามร่องตัวอักษร เพื่อใหเ้ กิดความ สวยงาม การเก็บรักษา อย่าให้ถูกของมีคมหรือความร้อนเพราะจะทำใหเ้ กิดการชำรดุ ได้ 3. ลีรอย ลกั ษณะ มีสว่ นประกอบ 2 ส่วนคือ ชุดเขยี นด้วยปากกา และบรรทัดตวั อกั ษรไทย อักษร อังกฤษ และตวั เลขทำด้วยพลาสติก การใช้งาน ใชป้ ากกาเขียนบนส่วนท่เี ปน็ บรรทัดทม่ี ีตัวอกั ษร การเกบ็ รักษา ต้องระมัดระวงั อย่ากดปากกาแรงจนเกนิ ไปอาจทำใหช้ ำรดุ ได้ เม่ือทำงานเสร็จแล้วใช้ผ้าสะอาด เช็ดทำความสะอาด เกบ็ ลงในกลอ่ ง
จงเตมิ คำในช่องวา่ งใหถ้ กู ต้อง 1. วงเวยี นขาสปริง มลี กั ษณะ และการใช้งานอย่างไรบา้ ง ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... 2. ดิไวเวอร์ มีลกั ษณะ และการใช้งานอยา่ งไรบา้ ง ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. ......................................... ....................................................................................................................................................................... 3. ปากกาเขยี นแบบ มีลักษณะ และการใชง้ านอย่างไรบ้าง ....................................................................................... ................................................................................ ............................................................................................................................. .......................................... .................................................................................................................................... ................................... 4. ดินสอ มลี กั ษณะ และการใชง้ านอยา่ งไรบ้าง ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... 5. ยางลบ มีลักษณะ และการใช้งานอย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..........................................
ใบงานที่ 8 ประกอบแผนการสอนบทท่ี 7 เร่ือง มาตราส่วนในงานเขยี นแบบ จดุ ประสงคข์ องงาน 1. เพ่อื ให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจถงึ เครื่องมือและอปุ กรณเ์ ขยี นแบบได้ 2. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเขียนแบบโดยใช้เครอ่ื งและอุปกรณเ์ ขียนแบบได้ 3. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นเก็บรักษาเครือ่ งมือและอปุ กรณ์เขยี นแบบได้ กิจกรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกล่มุ ออกเปน็ 5 กลุ่ม แลว้ แสดงวธิ ีการใช้งานและวธิ กี ารเก็บเคร่อื งมอื และ อุปกรณ์เขียนแบบอยา่ งถกู ต้อง 2. ให้นักศกึ ษารว่ มกันสรุปเรือ่ ง เคร่ืองมือและอปุ กรณ์เขียนแบบและใหบ้ นั ทึกผลและรายงานหนา้ ชน้ั เรยี น ใหจ้ ดั ทำส่ือประกอบการรายงานดว้ ย เมื่อรายงานหน้าชัน้ เรียนแลว้ ใหผ้ ฟู้ งั ซกั ถามปญั หา ข้อสงสัย ให้บนั ทึกผลและรายงานหน้าชัน้ เรียน ให้จัดทำสื่อประกอบการรายงานดว้ ย 3. เมือ่ รายงานหนา้ ช้นั เรียนแล้วให้ผู้ฟังซกั ถามปัญหา ข้อสงสยั เกี่ยวกบั เครอ่ื งมือและอปุ กรณเ์ ขยี น แบบ จากน้ันใหผ้ ู้รายงานตั้งคำถามเพื่อถามผู้ฟังอย่างน้อย 2 คำถาม หนงั สอื ใช้ประกอบการเรียนการสอน
สอ่ื การสอน หนว่ ยท่ี 8 การสเกต็ ชภ์ าพ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น รหัสวิชา 20100-1001 ครผู สู้ อน นายรัฐกร ลำ่ สวย แผนกวชิ าชา่ งเชอ่ื มโลหะ วิทยาลยั การอาชีพแจห้ ่ม สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
หน่วยท่ี 8 การสเกต็ ชภ์ าพ 1. ควำมหมำยและลกั ษณะของภำพสเกต็ การสเกต็ ภาพ หมายถึง การเขยี นแบบชนิดหน่ึงที่ไม่ตอ้ งใชเ้ คร่ืองมืออุปกรณ์ในการเขียน เพียงแต่ ใชด้ ินสอและการดาษเท่าน้นั ลกั ษณะการใชง้ านของภาพสเกต็ เป็นการแสดงความคิดริเร่ิมช่วยการตดั สินใจในการเขียนแบบให้ ง่ายข้ึนซ่ึงนกั ออกแบบจะใชก้ ารสเกต็ ภาพในการออกแบบชิ้นงานจนสมบรูณ์ดีแลว้ 2. เส้นในกำรสเกต็ ภำพ - เสน้ ตรง เป็นการลากเส้นในแนวนอน และในแนวดิ่ง - เสน้ เอียง เป็นการลากเส้นในแนวเอียงตามมมุ ที่ตอ้ งการ - มมุ เป็นการลากเสน้ ตรงทามมุ กนั ซ่ึงมมุ ท่ีนิยมใชใ้ นการสเก็ต ไดแ้ ก่ มมุ 30, 45, 60 และ 90 องศา - ส่วนโคง้ เป็นการลากเส้นโคง้ โดยใชน้ ิ้วกอ้ ยเป็นจุดศูนยก์ ลาง - วงกลม เป็นการลากเสน้ แนวรอบวงโดยใชน้ ิ้วกอ้ ยเป็นจุดศูนยก์ ลาง หรือวสั ดุอยา่ งอื่นก็ได้ - วงรี ในงานเขยี นแบบที่นิยมใชก้ นั มี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ วงรีภาพไอโซเมตริกและวงรีภาพออบลิค 3. กำรสเกต็ ภำพฉำย 3 ด้ำน ในการสเก็ตภาพฉายจะตอ้ งใชค้ วามรู้เก่ียวกบั ภาพฉาย วธิ ีการสเกต็ ภาพมีดงั น้ี 1. สเกต็ เสน้ ศนู ยก์ ลางหรือเส้นหลกั ที่สาคญั 2. เขียนขอบเขตโครงร่างของรูปภาพดว้ ยเสน้ ร่างแบบ 3. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งลบส่วนที่ไม่ตอ้ งการออกลงเสน้ เตม็ บาง 4. กาหนดขนาดของมิติ 4. สเกต็ ภำพพกิ ทอเรียล ภาพพิกทอเรียลที่สเกต็ งา่ ยที่สุด คือ ภาพไอโซเมตริกและภาพออบลิค มีลาดบั ข้นั ตอนการสเก็ตภาพ ดงั น้ี - การสเก็ตภาพไอโซเมตริก จะตอ้ งสเก็ตตามแกนของภาพไอโซเมตริกซ่ึงมีท้งั หมด 3 แกน คือ แกนในแนวด่ิง 90 องศาและแกนในแนวนอน 2 แกนทามุม 30 องศากบั แนวระนาบ - การสเก็ตภาพออบลิค ในการสเก็ตภาพออบลิคก็คลา้ ยกบั การสเก็ตภาพอโซเมตริก เวน้ แต่ภาพ ดา้ นหนา้ ของภาพออบลิคเป็นรูปทรงท่ีแทจ้ ริงของชิ้นงาน ส่วนภาพดา้ นขา้ งและดา้ นบนจะเอียง ทามุม 45 องศา ในการเลือกภาพด้านหน้าของภาพออบลิคน้ันจะตอ้ งเป็ นด้านยาวท่ีสุดเพื่อ ป้องกนั เส้นของภาพบิดเบ้ียวขณะสเก็ตภาพ
Search