รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรียน การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เร่อื ง กฎหมายอาญา ความผดิ เกีย่ วกบั ทรพั ยส์ ิน ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4/6 โรงเรียนพทุ ไธสง โดยใชก้ ารแสดง บทบาทสมมติ (Role Play) ธนวรรธน์ พาสศรี โรงเรยี นพทุ ไธสง สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 32 จังหวัดบุรรี มั ย์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562
รายงานการวิจยั ในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับ ทรัพย์สิน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนพุทไธสง โดยใช้การแสดง บทบาทสมมติ (Role Play) นายธนวรรธน์ พาสศรี โรงเรียนพทุ ไธสง สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 32 จังหวดั บรุ รี มั ย์ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562
(1) บทคดั ย่อ ชื่อรายงานการวจิ ัย : การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรอ่ื ง กฎหมายอาญา ความผดิ เกี่ยวกับทรัพยส์ นิ ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4/6 โรงเรียนพทุ ไธสง โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) ช่อื ผ้วู ิจยั : ธนวรรธน์ พาสศรี ปที ่ที าการวิจยั : 2562 .............................................................................................................. งานวิจยั นเี้ ป็นการวิจัยเชิงทดลอง ซ่ึงมวี ัตถปุ ระสงค์ 1)เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน เรื่องกฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เร่ืองกฎหมายอาญา ความผิดเกี่ยวกับ ทรัพย์สินก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรยี นพุทไธสง โดยใช้การแสดง บทบาทสมมติ (Role Play) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียน พุทไธสง ท่ีกาลังศึกษาในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 6 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือการวิจัยคร้ังนี้ มีดังน้ี (1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องกฎหมายอาญา ความผิด เกี่ยวกับทรัพย์สิน (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องกฎหมายอาญา ความผิด เกี่ยวกับทรัพยส์ ิน จานวน 20 ขอ้ ซ่ึงเปน็ ชนดิ เลือกตอบ 4 ตวั เลือก มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากบั 1.00 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ใช้สถิติ คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ผลการศกึ ษาพบวา่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรื่องกฎหมายอาญา ความผดิ เก่ียวกับทรัพยส์ ิน ของนักเรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/6 โดยการจดั การเรยี นการการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) ซ่ึงมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 75-85 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรื่องกฎหมายอาญา ความผดิ เก่ียวกบั ทรพั ย์สนิ ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/6 โดยการจดั การเรียนการการสอนโดยใชก้ ารแสดง บทบาทสมมติ (Role Play) นักเรยี นมคี ะแนนเพิม่ ขึ้น คิดเป็นส่วนต่างอยู่ระหวา่ งร้อยละ 15-30
(2) กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการวิจัยฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของ คุณครูปฏิญญะ สังสะนา หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา คุณครูสุริยันต์ แสงมล คุณครธู นวิชญ์ ไร่นา และคณาจารย์ โรงเรียนพุทไธสง ท่ีกรุณาใหค้ าปรึกษา ความรู้ และข้อเสนอแนะ ตลอดจนแก้ไขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ดว้ ยความละเอียด เพ่ือให้รายงานการวิจัยนี้มีความสมบูรณ์มากข้นึ ผู้วิจัยจึงขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญที่ได้กรุณาตรวจสอบเคร่ืองมือในการวิจัย พร้อมให้ คาแนะนาอันเป็นประโยชน์อย่างย่ิงในการสร้างเคร่ืองมือและสนับสนุนให้ งานวิจัยนี้สาเร็จลุล่วง ดว้ ยดี ขอขอบคุณผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนพุทไธสง ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในงานวิจัยน้ี โดยใหค้ วามรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถามและจดั เก็บข้อมลู จนทาให้งานวจิ ยั ดาเนินไปไดด้ ้วยดี คุณค่าและประโยชน์ของรายงานการวิจัยฉบับน้ี ขอมอบแด่บิดา มารดา และครูอาจารย์ ทุกทา่ นทไี่ ด้อบรมสง่ั สอนใหค้ วามรู้แก่ผู้วจิ ัยตั้งแต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ นั . ธนวรรธน์ พาสศรี
สารบญั หน้า บทคดั ย่อภาษาไทย (1) กิตตกิ รรมประกาศ (2) บทท่ี 1 บทนา 1 1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา 3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 ขอบเขตของการวจิ ัย 4 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6 แนวคดิ และทฤษฎที ่ีเก่ียวข้องกับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 11 แนวคิดและทฤษฎเี กี่ยวกบั การการสอนโดยการใช้บทบาทสมมติ 18 แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกับกฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับทรพั ย์ 26 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ.2551 29 งานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง 31 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั 31 ขน้ั วางแผน 31 ขน้ั ปฏิบัตกิ าร 33 ขัน้ ตรวจสอบการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 34 ข้นั วิเคราะห์ข้อมลู 39 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 41 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 42 สรปุ ผลการวิจัย 42 อภิปรายผล 43 ขอ้ เสนอแนะ 44 บรรณานกุ รม
(4) ภาคผนวก 45 ประวัตยิ อ่ ของผ้วู ิจัย 72
บทท่ี 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ การศึกษาเป็นกระบวนการและวิธีการท่ีสามารถพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ท่ีมีศักยภาพ มีคุณภาพ โดยการศึกษาสามารถพัฒนาได้ทั้งในเร่ืองสติปัญญา จติ ใจ ร่างกาย อารมณ์ รวมถึงการอยู่ ร่วมกันของคนในสังคม เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ โดยมีผู้เรียนเป็นกลไกสาคัญท่ีจะสามารถพัฒนาประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองได้ ซง่ึ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มีจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพโดยเน้น ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ดังท่ีกล่าวไว้ในมาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมคี วามสามารถ ในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546: 8) ซ่ึงมี ความสอดคล้องกับการจัดทาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการท่ี กล่าวถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่สามารถช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมี ความรู้ ความเข้าใจการดารงชีวิตของมนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อ่ืน มีความ อดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนิน ชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 117) ซ่ึงการนา ความรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมมาใช้ในชีวิตประจาวันสอดคล้องกับเรื่อง กฎหมาย อาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน เพราะในปัจจุบันเศรษฐกิจค่อนข้างตกต่าสังเกตได้จาก การลดของ GDP ในปี 2559 เหลือ 3.3 % จากเดิมที่คาดไว้ 3.7 % จากปัญหาท่ียังอ่อนแอต่อการส่งออกของ ประเทศไทย(สานักงานเศรษฐกิจการคลัง, 2559: ออนไลน์) ส่งผลให้ประชาชนในประเทศมีรายได้ น้อย หลายคนที่หลงผิดหาทางออกไม่ได้ก็หันไปเป็นโจร จากข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์และโทรทัศน์ใน ปจั จบุ ันจะพบว่า มีขา่ วมากมายเก่ียวกับความผิดทางอาญาในเรือ่ งทรพั ย์สนิ เช่น การลักทรัพย์ วิ่งราว ทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ รีดเอาทรัพย์ ฉ้อโกงทรัพย์ ยักยอกทรัพย์ ซ่ึงความผิด เก่ียวกับทรัพย์สินน้ี มีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีความหมายและบทลงโทษแตกต่างกันออกไป เรื่องกฎหมายทางอาญาความผิดเกย่ี วกบั ทรพั ย์น้ี จงึ ควรขยายผลในการศึกษาหาความรู้ เพือ่ ให้ผูเ้ รียน ในยุคปัจจุบันตระหนักถึงการกระทาความผิด และเป็นคนดีของสังคมสอดคล้องกับนโยบายของ โรงเรยี นพุทไธสง ทีม่ งุ่ ส่งเสริมนกั เรยี นใหเ้ ปน็ คนดมี คี ณุ ภาพของสงั คม โรงเรียนพุทไธสงเป็นโรงเรียนสหศึกษาขนาดใหญ่พิเศษระดับมัธยมศึกษา สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีหลักสูตรของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับ ความต้องการของนักเรียนหลากหลายหลักสูตร โดยยึดหลักโครงสร้างของหลักสูตรตามหลักสูตร
2 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้วิจัยได้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน พบว่า ปัญหาท่ีควรได้รับการแก้ไข คือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน เรื่องกฎหมาย อยู่ในระดับต่า กว่าเกณฑ์มาตรฐาน จากการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองความรู้เบ้ืองต้นทางกฎหมาย นักเรียน บางส่วนยังไมเ่ ข้าใจในเน้ือหา ไมส่ ามารถวเิ คราะหข์ ้อสอบหรือตัวบทกฎหมายท่ีบัญญัติข้ึนได้ ส่งผลให้ คะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนอยู่ในเกณฑ์ทต่ี า่ จากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยพบว่า วิธีการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) สามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจได้ด้วยตนเอง เป็นความรู้ท่ีสามารถติด ตัวไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้เพราะเคยปฏิบัติมา เปน็ กิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและเน้นผู้เรยี นเป็น ศนู ย์กลาง การสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เป็นอีกวิธีสอนหนึ่งที่จะให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน ให้ผู้เรียนได้แสดงออก ทั้งทางด้านความคิดและท่าทางการแสดง ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ เกิดความสนุกสนานและเพลิดเพลิน ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ ของซิมพ์ซัน (Simpson, 1972 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2545: 35-37) ท่ีกล่าวไว้ว่า ถ้าผู้เรียนได้รับการเรียน ตามรูปแบบการปฏิบัติ ผู้เรียนจะสามารถกระทาหรือแสดงออกอย่างคล่องแคล่ว ชานาญ ในส่ิงท่ี ต้องการใหผ้ ู้เรียนทาได้ นอกจากนัน้ ยงั ช่วยพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ และความอดทนให้เกิดข้นึ ในตัว ผ้เู รยี นด้วย ซึ่งการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ เปน็ วิธีการสอนท่ผี ู้สอนกาหนดหวั ข้อเร่ือง ปัญหา ต่างๆ หรือสร้างสถานการณ์ข้ึนมาให้คล้ายกับสภาพความเป็นจริง ให้ผู้เรียนได้เตรียมการล่วงหน้า แล้วจึงแสดงบทบาทตามที่สมมติข้ึนมา อันเป็นแนวทางท่ีสามารถให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทางด้าน ความรู้ซ่ึงส่งผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และผู้เรียนยังสามารถนาความรู้ที่ได้จากการ ปฏิบตั ิในการแสดงบทบาทสมมติไปแก้ปัญหาต่างๆ ที่อาจจะประสบในชีวิตประจาวัน ซึ่งสอดคล้องกับ ผลงานวิจัยของ จณิตตา เติมวรสิน (2558: 27) ได้ทาการศึกษา การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/2 โรงเรียนวัดราชาธิ วาสโดยการแสดงบทบาทสมมติ พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองลักษณะการกระทาความผิด ทางอาญา โดยการแสดงบทบาทสมมติ อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ โดยมีค่า ( x = 15.56, S.D. = 2.40) 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องลักษณะการกระทาความผิดทางอาญาท้ังก่อน เรียนและหลังเรียน โดยการแสดงบทบาทสมมติ พบว่า หลังเรียน ( x = 15.56, S.D. = 2.40) และ ก่อนเรียน ( x = 7.67, S.D. = 1.00) นอกจากนี้ ธัญชนก ช่างพูด (2558: 42) ได้ทาการศึกษา การ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนท่มี ีต่อสังคมและประเทศชาติ โดย การแสดงบทบาทสมมติ ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1/6 โรงเรยี นสันติราษฎร์วทิ ยาลัย พบวา่ 1) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องบทบาทและหนา้ ทข่ี องเยาวชนท่ีมีต่อสงั คมและประเทศชาติ โดยการ แสดงบทบาทสมมติ อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ โดยมีค่า ( x = 17.60, S.D. = 2.27) 2) ผลการ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เรือ่ งบทบาทและหนา้ ท่ีของเยาวชนท่ีมตี ่อสังคมและประเทศชาติ ทัง้ ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการแสดงบทบาทสมมติ พบว่า หลังเรียน ( x = 17.60, S.D. = 2.27) สงู กวา่ กอ่ นเรียน โดยมีคา่ ( x = 12.30, S.D. = 3.33) ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงสนใจจะศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรียนพุทไธสงโดยใช้การแสดง บทบาทสมมติ วา่ จะได้ผลเพียงใด ทาไมต้องเป็นเช่นนั้น รวมถึงวธิ ีการสอนแบบใด ทจ่ี ะทาให้นกั เรียน
3 เกิดการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง เพ่ือที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นกั เรียน วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพือ่ พฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน เรือ่ งกฎหมายอาญา ความผดิ เกี่ยวกับ ทรพั ยส์ นิ โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ 2. เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน เรื่องกฎหมายอาญา ความผดิ เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินก่อนและหลังเรียน โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ขอบเขตของกำรวิจยั ขอบเขตด้ำนกลุ่มเปำ้ หมำย กลุม่ เป้าหมายท่ใี ช้ในการวิจัยครง้ั น้ี คอื นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/6 โรงเรยี น พุทไธสง ที่กาลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 6 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบ เจาะจง โดยเลือกจากนักเรยี นท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเรื่องความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมายต่า กว่าเกณฑม์ าตรฐาน ขอบเขตด้ำนเนอ้ื หำ การวจิ ยั ในครั้งน้กี าหนดขอบเขตเนอ้ื หาของการวิจัย เรอ่ื งกฎหมายอาญา ความผิด เกยี่ วกับทรัพยส์ นิ มเี นอ้ื หาดังต่อไปนี้ กำรลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อ่ืนหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดย ต้องการจะครอบครองทรัพย์น้ันไว้ เพื่อตนเองเอาไปขายหรือให้กับบุคคลอื่นก็ตามแต่ ผู้ท่ีกระทา ความผิดฐานลักทรัพย์จะตอ้ งถกู ระวางโทษไม่เกนิ 3 ปี และปรับไม่เกิน 6 พันบาท การลักทรพั ย์นนั้ ถ้า ผู้กระทาได้กระทาในเวลากลางคืนหรือในบริเวณท่ีมีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด หรือในบริเวณที่มี อุบัติเหตุผู้ที่เข้าไปลักทรัพย์ในบริเวณดังกล่าวจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นกว่าการลักทรัพย์ในเวลา สถานท่ีหรือเหตุการณ์ปกติ เหตุที่เป็นเช่นน้ี เพราะเหตุการณ์ หรือช่วงเวลาดังกล่าวเจ้าของทรัพย์ กาลังได้รับความเดือดร้อนไม่สามารถท่ีจะดูแลทรัพย์ของตนเองได้และการกระทาในเหตุการณ์หรือ ช่วงเวลาดังกลา่ วเปน็ การกระทาทซี่ า้ เติมเจา้ ของทรัพยท์ ี่กาลงั ได้รบั ความเดือดร้อน กำรว่งิ รำวทรัพย์ คือ การลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซง่ึ หนา้ หมายถงึ เป็นการขโมย เจ้าของรู้ตัวและทรัพย์จะต้องอยู่ใกล้ชิดตัวเจ้าทรัพย์ ผู้กระทาการวิ่งราวทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท อย่างไรก็ตามถ้าการว่ิงราวทรัพย์ทาให้ผู้อื่นได้รับ อันตรายหรือเสียชีวิต เช่น กระชากสร้อยจากเจ้าของแล้วสร้อยบาดคอเจ้าของสร้อย ผู้ท่ีกระทา จะตอ้ งถูกระวางโทษหนักข้นึ ด้วย ชงิ ทรพั ย์ คอื การลกั ทรพั ยท์ ่ีประกอบด้วยการใชก้ าลงั เขา้ ทารา้ ยหรอื ขูเ่ ข็ญวา่ จะใช้ กาลังเข้าทาร้ายในทันที ท้ังนี้ เพ่ือให้ผู้ที่ครอบครองทรัพย์น้ันอยู่ยินยอมให้ทรัพย์ไป หรือกระทาไป เพ่ือให้เกิดความสะดวกในการนาทรัพย์นั้นไป เช่น ขณะที่นายเอกกาลังเดินเล่นอยู่ นาย โท ก็เข้ามา บอกใหส้ ร้อยทองให้ถ้าไม่ให้จะทารา้ ยหรอื จะเอาปืนยงิ ให้ตายจนนายเอกต้องยอมถอดสรอ้ ยของตนให้ เป็นตน้
4 กำรปลน้ ทรัพย์ คอื มลี ักษณะเช่นเดยี วกับการชงิ ทรัพย์ตา่ งกันเพียงวา่ มีผูร้ ่วมชิง ทรพั ย์ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ผู้ทก่ี ระทาความผดิ ฐานปลน้ ทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษตั้งแต่ 10 ปี ถึง 15 ปี และปรับต้ังแต่ 2 หม่ืนบาท ถึง 3 หมื่นบาท หากการปล้นทรัพย์ผู้ปล้นคนใดคนหน่ึงมีอาวุธติดตัวไป ด้วย หรือในการปลน้ เป็นเหตุใหเ้ จ้าทรัพย์หรอื บคุ คลอ่ืนได้รับถกู ทาร้ายหรอื เสียชีวติ ผู้กระทาความผิด ทกุ คนแม้จะไม่ไดพ้ กอาวุธหรอื รว่ มทาร้ายเจา้ ทรัพย์หรอื บุคคลอนื่ กฎหมายก็ถือว่าทุกคนมสี ่วนร่วมใน การกระทาความผิดด้วย ซ่ึงมีผลใหจ้ ะต้องรับโทษหนักขึ้นกวา่ การปล้นทรัพย์โดยไม่มีอาวุธหรอื ไม่ได้มี การทาร้ายผู้ใด กำรรับซอื้ ของโจร คือ การท่ผี ู้ใดช่วยปกปิด จาหนา่ ย ซึ่งทรัพย์สินเหลา่ น้ันได้มาโดย มิชอบ หรือได้มาโดยการกระทาผิดทางกฎหมาย ผู้น้ันเข้าข่ายรับซ้ือของโจร ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกนิ ห้าปี หรือปรับไมเ่ กินหนึ่งหมื่นบาท หรือท้งั จาทั้งปรบั ถ้าการกระทาความผิดฐานรับของโจรนั้น ได้ กระทาเพ่ือค้ากาไรหรือได้กระทาต่อทรัพย์อันได้มาโดยการลักทรัพย์ตามมาตรา 335 (10) ชิงทรัพย์ หรือปล้นทรัพย์ ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หน่ึงพันบาทถึง สองหมื่นบาท ถ้าการกระทาความผิดฐานรับของโจรน้ัน ได้กระทาต่อทรัพย์อันได้มาโดยการลักทรัพย์ ตามมาตรา 335 การชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 หรือการปล้นทรัพย์ตามมาตรา 340 ผู้กระทาต้อง ระวางโทษจาคุกตง้ั แต่ห้าปถี ึงสบิ ห้าปี และปรับต้งั แต่หนึ่งหม่ืนบาทถงึ สามหมื่นบาท ขอบเขตตัวแปรที่ใชใ้ นกำรศึกษำ ตวั แปรต้น คอื การสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ตวั แปรตาม คือ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เรอ่ื ง กฎหมายอาญา ความผิดเกี่ยวกับ ทรัพย์สนิ รายวชิ าหน้าทพ่ี ลเมือง กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ขอบเขตระยะเวลำทดี่ ำเนินกำรวิจยั ผ้วู ิจัยจะดาเนินการวจิ ัยในช่วงเดอื นกรกฎาคม 2560 เปน็ เวลา 2 สัปดาห์ นยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ด้วยการเรียนรู้ผ่านการแสดง บทบาทสมมติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 เร่ืองกฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน รายวิชาหน้าท่ีพลเมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนพุทไธสง ซ่ึง วัดจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจานวน 20 ข้อ โดยมีเนื้อหาเก่ียวกับ กฎหมายอาญา ความผดิ เกยี่ วกับทรพั ย์สนิ บทบาทสมมติ หมายถึง การจาลองสถานการณ์ท่ีใกล้เคียงกับความเป็นจริง ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 เร่ือง กฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับทรัพย์สินรายวิชาหน้าที่พลเมือง กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนพุทไธสง โดยเน้นให้นักเรียนเป็นผู้แสดง บทบาทสมมติ ตามวัตถุประสงค์ท่ีผู้สอนได้กาหนดไว้ เพ่ือให้นักเรียนได้แสดงออกทางด้านความรู้ ความคดิ ความสามารถ ผา่ นการปฏบิ ัติ เพอื่ ให้นกั เรียนเกดิ การเรยี นรูต้ ามวตั ถุประสงค์ นักเรียน หมายถึง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรียนพุทไธสงที่กาลังศึกษาในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เร่ือง กฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับทรัพย์สินรายวิชาหน้าท่ีพลเมือง
5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ มาตรฐาน จานวน 6 คน กฎหมายอาญา ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน หมายถึง ลักษณะความผิดทางอาญาที่เก่ียวข้อง ต่อชีวิตและทรัพย์สิน ประกอบด้วย การลักทรัพย์ ว่ิงราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ และรับซ้ือของ โจร ประโยชนท์ ่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั 1. นกั เรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนผา่ นเกณฑ์มาตรฐานในเร่ือง กฎหมายอาญา ความผิด เกี่ยวกับทรัพย์สินรายวิชาหน้าท่ีพลเมืองกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของ นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/6 ทเี่ รยี นผา่ นการแสดงบทบาทสมมติ 2. ผลท่ไี ดจ้ ากการทดลองจะเป็นแนวทางในการปรบั ปรุงและพัฒนาทักษะการปฏิบัติใน สาระการเรียนรู้อ่ืนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ให้มีประสิทธิภาพมาก ยิง่ ขน้ึ ตอ่ ไป
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกีย่ วขอ้ ง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับทรัพย์สินของ นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/6 โรงเรยี นพุทไธสงโดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษา คน้ คว้าเอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วขอ้ งโดยนาเสนอผลการศกึ ษาตามลาดบั ดงั น้ี 1. แนวคิดและทฤษฎเี กยี่ วกับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 2. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกบั การแสดงบทบาทสมมติ 3. แนวคดิ และทฤษฎีเก่ยี วกับกฎหมายอาญา ความผดิ เกยี่ วกบั ทรพั ย์ 4. ทฤษฎกี ารเรียนรู้ทเ่ี ก่ียวข้อง 5. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2551/ หลักสูตรสงั คมศึกษา 6. งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 1. แนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วกับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรยี นในด้านต่างๆ ซึ่งเกิดจากนกั เรียนได้รับ ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดแล ะ ประเมินผล การสร้างเครื่องมือวัดให้มีคุณภาพน้ันต้องเรียนรู้ทฤษฎีเกี่ยวกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ในเรอ่ื งความหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น มีผใู้ หน้ ยิ าม ไว้หลายทา่ น ดงั น้ี 1.1 ความหมายของผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (2546: 1171) ได้ใหค้ วามหมาย ของคาว่า “สัมฤทธิ์” วา่ หมายถึง ความสาเร็จ (ในคาวา่ สัมฤทธผิ ล) พัฒนาพงษ์ สีกา (2551: 32) ได้ใหค้ วามหมายของผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถึง ผลที่เกิดจากการกระทาของบุคคล ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเนื่องจากการได้รับ ประสบการณ์โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง หรือจากการเรียนการสอนในช้ันเรียน และสามารถประเมิน หรือวดั ประมาณค่าไดจ้ ากการทดสอบ หรือการสงั เกตพฤตกิ รรมทเ่ี ปล่ียนแปลง ไอแซงค อาร โนล และไมลี (Eysenck, Arnold and Meili 1972 อ้างถึงใน พัฒนา พงษ์ สีกา, 2551: 31) ไดใ้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถึง ขนาดของความสาเร็จที่ ได้จากการเรียนโดยอาศัยความสามารถเฉพาะตัวของบุคคล โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอาจได้จาก การทดสอบ เช่น การสงั เกต หรือการตรวจการบ้าน หรอื เกรดของการเรียน ซ่ึงตอ้ งอาศัยกระบวนการ ทีซ่ บั ซอ้ นและระยะเวลา หรอื อาจวดั ด้วยแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนทั่วไป เมทเรน (Mehren 1976: 73 อ้างถึงในปัญจา ชูช่วย, 2551: 12) ได้ให้ความหมาย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ทักษะและสมรรถภาพของสมองด้านต่างๆ ของผู้เรียนต่อ การเรียน แต่ละวิชา ซึ่งสามารถวัดไดจ้ ากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ขนิษฐา บุญภกั ดี (2552: 10) ได้
7 กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึงคุณลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการ เรยี น การสอน อาจได้มาจากกระบวนการท่ีไม่ต้องอาศัยการทดสอบ เชน่ การสงั เกต และจากการใช้ แบบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นท่วั ไป พิมพ์ประภา อรัญมิตร (2552: 18) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คุณลกั ษณะและความรู้ความสามารถท่ีแสดงถงึ ความสาเรจ็ ทีไ่ ด้จากการเรียนการสอนในวิชา ตา่ งๆ ซงึ่ สามารถวัดเปน็ คะแนนไดจ้ ากแบบทดสอบทางภาคทฤษฎหี รือภาคปฏบิ ัตหิ รือทั้งสองอยา่ ง วุฒิชัย ดานะ (2553: 32) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ระดับ ความรู้ ความสามารถและทักษะที่ได้รับและพัฒนามาจากการเรียนการสอนวิชาต่างๆ โดยอาศยั เครอ่ื งมอื ในการวัดผลหลังจากการเรยี นหรอื จากการฝกึ อบรม กรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์ (2554: 17) “ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน” หมายถึง ความรู้ ความสามารถทางการเรียนของผ้เู รียนทั้งในด้านการศึกษาเลา่ เรยี นและการปฏิบัติ ซึ่งสามารถวดั ด้วย แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ ธัญชนก ช่างพูด (2558: 6) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวเิ คราะหแ์ ละประเมินคา่ ทเี่ กิดขน้ึ หลงั จากการเรียนรู้ จากความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามที่กล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ ผลท่ีได้รับจากการปฏิบัติและพัฒนา ท้ังทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และ ทักษะพสิ ยั ซง่ึ สามารถวดั ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 1.2 องค์ประกอบของผลสัมฤทธิท์ างการเรียน มผี ใู้ หน้ ิยามองคป์ ระกอบของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ไวห้ ลายท่าน ดังน้ี อนาตาซี (Anastasi 1976: 107 อา้ งถงึ ใน ขนิษฐา บุญภกั ดี, 2552: 8) ไดก้ ล่าววา่ ผเู้ รยี นจะประสบความสาเรจ็ ทางการศึกษา ได้ดเี พยี งใดน้นั ขน้ึ อยู่กับองค์ประกอบดังต่อไปน้ี 1. องคป์ ระกอบด้านสตปิ ญั ญา (Intellectual-Factor) เป็นความสามารถในการคิด ของบุคคล อันเป็นผลมากจากการสะสมของประสบการณ์ต่างๆ รวมถึงความสามารถที่ติดตัวมาแต่ กาเนิด โดยความสามารถเหล่าน้ีวัดได้หลายแบบ เช่น วัดความถนัดทางการเรียน ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการแกป้ ัญหา สมรรถภาพทางสมอง เป็นต้น ซ่ึงองค์ประกอบด้านสติปัญญาเป็นปัจจัยท่ี สาคัญท่มี ผี ลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 2. องคป์ ระกอบท่ไี มใ่ ชท่ างดา้ นสติปญั ญา (Non Intellectual-Factor) เช่น เพศ อายุ แผนการเรียน อันดับการเลือก รายได้ของบิดามารดา นิสัยในการเรียน เจตคติในการเรียน ตลอดจน สภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา เป็นตน้ กัมปนาท ศรีเช้ือ (2550 :2-3 อ้างถึงใน ขนิษฐา บุญภักดี, 2552: 8) ได้กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น มีองคป์ ระกอบ 2 ประการ ได้แก่ 1. องค์ประกอบทางด้านสตปิ ัญญา 2. องคป์ ระกอบทีม่ ิไดเ้ กย่ี วข้องกับสติปัญญา ธัญชนก ช่างพูด (2558: 6) ได้ให้ความหมายองค์ประกอบของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ประกอบด้วย องค์ประกอบด้านสติปัญญา ซึ่งเป็นความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคลท่ีสะสม
8 ประสบการณ์ต่างๆ และองค์ประกอบทีไ่ ม่ใช่ทางด้านสติปัญญา ซ่ึงมีอยู่ภายในตัวผู้เรยี นหรืออาจเกิดจาก สภาพแวดล้อมกไ็ ด้ จากองค์ประกอบของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า องค์ประกอบ ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มี 2 ประการ ประกอบด้วย 1) องค์ประกอบทางด้านสติปัญญา หมายถึง พฒั นาการทางด้านสมอง ความรู้ ความคดิ จินตนาการ รวมถึงประสบการณ์ท่ีไดร้ ับมา 2) องค์ประกอบท่ีไม่ใช่ทางด้านสติปัญญา หมายถึง สภาพแวดล้อม ที่ไม่เก่ียวข้องกับการพัฒนาทางด้าน สมอง เชน่ เพศ อายุ รายได้ เปน็ ตน้ 1.3 การวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น มผี ู้ให้นยิ ามการวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ไว้หลายทา่ น ดงั นี้ ไพศาล หวังพาณชิ (2526 :147-160 อ้างถึงใน ขนิษฐา บุญภกั ดี, 2552: 9) กลา่ ววา่ การวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นการตรวจสอบระดบั ความสามารถหรือความสาเร็จในการเรียนของ แต่ละบุคคล ซึ่งสามารถวัดได้ 2 แบบ ตามจุดมุ่งหมายและลกั ษณะวชิ าที่สอบ ดงั นี้ 1. การวัดด้านปฏบิ ัติ เป็นการตรวจสอบระดบั ความสามารถในการปฏิบัติ หรอื ทักษะของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถดังกล่าวในรูปการกระทาจริงให้ออกมา เป็นผลงานไดโ้ ดยใชข้ อ้ สอบภาคปฏบิ ตั ิ 2. การวดั ดา้ นเนื้อหา เป็นการตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกบั เน้ือหาวชิ าอนั เป็น ประสบการณ์การเรียนรูข้ องผู้เรียน รวมถึงพฤติกรรมความสามารถในด้านต่างๆ สามารถวัดไดโ้ ดยใช้ ข้อสอบสาหรับวัดผลสัมฤทธิ์ พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2545: 95) ได้กล่าวว่า เคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนได้แก่ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ (Achievement test) ซ่ึงนักวัดผลและนักการศึกษา มีการเรียกช่ือแตกต่างกัน เช่น แบบทดสอบ ความสัมฤทธ์ิ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ หรือแบบสอบผลสัมฤทธิ์ โดยแบบวัดผลสัมฤทธ์ิเป็นแบบทดสอบที่ใช้ วัดความรู้ทักษะและความสามารถทางวิชาการที่ผู้เรียน ได้เรียนรู้มาแล้วว่าบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดไวเ้ พยี งใด ซ่ึงไดแ้ บ่งประเภทของแบบวัดผลสมั ฤทธ์อิ อกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. แบบทดสอบท่ีครสู รา้ งขึ้นเอง เปน็ แบบทดสอบที่มุงวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ของผู้เรียนเฉพาะกลุ่มที่สอน เป็นแบบทดสอบท่ีผู้สอนสร้างขึ้น ใช้กันโดยทั่วไปในสถานศึกษา มีลกั ษณะเปน็ แบบทดสอบขอ้ เขียน ซึ่งแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 1. แบบทดสอบอตั นัย เป็นแบบทดสอบที่กาหนดคาถามหรอื ปัญหาให้ แล้ว ให้ผู้ตอบเขียนโดยแสดงความรู้ ความคิด เจตคติ ไดอ้ ย่างเตม็ ที่ 2. แบบทดสอบปรนยั หรือแบบให้ตอบสน้ั ๆ เปน็ แบบทดสอบกาหนดให้ผู้สอบเขียนตอบส้ันๆ หรือมีคาตอบให้เลือกแบบจากัดคาตอบ ผู้ตอบไม่มี โอกาสแสดงความรู้ ความคิดได้อย่างกว้างขวางเหมือนแบบทดสอบอัตนัย แบบทดสอบชนิดน้ีแบ่ง ออกเป็น 4 แบบ คือ แบบทดสอบถูก-ผิด แบบทดสอบเติมคา แบบทดสอบจับคู่ และแบบทดสอบ เลือกตอบ 2. แบบทดสอบมาตรฐาน เป็นแบบทดสอบท่ีม่งุ วัดผลสัมฤทธิ์ของ ผู้เรียนทัว่ ๆไป ซงึ่ สรา้ งโดยผเู้ ชี่ยวชาญ มีการวเิ คราะห์และปรับปรุงอย่างดีจนมีคุณภาพ และได้มาตรฐาน
9 วนดิ า ดแี ป้น (2553: 24) ได้กลา่ ววา่ การวัดและการประเมินผลการเรยี น คอื กระบวนการตรวจสอบท่ีผู้เรียนว่าได้พัฒนาไปถึงจุดหมายปลายทางของหลักสูตรและมีคุณลักษณะท่ีพึง ประสงคเ์ ป็นไปตามทก่ี าหนดหรอื ไม่ รวมทงั้ เปน็ ส่ิงที่ทาให้ทราบว่าผูเ้ รียนเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพมาก น้อยเพียงใด จากความหมายของการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตามที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า การวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง การวัดและการประเมินความสามารถหรือความสาเร็จในการเรียน ของแต่ละบุคคล ท้ังทางด้านความรู้ ทางด้านทักษะที่แตกต่างกันออกไป ตามจุดประสงค์ของตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ว่าได้ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้หรอื ไม่ รวมท้ังเป็นสิ่งที่ทาให้ทราบว่าผู้เรียน เรียนรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากน้อยเพียงใด 1.4 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น มีผใู้ หน้ ิยามความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ไว้หลายทา่ นดังนี้ สมนึก ภัททิยธนี (2546: 78-82) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนว่า หมายถึง แบบทดสอบวัดสมรรถภาพทางสมองต่างๆ ที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้ว ซงึ่ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบท่ีครสู รา้ งกับแบบทดสอบมาตรฐาน แต่เน่ืองจากครตู ้อง ทาหน้าท่ีวัดผลนักเรียน คือเขียนข้อสอบวัดผลสัมฤทธ์ิที่ตนได้สอน ซึ่งเก่ียวข้องโดยตรงกับ แบบทดสอบทคี่ รูสร้างและมีหลายแบบแต่ท่ีนิยมใช้มี 6 แบบ ดังน้ี 1. ขอ้ สอบแบบอัตนัยหรอื ความเรยี ง ลกั ษณะท่วั ไปเปน็ ขอ้ สอบที่มเี ฉพาะคาถาม แลว้ ให้นักเรียนเขียนตอบอย่างเสรี เขียนบรรยายตามความรู้ และข้อคิดเหน็ แต่ละคน 2. ข้อสอบแบบกาถูก-ผิด ลักษณะท่ัวไป ถือไดว้ า่ ขอ้ สอบแบบกาถูก-ผดิ คอื ขอ้ สอบ แบบเลือกตอบทม่ี ี 2 ตวั เลอื ก แตต่ ัวเลือกดังกล่าวเปน็ แบบคงท่ีและมีความหมายตรงกันขา้ ม เช่น ถกู - ผิด ใช่-ไมใ่ ช่ จริง-ไมจ่ ริง เหมอื นกัน-ตา่ งกนั เป็นตน้ 3. ขอ้ สอบแบบเตมิ คา ลักษณะทวั่ ไปเป็นขอ้ สอบทปี่ ระกอบดว้ ยประโยคหรือ ข้อความที่ยังไม่สมบูรณ์ให้ผู้ตอบเติมคา หรือประโยค หรือข้อความลงในช่องว่างท่ีเว้นไว้น้ัน เพื่อให้มี ใจความสมบรู ณแ์ ละถูกต้อง 4. ขอ้ สอบแบบตอบสน้ั ๆ ลักษณะท่ัวไป ขอ้ สอบประเภทนคี้ ลา้ ยกับข้อสอบแบบเติม คา แต่แตกต่างกันท่ีข้อสอบแบบตอบสั้นๆ เขียนเป็นประโยคคาถามสมบูรณ์ (ข้อสอบเติมคาเป็น ประโยคที่ยังไม่สมบูรณ์) แล้วให้ผู้ตอบเป็นคนเขียนตอบ คาตอบที่ต้องการจะสั้นและกะทัดรัดได้ ใจความสมบรู ณ์ไมใ่ ชเ่ ป็นการบรรยายแบบขอ้ สอบอัตนัยหรือความเรยี ง 5. ข้อสอบแบบจับคู่ ลกั ษณะทว่ั ไป เปน็ ข้อสอบเลอื กตอบชนดิ หน่งึ โดยมคี าหรอื ขอ้ ความแยกจากกันเปน็ 2 ชุด แล้วให้ผตู้ อบเลือกจับควู่ ่า แต่ละข้อความในชุดหนง่ึ (ตัวยนื ) จะคู่ กับ คา หรือข้อความใดในอีกชุดหน่ึง (ตัวเลือก) ซึ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหน่ึงตามที่ผู้ออก ขอ้ สอบกาหนดไว้
10 6. ข้อสอบแบบเลอื กตอบ ลกั ษณะทั่วไป ข้อสอบแบบเลอื กตอบนีจ้ ะประกอบด้วย 2 ตอน ตอนนาหรือคาถามกับตอนเลือก ในตอนเลือกน้ีจะประกอบด้วยตัวเลือกท่ีเป็นคาตอบถูกและ ตวั เลอื กท่ีเป็นตัวลวง ปกติจะมีคาถามท่ีกาหนดให้นักเรียนพิจารณาแล้วหาตวั เลือกที่ถูกต้องมากท่ีสุด เพียงตัวเลือกเดียวจากตัวเลือกอ่ืนๆ และคาถามแบบเลือกตอบท่ีดีนิยมใช้ตัวเลือกท่ีใกล้เคียงกัน ดู เผินๆ จะเห็นว่าทุกตัวเลือกถูกหมด แตค่ วามจริงมีน้าหนกั ถกู มากน้อยต่างกัน พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543 : 96) ได้กล่าวถึงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง แบบทดสอบ ที่วัดความรู้ของนักเรียนท่ีได้เรียนไปแล้ว ซ่ึงมักจะเป็นข้อคาถามให้นักเรียนตอบด้วยกระดาษและ ดนิ สอกบั ให้นักเรียนปฏบิ ตั จิ ริง จากความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามท่ีกล่าวมาสามารถสรุปไดว้ ่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบท่ีวัดความรู้ของนักเรียนท่ีได้เรียนไป แล้วซ่ึงแบ่งได้เป็น 6 รปู แบบ คือ 1) ข้อสอบแบบอัตนัยหรือความเรียง 2) ข้อสอบแบบกาถูก-ผิด 3) ขอ้ สอบแบบเติมคา 4) ขอ้ สอบแบบตอบสนั้ ๆ 5) ข้อสอบแบบจบั คู่ และ 6)ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ 1.5 หลกั เกณฑ์ในการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น มผี ใู้ หน้ ยิ ามหลกั เกณฑ์ในการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ไว้ดังน้ี สมนึก ภัททิยธนี (2546 : 83) ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถ ลาดับข้นั ตอนไดด้ ังน้ี 1. เนื้อหาหรอื ทกั ษะที่ครอบคลุมในแบบทดสอบนนั้ จะต้องเป็นพฤติกรรมท่ีสามารถ วดั ผลสัมฤทธไ์ิ ด้ 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ใช้แบบทดสอบวดั นั้นถ้านาไปเปรียบเทียบกันจะต้องให้ ทกุ คนมโี อกาสเรียนรใู้ นสิ่งต่างๆ เหลา่ น้ันได้ครอบคลมุ และเทา่ เทียมกนั 3. วัดให้ตรงกับจุดประสงค์ การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ควร จะวดั ตามวัตถุประสงคท์ ุกอย่างของการสอน และจะต้องมัน่ ใจว่าไดว้ ดั ส่ิงทต่ี ้องการจะวัดได้จริง 4. การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เป็นการวัดความเจริญงอกงามของนักเรียน การ เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าไปสู่วัตถปุ ระสงค์ที่วางไว้ ดังนั้น ครูควรจะทราบว่าก่อนเรียนนักเรียน มีความรู้ความสามารถอย่างไร เม่ือเรียนเสร็จแล้วมีความรู้แตกต่างจากเดิมหรือไม่ โดยการ ทดสอบก่อนเรียนและทดสอบหลงั เรียน 5. การวัดผลเป็นการวัดผลทางอ้อม เป็นการยากท่ีจะใช้ข้อสอบแบบเขียนตอบวัด พฤติกรรมตรงๆ ของบุคคลได้ ส่ิงที่วัดได้ คือ การตอบสนองต่อข้อสอบ ดังน้ัน การเปล่ียน วตั ถปุ ระสงค์ใหเ้ ปน็ พฤติกรรมที่จะสอบ จะตอ้ งทาอย่างรอบคอบและถกู ตอ้ ง 6. การวัดการเรียนรู้ เป็นการยากท่ีจะวัดทุกส่ิงทุกอย่างท่ีสอนได้ภายในเวลาจากัด สิ่งที่วัดได้เป็นเพียงตัวแทนของพฤติกรรมท้ังหมดเท่านั้น ดังนั้นต้องม่ันใจว่าส่ิงที่วัดนั้นเป็นตัวแทน แทจ้ รงิ ได้ 7. การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นเคร่ืองช่วยพัฒนาการสอนของครู และเป็น เคร่ืองช่วยในการเรียนของเด็ก
11 8. ในการศึกษาท่ีสมบูรณ์นั้น ส่ิงสาคัญไม่ได้อยู่ที่การทดสอบแต่เพียงอย่างเดียวการ ทบทวนการสอนของครูกเ็ ปน็ ส่งิ สาคญั ย่ิง 9. การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ควรจะเน้นในการวัดความสามารถในการใช้ ความรู้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ หรือการนาความรไู้ ปใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ 10. ควรใชค้ าถามให้สอดคลอ้ งกับเน้ือหาวชิ าและวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีวดั 11. ให้ข้อสอบมีความเหมาะสมกับนักเรียนในด้านต่างๆ เช่น ความยากง่าย พอเหมาะ มีเวลาพอสาหรบั นักเรียนในการทาขอ้ สอบ จากหลักเกณฑ์ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตามที่กล่าวมาสามารถ สรุปได้ว่า หลักเกณฑ์ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบท่ี สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เน้ือหาท่ีสอน และคานึงความสามารถของผู้เรียน ต้องมีการตรวจสอบ คณุ ภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ให้มีความถูกต้อง ก่อนท่ีจะนามาใช้ในการวัดผล สัมฤทธ์ทิ างการเรียน 2. แนวคดิ และทฤษฎีเกยี่ วกับการแสดงบทบาทสมมติ การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน ได้ส่งเสริมให้ผู้เรยี นได้รแู้ ละเข้าใจไดด้ ้วยตนเอง โดยเน้น กิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เป็นวิธีสอนหนึ่งที่จะให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ให้ผู้เรียนได้แสดงออก ท้ังทางด้านความคิดและ การปฏิบัติ ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดความสนุกสนานและเพลิดเพลินกับการเรียน และ สามารถนาความรู้จากสถานการณ์บทบาทสมมติ ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ ซ่งึ องค์ประกอบของการแสดงบทบาทสมมติ สรปุ ได้ดังนี้ 2.1 ความหมายของการแสดงบทบาทสมมติ มผี ู้ใหน้ ิยามความหมายของการแสดงบทบาทสมมติไว้หลายท่าน ดังน้ี บุญชม ศรสี ะอาด (2541: 161) กล่าวถึงการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ (RolePlaying) คือ เทคนิคการสอนท่ีให้ผู้เรียนแสดงบทบาทในสถานการณ์ท่ีสมมติขึ้น นั่นคือ แสดงบทบาทที่ กาหนดให้ อินทิรา บุณยาทร (2542: 98) อธิบายการสอนด้วยบทบาทสมมติ หมายถึง วิธีสอนที่ผู้สอน สร้างสถานการณ์และบทบาทสมมติขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกตามที่ตนคิดว่าควรจะเป็นโดย แสดงออกทง้ั ทางด้านความรู้ ความคิด และพฤติกรรมเพือ่ เปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรู้ ทิศนา แขมมณี (2550: 358) กลา่ วถึงวิธีสอนโดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ คอื กระบวนการ ท่ีผสู้ อนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวตั ถปุ ระสงค์ท่กี าหนด โดยการให้ผู้เรยี นสวมบทบาท ในสถานการณ์ซึง่ มคี วามใกล้เคียงกับความเปน็ จริง และแสดงออกมาตามความรูส้ ึกนกึ คิดของตน และ นาเอาการแสดงออกของผู้แสดง ทั้งทางด้านความรู้ ความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมท่ีสังเกตพบว่า เปน็ ขอ้ มลู ในการอภิปราย เพ่ือให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรูต้ ามวัตถปุ ระสงค์ อาภรณ์ ใจเท่ียง (2550: 160) อธิบายถึง วิธีสอนโดยใช้บทบาทสมมติ หมายถึง วิธีสอนท่ี ผ้สู อนสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมติขึ้นจากความเป็นจริงมาให้ผู้เรียนได้แสดงออกตามท่ีผู้เรียน
12 คิดว่าควรจะเป็นผู้สอนจะใช้การแสดงออกทั้งทางด้านความรู้ความคิด และพฤติกรรมของผู้แสดงมา เป็นพื้นฐานในการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้เรียน อันจะทาให้ผู้เรียนเข้าใจเน้ือหาสาระของ บทเรยี นอยา่ งลกึ ซงึ้ และรู้จกั ปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม และการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ศุภฎี ชิกว้าง (2552: 16) ได้ใหค้ วามหมายบทบาทสมมติวา่ บทบาทสมมติเป็นกิจกรรมที่เปิด โอกาสให้ผู้แสดงได้แสดงพฤติกรรมอย่างอิสระตามท่ีตนคิดว่าจะเป็นในบทบาทที่กาหนดข้ึนใน สภาพการณ์ต่างๆ และแสดงความรู้สึกนึกคิด คาพูด ท่าทาง ออกมาตามลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีอยู่ ในสถานการณ์สมมติน้ัน เป็นการเรียนรู้ท่ีจะปรับพฤติกรรมการแสดงออกของตนเองอย่างมี ประสิทธิภาพ จณิตา เติมวรสิน (2558: 8) ได้ให้ความหมายบทบาทสมมติว่า วิธีการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนรูปแบบหน่ึงที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออก โดยท่ีผู้สอนได้สร้างสถานการณ์หรือบทบาท สมมติข้ึนมาที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง และให้ผู้เรียนเป็นผู้แสดงบทบาทสมมติน้ันๆ เพ่ือให้ผู้เรียน เกดิ การเรยี นรตู้ ามวตั ถุประสงคแ์ ละเข้าใจเรอื่ งท่ีเรียนอย่างลึกซงึ้ จากความหมายของการแสดงบทบาทสมมติ ตามท่ีกล่าวมาสามารถสรุปได้ว่าวิธีสอนโดยใช้ การแสดงบทบาทสมมติ หมายถึง สถานการณ์และบทบาทสมมติขึ้นมาท่ีสอดคล้องใกล้เคียงกับความ เป็นจริง โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้แสดงบทบาทสมมติน้ันๆ ตามวัตถุประสงค์ท่ีผู้สอนได้กาหนดไว้ เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกทางด้านความรู้ความคิดผ่านการปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถปุ ระสงค์ 2.2 องค์ประกอบของการแสดงบทบาทสมมติ มีผู้ใหน้ ยิ ามองค์ประกอบของการแสดงบทบาทสมมตไิ ว้หลายทา่ น ดงั น้ี ทศิ นา แขมมณี (2550: 358) กล่าวถงึ องคป์ ระกอบสาคญั ของวิธสี อนแบบบทบาท สมมติไว้ 5 องค์ประกอบ ดังน้ี คือ ผู้สอนและผู้เรียน สถานการณ์สมมติและบทบาทสมมติ การแสดง บทบาทสมมติ การอภิปรายเกี่ยวกับความรู้ ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่แสดงออกของผู้ แสดง และสรปุ การเรียนรู้ท่ีได้รบั ผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น พันทิพา อุทัยสุข และ สิริวรรณ ศรีพหล (2540: 106 อ้างถึงใน สุพรรณี สิงหพันธุ์,2557: 7) กลา่ วถงึ องค์ประกอบของการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ 3 องคป์ ระกอบ มดี ังนี้ 1. ผู้แสดงและผสู้ ังเกตการณ์ การแสดงบทบาทสมติ เม่ือนามาปฏิบตั ิในห้องเรียน แล้วจะแยกกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้แสดงเป็นกลุ่มที่ได้รับมอบหมายบทบาทจาก ครูผู้สอนแล้วจากการวางแผนการเรียนการสอนของผู้เรียนท้ังช้ันให้แสดงบทบาทต่างๆ กันกับกลุ่ม ผชู้ มซ่งึ จะเปน็ กลุม่ สงั เกตการณ์ โดยจะนา ผลจากการสงั เกตไปอภปิ รายภายหลัง 2. เหตกุ ารณ์ ประเดน็ หรอื ปัญหา ซึง่ อาจจะหยิบยกจากในแบบเรียนหรอื ผู้สอน สร้างขึ้นใหม่เองตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ว่าจะให้ผู้เรียนรู้อะไรจากเหตุการณ์น้ัน โดยท่ัวไปผู้สอน จะเปน็ ผู้กาหนดเหตกุ ารณ์เอง และนาเหตกุ ารณ์นั้นๆ มาเสนอแกผ่ ู้เรยี นเพ่อื การแสดงต่อไป 3. ฉากและสือ่ การสอน ฉากมเี พียงที่จาเป็นเทา่ น้นั หรืออาจไมใ่ ช้เลยก็ได้สว่ นสือ่ การสอนก็เช่นกัน จาเป็นไม่มากนัก ท้ังนี้เพราะความสาคัญของการเรียนการสอนด้วยการแสดง บทบาทสมมตขิ ้นึ อย่กู ับบทบาทของผแู้ สดงมากกว่าสิ่งใด
13 จากองค์ประกอบของการแสดงบทบาทสมมติ ตามที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า องค์ประกอบของการแสดงบทบาทสมมติ ประกอบด้วย ผู้แสดงและผู้สังเกตการณ์ โดยผู้แสดงจะทา หน้าที่แสดงบทบาทสมมติตามหัวข้อ เหตุการณ์ ประเด็น หรือปัญหา ซ่ึงอาจจะหยิบยกจากใน แบบเรียน หรือผู้สอนสร้างขึ้นใหม่เองตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ผู้สังเกตการณ์จะทาหน้าที่สังเกต เพื่อนามาอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมทแี่ สดงออกของผู้แสดง และ ร่วมกนั สรุปการเรยี นรทู้ ีไ่ ดร้ บั 2.3 จุดมุง่ หมายของการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ มีผ้ใู หน้ ยิ าม จุดมุ่งหมายของการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ ไว้หลายท่าน ดงั นี้ พันทิพา อุทัยสุข และ สิริวรรณ ศรีพหล (2540: 106) กล่าวถึงเป้าหมายการสอนโดยการ แสดงบทบาทสมมติว่า การแสดงบทบาทสมมติเป็นการนาเอาตัวอย่างพฤติกรรมของมนุษย์ท่ีเกิดข้ึน ในสังคมมาให้ผเู้ รยี นไดศ้ กึ ษา ซ่ึงผลท่จี ะไดร้ บั จากการศึกษาโดยวิธกี ารดังกล่าวจะทาให้ 1. ผเู้ รียนได้มโี อกาสสารวจความรู้สกึ ของบคุ คลอน่ื ๆ และเม่อื สารวจแลว้ ก็จะ สามารถวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมของบคุ คลเหล่านัน้ ในเชงิ เจตคติ 2. ผเู้ รยี นได้มโี อกาสศกึ ษาความสมั พันธ์และความขัดแย้งที่เกิดข้นึ ระหวา่ งกลุ่ม 3. ผู้เรยี นได้มโี อกาสฝกึ ฝนวธิ กี ารแกป้ ญั หาที่เกิดขนึ้ ในกลมุ่ ในบุคคล หรอื ระหวา่ ง บคุ คลไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. ผเู้ รียนได้มีโอกาสพัฒนาคา่ นิยมในเรอ่ื งความเห็นอกเหน็ ใจต่อผู้อ่ืน 5. ผเู้ รยี นสามารถสารวจเจตคตขิ องตนเอง รวมท้งั แกไ้ ขขอ้ บกพร่องโดยการเรยี นรู้ จากเจตคตขิ องผอู้ ืน่ ทีม่ ตี อ่ ตนเอง ทิศนา แขมมณี (2550: 358) กล่าวว่าวิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เป็นวิธีการท่ีมุ่ง ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การเอาใจเขามาใส่ใจเรา เกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมท้ังของ ตนเองและผู้อนื่ หรือเกดิ ความเข้าใจในเร่อื งต่างๆ เกยี่ วกบั บทบาทสมมตทิ ตี่ นแสดง อาภรณ์ ใจเทย่ี ง (2550: 160) ได้กล่าวถงึ จดุ มุ่งหมายของการแสดงบทบาทสมมติ ไว้ดงั น้ี 1. เพ่อื ให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในพฤติกรรมและความรสู้ ึกของผู้อื่น 2. เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนได้ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมไปในทางท่เี หมาะสม 3. เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นได้ฝึกการใชค้ วามรู้ ความคดิ ในการแก้ปญั หา และการตดั สนิ ใจ 4. เพ่อื ให้ผเู้ รยี นได้มีโอกาสแสดงออก ไดเ้ รียนด้วยความเพลิดเพลนิ 5. เพื่อให้การเรียนการสอนมีความใกล้เคยี งกับสภาพเป็นจริงมากขึน้ จากจุดมุ่งหมายของการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ ตามที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า จุดมุ่งหมายของการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ คือการที่ให้ผู้เรียนได้เกิดความรู้ความเข้าใจ ใน เนอ้ื หาตามจุดประสงคท์ ีส่ อนผา่ นการแสดงบทบาทสมมติ นอกจากนี้ยังมุ่งหวงั ให้ผู้เรยี นไดป้ รับเปล่ียน พฤตกิ รรมไปในทางท่ีเหมาะสม ได้พัฒนาอารมณ์ ความคิดสรา้ งสรรค์ ได้ฝึกการใช้ความรู้ ความคิดใน การแกป้ ัญหา และการตดั สินใจ
14 2.4 วธิ กี ารจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ีใ่ ช้การแสดงบทบาทสมมติ การแสดงบทบาทสมมตินั้น ผู้สอนสามารถออกแบบเพ่ือให้สอดคล้องกับเรื่องและเน้ือหา ตลอดทั้งผลการเรยี นรู้ดงั นี้ สคุ นธ์ สนิ ธพานนท์ (2550: 98) 1. การแลกเปล่ยี นบทบาท (Role–Reversal) โดยเม่ือมีบทบาทในเรอื่ งน้นั 3 บทบาท เช่น บทบาทเป็น พ่อ แม่ ลูก เมื่อเด็กชายจอม ได้แสดงเป็นพ่อแล้วต่อไปก็ลองเปลี่ยน บทบาทเป็นแม่ และต่อไปเปลี่ยนบทบาทเป็นลกู ผู้แสดงได้เข้าใจบทบาททกุ บทบาท จะทาให้ผูเ้ รียนมี ความเข้าใจและสามารถปรับตัวเองได้ เมื่อจบการแสดงให้มีการวิเคราะห์บทบาทกับหน้าที่ ทมี่ ีความสัมพันธ์กนั 2. การแสดงบทบาททผ่ี ูแ้ สดงราพึงกับตนเอง (Soliloguy) โดยให้ผแู้ สดงพูดถึงราพงึ ออกมาดังๆ จะช่วยให้ผู้แสดงแต่ละกลุ่มเกิดความเข้าใจ มีความรู้สึกและทัศนคติท่ีดีต่อกัน เช่น ในหน่วยบทเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อบุคคลต่างๆ เพ่ือหาหลักการปฏิบัติตนต่อบุคคลต่างๆ ใน สังคม เช่น บุคลท่ีกาลังเข้าแถวซื้อบัตรภาพยนตร์แล้วมีบุคคลหนึ่งแซงคิว บุคคลท่ีอยู่ด้านหลังก็ราพึง ออกมาว่ามีความรสู้ ึกอยา่ งไร หรือแสดงบทบาทลูกต่อวา่ พ่อแม่ท่ีเค่ียวเข็ญให้ลูกอ่านหนังสือ ผู้เรียนท่ี แสดงเป็นพ่อแม่ราพึงราพันออกมาว่ามีความรู้สึกอย่างไร ท่ีลูกเชื่อฟัง เม่ือผู้เรียนได้แสดงบทบาทจบ แลว้ ควรไดม้ กี ารสรปุ ถงึ ความรู้ 3. การหมนุ เวียนบทบาท (Role-Rotation) คือ ใหผ้ ู้เรยี นหลายๆ คนเปลีย่ นกันมา แสดงเป็นตัวละครเดิม เช่น กาหนดตัวละครแสดงเร่ือง การเตรียมตัวจัดงานวันกตัญญู หรืองานวัน ไหว้ครู หรือการเตรียมตัวร่วมกิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ เพื่อจะได้เห็นบทบาทของบุคคลว่าในวันน้ัน ควรทาอะไรบา้ ง 4. การแสดงสองบทบาท (Monodrama) วธิ กี ารน้มี อบใหผ้ ้เู รียนแสดงบทบาท สมมติคนคนเดียวแต่มี 2 บทบาท โดยแสดงกลับไปกลับมา เช่น ผู้เรียนไม่ช่วยเหลือกิจกรรมงานกลุ่ม ผู้สอนกจ็ ัดให้ผ้เู รียนคนน้ันแสดงเป็นนักเรยี นท่ไี มย่ อมช่วยเหลอื งานกลมุ่ กับแสดงเป็นสมาชิกในกลมุ่ ที่ ช่วยแนะนาช่วยเหลืองานเพื่อนๆ การแสดงทั้ง 2 บทบาท จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจความรู้สึกของเพ่ือนที่ ไม่ยอมช่วยเหลอื งานกลุ่ม กบั แสดงความรู้สึกของบุคคลท่ีมีความรักความเข้าใจความรสู้ ึกเพอื่ น จะทา ใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ใจและสามารถแสดงบทบาทนน้ั ๆ ออกมาไดเ้ ปน็ อย่างดี 5. การใชว้ ธิ ดี ภู าพสะทอ้ น (The Mirror Technique) เป็นวธิ ีการที่ใหผ้ เู้ รยี นได้ แสดงร่วมกันเป็นหมู่ โดยการนาปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกลุ่มมาให้ผู้อื่นแสดง เพ่ือช่วยให้เจ้าของ ปัญหามองเห็นตนว่าเป็นคนอย่างไร เช่น เพ่ือนในห้องเรียนบางคนเป็นคนช่างพูดโอ้อวด บางคนเป็น คนถ่อมตัว บางคนเป็นคนที่ชอบช่วยเหลือผู้อ่ืน ดังนั้น เมื่อมีการดูบุคคลอื่นแสดงบทบาทที่ เปรียบเสมือนภาพสะท้อนของบุคคลซึ่งมีลักษณะดังกล่าวก็จะทาให้ได้แง่คิดและอาจปรับปรุงตนเอง ในกรณที ีบ่ คุ คลนน้ั มีพฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสม 6. การแสดงบทบาทผสม (Multiple Role – Playing) เปน็ บทบาทสมมตทิ ใี่ ห้ ผู้เรียนหลายกลุ่มแสดงบทบาทเดียวกันไปพร้อมๆ กัน ซึ่งจะทาให้มีการเปรียบเทียบกันเกี่ยวกับการ ตดั สินใจในการนาเสนอหรือแกป้ ัญหา
15 7. การแลกเปลี่ยนบทบาทเป็นกลุม่ (Group Role Reversed) เป็นการกาหนดให้ สมาชิกของกลุ่มทุกคนรับช่วงบทบาทของสมาชิกกลุ่มอื่น ท่ีกาลังแสดงอยู่ในช่วงเวลาหน่ึง ซึ่งกลุ่มจะ ได้รับปัญหาท่ีสมาชิกทุคนจะต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยการแสดงบทต่อจากบทบาทที่ผู้อ่ืนกาลัง แสดงอยู่ 8. การแสดงบทบาทของผู้ชม (Audience Role - Play) ใชส้ าหรับให้ทกุ คนไดช้ ม การแสดงหลายๆ แบบแลว้ จึงให้ผ้ชู มตัดสนิ ใจเลือกแนวทางท่ีดที สี่ ุด บัณฑิตา ลิขสิทธ์ิ (2553: 50) รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใช้วิธีการแสดงบทบาท สมมติจะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบด้วยกัน คือ การแสดงบทบาทสมมติแบบกาหนดโครงสร้างคือมีการ กาหนดวัตถุประสงค์ กาหนดบทบาท กาหนดเนื้อหาเร่ืองราวต่างๆ และการแสดงบทบาทสมมติแบบ ไม่กาหนดโครงสรา้ ง โดยจะเกิดขึ้นเองและเป็นไปโดยธรรมชาติ โดยไม่มีการคาดการณ์ล่วงหน้าว่าจะ เปน็ เรื่องอะไร จากวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ตามที่ได้กล่าวมาสามารถ สรุปไดว้ า่ วธิ กี ารจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ีใ่ ช้วธิ ีการแสดงบทบาท สามารถปฏิบตั ิไดห้ ลากหลายรปู แบบ ภายใต้โครงสร้าง 2 ลักษณะ คือ การแสดงบทบาทสมมติแบบกาหนดโครงสร้างคือมีการกาหนด วัตถุประสงค์ กาหนดบทบาท กาหนดเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ และการแสดงบทบาทสมมติแบบไม่ กาหนดโครงสร้าง โดยจะเกิดขึ้นเองและเป็นไปโดยธรรมชาติ โดยไม่มีการคาดการณ์ล่วงหน้าว่าจะ เป็นเร่ืองอะไร ยกตัวอย่างวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ เช่น 1) การ แลกเปลี่ยนบทบาท (Role–Reversal) 2) การแสดงบทบาทที่ผู้แสดงราพึงกับตนเอง (Soliloguy) 3) การหมุนเวียนบทบาท (Role-Rotation) 4) การแสดงสองบทบาท (Monodrama) 5) การใช้วิธีดู ภาพสะท้อน (The Mirror Technique) 6) การแสดงบทบาทผสม (Multiple Role – Playing) 7) การแลกเปล่ียนบทบาทเป็นกลุ่ม (Group Role Reversed) 8) การแสดงบทบาทของผู้ชม (Audience Role - Play) เป็นตน้ 2.5 ขัน้ ตอนของการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ การเรียนรู้ขั้นตอนของการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เป็นส่ิงสาคัญสาหรับการ วางแผนสาหรับครูผู้สอน ซ่ึง ทิศนา แขมมณี (2550: 358-359) อธิบายขั้นตอนสาคัญของการสอนไว้ ดงั นี้ 1. ผู้สอน / ผูเ้ รยี น นาเสนอสถานการณ์สมมตแิ ละบทบาทสมมติ 2. ผูส้ อน / ผูเ้ รียนเลือกผูแ้ สดงบทบาท 3. ผู้สอนเตรียมผสู้ งั เกตการณ์ 4. ผู้เรียนแสดงบทบาท และสงั เกตพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก 5. ผู้สอนและผู้เรยี น อภิปรายเกยี่ วกับความรู้ ความคดิ ความรูส้ ึก และพฤตกิ รรมท่ี แสดงออกของผู้แสดง 6. ผูส้ อนและผู้เรียนสรปุ การเรยี นรทู้ ี่ไดร้ ับ 7. ผูส้ อนประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน
16 จากขั้นตอนของการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ตามท่ีกล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า ข้ันตอนของการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ต้องมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้เรียน ได้พัฒนาท้ังในด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติ ทั้งตัวครู เพ่ือนนักเรียนต้องร่วมกันสังเกตพฤติกรรม เพ่ือนามาอภิปรายเกี่ยวกับความรู้ ความคิด ความรู้สึก พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกของผู้แสดง และรว่ มกันสรปุ การเรยี นร้ทู ีไ่ ด้รบั 2.6 ประโยชนข์ องการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ีใช้การแสดงบทบาทสมมติ มผี ู้ให้นยิ าม ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใช้วธิ ีการแสดงบทบาทสมมติ ไว้หลาย ทา่ น ดังน้ี ทิศนา แขมมณี (2550: 42 - 43) กลา่ วว่า การจดั กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีใช้วิธกี ารแสดง บทบาทสมมตินน้ั เปน็ เครื่องมือ และวิธีการอยา่ งหนงึ่ ที่ชว่ ยในการสอนได้มาก ครสู ามารถนาบทบาท สมมตไิ ปช่วยใหน้ ักเรยี นเกิดการเรียนรใู้ นดา้ นต่างๆ ดงั นี้ 1. ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนได้เขา้ ใจวา่ พฤตกิ รรมทุกพฤตกิ รรมมสี าเหตุ การทีใ่ หผ้ เู้ รยี นได้แสดง บทบาทต่างๆ ทีถ่ ูกจากัดอย่ใู นสภาพการณต์ า่ งๆ จะทาใหผ้ ้เู รียนเขา้ ใจถึงสาเหตุต่างๆ ท่ผี ลกั ดันใหค้ น ต้องแสดงพฤตกิ รรมใดๆ ความเข้าใจนี้จะชว่ ยให้ผ้เู รียนไมด่ ว่ นตัดสินใจอะไรง่ายๆ ก่อนทจ่ี ะพิจารณา ถงึ สาเหตุ นอกจากนัน้ ยังจะช่วยใหผ้ เู้ รียนไดแ้ นวทางในการแกป้ ัญหาให้ตรงประเด็นอีกด้วย 2. ช่วยให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ และเข้าใจความรู้สกึ ของคนอ่นื การทใ่ี ห้ผ้เู รยี นได้สวม บทบาทของผู้อ่ืน จะช่วยให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ว่าผู้อ่ืนมีความคิด และความรู้สึกอย่างไร ความ เขา้ ใจน้ีจะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเอาใจเขามาใสใ่ จเรา 3. ชว่ ยลดความรูส้ กึ ตึงเครยี ดของผู้เรยี น ในบางครงั้ ผ้เู รียนอาจจะมีความรู้สกึ รุนแรงในใจหลายประการท่ีไม่สามารถแสดงออกมาได้ ครูอาจใช้บทบาทสมมติเป็นเคร่ืองมือ ในการ ชว่ ยให้ผ้เู รยี นได้ระบายความรู้สึกนั้นๆ ออกมา เป็นการชว่ ยผ่อนคลายความตงึ เครียดของผู้เรียนลงได้ บ้าง 4. ช่วยใหค้ รูไดเ้ รียนรถู้ ึงความตอ้ งการของผู้เรียน ในกรณีท่ีผู้เรยี นไม่สามารถจะบอก ความต้องการของตนเองออกมาได้ ครูอาจจะจัดบทบาทสมมติให้ผู้เรียนได้แสดง ซ่ึงผู้เรียนอาจจะ เปิดเผยความตอ้ งการของตนเองออกมาโดยไม่รตู้ วั 5. ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรยี นไดพ้ ฒั นาความรู้สกึ เกีย่ วกบั ตนเองในทางทด่ี ี การใหผ้ ูเ้ รยี น มีความเข้าใจตนเองมากข้ึน และพัฒนาความรู้สึกท่ีดีเกี่ยวกับตนเอง สิ่งนี้นับว่าเป็นพ้ืนฐานของความ เจริญงอกงามทางจิตใจ อันจะช่วยให้บุคคลนั้นดารงชีพอยู่อย่างปกติสุข และสามารถทางานอย่างมี ประสทิ ธิภาพ 6. ช่วยสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ ีโอกาสสารวจคา่ นยิ มของตนเอง และหาหลกั ยึดเหน่ียว ในการดารงชวี ิตของตน ในขณะที่ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติอยู่นน้ั ผู้เรียนจะมีพฤติกรรมการตัดสินใจ ที่แสดงให้เห็นถึงค่านิยมของตน การที่มีโอกาสได้แสดง อภิปราย และวิเคราะห์ถึงค่านิยมเหล่านั้นจะ ชว่ ยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตนเองมากข้ึน
17 7. ชว่ ยใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาถึงความสามัคคีในกลมุ่ ให้ดีขึ้นในการทางานร่วมกนั สมาชิกในกลุ่มมักจะมีปัญหาขัดแย้งกันอยู่เนืองๆ ความขัดแย้งนี้ทาให้เกิดความไม่เข้าใจกัน และเกิด ความแตกแยกกันในหมู่คณะ วิธีการแสดงบทบาทสมมติน้ีสามารถนามาใช้ทาให้คนในกลุ่มเกิดความ เข้าใจกนั และมีความสามัคคปี รองดองกัน 8. ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนรเู้ กีย่ วกับการปฏบิ ัติตนในสังคม มนษุ ยเ์ ปน็ สัตวส์ งั คม ดังนั้น การเรียนรู้เป็นสิ่งจาเป็น บทบาทสมมติน้ีสามารถนามาใช้ทาให้คนในกลุ่มเกิดความเข้าใจกันและมี ความสามัคคีปรองดองกัน 9. ช่วยให้ผูเ้ รยี นได้ฝึกการแก้ปญั หา และการตดั สนิ ใจบทบาทสมมตทิ ุกบทบาท มักจะมีสถานการณ์ที่มีความขัดแย้งแฝงอยู่ ผู้แสดงต้องใช้วิจารณญาณ และไหวพรบิ ในการแก้ปัญหา จงึ นับว่าวธิ กี ารนีจ้ ะชว่ ยฝึกเรอื่ งการแก้ปญั หา และการตดั สินใจไดเ้ ป็นอย่างดี สคุ นธ์ สินธพานนท์ (2550: 138 - 139) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์ และข้อจากดั ของการจัด กิจกรรมการเรยี นรูท้ ใ่ี ชว้ ิธกี ารแสดงบทบาทสมมติ ดงั นี้ 1. ผู้เรยี นไดเ้ รียนรแู้ ละเขา้ ใจความรสู้ ึกของตนเอง และผู้อ่ืน หรอื ความสาคัญของ สง่ิ ของในเรื่อง สามารถปรบั ความสัมพนั ธ์ระหว่างเพือ่ นได้ 2. ผ้เู รยี นได้ฝกึ การแกป้ ัญหาและการตัดสินใจจากบทบาทสมมติ ซ่งึ ในสถานการณ์ ของความขัดแย้งแฝงอยู่ และผู้แสดงได้รู้จักใช้ไหวพริบในการแก้ปัญหาและตัดสินใจ และรู้จัก วิเคราะหห์ าสาเหตุของปัญหาเพื่อแกไ้ ขปัญหาไดต้ รงจดุ 3. ผู้เรียนมแี นวทางการนาความรู้ ประสบการณ์ทไ่ี ด้รับไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จริง 4. เป็นการสร้างความสามัคครี ะหวา่ งกลมุ่ การทางานรว่ มกนั จะทาใหท้ ุกคน มีความ เขา้ ใจและรูจ้ ักปรบั ปรงุ ตนเองใหเ้ ขา้ กบั ผอู้ น่ื 5. ผู้เรียนไดเ้ กิดการเรียนร้ใู นการปฏิบัติใหเ้ หมาะสมกับเหตุการณ์ และสถานการณ์ ตา่ งๆในสังคม 6. ทาใหบ้ ทเรยี นมคี วามสนกุ สนานเพลิดเพลิน เร้าความสนใจ และทาใหผ้ ูเ้ รยี นเกิด การเรียนรูห้ ลายๆ ดา้ น และมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ 7. ผ้สู อนไดเ้ รยี นรู้ความตอ้ งการของผู้เรยี นทไี่ ด้เปดิ เผยความต้องการของตนเอง ออกมาอยา่ งไมร่ ู้ตัว ผสู้ อนไดร้ ้คู วามสามารถ อปุ นิสยั การทางาน การปรบั ตนเข้ากบั ผู้อ่ืนของผู้เรยี น นิสริน เหมจา (2554 : 22) ได้กล่าวว่า บทบาทสมมติเป็นกิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาความรู้สึกเก่ียวกับตนเองในทางท่ีดีตลอดจนความรสู้ ึกท่ีดตี ่อผู้อน่ื มากขึ้น โดยผเู้ รียนได้มีโอกาส ทดลองฝึกปฏิบัติตามบทบาทพร้อมปรับพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสมกับสมรรถภาพสามารถทางาน ร่วมกับผู้อ่ืนและสามารถตัดสินใจแก้ปัญหาชีวิตประจาวันได้ทาให้ผู้เรียนรู้สึกว่าตนเองประสบ ความสาเรจ็ กลา้ แสดงออกมากยิ่งขึ้น จากประโยชน์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ตามท่ีกล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า บทบาทสมมติสามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถ ผ่านการปฏิบัติ ช่วยสะท้อน ความรู้สึกนึกคิดต่างๆ ที่อยู่ภายในของผู้เรียนออกมา และนามาซ่ึงการศึกษาทาความเข้าใจกันได้
18 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เก่ียวกับตนเอง เกิดการเข้าใจในตนเอง ในขณะเดียวกันการท่ีผู้เรียนสวม บทบาทของผู้อื่น ก็สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเขา้ ใจในความคิด ค่านิยม และพฤติกรรมของผู้อ่ืน ได้เช่นเดียวกัน นามาซึ่งการปรับเปลี่ยนเจตคติ ค่านิยม และพฤติกรรมของตน ให้เป็นไปในทางท่ี เหมาะสม และสามารถนาความร้ทู ีไ่ ดไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวัน 3. แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกบั กฎหมายอาญา ความผดิ เก่ียวกบั ทรัพย์ กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่รวมเอาลักษณะความผิดต่างๆ และกาหนดบทลงโทษมา บัญญัติขึ้น โดยมีจุดประสงค์ท่ีจะรักษาความสงบเรียบร้อยภายในสังคม การกระทาที่มีผลกระทบ กระเทือนต่อสังคม หรือคนส่วนใหญ่ของประเทศถือว่าเป็นความผิดทางอาญา ผู้กระทาผิดทางอาญา แล้วต้องถูกลงโทษ ด้วยโทษในระดับต่างๆ 5 สถาน ได้แก่ ประหารชีวิต จาคุก กักขัง ปรับ ริบ ทรัพย์สิน ซ่ึงปัจจุบันการขยายตัวของข่าวอาชญากรรมที่มุ่งหวังต่อทรัพย์มีจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็น การลกั ทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชงิ ทรพั ย์ ปล้นทรพั ย์ บุกรุก ซึง่ สามารถสรปุ ได้ดงั น้ี 3.1 ความหมายของทรพั ย์ ทวเี กยี รติ มนี ะกนษิ ฐ (2554: 301-302) ไดก้ ล่าววา่ ทรัพย์มีความหมายตามประมวล กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 มาตรา 6 (10) วา่ หมายถงึ บรรดาสงิ่ ของอันบคุ คลสามารถมี กรรมสิทธห์ิ รือถืออานาจเปน็ เจา้ ของได้ เปน็ ตน้ ว่า เงนิ ตราและบรรดาสิ่งของอันพึงเคลื่อนจากที่ได้ ก็ดแี ละเคลอ่ื นท่ีไม่ได้กด็ ี ส่วนในประมวลกฎหมายอาญาปัจจบุ ันไมไ่ ดบ้ ัญญตั ินิยามความหมายไวด้ งั นน้ั การจะ ทราบความหมายของคาว่า “ทรพั ย์” ต้องพิจารณาความหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ ตามหลักท่ีว่า กฎหมายย่อมเกี่ยวของซึ่งกันและกันอยู่เว้นแต่ตามบทบัญญัตินั้นๆ จะแสดงว่าไม่ ประสงคจ์ ะให้ มีความหมายดังปรากฏตามกฎหมายอน่ื ดังนน้ั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 137 และมาตรา 138 ไดบ้ ญั ญัตไิ ว้ว่า มาตรา 137 ทรพั ยห์ มายความว่าวัตถุมรี ูปรา่ ง มาตรา 138 ทรพั ย์สิน หมายความรวมท้งั ทรพั ยแ์ ละวัตถไุ มม่ รี ปู ร่าง ซงึ่ อาจมีราคา และอาจถอื เอาได้ จากความหมายของทรัพย์ตามที่กล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า ทรัพย์ หมายถึง เงินตราและบรรดา ส่ิงของอนั พึงเคลือ่ นจากที่ได้กด็ ีและเคลอ่ื นที่ไม่ได้ก็ดี 3.2 การกระทาผิด และความผดิ เก่ียวกับทรพั ย์ 3.2.1 การกระทาผดิ แสวง บญุ เฉลมิ วภิ าส (2539: 35-39) ได้กลา่ ววา่ ตามหลักกฎหมายอาญา การกระทา คือการเคล่ือนไหวหรือไมเ่ คลอ่ื นไหวร่างกายภายใต้บงคบั ของจิตใจ ซึ่งเรียกว่า โดยรสู้ านึก และในความหมายของกฎหมาย การกระทาจึงมิได้หมายเฉพาะการเคลื่อนไหวร่างกายหรือไม่ เคลื่อนไหวร่างกายเท่าน้ัน แต่ยังหมายรวมถึงการเคลื่อนไหวหรือไม่เคล่ือนไหวร่างกายจะต้องเป็นไป ตามการบังคับของจติ ใจด้วย ดงั นน้ั การเคลือ่ นไหวร่างกายของคนละเมอ คนถูกสะกดจิต หรืออาการ กระตุกท่ีเกิดจากการส่ังการของไขสันหลัง ที่เรียกว่า Reflex Action หรืออาการโรคลมชัก หรือ เค ลื่ อน ไห ว ร่างกายของท ารกย่อม ไม่ ถือว่าเป็น การกระทา ใน คว ามห ม ายของก ฎ ห ม าย แล ะห าก
19 พิจารณาขั้นตอนของการกระทา จะประกอบไปด้วย 1) มีความคิดที่จะกระทา 2)มีการตกลงในท่ีจะ กระทาตามท่ีคิดไว้ 3) ต้องได้กระทาไปตามท่ีตกลงใจน้นั 3.2.1.1 ประเภทของการกระทา 1) การกระทาในเชิงบวกเป็นการกระทาท่ีแสดงออกภายนอกโดย การเคลื่อนไหวร่างกายภายใตบ้ ังคับของจิตใจ ซึ่งอาจจะกระทาเองหรือโดยผ่านผู้อื่น อาจเกิดข้ึนได้ 2 กรณีได้แก่ 1) การกระทาโดยตรง เป็นการกระทาของบุคคลนั้นเอง เช่น การยิงปืน ใช้มีดแทง เป็นต้น โดยมีการคิด ตกลงใจ และได้กระทาการตามท่ีคิดและตกลงใจนั้น นอกจากน้ีการกระทา โดยตรง ผู้กระทาอาจจะไม่ได้กระทาการในทุกข้ันตอน แต่อาจอาศัยบุคคลอ่ืน เพ่ือให้บรรลุถึงความ ต้องการน้ันก็ได้โดยบุคคลนั้นขาดความคิด ตกลงใจท่ีจะกระทาการน้ัน เช่น การสะกดจิตผู้อ่ืน การใช้ กาลังข่มขู่ผู้อ่ืน เป็นต้น 2) การกระทาโดยอ้อม ซ่ึงในบางกรณี ผู้กระทาอาจจะไม่ได้กระทาผิดเอง แต่ ได้ใช้บุคคลอื่นท่ีไม่ตองรับผดิ ชอบทางอาญาเป็นเคร่ืองมือในการกระทาความผิดแทน เช่น ใชเ้ ด็กที่ยัง ไม่บรรลุนติ ิภาวะ กระทาในลกั ษณะของการทาใหบ้ ุคคลนน้ั สาคัญผิดในข้อเท็จจริง 2) การกระทาในเชิงลบ เป็นการกระทา โดยไม่เคลื่อนไหวร่างกาย สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณี ได้แก่ 1) การกระทาโดยการงดเว้น โดยพิจารณาจาก (1) การที่ บุคคลน้ันมีหน้าท่ี (2) เป็นหน้าท่ี ซึ่งจะต้องกระทาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลนั้นขึ้น ซ่ึงการพิจารณา จะต้องให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทั้งสองนี้ โดยในจะต้องพิจารณาว่าบุคคลนั้นมีหน้าท่ีในกรณีนั้นๆ หรอื ไม่ซ่ึงหน้าที่ดังกล่าวน้ี มิได้จากัดอยู่เฉพาะหน้าท่ีตามกฎหมาย แต่เป็นหน้าท่ีที่กระทาเพ่ือป้องกัน ผลตามวิสัยและพฤติการณ์ท่ีผู้น้ันมีความสัมพันธ์ในกรณีอื่นด้วย 2) การกระทาโดยละเว้น เป็นการ กระทาในเชิงลบ คือ เป็นการกระทาโดยไม่เคลื่อนไหวร่างกายอีกกรณีหน่ึง ซ่ึงเกิดข้ึนจากการท่ี กฎหมายบัญญัติให้บุคคลต้องกระทาการบางอย่างตามท่ีกฎหมายกาหนด หากไม่กระทาการย่อมถือ วา่ เป็นความผิด สรุปได้ว่า พฤติกรรมการกระทาผิด หมายถึง พฤติกรรมของบุคคลในสังคมท่ีแสดงออกใน ลักษณะเคลื่อนไหวร่างกายและไม่เคล่ือนไหวร่างกาย โดยมีความคิดที่จะกระทา มีการตกลงใจที่จะ กระทาตามท่ีคิดไว้ และต้องได้กระทาไปตามที่ตกลงใจน้ัน อันส่งผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยต่อ ประชาชนและสังคม ซึง่ ขัดต่อบรรทดั ฐานและกฎหมายของสังคมน้ันๆ 3.2.2 ความผิดเกยี่ วกับทรพั ย์ ความหมายของความผิดเกยี่ วกบั ทรพั ย์ ไดม้ ีผู้ใหค้ วามหมาย ดงั นี้ ความผิดเก่ียวกบั ทรพั ย์ (ทวเี กียรติ มนี ะกนิษฐ, 2554: 301-302) หมายถึง ความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา ลักษณะ 12 แบง่ เปน็ 8 หมวด ประกอบดว้ ย ความผิดฐานลกั ทรพั ย์และ ว่ิงราวทรัพย์ ตามมาตรา 334-336 ความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปล้น ทรัพย์ ตามมาตรา 339-340 ความผิดฐานฉ้อโกง ตามมาตรา 341-348 ความผิดฐานโกงเจ้าหน้ี ตาม มาตรา 349-351 ความผิดฐานยักยอก ตามมาตรา 352-356 ความผิดฐานรับของโจร ตามมาตรา 357 ความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ ตามมาตรา 358-361 และความผิดฐานบุกรุก ตามมาตรา 362- 366 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ มีข้ึนเพ่ือคุมครองสิทธิ ในทรัพย์และทรัพย์สินของบุคคลไม่ว่าจะเป็นใน แง่กรรมสิทธิ์ หรือการครอบครอง รวมทงั้ การใช้ประโยชน์ในทรัพย์หรือทรัพย์สินนั้นๆซ่ึงความผิดท่ีได้ กระทา ได้แก่ การไม่เคารพในสิทธิดงกลา่ วของบคุ คล
20 3.3 ประมวลกฎหมายอาญาว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ (ลักทรัพย์ วิงราวทรัพ่ย์ ชงิ ทรพั ย์ ปลน้ ทรพั ย์ และรบั ซ้อื ของโจร) พระราชบัญญัติ การใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 (สานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา, 2551: 90-95) ได้กล่าวว่า ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ตามท่ีบัญญัติไว้ในลักษณะ 12 ได้ บัญญัติลักษณะความผิดไว้ 8 หมวด และงานวิจัยคร้ังนี้ ได้ศึกษา ความผิดเก่ียวกับทรัพย์ ในหมวด 1 ฐานความผดิ ลกั ทรัพย์และว่ิงราวทรพั ย์ ตามที่บัญญตั ิไว้ใน มาตรา 334 ถึง มาตรา 336 และในหมวด 2 ฐานความผิดชิงทรัพย์ และปล้นทรัพย์ ตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 339 ถึง มาตรา 340 มี รายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี หมวด 1 ความผิดฐานลักทรพั ย์ และว่งิ ราวทรพั ย์ เกยี รติขจร วัจนะสวัสด์ิ (2550: 19) กล่าวว่า ความผิดฐานลกั ทรัพย์ประกอบดว้ ย 1) องค์ประกอบภายนอก 1) ผู้ใด (ผู้กระทา) 2) เอาไป (การกระทา) 3) ทรพั ยข์ องผู้อนื่ หรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ดว้ ย (วัตถแุ ห่งการกระทา) 2) องค์ประกอบภายใน 1) เจตนา (เจตนาธรรมดา กล่าวคือ “ประสงค์ต่อ ผล หรือเล็งเห็นผล”) 2) เจตนาพิเศษ “โดยทุจริต”ข้อสังเกต จากองค์ประกอบภายนอก 3 ประการ ดังกล่าว การกระทาจะครบองค์ประกอบภายนอกของความผิดฐานลักทรพั ย์ ก็ต่อเมอื่ ครบหลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปัน้ี 1) ทรพั ยน์ ัน้ ต้องเป็นของผู้อ่นื หรือผู้อืน่ เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย (กรรมสทิ ธิร์ วม) 2) ผู้กระทา “เอาไป” ซึ่งทรัพยน์ น้ั อนั หมายความว่า (1) ทรพั ยน์ ้ันต้องมผี ู้อนื่ ครอบครองอยู่ในขณะน้ัน (2) ผู้กระทาเขา้ ครอบครองทรพั ย์นน้ั (3) การเข้าครอบครองทรพั ย์นั้นเป็นตามข้อ 2.2 เป็นการ แยง่ การครอบครอง (4) ผู้กระทาพาทรัพย์น้ันเคล่ือนท่ีไปในลักษณะท่ีเป็นการ ตดั กรรมสิทธิ์ของเจา้ ของทรัพยต์ ลอดไป ไมใ่ ช่แตเ่ พยี งเอาไปช่ัวคราว เกียรติขจร วัจนะสวัสด์ิ (2550: 377-378) กล่าวถึงความผิดฐานว่ิงราวทรัพย์ ประกอบด้วย 1) องค์ประกอบภายนอก 1) ผู้ใด 2) ลักทรพั ย์ 3) โดยฉกฉวยเอาซง่ึ หนา้ 2) องค์ประกอบภายใน 1) เจตนาธรรมดา กล่าวคือ “ประสงค์ต่อผลหรือ เลง็ เหน็ ผล” 2) เจตนาพเิ ศษ “โดยทุจริต” อธิบาย การวิ่งราวทรัพย์ คือ การลักทรัพย์โดยการฉกฉวยเอาซึ่งหน้า กลา่ วคอื การพาทรัพยเ์ คลอื่ นท่นี ัน้ เป็นการ “ฉกฉวยเอาซ่ึงหน้า” ความผดิ ฐานลักทรัพยแ์ ละวิ่งราวทรัพยต์ ามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 ได้บัญญตั ิไัว้ ดังนี้
21 มาตรา 334 ผู้ใดเอาทรัพยข์ องผู้อ่ืน หรือทผี่ ู้อ่นื เป็นเจ้าของรวมอย่ดู ้วยไปโดยทจุ รติ ผู้น้ันกระทาความผดิ ฐานลักทรพั ย์ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สามปี และปรบั ไมเ่ กนิ หกพนั บาท มาตรา 335 ผู้ใดลักทรัพย์ (1) ในเวลากลางคืน (2) ในท่ีหรือบริเวณท่ีมีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด อุทกภัย หรือ ในที่หรือ บริเวณที่มีอุบติเหตุ เหตุทุกขภัยแก่รถไฟ หรือยานพาหนะอื่นท่ีประชาชนโดยสาร หรือภัยพิบัติอื่น ทานองเดยี วกันหรืออาศัย โอกาสทม่ี เี หตุเชน่ วา่ น้ัน หรอื อาศัยโอกาสท่ีประชาชนกาลังต่นื กลวั ภัยตราย ใดๆ (3) โดยทาอันตรายสิ่งกีดก้นั สาหรับคุมครองบุคคลหรือทรัพย์ หรือโดยผ่าน สง่ิ เชน่ ว่านนั้ เขา้ ไปด้วยประการใดๆ (4) โดยเข้าทางช่องทางซึ่งได้ทาขึ้นโดยไม่ได้จานงให้เป็นทางคนเข้า หรือ เข้าทางชอ่ งทางซ่ึงผู้เปน็ ใจเปิดไว้ให้ (5) โดยแปลงตัวหรือปลอมตัวเป็นผู้อ่ืน มอมหน้าหรือทาด้วย ประการอ่ืน เพอ่ื ไม่ให้เห็นหรอื จาหนา้ ได้ (6) โดยลวงว่าเป็นเจ้าพนักงาน (7) โดยมอี าวธุ หรือโดยรว่ มกระทาความผดิ ด้วยกนั ต้งั แต่สองคนขน้ึ ไป (8) ในเคหสถาน สถานท่ีราชการหรือสถานท่ีท่ีจัดไว้เพ่ือให้บริการสาธารณ ทต่ี นไดเ้ ข้าไปโดยไม่ได้รบั อนุญาต หรือซอ่ นตวั อยใู่ นสถานทน่ี นั้ ๆ (9) ในสถานท่ีบูชาสาธารณ สถานี รถไฟ ท่าอากาศยานที่จอดรถ หรือเรือ สาธารณะ สาธารณสถานสาหรบั ขนถ่ายสินค้า หรือในยวดยานสาธารณะ (10) ท่ีใช้หรอื มีไวเ้ พอ่ื สาธารณประโยชน์ (11) ท่ีเป็นของนายจา้ งหรือท่ีอยใู นความครอบครองของนายจ้าง (12) ทเ่ี ปน็ ของผู้มีอาชีพกสกิ รรมบรรดาทเ่ี ปน็ ผลติ ภัณฑพ์ ืชพันธ์ุสตั ว์หรอื เครอื่ งมอื อนั มไี วส้ าหรับประกอบกสิกรรมหรอื ไดม้ าจากการกสกิ รรมนัน้ ต้องระวางโทษจาคุกต้ังแต่หนึ่งปี ถึงห้าปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาทถ้า ความผิด ตามวรรคแรกเป็นการกระทา ที่ประกอบด้วยลักษณะ ดังที่ บัญญัติ ไว้ในอนุมาตราดังกล่าว แล้วตั้งแต่สองอนุมาตราข้ึนไป ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกต้ังแต่หนึ่งปี ถึงเจ็ดปี และปรับต้ังแต่สอง พันบาทถงึ หนึ่งหม่นื สี่พันบาท ถ้าความผิดตามวรรคแรกเป็นการกระทาต่อทรัพย์ท่ี เป็นโค กระบือ เคร่ืองกล หรื อ เคร่ืองจักรท่ีผู้มีอาชีพกสิกรรมมีไว้สาหรับ ประกอบกสิกรรมผู้กระทาตอ้ งระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสบิ ปี และปรบั ตง้ั แต่สองพันบาทถึงสองหมน่ื บาท ถ้าการกระทาความผิดดังกล่าวใน มาตราน้ีเป็นการกระทาโดยความจาใจหรือความยากจน เหลือทนทานและทรัพย์นั้นมีราคาเล็กน้อยศาลจะลงโทษผู้กระทาความผิดดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 334 ก็ได้ มาตรา 336 ผู้ใดลักทรพั ยโ์ ดยฉกฉวยเอาซง่ึ หนา้ ผู้น้ันกระทาความผิดฐานวิ่งราวทรพั ย์ ตอ้ ง ระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ หา้ ปี และปรบั ไม่เกินหน่งึ หม่นื บาท
22 ถา้ การว่งิ ราวทรพั ย์ เป็นเหตุใหผ้ ู้อนื่ รับอนั ตรายแกก่ ายหรือจติ ใจ ผู้กระทาตอ้ งระวางโทษ จาคุกตงั้ แต่สองปี ถึงเจด็ ปี และปรบั ตัง้ แตส่ ่พี ันบาทถึงหนง่ึ หมน่ื ส่ีพนั บาท ถ้าการว่ิงราวทรัพย์ เป็นเหตุให้ผู้อื่นรบั อนั ตรายสาหัส ผู้กระทาตอ้ งระวางโทษจาคกุ ต้งั แต่ สามปี ถงึ สิบปี และปรับตัง้ แตห่ กพนั บาทถึงสองหมืน่ บาท ถา้ การวิ่งราวทรพั ย์ เป็นเหตใุ หผ้ ู้อน่ื ถงึ แกค่ วามตาย ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคกุ ต้งั แต่หา้ ปี ถึงสิบห้าปี และปรบั ตงั้ แต่หนงึ่ หมน่ื บาทถึงสามหมน่ื บาท จากความหมายของการลักทรัพย์และการว่ิงราวทรัพย์ที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อ่ืนเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดยต้องการจะ ครอบครองทรัพย์นั้นไว้ เพ่ือตนเองเอาไปขายหรือให้กบั บุคคลอ่ืนก็ตามแต่ ผทู้ ่ีกระทาความผิดฐานลัก ทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 6 พันบาท การลักทรัพย์นั้นถ้าผู้กระทาได้ กระทาในเวลากลางคืนหรือในบริเวณที่มีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด หรือในบริเวณที่มีอุบัติเหตุผู้ท่ีเข้า ไปลักทรัพย์ในบริเวณดังกล่าวจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นกว่าการลักทรัพย์ในเวลา สถานที่หรือ เหตุการณ์ปกติ เหตทุ ี่เปน็ เชน่ น้ี เพราะเหตกุ ารณ์ หรอื ช่วงเวลาดังกล่าวเจ้าของทรพั ย์กาลังได้รบั ความ เดือดร้อนไม่สามารถที่จะดูแลทรัพย์ของตนเองได้และการกระทาในเหตุการณ์หรือช่วงเวลาดังกล่าว เป็นการกระทาท่ีซ้าเติมเจ้าของทรัพย์ท่ีกาลังได้รับความเดือดร้อน การวิ่งราวทรพั ย์ คือ การลักทรัพย์ โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า หมายถึง เป็นการขโมยเจ้าของรู้ตัวและทรัพย์จะต้องอยู่ใกล้ชิดตัวเจ้าทรัพย์ ผกู้ ระทาการวิ่งราวทรัพย์จะตอ้ งถูกระวางโทษจาคกุ ไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกนิ 1 หม่นื บาท อยา่ งไรก็ ตามถ้าการว่ิงราวทรัพย์ทาให้ผู้อ่ืนได้รับอันตรายหรือเสียชีวิต เช่น กระชากสร้อยจากเจ้าของแล้ว สรอ้ ยบาดคอเจ้าของสร้อย ผทู้ ่กี ระทาจะต้องถูกระวางโทษหนักข้นึ ด้วย หมวด 2 ความผิดฐานชิงทรพั ยแ์ ละปลน้ ทรพั ย์ ทวีเกยี รติ มนี ะกนษิ ฐ (2554: 332) กลา่ ววา่ ความผิดฐานชงิ ทรัพย์ ประกอบดว้ ย 1) องคป์ ระกอบภายนอก 1) เอาไป 2) ทรพั ยข์ องผู้อน่ื หรือท่ีผู้อ่ืนเป็นเจา้ ของ รวมอยูดวย 3) โดยใชก้ าลงั ประทุษร้ายหรือขูเ่ ขญ็ วา่ ในทนั ใดน้นั จะใช้กาลงั ประทุษรา้ ย 2) องค์ประกอบภายใน 1) เจตนา ซึ่งต้องคลุมถึงการ “เอาไป” และ “ทรัพย์ของ ผู้อื่น” หรือ “ที่ผู้อ่ืนเป็นเจ้าของรวม” อยู่ด้วยและคลุมถึงการ “ใช้กาลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าใน ทันใดน้ันจะใช้กาลังประทุษร้าย” 2) มูลเหตุจูงใจ “ทุจริต” ซึ่งต้องเป็นมูลเหตุที่ชกจูงใจให้เอาทรัพย์ ของผู้อ่ืนหรือซึ่งผู้อ่ืนเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป 3) มูลเหตุชักจูงใจอย่างใดอย่างหนึ่งใน 5 ประการ ดังต่อไปน้ี คือ (1) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาเอาทรัพย์ไป (2) ให้ย่ืนให้ซึ่งทรัพย์น้ัน (3) ยดึ ถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (4) ปกปิดการกระทาความผิดนน้ั หรือ (5) ให้พน้ จากการจับกุม การชงิ ทรัพย์ ได้แก่ การลกั ทรพั ยโ์ ดยใช้กาลงั ประทษุ ร้ายหรือขเู่ ข็ญวา่ ในทันใดน้นั จะ ใชก้ าลงั ประทุษรา้ ยโดยมี “มลู เหตชุ ักจูงใจ” ทวีเกียรติ มนี ะกนษิ ฐ (2554: 336-337) กลา่ ววา่ ความผดิ ฐานปลน้ ทรัพย์ ประกอบด้วย 1) องคป์ ระกอบภายนอก 1) เอาไป 2) ทรัพยข์ องผู้อน่ื หรือทผี่ ู้อน่ื เปน็ เจา้ ของ รวมอยู่ด้วย 3) โดยใช้กาลงั ประทุษรา้ ยหรอื ขู่เขญ็ ว่าในทนั ใดนั้นจะใช้กาลงั ประทุษรา้ ย 4) โดยร่วม กระทาความผิดด้วยกนั ตง้ั แตส่ ามคนขึ้นไป (หมายถึงตัวการดว้ ยกนั ตามมาตรา 43)
23 2) องค์ประกอบภายใน 1) เจตนาธรรมดา ซ่ึงต้องคลุมถงึ (ก) การเอาไป (ข) ทรพั ย์ เป็นของผู้อ่ืน หรือท่ีผู้อ่ืนเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย (ค) ใช้กาลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าในทันใดน้ันจะ ใช้กาลังประทษุ ร้าย และ (ง) ร่วมกันกระทาด้วยกนั ตัง้ แตส่ ามคนขึ้นไป คือ ตอ้ งรู้วา่ การชงิ ทรัพย์นัน้ จะ ร่วมกระทาด้วยกันตั้งแต่สามคนข้ึนไป 2) มูลเหตุจูงใจ “ทุจริต” ซึ่งต้องเป็นมูลเหตุท่ีชกจูงใจให้เอา ทรัพย์ของผู้อ่ืนหรือซ่ึงผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป 3) มูลเหตุชกจูงใจอย่างใดอย่างหน่ึงใน 5 ประการดังต่อไปนี้ คอื (1) ให้ความสะดวกแกก่ ารลกั ทรัพยห์ รือการพาเอาทรัพย์ไป (2) ให้ ยนื ใัห้ ซึ่งทรัพย์น้ัน (3) ยึดถือเอาทรัพย์น้ันไว้ (4) ปกปิดการกระทาความผิดนั้น หรือ (5) ให้พ้นจากการ จับกมุ การปล้นทรัพย์ หมายถึง ผู้ใดชิงทรัพย์ โดยร่วมกันกระทาความผิดด้วยกันต้ังแต่ 3 คนข้ึนไป มคี วามผิดฐานปล้นทรพั ย์ ความผิดฐานชิงทรัพย์ และปล้นทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 ได้บัญญัติไว้ ดังน้ี มาตรา 339 ผู้ใดลกั ทรัพย์โดยใชก้ าลงั ประทุษร้าย หรือขเู่ ขญ็ วา่ ในทันใดน้นั จะใช้ กาลังประทษุ รา้ ย เพ่ือ (1) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรพั ยน์ ัน้ ไป (2) ให้ยื่นให้ชงึ่ ทรพั ยน์ ั้น (3) ยดึ ถอื เอาทรัพย์นั้นไัว้ (4) ปกปิดการกระทาความผดิ นนั้ หรือ (5) ใหพ้ น้ จากการจับกุม ผู้นัน้ กระทาความผิดฐานชงิ ทรัพย์ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ตั้งแตห่ ้าปี ถงึ สบิ ปี และปรับต้ังแต่ หน่ึงหมน่ื บาทถึงสองหม่ืนบาท จากความหมายของการชิงทรัพย์และการปล้นทรัพย์ท่ีกล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ชิง ทรัพย์ คือ การลักทรัพย์ท่ีประกอบด้วยการใช้กาลังเข้าทาร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลังเข้าทาร้าย ในทันที ทั้งน้ี เพ่ือให้ผู้ท่ีครอบครองทรัพย์นั้นอยู่ยินยอมให้ทรัพย์ไป หรือกระทาไปเพื่อให้เกิดความ สะดวกในการนาทรัพย์น้ันไป เช่น ขณะท่ีนายเอกกาลังเดินเล่นอยู่ นาย โท ก็เข้ามาบอกให้สร้อยทอง ให้ถ้าไม่ให้จะทาร้ายหรือจะเอาปืนยิงให้ตายจนนายเอกต้องยอมถอดสร้อยของตนให้ เป็ นต้น การปล้นทรพั ย์ คือ มีลักษณะเชน่ เดยี วกับการชิงทรัพย์ต่างกันเพียงว่ามีผู้ร่วมชิงทรัพย์ตั้งแต่ 3 คนขึ้น ไป ผู้ท่ีกระทาความผิดฐานปล้นทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษต้ังแต่ 10 ปี ถึง 15 ปี และปรับต้ังแต่ 2 หมื่นบาท ถึง 3 หม่ืนบาท หากการปล้นทรัพย์ผู้ปล้นคนใดคนหนึ่งมีอาวุธติดตัวไปด้วย หรือในการ ปล้นเป็นเหตุให้เจ้าทรัพย์หรือบุคคลอ่ืนได้รับถูกทาร้ายหรือเสียชีวิต ผู้กระทาความผิดทุกคนแม้จะ ไม่ได้พกอาวธุ หรือร่วมทาร้ายเจ้าทรัพย์หรือบุคคลอ่ืน กฎหมายก็ถือว่าทุกคนมีส่วนร่วมในการกระทา ความผดิ ด้วย หมวด 3 การรบั ซือ้ ของโจร ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ (2554: 334) การรับซื้อของโจร คือ \"การท่ีผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วย จาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจานาหรือรับไว้โดยประการใดซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระทา
24 ความผิด ถ้าความผิดน้ันเข้าลักษณะลักทรัพย์ ว่ิงราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้ น ทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือเจ้าพนักงานยักยอกทรพั ย์ ผู้นน้ั กระทาความผิดฐานรบั ของโจร ต้องระวาง โทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหน่ึงหมื่นบาท หรือท้ังจาท้ังปรับถ้าการกระทาความผิดฐานรับ ของโจรน้ัน ได้กระทาเพื่อค้ากาไรหรือได้กระทาต่อทรัพย์อันได้มาโดยการลักทรัพย์ตามมาตรา 335 (10) ชิงทรัพย์ หรือปล้นทรัพย์ ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับต้ังแต่ หน่ึงพันบาทถึงสองหม่ืนบาท ถ้าการกระทาความผิดฐานรับของโจรนั้น ได้กระทาต่อทรัพย์อันได้มา โดยการลกั ทรัพย์ตามมาตรา 335 การชิงทรพั ย์ตามมาตรา 339 หรอื การปล้นทรัพย์ตามมาตรา 340 ผู้กระทาตอ้ งระวางโทษจาคกุ ตั้งแต่ห้าปีถึงสบิ ห้าปี และปรบั ต้งั แตห่ นึ่งหม่นื บาทถงึ สามหมนื่ บาท\" จากความหมายของการรับซื้อของโจรที่กลา่ วมาข้างต้น สามารถสรุปได้วา่ การรับซ้ือของโจร คือ การที่ผู้ใดช่วยปกปิด จาหน่าย ซ่ึงทรัพย์สินเหล่าน้ันได้มาโดยมิชอบ หรือได้มาโดยการกระทาผิด ทางกฎหมาย ผู้น้ันเข้าข่ายรับซ้ือของโจร ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่น บาท หรือทั้งจาท้ังปรับถ้าการกระทาความผิดฐานรับของโจรน้ัน ได้กระทาเพ่ือค้ากาไรหรือได้กระทา ต่อทรัพย์อันได้มาโดยการลักทรัพย์ตามมาตรา 335 (10) ชิงทรัพย์ หรือปล้นทรัพย์ ผู้กระทาต้อง ระวางโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งพันบาทถึงสองหม่ืนบาท ถ้าการกระทา ความผิดฐานรับของโจรน้ัน ได้กระทาต่อทรัพย์อันได้มาโดยการลักทรัพย์ตามมาตรา 335 การชิง ทรัพย์ตามมาตรา 339 หรือการปล้นทรัพย์ตามมาตรา 340 ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปี ถงึ สบิ ห้าปี และปรับต้ังแตห่ นง่ึ หม่ืนบาทถึงสามหมื่นบาท 4. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ทฤษฎกี ารเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติ มีผใู้ ห้นยิ ามดงั นี้ เดวีส์ (Davies, 1971 :50-56 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2545: 39-40) รูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏบิ ตั ขิ องเดวีส์ (Davies’ Instructional Model for Psychomotor Domain) ก. ทฤษฎ/ี หลักการ/แนวคดิ ของรปู แบบเดวสี ์ (Davies, 1971: 50-56) ไดน้ าเสนอ แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติไว้ว่า ทักษะส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยทักษะย่อยๆ จานวน มาก การฝึกให้ผู้เรยี นสามารถทาทักษะย่อยๆ เหล่าน้ันได้ก่อนแล้วค่อยเช่ือมโยงต่อกันเป็นทักษะใหญ่ จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จได้ดีและเรว็ ขนึ้ ข. วัตถุประสงคข์ องรปู แบบ รปู แบบน้ีมุ่งช่วยพัฒนาความสามารถดา้ นทักษะปฏิบัติ ของผ้เู รียน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทักษะทปี่ ระกอบด้วยทักษะยอ่ ยจานวนมาก ค. กระบวนการเรียนการสอนของรปู แบบ ขัน้ ที่ 1 ขนั้ สาธิตทักษะหรือการกระทา ขั้นนี้เป็นขน้ั ทใ่ี หผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ หน็ ทักษะหรือการกระทาท่ีต้องการให้ผู้เรียนทาได้ในภาพรวม โดยสาธิตให้ผู้เรียนดูทั้งหมดตั้งแต่ต้น จนจบ ทักษะหรือการกระทาท่ีสาธิตให้ผู้เรียนดูนั้น จะต้องเป็นการกระทาในลกั ษณะที่เป็นธรรมชาติ ไม่ช้าหรือเร็วเกินปกติ ก่อนการสาธิต ครูควรใหค้ าแนะนาแก่ผู้เรยี นในการสังเกต ควรชี้แนะจุดสาคัญ ทีค่ วรใหค้ วามสนใจเปน็ พิเศษในการสังเกต
25 ขนั้ ที่ 2 ขั้นสาธติ และให้ผู้เรียนปฏบิ ัตทิ ักษะย่อย เม่อื ผ้เู รยี นไดเ้ หน็ ภาพรวมของการกระทาหรือทักษะท้ังหมดแล้ว ผู้สอนควรแตกทักษะท้ังหมดให้เป็นทักษะย่อยๆ หรือ แบ่งส่ิงท่ีกระทาออกเป็นส่วนย่อยๆ และสาธิตส่วนย่อยแต่ละส่วนให้ผู้เรียนสังเกตและทาตามไปทีละ ส่วนอย่างช้าๆ ขัน้ ท่ี 3 ขน้ั ใหผ้ เู้ รียนปฏบิ ตั ิทักษะยอ่ ย ผเู้ รียนลงมือปฏิบัตทิ ักษะยอ่ ยโดย ไม่มีการสาธิตหรือมีแบบอย่างให้ดู หากติดขัดจุดใด ผู้สอนควรให้คาชี้แนะ และช่วยแก้ไขจนกระท่ัง ผูเ้ รียนทาได้ เม่ือได้แล้วผู้สอนจึงเร่ิมสาธิตทักษะยอ่ ยส่วนต่อไป และให้ผู้เรียนปฏิบัตทิ ักษะย่อยนั้นจน ทาได้ ทาเชน่ นีเ้ รอื่ ยไปจนกระท่งั ครบทุกส่วน ขั้นที่ 4 ข้นั ใหเ้ ทคนิควิธกี าร เมื่อผู้เรียนปฏบิ ตั ิไดแ้ ล้ว ผ้สู อนอาจแนะนา เทคนิควิธีการท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทางานน้ันได้ดีขึ้น เช่น ทาได้ประณีตสวยงามขึ้น ทาได้ รวดเรว็ ขน้ึ ทาได้ง่ายขึ้น หรือสนิ้ เปลืองนอ้ ยลง เป็นตน้ ขั้นท่ี 5 ขน้ั ใหผ้ ้เู รียนเชอ่ื มโยงทกั ษะยอ่ ยๆ เป็นทกั ษะท่ีสมบูรณ์ เมอ่ื ผู้เรียนสามารถปฏิบตั แิ ต่ละสว่ นไดแ้ ลว้ จึงใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ตั ิทกั ษะย่อยๆ ต่อเนือ่ งกันตงั้ แต่ต้นจนจบ และฝกึ ปฏิบัติหลายๆ ครัง้ จนกระท่งั สามารถปฏิบัตทิ ักษะทสี่ มบูรณไ์ ด้อยา่ งชานาญ ง. ผลทผ่ี เู้ รียนจะไดร้ ับจากการเรียนตามรปู แบบ ผเู้ รียนจะสามารถปฏบิ ตั ิทักษะได้ เป็นอย่างดี มปี ระสทิ ธิภาพ ซิมพ์ซัน (Simpson, 1972 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2545: 35-37) รูปแบบการเรียนการ สอนตามแนวคดิ การพัฒนาทักษะปฏิบตั ขิ องซิมพ์ซัน (Instructional Model Based on Simpson’s Processes for psycho-Motor Skill Development) ก. ทฤษฎ/ี หลักการ/แนวคดิ ของรูปแบบซิมพซ์ ันกล่าวว่า ทกั ษะเปน็ เรือ่ งท่ี มีความเกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางกายของผู้เรียน เป็นความสามารถในการประสานการทางานของ กล้ามเนื้อหรือร่างกาย ในการทางานที่มคี วามซับซ้อน และต้องอาศัยความสามารถในการใชก้ ล้ามเนื้อ หลายๆ ส่วน การทางานดังกล่าวเกิดขึ้นได้จากการส่ังงานของสมอง ซึ่งต้องมีความสัมพันธ์กับ ความรู้สกึ ที่เกิดขึ้น ทักษะปฏิบัตินี้สามารถพัฒนาได้ด้วยการฝึกฝน ซ่ึงหากได้รบั การฝึกฝนท่ีดีแล้ว จะ เกิดความถูกต้อง ความคล่องแคล่ว ความเชี่ยวชาญชานาญการ และความคงทน ผลของพฤติกรรม หรือการกระทาสามารถสังเกตได้จากความรวดเร็ว ความแม่นยา ความเร็วหรือความราบร่ืนในการ จัดการ ข. วตั ถุประสงค์ของรปู แบบเพ่ือชว่ ยให้ผูเ้ รียนสามารถปฏบิ ตั หิ รือทางานท่ี ต้องอาศัยการเคลื่อนไหวหรือการประสานงานของกล้ามเนื้อทั้งหลายได้อย่างดี มีความถูกต้องและมี ความชานาญ ค. กระบวนการเรยี นการสอนของรปู แบบ ขั้นท่ี 1 ขั้นการรบั รู้ เป็นขนั้ การให้ผ้เู รยี นรับรใู้ นสิ่งทจี่ ะทา โดยการให้ผ้เู รียนสังเกตการทางานน้นั อย่างตั้งใจ
26 ขั้นที่ 2 ขั้นการเตรียมความพร้อม เปน็ ขนั้ การปรับตวั ใหพ้ ร้อม เพ่ือการทางานหรอื แสดงพฤติกรรมนั้น ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ โดยการปรับตัวให้พร้อมท่ี จะเคลื่อนไหวหรือแสดงทกั ษะน้ันๆ และมีจิตใจและสภาวะอารมณ์ที่ดีต่อการท่ีจะทาหรือแสดงทักษะ น้นั ๆ ข้นั ท่ี 3 ข้ันการสนองตอบภายใตก้ ารควบคมุ เป็นข้ันที่ใหโ้ อกาส แก่ผู้เรยี นในการตอบสนองตอ่ ส่ิงท่ีรบั รู้ ซ่ึงอาจใชว้ ิธีการให้ผู้เรียนเลียนแบบการกระทา หรอื การแสดง ทกั ษะนน้ั หรอื อาจใชว้ ิธกี ารใหผ้ ้เู รยี นลองผดิ ลองถกู จนกระท่งั สามารถตอบสนองได้อยา่ งถูกต้อง ขน้ั ท่ี 4 ข้ันการให้ลงมอื กระทาจนกลายเป็นกลไกทีส่ ามารถ กระทาได้เอง เป็นข้ันท่ีช่วยให้ผเู้ รยี นประสบผลสาเร็จในการปฏบิ ัติ และเกิดความเชื่อมั่นในการทาสิ่ง นน้ั ๆ ขั้นที่ 5 ขนั้ การกระทาอย่างชานาญ เป็นขั้นที่ช่วยใหผ้ เู้ รียนได้ ฝึกฝนการกระทานัน้ ๆ จนผูเ้ รยี นสามารถทาได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว ชานาญ เป็นไปโดยอัตโนมัติ และดว้ ย ความเชื่อมน่ั ในตนเอง ขั้นท่ี 6 ขั้นการปรับปรงุ และประยุกตใ์ ช้ เปน็ ขัน้ ที่ช่วยให้ผู้เรียน ปรับปรุงทักษะหรือการปฏิบัติของตนให้ดีย่ิงขึ้น และประยุกต์ใช้ทักษะที่ตนได้รับการพัฒนาใน สถานการณต์ า่ งๆ ขั้นที่ 7 ข้ันการคดิ ริเริ่ม เมอ่ื ผู้เรียนสามารถปฏิบตั ิหรือกระทาส่งิ ใดสิ่งหน่ึงอย่างชานาญ และสามารถประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ท่ีหลากหลายแล้ว ผู้ปฏิบัติจะเริ่มเกิด ความคดิ ใหม่ๆ ในการกระทา หรือปรับการกระทาน้นั ใหเ้ ปน็ ไปตามที่ตนตอ้ งการ ง. ผลทผ่ี ู้เรยี นจะได้รบั จากการเรียนตามรปู แบบผ้เู รียนจะสามารถกระทา หรือแสดงออกอย่างคล่องแคล่ว ชานาญ ในสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนทาได้ นอกจากนั้นยังช่วยพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ และความอดทนใหเ้ กดิ ข้ึนในตัวผเู้ รียนดว้ ย 5. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ.2551/ หลักสตู รสังคมศกึ ษา 5.1 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2551 กระทรวงศึกษาธิการ (2551: 2) ได้กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ กระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการ กาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากน้ันได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนข้ันต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละช้ันปีไว้ ใน หลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสาร แสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการ นาไปปฏบิ ตั ิ
27 5.1.1 วสิ ัยทศั น์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดลุ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และ ทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพน้ื ฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้เต็มตาม ศกั ยภาพ 5.1.2 หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มีหลกั การทสี่ าคญั ดงั น้ี 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและ มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และ คุณธรรมบนพื้นฐานของความเปน็ ไทยควบค่กู ับความเปน็ สากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ปี ระชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับ การศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคณุ ภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมใน การจดั การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถน่ิ 4. เปน็ หลักสตู รการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยนุ่ ท้งั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้ 5. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั 6. เป็นหลักสตู รการศึกษาสาหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อธั ยาศยั ครอบคลมุ ทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ 5.1.3 จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับ ผ้เู รียน เม่อื จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดงั น้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มี วินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ เทคโนโลยแี ละมที ักษะชีวติ 3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี มีสุขนิสัย และรกั การออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันใน วิถชี ีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
28 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และ พัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างส่ิงที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันใน สังคมอย่างมคี วามสุข 5.2 หลกั สูตรสาระหน้าท่ีพลเมอื ง การวจิ ยั ในครง้ั นี้ ผ้วู จิ ยั จะดาเนนิ การวิจยั ในตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้ ดงั นี้ สาระที่ 2 หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจตระหนักและปฏบิ ัตติ นตามหน้าทีข่ องการเปน็ พลเมืองดี มี ค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันตสิ ขุ ตัวช้วี ดั ชน้ั ปี ม 4-6/1 วิเคราะห์และปฏบิ ัตติ นตามกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งกับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน ประเทศชาติและสังคมโลก (กระทรวงศึกษาธกิ าร,2551: 136) ตารางที่ 1 ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตใน สงั คม กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.4 ม 4-6/1 วเิ คราะห์และปฏิบตั ิตนตาม ● กฎหมายแพง่ เกีย่ วกับนิตกิ รรมสัญญา เชน่ กฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกับตนเอง ครอบครวั ซือ้ ขาย ขายฝาก เชา่ ทรัพย์ เชา่ ซือ้ กูย้ ืมเงนิ ชมุ ชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก จานา จานอง ● กฎหมายอาญา เช่น ความผดิ เก่ยี วกับ ทรัพยค์ วามผิดเก่ยี วกับชวี ติ และร่างกาย ● กฎหมายอ่ืนท่ีสาคัญ เช่น รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจบุ ัน กฎหมายการ รับราชการทหาร กฎหมายภาษอี ากร ● กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ข้อตกลงระหวา่ งประเทศ เชน่ ปฏิญญาสากล ว่าด้วยสทิ ธมิ นุษยชน กฎหมายมนุษยธรรม ระหว่างประเทศ
29 6. งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง มีผู้ศึกษาเก่ียวกับการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้เทคนิคการสอนในรูปแบบการ แสดงบทบาทสมมติไวห้ ลายท่าน ดงั นี้ น้าอ้อย ทวีการไถ (2555: 49) ได้ทาการศึกษา การใช้บทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะทาง สงั คมของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า 1. ผลการใชแ้ บบ วัดทักษะทางสังคมทั้ง 2 ฉบับ กับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า มีคะแนนทักษะทางสังคม โดยรวมหลังการเข้าร่วมกจิ กรรมการใชบ้ ทบาทสมมติเพิ่มขึ้น 2. ขอ้ มูลท่ไี ด้จากใบกจิ กรรมคาถามหลัง การแสดงบทบาทสมมติ นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับทักษะทางสังคมทั้ง 6 ด้าน นักเรียนสามารถ ปรับตัว จัดลาดับการกับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนได้ มีกระบวนการคิด การแก้ปัญหาในทางบวก มีการ ควบคมุ อารมณ์ สามารถนาทกั ษะทางสังคมแต่ละดา้ นท่ีได้เรียนร้มู าปรับใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม 3. ข้อมูล ทไี่ ดจ้ ากแบบบันทึกหลังการจัดกิจกรรมของครสู รปุ โดยภาพรวมวา่ นักเรียนมีความสุขและสนุกสนาน กบั การทากิจกรรมบทบาทสมมติ มีความกล้าแสดงออก มีการทางานกลุ่มร่วมกนั ดี มีความรับผิดชอบ มีความคดิ สร้างสรรค์ และ ทาให้นักเรยี นมีความกระตอื รอื ร้นในการเรียนโดยไม่ต้องอ่านในตารา ด้าน ทักษะทางสังคมนักเรียนเรียนรู้ทักษะทางสังคมอย่างเข้าใจและส นุกสนานเพราะเป็นเรื่องราวท่ี สอดคลอ้ งกับวยั ของนักเรียนและสอดคลอ้ งกบั สังคมในปัจจุบัน นักเรียนสามารถยกตวั อย่างเหตุการณ์ ที่สอดคลอ้ งทกั ษะทางสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สนธยา สารสมุทร (2556: บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษา การใช้บทบาทสมมติเพ่ือผลสัมฤทธิ์ใน การเรียนวิชาคริสตจริยธรรม นักเรียนชั้นประถมปีที่ 5/10 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2556 พบว่า 1. นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5/10 มีการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิในการเรยี น ร้อย ละ 100 ในอยู่ระดับที่ดีขึ้น 2. นักเรียนมีความพึงพอใจ เห็นด้วยในกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติ และประโยชน์ที่ได้รับร้อยละ 34.30 อยู่ในระดับมาก ร้อยละ62.80 อยู่ในระดับ มากท่ีสุด 3. นักเรียนมีพฤตกิ รรมการเรียนรู้ การแสดงความคิดเห็น ความรสู้ ึก จากการได้แสดงและชมบทบาท สมมตดิ ้วยความสนุกสนาน การได้ทาตามหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย ทาให้มีความกล้าในการแสดงออก มีความรู้ในเรื่องราวชีวิตของพระเยซูมากข้ึน มีการวางแผนการทากิจกรรมมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในการเปน็ ผู้นาและผู้ตามที่ดี มีกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม ให้โอกาสเพื่อนทุกคนมีส่วนร่วม ตลอดจนกล้าแสดงความคิดเห็น วิพากษ์ข้อดี ข้อด้อยของการแสดงบทบาทสมมติเพ่ือนาผลที่ค้นพบ ไปใช้ประโยชน์หรือปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติในครั้งต่อได้ในระดับที่ดีขึ้น 4. นักเรียนประโยชน์ท่ีได้ จากการพิพากษ์ของเพ่ือนมาปรับปรุงพัฒนาผลงานและได้แสดงบทบาทสมมติต่อนักเรียนระดับช้ัน ประถมปีที่ 5 ในช่ัวโมงโบสถ์ ณ โรงละครของโรงเรียนปรินสร์ อยแยลส์วทิ ยาลยั ทาให้ได้รับคาชมเชย จากคณะครูตลอดจนสร้างความรู้และความสนุกสนานแก่เพื่อนๆ และทาให้เพ่ือนได้เรียนรู้เรื่องราว ของพระเยซคู รสิ ตเ์ พมิ่ เติม ประเมินจากการท่ีเพอ่ื นสามารถตอบคาถามจากเรื่องทน่ี ักเรียนแสดงได้ อดศิ ักด์ิ หวังจติ ต์ (2556: 20) ได้ทาการศึกษา การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เร่อื ง ประวัติศาสตร์ไทยของนกั เรยี นชั้นประกาศนียบัตรวิชาชพี ปที ี่ 3 ที่สอนด้วยวธิ ีการบรรยาย และวิธีการ สอนโดยใช้บทบาทสมมติ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเมื่อเรียนด้วยวิธีการใช้บทบาท สมมุติ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์สูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการบรรยาย อย่างมี นยั สาคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปน็ ไปตามสมมตุ ิฐานทกี่ าหนดไว้
30 จณิตตา เติมวรสิน (2558: 27) ได้ทาการศึกษา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง ลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3/2 โรงเรียนวัดราชาธวิ าสโดย การแสดงบทบาทสมมติ พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองลักษณะการกระทาความผิดทาง อาญา โดยการแสดงบทบาทสมมติ อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ โดยมีค่า x = 15.56, S.D. = 2.40 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองลักษณะการกระทาความผิดทางอาญ าท้ังก่อน เรียนและหลังเรียน โดยการแสดงบทบาทสมมติ พบว่า หลังเรียน ( x = 15.56, S.D. = 2.40) และ กอ่ นเรียน ( x = 7.67, S.D. = 1.00) ธัญชนก ช่างพูด (2558: 42) ได้ทาการศึกษา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง บทบาทและหน้าท่ขี องเยาวชนทม่ี ีตอ่ สงั คมและประเทศชาติ โดยการแสดงบทบาทสมมติ ของนักเรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1/6 โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลยั พบว่า 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองบทบาท และหน้าท่ีของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยการแสดงบทบาทสมมติ อยู่ในระดับผ่าน เกณฑ์ โดยมีค่า x = 17.60, S.D. = 2.27 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนที่มีตอ่ สังคมและประเทศชาติ ทั้งก่อนเรียนและหลังเรยี น โดยการแสดง บทบาทสมมติ พบวา่ หลังเรยี น ( x = 17.60, S.D. = 2.27) สูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่า ( x = 12.30, S.D. = 3.33) จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมาย อาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนพุทไธสง โดยใช้การ แสดงบทบาทสมมติ พบว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ สามารถนามาพัฒนา ผู้เรียนให้ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และการจัดการเรียนรู้โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ยังช่วยพัฒนาทักษะทางการคิด การปฏิบัติในด้านต่างๆ ของนักเรียนให้สูงข้ึนอีกด้วย เนื่องจากการ จัดการเรยี นรโู้ ดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เปน็ การใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏิบัติ เพอื่ สามารถนาความรู้ไปใช้ ในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ีกดว้ ย ซ่งึ มีกรอบแนวคดิ การวจิ ัยดังภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการวจิ ัย ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญาความผดิ การเรยี นการสอนโดยใช้ การแสดงบทบาทสมมติ เกย่ี วกับทรัพย์สนิ ภาพท่ี 2 กรอบแนวคิดการวิจัย
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรียนพุทไธสง โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เป็นการวิจัยเชิง ทดลอง โดยมขี ้ันตอนการดาเนินงานวิจยั ดงั น้ี 1. ขัน้ วางแผน 2. ข้นั ปฏิบัติการ 3. ข้นั ตรวจสอบการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4. ขน้ั วเิ คราะห์ข้อมลู ขนั้ วำงแผน กลมุ่ เป้าหมายที่ใชใ้ นการวิจยั คร้ังนี้ คอื นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรยี นวัดนอ้ ย นพคุณ ที่กาลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับ ทรัพย์สิน จานวน 6 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง โดยเลือกจากนักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิในการ เรียน ในเร่ืองความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั กฎหมายอาญา ต่ากวา่ เกณฑ์มาตรฐาน ขน้ั ปฏิบตั กิ ำร 1. เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ครง้ั นีไ้ ดแ้ ก่ 1.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ 1.2 แบบทดสอบการวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 2. ขน้ั ตอนการสร้างเครอ่ื งมือ ผูว้ จิ ัยดาเนินการสร้างตามข้นั ตอน ดังน้ี 2.1 แผนการจดั การเรียนรู้ 1. ศึกษาหลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 เกีย่ วกบั หลักการ จดุ หมายโครงสร้างหลกั สตู ร การวดั ผลประเมนิ ผล 2. ศึกษารายละเอียดขอบเขตของเนื้อหาวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม เรื่อง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน จากตาราและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 3. ศึกษาคู่มือครูและตาราที่เก่ียวข้องกับเทคนิคการสอนโดยใช้การแสดง บทบาทสมมติเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิคการสอนโดยใช้วิธีการ แสดงบทบาทสมมติ 4. กาหนดองค์ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้จานวน 2 แผน โดยมี รายละเอียด ดังนี้
32 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 กฎหมายอาญาความผดิ เกีย่ วกบั ทรพั ย์สิน แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 การนาเสนอผลงานการแสดงบทบาทสมมติ กฎหมายอาญาความผดิ เก่ียวกับทรพั ย์สนิ 5. กาหนดองค์ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนด้วย เทคนิคการแสดงบทบาทสมมตจิ านวน 2 แผน ให้มอี งค์ประกอบ ดงั น้ี 1. มาตรฐาน / ตวั ชวี้ ัด 2. เนือ้ หา / สาระการเรียนรู้ 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ 4. สอ่ื / อุปกรณ์ / แหล่งการเรยี นรู้ 5. การวดั ผลประเมนิ ผล 6. ดาเนินการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายอาญาความผิด เก่ียวกับทรัพย์สนิ โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็นส่วนๆ เพื่อง่ายต่อการจัดแผนการเรียนการสอนซ่ึงแบ่งเป็น 2 แผน จานวน 2 คาบ 7. นาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลเพื่อตรวจสอบความ เหมาะสม และนาข้อมูลความคิดเห็นมาหาประสิทธิภาพ ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) โดยมี เกณฑ์การให้คะแนน ดงั นี้ 5 คะแนน หมายถงึ แผนการจดั การเรียนรมู้ ีความเหมาะสมมากท่ีสดุ 4 คะแนน หมายถึง แผนการจดั การเรยี นร้มู ีความเหมาะสมมาก 3 คะแนน หมายถึง แผนการจดั การเรยี นรมู้ ีความเหมาะสมปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง แผนการจัดการเรียนรูม้ ีความเหมาะสมมากนอ้ ย 1 คะแนน หมายถึง แผนการจดั การเรยี นรมู้ ีความเหมาะสมน้อยที่สดุ ระดับคุณภาพ 4.50 – 5.00 หมายถงึ แผนจดั การเรียนรู้มีความเหมาะสมมากทีส่ ดุ 3.50 – 4.59 หมายถงึ แผนจัดการเรยี นรู้มีความเหมาะสมมาก 2.50 – 3.49 หมายถึง แผนจดั การเรยี นรมู้ ีความเหมาะสมปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถงึ แผนจัดการเรยี นรู้มคี วามเหมาะสมนอ้ ย 1.00 – 1.49 หมายถึง แผนจดั การเรียนรูม้ คี วามเหมาะสมน้อยทส่ี ดุ 8. นาแผนการจัดการเรียนรู้เรือ่ ง กฎหมายอาญาความผดิ เกย่ี วกบั ทรพั ยส์ ิน ทีต่ รวจสอบแลว้ มาแกไ้ ขปรับปรงุ ตามคาแนะนาของผ้เู ชีย่ วชาญ 9. จัดพิมพ์แผนการจัดการเรียนรู้เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับ ทรัพยส์ ิน เตรียมนาไปจดั การเรยี นการสอนตอ่ ไป 2.2 แบบทดสอบการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง กฎหมายอาญา ความผดิ เกี่ยวกับทรัพย์สิน ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนพุทไธสง ผู้วจิ ัยได้ดาเนินการ สร้าง ดงั นี้
33 1. ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับเน้ือหาการเรียนโดยใช้ เทคนิคการสอน การแสดงบทบาทสมมติ เรือ่ ง กฎหมายอาญาความผดิ เกี่ยวกบั ทรพั ย์สิน 2. สร้างแบบทดสอบทดสอบตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ ซ่ึงใช้ทดสอบ นักเรียนท้ังก่อนเรียนและหลังเรียน จานวน 1 ฉบับ เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ โดยมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนคือ ตอบถกู ได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน 3. นาแบบทดสอบท่สี รา้ งข้ึนไปใหผ้ ู้เช่ียวชาญตรวจสอบความเทยี่ งตรง และ ความครอบคลุมเน้ือหา จานวน 3 คน แล้วนามาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคลอ้ งระหวา่ งข้อคาถาม กบั วัตถุประสงค์ ( Item Objective Congruece Index : IOC ) 4. นาแบบทดสอบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 มาตรวจสอบแก้ไข ปรับปรุงตามคาแนะนาของผเู้ ชย่ี วชาญ 5. จัดพิมพ์แบบทดสอบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 เพ่ือเตรียมทดสอบ นกั เรยี นตอ่ ไป ขัน้ ตรวจสอบและเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. แบบแผนการทดลอง การวิจยั ครงั้ นเี้ ปน็ การวิจัยเชิงทดลอง ผวู้ ิจัยไดใ้ ช้แบบแผนการทดลองแบบ The single group pretest – posttest design (สวุ ิมล ตริ กานันท์, 2551: 21) ตารางท่ี 3 แบบแผนการทดลอง Pre – test Treatment Post – test O1 X O2 เมอื่ O1 หมายถงึ ทดสอบก่อนเรียน X หมายถึง การจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ O2 หมายถึง ทดสอบหลังเรยี น 2. วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้วจิ ัยดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวิจยั ดังน้ี 2.1 ผวู้ จิ ยั ช้แี จงวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ใหน้ ักเรียนทราบ 2.2 ผู้วิจัยทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กับนักเรียนจานวน 20 ข้อ เวลา 20 นาที 2.3 ดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แผนการจัดการ เรียนรู้แบบการแสดงบทบาทสมมติ เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน กับนักเรียน จานวน 2 คาบ
34 ตารางที่ 4 แผนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ระยะเวลำทีเ่ ก็บข้อมูล กิจกรรม/วธิ กี ำรเกบ็ ข้อมลู เคร่ืองมือวิจัย แบบทดสอบก่อนเรยี น ชว่ั โมงที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรยี น การแสดงบทบาทสมมติ - แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 กฎหมายอาญา (Role play), ความผิดเกยี่ วกับทรัพย์สนิ แบบทดสอบหลงั เรยี น ชว่ั โมงท่ี 2 - แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 การนาเสนอ ผลงานการแสดงบทบาทสมมติ กฎหมาย อาญาความผิดเกี่ยวกบั ทรัพย์สนิ 2.4 เมอื่ ดาเนนิ การสอนตามแผนการจดั การเรยี นร้โู ดยใช้การแสดง บทบาทสมมติเร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน จากน้ันให้นักเรียนทาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นจานวน 20 ข้อ หลังเรยี น (Post-test) โดยแบบทดสอบหลังเรียนเป็นชุด เดียวกันกบั แบบทดสอบก่อนเรียน 2.5 เม่ือเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบทดสอบเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยได้นา ข้อมูลไปวิเคราะหผ์ ลตอ่ ไป ขน้ั วเิ ครำะห์ข้อมลู ผวู้ ิจยั นาผลการทดสอบมาดาเนนิ การวเิ คราะหด์ ้วยโปรแกรมสาเรจ็ รปู ผวู้ จิ ัยได้นาเสนอผล การวิเคราะห์ข้อมูล ตามลาดับต่อไปนี้ 1. วิเคราะหห์ าคา่ ประสทิ ธภิ าพของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน โดยใช้ สูตรดชั นคี วามสอดคล้อง IOC 2. วิเคราะห์หาค่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับ ทรัพย์สิน โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ โดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนท่ไี ด้รับจากผลการทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 3. สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล 3.1 สถติ ิท่ใี ช้วิเคราะห์คุณภาพของเคร่ืองมือ การหาคา่ ความเทีย่ งตรง (Validity) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น โดยใช้สูตรค่าความสอดคลอ้ ง IOC (สุวมิ ล ติรกานนั ท,์ 2551: 148) IOC R N เม่ือ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหวา่ ง จดุ ประสงค์กบั เน้ือหาหรือระหวา่ ง ขอ้ สอบกบั จุดประสงค์
35 R แทน ผลรวมระหว่างคะแนนความคิดเห็นของ ผู้เชย่ี วชาญทัง้ หมด N แทน จานวนผู้เชีย่ วชาญท้ังหมด 3.2 สถิติพนื้ ฐาน 3.2.1 รอ้ ยละ (Percent) ใช้สูตร (สุวมิ ล ติรกานันท,์ 2551: 199) ร้อยละ = สดั สว่ น x 100 3.2.2 ค่าคะแนนเฉล่ีย (Mean) โดยคานวณจากสูตร (สวุ ิมล ตริ กานนั ท,์ 2551: 201) X x N เมอ่ื x แทน ค่าเฉล่ยี x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จานวนนักเรยี นในกลุ่มตวั อยา่ ง 3.2.3 การหาคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชส้ ูตร (สวุ ิมล ติรกานนั ท์, 2551: 203) Nx2 x2 S.D. N (N 1) เมอ่ื S.D. แทน คา่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด 2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลงั สอง N แทน จานวนนักเรียนในกลุม่ ตวั อยา่ ง
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวจิ ัยคร้ังนม้ี ีวัตถุประสงค์เพ่อื พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่อื ง กฎหมายอาญาความผิด เก่ียวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนพุทไธสง โดยใช้การแสดง บทบาทสมมติ และเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับ ทรัพย์สิน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนพุทไธสง ก่อนและหลังการเรียน โดยใช้ การแสดงบทบาทสมมติ ซงึ่ ได้ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดังนี้ ตารางท่ี 5 คะแนนและรอ้ ยละของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน หลังการจดั การเรียนรู้โดยใช้ การแสดงบทบาทสมมติ จาแนกเป็นรายบุคคล ดังน้ี รายช่ือ คะแนน รอ้ ยละ (20 คะแนน) นักเรยี นคนที่ 1 15 75 นกั เรยี นคนท่ี 2 15 75 นักเรยี นคนที่ 3 16 80 นักเรียนคนที่ 4 16 80 นักเรยี นคนที่ 5 17 85 นกั เรยี นคนที่ 6 18 90 จากตารางท่ี 5 พบว่า นกั เรยี นมคี ะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น จาแนกเปน็ รายบคุ คล ดังนี้ นักเรียนคนที่ 1 คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่ากบั 15 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 75 นกั เรียนคนท่ี 2 คะแนนผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเท่ากบั 15 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 75 นักเรียนคนท่ี 3 คะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเท่ากับ 16 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 นักเรียนคนที่ 4 คะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเท่ากบั 16 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 นกั เรยี นคนท่ี 5 คะแนนผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเท่ากบั 17 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 85 นกั เรยี นคนท่ี 6 คะแนนผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเท่ากบั 18 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 90
40 ตารางที่ 6 เปรียบเทยี บคะแนนและร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียน ก่อนเรียนและ หลงั เรียน รายชื่อ กอ่ นเรยี น หลังเรยี น ผลตา่ ง คะแนน ร้อยละ คะแนน รอ้ ยละ คะแนน (ร้อยละ) นกั เรียนคนท่ี 1 นักเรียนคนท่ี 2 6 30 15 75 9 (45) นักเรยี นคนที่ 3 7 35 15 75 8 (40) นักเรยี นคนที่ 4 7 35 16 80 9 (45) นกั เรียนคนท่ี 5 8 40 16 80 8 (40) นกั เรียนคนที่ 6 10 50 17 85 7 (35) 8 40 18 90 10 (50) จากตารางท่ี 6 พบวา่ นกั เรียนมคี ะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียน เมอื่ จาแนกผลการเปรยี บเทียบได้ดังนี้ นกั เรยี นคนท่ี 1 คะแนนหลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรียน 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 45 นักเรียนคนที่ 2 คะแนนหลังเรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียน 8 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 40 นกั เรียนคนที่ 3 คะแนนหลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี น 9 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 45 นกั เรยี นคนท่ี 4 คะแนนหลังเรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรยี น 8 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 40 นักเรยี นคนท่ี 5 คะแนนหลังเรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียน 7 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35 นกั เรยี นคนท่ี 6 คะแนนหลังเรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียน 10 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50
บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยเรือ่ ง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนพุทไธสง โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและได้ให้ ข้อเสนอแนะตา่ งๆ ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียน เรอ่ื งกฎหมายอาญา ความผิดเก่ียวกับ ทรพั ยส์ ิน โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ 2. เพื่อเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น เรื่องกฎหมายอาญา ความผดิ เก่ียวกับทรัพยส์ ินก่อนและหลังเรียน โดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ กลุ่มเปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรียนพุทไธสง ท่ี กาลังศึกษาในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 6 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง โดย เลือกจากนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเรื่องความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับกฎหมายต่ากว่าเกณฑ์ มาตรฐาน เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวิจัย เครื่องมือทผี่ ู้วจิ ยั ใชใ้ นคร้ังนี้ ประกอบด้วยเครอื่ งมือ 2 ชนดิ ดังนี้ 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ (การแสดงบทบาทสมมติ) เร่ือง กฎหมายอาญาความผดิ เกีย่ วกับ ทรพั ยส์ นิ ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/6 โรงเรยี นพุทไธสง ประกอบด้วย 2 แผนการจัดการ เรียนรู้ ดงั น้ี - แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกบั ทรัพย์สนิ ใชเ้ วลา ในการจัดการเรยี นรู้ 50 นาที - แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง การนาเสนอผลงานการแสดงบทบาทสมมติ กฎหมายอาญาความผดิ เกี่ยวกับทรพั ย์สนิ ใชเ้ วลาในการจัดการเรียนรู้ 50 นาที ส่ือทีใ่ ช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ - ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint ผูว้ จิ ัยไดต้ รวจสอบความเหมาะสม โดยใช้แบบประเมนิ ชนดิ ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ซึง่ มีคา่ เฉล่ียความเหมาะสมเท่ากับ 4.79 โดยอยใู่ นระดบั เหมาะสมมากท่ีสดุ
42 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 จานวน 20 ข้อ ซึ่งเป็นชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ผู้วจิ ัยได้ตรวจสอบค่า ดชั นีความสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามกบั จุดประสงค์ (IOC) ซง่ึ มีค่าเทา่ กับ 1.00 สรปุ ผลการวิจัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญาความผิด เก่ียวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรียนพุทไธสง โดยใช้การแสดงบทบาท สมมติ ผ้วู ิจยั สามารถสรุปผลได้ ดงั น้ี 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน โดยใช้ การแสดงบทบาทสมมติในการเรียนการสอน ซึ่งมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คิดเป็นร้อยละ 75-90 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน โดยใช้ การแสดงบทบาทสมมติในการเรียนการสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีคะแนนผลต่างระหว่าง รอ้ ยละ 35-50 อภิปรายผล จากการวิเคราะห์การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับ ทรัพย์สิน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4/6 โรงเรียนพุทไธสง โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ผูว้ ิจยั ขออภปิ รายผลตามวัตถปุ ระสงค์การวิจยั ดงั น้ี 1. ผลจากการวิเคราะห์การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน วิชาหนา้ ท่พี ลเมือง เรอื่ ง กฎหมาย อาญาความผิดเกย่ี วกบั ทรัพย์สิน ของนักเรยี นระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4/6 พบว่า หลงั จากการเรียนรู้ โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ในการจัดกระบวนการเรียนการสอน เรื่อง กฎหมายอาญาความผิด เกยี่ วกับทรพั ยส์ นิ นักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงกว่าก่อนเรยี น คิดเปน็ รอ้ ยละ 75-90 ซ่ึงเปน็ ไป ตามวัตถุประสงค์ในการวิจัยข้อที่หนึ่ง ท้ังนี้เน่ืองมาจากการแสดงบทบาทสมมติ เป็นกระบวนการที่ เน้นใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกปฏิบัตใิ นสถานการณ์ใกล้เคียงความเปน็ จริง ซึ่งทาให้ผู้เรยี นได้รับประสบการณ์ตรง เกิ ด ค ว า ม เข้ า ใจ ใน เนื้ อ ห า แ ล ะ ส า ม า ร ถ น า ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ าก ก า ร แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม ม ติ ไป ใช้ ใน ชีวิตประจาวนั ได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของจณิตตา เติมวรสิน (2558: 27) ได้ทาการศึกษา การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนวัดราชาธิวาสโดยการแสดงบทบาทสมมติ พบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียน เรื่องลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา โดยการแสดงบทบาทสมมติ อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ โดยมีค่า ( x = 15.56, S.D. = 2.40) 2) ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เร่อื งลักษณะการ กระทาความผิดทางอาญาท้ังก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการแสดงบทบาทสมมติ พบว่า หลังเรียน ( x = 15.56, S.D. = 2.40) และก่อนเรียน ( x = 7.67, S.D. = 1.00) เช่นเดียวกับ ธัญชนก ช่างพูด (2558: 42) ได้ทาการศกึ ษา การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรอ่ื งบทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนที่ มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยการแสดงบทบาทสมมติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6
43 โรงเรียนสันติราษฎรว์ ิทยาลยั พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรอื่ งบทบาทและหนา้ ท่ีของเยาวชนที่ มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยการแสดงบทบาทสมมติ อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ โดยมีค่า ( x = 17.60, S.D. = 2.27) 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองบทบาทและหน้าท่ีของ เยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ ท้ังก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการแสดงบทบาทสมมติ พบว่า หลงั เรยี น ( x = 17.60, S.D. = 2.27) สูงกว่ากอ่ นเรยี น โดยมคี า่ ( x = 12.30, S.D. = 3.33) 2. ผลจากการวิเคราะห์โดยการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน วิชาหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง เรอ่ื ง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 ระหว่างก่อน เรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า หลังจากการเรียนรู้โดยใช้ การแสดงบทบาทสมมติในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เร่อื ง กฎหมายอาญาความผดิ เกีย่ วกับทรัพย์สิน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน คิดเป็นร้อยละ 35-50 ซ่ึงเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อท่ีสอง ท้ังนี้เน่ืองมาจาก การนาการแสดงบทบาทสมมติมาใช้ในการเรียนการสอน เป็นส่วนช่วยให้ นักเรียนเข้าใจเน้ือหาผ่านการปฏิบัติ ผ่านประสบการณ์ท่ีได้รับ จึงทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ ทิศนา แขมมณี (2550: 67) ที่ได้ สรุปว่า บทบาทสมมติช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการให้นักเรียน สวมบทบาทในสถานการณ์ ซึง่ มีความใกลเ้ คยี งกับความเป็นจริงและแสดงออกตามความนึกคดิ ของตน และนาเอาการแสดงออกของผู้แสดงทั้งทางด้านความรู้ความคิดความรู้สึกและพฤติกรรมที่สังเกตพบ มาเป็นข้อมูลในการอภิปรายเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ และ น้าอ้อย ทวีการไถ (2555: 49) มีผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนทักษะทางสังคมโดยรวมหลังการเข้าร่วมกิจกรรม การใช้บทบทบาทสมมติเพ่ิมขึ้น ผลการศึกษาครั้งน้ีแสดงให้เห็นว่าการใช้บทบาทสมมติเพื่อพัฒนา ทกั ษะทางสังคมเป็นอีกกระบวนการหน่ึงที่สามารถส่งเสริมให้นักเรยี นมที ักษะทางสังคมเพมิ่ ข้ึนซ่ึงการ ใช้วิธีการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ตาม วตั ถุประสงคท์ กี่ าหนด การใช้นวัตกรรมการแสดงบทบาทสมมติ เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนพุทไธสง ผู้วิจัยได้ต่อยอดวิธีการเผยแพร่ความรู้เข้าสู่ ระบบ Social network โดยมีจุดประสงค์เพ่ือเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชนคนท่ีสนใจได้เข้ามา ศึกษาเก่ียวกับกฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน โดยผู้วิจัยหวังว่าการเผยแพร่การแสดง บทบาทสมมติ เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สินนี้ จะมีประโยชน์ในการช่วยลดข่าว อาชญากรรมและเป็นการเผยแพร่ความรู้ใหผ้ อู้ ื่นตอ่ ไป ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะการนาผลการวิจยั ไปใช้ 1. ผทู้ ่ีสนใจ นานวัตกรรมการแสดงบทบาทสมมติไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน ควรมีการ ประยกุ ต์ใช้นวตั กรรมการแสดงบทบาทสมมติ ให้สอดคลอ้ งกบั เน้ือหา บรบิ ทของสาระการเรยี นรู้ และ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง โดยมกี ารปูพนื้ ฐานดา้ นเนอ้ื หาก่อนทจ่ี ะแสดงบทบาทสมมติ เพ่อื ให้ นวตั กรรมการแสดงบทบาทสมมตสิ ่งผลตอ่ การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
44 2. ในการจดั การเรียนการสอน โดยใช้นวัตกรรมการแสดงบทบาทสมมติ ผู้สอนสามารถนา เทคนิคการสอนหรือนวัตกรรมอนื่ ๆ มาประยุกต์ใชใ้ นการจัดการเรียนรเู้ พิ่มเตมิ ได้ เพื่อให้เกดิ ความ หลากหลาย และส่งผลทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรยี นเพิ่มข้นึ ขอ้ เสนอแนะการศึกษาครง้ั ต่อไป 1. ควรมกี ารศึกษาเปรยี บเทียบความเหมาะสมระหว่างนวัตกรรมของผู้วิจัยกบั นวัตกรรมอนื่ ๆ ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรือ่ ง กฎหมายอาญาความผิดเกีย่ วกบั ทรัพย์สิน
ภาคผนวก
46 ภาคผนวก ก - รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ - ตารางแสดงคา่ ดชั นคี วามสอดคลอ้ งของผู้เชยี่ วชาญ
47 รายนามผทู้ รงคณุ วุฒิ 1) นายธนวชิ ญ์ ไรน่ า ครูประจาวิชาสงั คมศึกษา ม.4 โรงเรยี นพุทไธสง 2) นายสุรยิ นั ต์ แสงมล 3) นายปฏญิ ญะ สงั สะนา ครปู ระจาวชิ าสังคมศกึ ษา ม.3 โรงเรียนพุทไธสง หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา โรงเรยี นพทุ ไธสง
Search