รายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมที่ 3 | แนวคดิ เชิงออกแบบ 45 ใหส้ มาชิกในกลมุ่ ร่วมกนั อภิปรายในประเด็นทีเ่ ลอื ก โดยพิจารณาจากมมุ มองของผทู้ เ่ี กี่ยวขอ้ ง หรอื ผู้ ไดร้ ับผลกระทบทุกกลุม่ เพอื่ ตัดสนิ ใจเลือกหวั ข้อโครงงานและเขียนเค้าโครงโครงงาน 1 ประเดน็ ท่เี ลือกคือ 2 ผู้ทเ่ี กีย่ วข้องมีใครบ้าง 3 มุมมองของผ้ทู ่ีเกีย่ วขอ้ งหรือผไู้ ด้รับผลกระทบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
46 กจิ กรรมที่ 4 | การรวบรวมข้อมูล รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) กจิ กรรมท่ี 4 การรวบรวมข้อมูล คาบที่ 7 - 12 | เวลา 6 ชัว่ โมง 1 ตัวชวี้ ัด รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแกป้ ัญหาหรือเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั บริการหรือผลติ ภัณฑท์ ีใ่ ช้ในชวี ิตจรงิ อย่างสร้างสรรค์ 2 สาระการเรยี นรู้ 2.1 การรวบรวมขอ้ มูล 2.2 การจดั เตรยี มขอ้ มลู 3 จดุ ประสงค์ ใหผ้ ้เู รียนสามารถ 3.1 รวบรวมข้อมูลทุตยิ ภมู ติ ามวัตถปุ ระสงค์ 3.2 เลือกแหล่งข้อมลู สาธารณะทเี่ ช่ือถอื ได้ 3.3 จดั เตรยี มขอ้ มลู ก่อนการประมวลผล 4 ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.2 ทกั ษะการรูส้ ารสนเทศ 4.3 ทกั ษะการแกป้ ญั หา 5 ความร้เู ดมิ ทน่ี ักเรยี นต้องมี 5.1 ขอ้ มูลปฐมภูมิ และการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิ 5.2 การใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูป เช่น โปรแกรมตารางทำ�งาน หรือการเขียนโปรแกรมภาษา เช่น โปรแกรมภาษา R โปรแกรมภาษาไพทอน เพือ่ ใช้ในการจัดการข้อมลู สร้างกราฟ และแผนภมู ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 4 | การรวบรวมขอ้ มูล 47 6 สาระส�ำ คัญ ข้อมูลทุติยภูมิทเ่ี ผยแพรบ่ นอนิ เทอรเ์ น็ต มีอยู่หลากหลายรูปแบบ เช่น xls, xlsx, odp, csv หรอื อยู่ ในรูปแบบรายงานหรือตารางบนเว็บไซต์ แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ เช่น เว็บไซต์ให้บริการข้อมูลของสำ�นักงาน พฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั data.go.th สำ�นักงานสถติ ิแห่งชาติ www.nso.go.th การพจิ ารณาความเหมาะสมของแหลง่ ขอ้ มลู สามารถใช้มุมมองท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ ความทนั สมัยของ ข้อมูล ความสอดคล้องกบั การใช้งาน ความน่าเชอื่ ถอื ของแหลง่ ขอ้ มูล ความถกู ต้องแมน่ ย�ำ และจดุ ม่งุ หมาย ของแหลง่ ขอ้ มูล การจัดเตรยี มข้อมูล (data preparation) เพอื่ เตรียมพรอ้ มสำ�หรับการประมวลผล ประกอบด้วย การ ท�ำ ความสะอาดขอ้ มลู (data cleansing) การแปลงขอ้ มลู (data transformation) และการเชอื่ มโยงขอ้ มลู (combining data) 7 สอื่ และอปุ กรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมที่ เร่ือง เวลา (นาท)ี 4.1 30 4.2 ข้อมูลตอบโจทย์ 100 ผจู้ ดั การข้อมูล 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อ่นื ๆ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศึกษา ปที ่ี 5 ของสถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิดโี อ เรอื่ ง Big data คอื อะไร จ�ำ เป็นตอ่ องค์กรหรอื ไม่ ? https://www.youtube.com/ watch?v=QuGlZrXPjiI ชุดขอ้ มูลจาก data.programming.in.th สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
48 กิจกรรมที่ 4 | การรวบรวมข้อมลู รายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 8 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 8.1 การจัดเตรียม 8.1.1 ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 ขอ้ มลู ตอบโจทย์ ตามจ�ำ นวนกลุ่ม 8.1.2 ใบกิจกรรมท่ี 4.2 ผู้จัดการขอ้ มูล ตามจำ�นวนผเู้ รยี น 8.2 ขนั้ ตอนการดำ�เนนิ การ 8.2.1 ผ้สู อนนำ�เข้าสบู่ ทเรียน โดยอธิบายเรือ่ งขอ้ มูลขนาดใหญ่ หรอื Big Data ซงึ่ ในปัจจุบนั มี ความสำ�คัญมากต่อองค์กรภาครัฐ และเอกชนในการนำ�ข้อมูลขนาดใหญ่มาช่วยในการ วางแผน หรือตัดสนิ ใจ โดยเปิดวิดโี อเร่อื ง “Big data คอื อะไร จำ�เป็นตอ่ องคก์ รหรอื ไม่ ?” 8.2.2 ผู้สอนชี้แจงเพิ่มเติมว่าสำ�หรับในระดับชั้นของนักเรียน ให้เข้าใจกระบวนการของการนำ� ข้อมูลมาวิเคราะห์ อาจไม่จำ�เป็นต้องใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ แต่นักเรียนต้องสามารถค้นหา ขอ้ มูล เพ่ือนำ�มาวเิ คราะห์ และตอบคำ�ถามท่ตี นเองสนใจได้ พร้อมทง้ั อธิบายจดุ ประสงค์ ของการเรยี นครั้งน้ี 8.2.3 ผู้สอนอธิบายเร่ืองข้อมูลทุติยภูมิ และให้ผู้เรียนยกตัวอย่างข้อมูลทุติยภูมิ พร้อมทั้งระบุ แหลง่ ขอ้ มูล แนวการตอบ ตวั อย่างเช่น ขอ้ มลู จำ�นวนนกั เรียน ค้นหาได้จากฝ่ายทะเบยี น ขอ้ มลู ผลการเรยี นของนักเรยี น ค้นหาไดจ้ ากฝา่ ยวชิ าการ ขอ้ มูลจ�ำ นวนประชากรในอ�ำ เภอ คน้ หาไดจ้ ากฝ่ายทะเบยี นทวี่ ่าการอ�ำ เภอ ข้อมูลอตั ราการท�ำ เกษตรกรรมในอำ�เภอ ค้นหาได้จากสำ�นกั งานเกษตรอ�ำ เภอ 8.2.4 ผเู้ รียนศึกษาหวั ขอ้ ที่ 2.1 การเก็บรวบรวมข้อมลู ในหนังสอื เรียน 8.2.5 ผสู้ อนตง้ั ประเดน็ คำ�ถาม “รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรอื นของจงั หวดั ของตนเองและจงั หวดั ใกล้ เคียง 5 จังหวัด มีความสัมพันธ์กับปัจจัยใดได้บ้าง” ให้ผู้เรียนตั้งประเด็นท่ีสนใจแล้วต้ัง สมมติฐานเก่ียวกบั ประเด็นน้นั แนวการตอบ ตัวอย่างเชน่ คำ�ถาม : รายได้เฉลี่ยตอ่ ครัวเรือนสัมพันธก์ ับอัตราการว่างงานหรอื ไม่ สมมติฐาน : ถ้าอัตราการว่างงานสูงข้ึนจะทำ�ใหร้ ายได้เฉล่ยี ต่อครัวเรือนต�่ำ ลง ค�ำ ถาม : รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นมคี วามสมั พนั ธก์ บั จ�ำ นวนสมาชกิ ในครวั เรอื นหรอื ไม่ สมมติฐาน : ถา้ จำ�นวนสมาชิกในครัวเรือนมาก รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นจะสงู ข้ึน คำ�ถาม : รายไดเ้ ฉลีย่ มคี วามสัมพนั ธก์ บั จำ�นวนหนส้ี ินหรอื ไม่ สมมติฐาน : ถ้ารายได้เฉล่ียต่อครวั เรือนสูงขนึ้ จะมีจำ�นวนหนสี้ นิ ลดลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมที่ 4 | การรวบรวมขอ้ มลู 49 8.2.6 ผู้เรียนค้นหาข้อมูลทุติยภูมิของปัจจัยที่นักเรียนเลือกในการตอบประเด็นในข้อ 8.2.5 โดยแนะนำ�ผ้เู รียนเพ่มิ เติมว่า ควรจะหาขอ้ มูลท่ีมีคา่ เปน็ ตัวเลข เพอื่ ใหส้ ามารถนำ�มาใช้ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอ่ ได้ พรอ้ มทงั้ บนั ทกึ ไฟลท์ ส่ี บื คน้ ไดไ้ วใ้ นเครอื่ งคอมพวิ เตอรข์ อง ตนเอง 8.2.7 ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ ท�ำ ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 ขอ้ มลู ตอบโจทย์ แลว้ น�ำ เสนอความเหมาะสมของ แหล่งขอ้ มูลทผี่ ูเ้ รยี นได้สบื ค้นมา 8.2.8 ผู้สอนและผเู้ รยี นร่วมกันสรุปกจิ กรรมที่ 4.1 8.2.9 ผู้เรยี นศึกษาหัวข้อที่ 2.2 การเตรียมขอ้ มลู (data preparation) ในหนังสอื เรยี น 8.2.10 ผู้สอนถามผู้เรียนจากคำ�ถามชวนคิด “การตรวจสอบข้อมูลระเบียนผู้ป่วยของโรง พยาบาลแห่งหน่งึ ” ในหวั ขอ้ 2.2.1 การทำ�ความสะอาดขอ้ มูล โดยใหผ้ ้เู รียนรว่ มกนั หา ขอ้ ผดิ พลาดของขอ้ มลู และอธิบายเหตผุ ล 8.2.11 ผู้เรียนแต่ละคนทำ�ใบกิจกรรมท่ี 4.2 ผู้จัดการข้อมูล โดย เว็บไซต์ data. ศกึ ษาวธิ กี ารด�ำ เนนิ การจากหนงั สอื เรยี น และเวบ็ ไซต์ programming data.programming.in.th 8.2.12 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ กิจกรรมที่ 4.2 9 การวดั และประเมนิ ผล oho.ipst.ac.th/ 9.1 ประเมินจากใบกิจกรรม m5/1234 9.2 สังเกตพฤตกิ รรมจากการทำ�งานกลมุ่ 10 สอื่ และแหล่งข้อมูล 10.1 เวบ็ ไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=QuGlZrXPjiI 10.2 เว็บไซต์ data.programming.in.th สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
50 กิจกรรมที่ 4 | การรวบรวมขอ้ มูล รายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 11 ขอ้ เสนอแนะ 11.1 ในการค้นหาข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อนำ�มาใช้ในกิจกรรม ควรแนะนำ�ให้ผู้เรียนค้นหาข้อมูลท่ีเป็น ตัวเลข เพอ่ื สามารถนำ�มาใชใ้ นการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลขต่อไป 11.2 ขอ้ มลู ทุติยภมู ใิ นประเทศไทย สว่ นมากเปน็ ขอ้ มลู ทีส่ รปุ มาแล้ว อาจจะไม่สามารถใช้ในการฝกึ เร่ืองการทำ�ความสะอาดข้อมูล และยากต่อการนำ�มาใช้ในการวิเคราะห์เชิงทำ�นายในบทที่ 3 ส่วนใหญ่จะใชไ้ ดใ้ นการวิเคราะหเ์ ชิงพรรณนาเพ่ือศึกษาภาพรวมของขอ้ มลู เท่าน้นั นอกจากนี้ ในการจดั เตรยี มขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ทิ �ำ ไดย้ าก เพราะขอ้ มลู ทจ่ี ะสามารถน�ำ มาใชไ้ ด้ อาจมาจากหลาย แหลง่ ซ่งึ มรี ูปแบบที่แตกตา่ งกนั ดงั น้นั ผู้สอนควรให้คำ�แนะนำ�เปน็ ระยะ ๆ และให้เวลาผ้เู รียน ในการจดั เตรียมขอ้ มูลเพ่อื ตอบคำ�ถามทตี่ นเองสนใจ 11.3 โดยท่ัวไปข้อมูลทุติยภูมิของต่างประเทศจะสามารถนำ�มาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ดีกว่า ผสู้ อนอาจแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นใชข้ อ้ มลู ทตุ ยิ ภมู จิ ากตา่ งประเทศ เพอ่ื ฝกึ ขน้ั ตอนของการท�ำ ความ สะอาดและขั้นตอนอื่น ๆ รวมทั้งอาจเลือกเป็นหัวข้อโครงงานของตนเอง แต่โดยท่ัวไปข้อมูล ทตุ ยิ ภูมิของต่างประเทศจะเปน็ ข้อมูลขนาดใหญ่ ทำ�ใหก้ ารดขู ้อมลู ผิดปกตดิ ้วยตาจะท�ำ ไดย้ าก ดงั นน้ั ในการท�ำ กจิ กรรม ผสู้ อนควรแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นส�ำ รวจขอ้ มลู โดยใชฮ้ สิ โทแกรม แผนภาพ การกระจาย หรอื แผนภาพกล่อง 11.4 กิจกรรมน้ปี ระกอบดว้ ยใบกจิ กรรม 2 ใบ ใช้เวลา 6 ชวั่ โมง ใหผ้ ้สู อนพจิ ารณาแบ่งเวลาการทำ� กิจกรรมตามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมที่ 4 | การรวบรวมขอ้ มลู 51 ใบกิจกรรมท่ี 4.1 ขอ้ มลู ตอบโจทย์ 1 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 2 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขท่ี ________ 3 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขท่ี ________ 4 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ ให้นักเรยี นค้นหาข้อมลู เพอื่ ตอบค�ำ ถามจากประเดน็ ท่กี �ำ หนดใหด้ ังน้ี รายได้เฉลีย่ ต่อครวั เรือนของจงั หวัดตนเอง และจงั หวดั ใกลเ้ คียง 5 จงั หวดั มีความสัมพันธก์ ับปจั จยั ใดบ้าง 1 ปจั จยั ทนี่ า่ จะเกยี่ วขอ้ งกบั รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นของจงั หวดั ตนเอง และจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง 5 จงั หวดั มี อะไรบ้าง 2 ตงั้ ค�ำ ถามทสี่ นใจและสมมตฐิ านทเ่ี กยี่ วกบั รายไดเ้ ฉลย่ี และปจั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งจากขอ้ 1 ของจงั หวดั ตนเอง และจังหวดั ใกลเ้ คยี ง 5 จังหวัด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
52 กจิ กรรมที่ 4 | การรวบรวมข้อมูล รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 3 สบื คน้ ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู เิ พอ่ื ทดสอบสมมตฐิ านทตี่ ง้ั ไว้ โดยขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ดิ งั กลา่ วควรเปน็ ขอ้ มลู ทมี่ คี า่ เปน็ ตวั เลข และกำ�หนดแอตทรบิ ิวต์ทจี่ ำ�เปน็ ของข้อมูลทจ่ี ะนำ�มาใช้ ที่ ข้อมูล แหลง่ ขอ้ มูล ชอ่ื ไฟลข์ อ้ มูล ชนิดไฟล์ แอตทริบวิ ต์ ข้อมลู (ที่น�ำ มาใช)้ 4 ประเมินความเหมาะสมของขอ้ มลู และแหล่งข้อมลู ทีส่ ืบค้นได้ จากข้อ 3 ข้อมลู / ทนั สมยั เกี่ยวข้องและ นา่ เชือ่ ถอื และ ยืนยนั ความ มีเป้าหมาย เหตุผล แหลง่ เหมาะกับการ สอดคลอ้ งกับ ผู้เผยแพรม่ ี ถกู ตอ้ งและมี ชดั เจน ข้อมลู ความตอ้ งการ ความชำ�นาญ การนำ�ไปใช้ ใชง้ านใน เหมาะสม ปัจจบุ ัน เหมาะสม เหมาะสม อา้ งองิ ไม่เหมาะสม ไม่เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไม่เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไม่เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไม่เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไม่เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไม่เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไม่เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไม่เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ไม่เหมาะสม ไม่เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไม่เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 4 | การรวบรวมข้อมูล 53 ใบกิจกรรมที่ 4.2 ผูจ้ ัดการขอ้ มูล ชอื่ -สกลุ ___________________________________________________________ เลขท่ี ________ ใหน้ ักเรยี นทำ�ตามข้นั ตอนและตอบคำ�ถามตอ่ ไปน้ี ขอ้ มลู รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อ เดอื นต่อครัวเรอื น ตอนท่ี 1 ปรับปรุงขอ้ มลู รายได้เฉลย่ี ตอ่ เดือนต่อครัวเรือน 1 ดาวนโ์ หลดไฟล์ “รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อเดอื นต่อครวั เรอื น 41-58.xls” ซงึ่ เป็น ชุดข้อมูลรายได้เฉล่ียต่อเดือนต่อครัวเรือน จำ�แนกตามภาค และจังหวัด พ.ศ. 2541 - 2558 จาก เว็บไซต์ data.go.th 2 เลือกใช้โปรแกรม Microsoft Excel หรือโปรแกรมตารางทำ�งานอื่น oho.ipst.ac.th/ m5/1421 ชว่ ยในการจัดการข้อมลู ดงั นี้ 2.1 เปิดโปรแกรมเพ่ือนำ�เขา้ ข้อมลู “รายได้เฉลี่ยต่อเดือนตอ่ ครัวเรอื น 41-58.xls” สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
54 กจิ กรรมที่ 4 | การรวบรวมขอ้ มูล รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 2.2 ใหผ้ เู้ รียนจัดเตรยี มขอ้ มูลให้เป็นระเบียบสำ�หรับการประมวลผล ดังนี้ การทำ�ความสะอาด 1) ลบแถวทไี่ มม่ ขี อ้ มลู และเป็นช่องว่าง ข้อมลู 2) แยกภาคและจังหวดั ออกเปน็ 2 แอตทริบิวต์ 3) ลบแถวทแ่ี สดงการรวมข้อมลู ได้แก่ ทั่วราชอาณาจักร ตอนพิเศษ oho.ipst.ac.th/ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคใต้ m5/1423 4) บนั ทกึ ไฟล์ใหม่ช่ือ “income.xls” จงั หวัด ภาค Province Region 2541 2543 2552 2554 … 2558 กรุงเทพมหานคร ตอนพิเศษ Bangkok 26,054 26,909 42,380 48,951 … 45,572 ตอนพิเศษ SamutPrakan Greater 18,100 15,745 23,359 23,798 … 25,457 สมุทรปราการ Bangkok ตอนพิเศษ Nonthaburi 24,211 24,566 34,626 35,120 … 36,884 นนทบรุ ี Greater ตอนพิเศษ PathumThani Bangkok 21,793 19,282 26,686 21,616 … 41,057 ปทุมธานี ภาคกลาง PhraNakhon- 12,918 14,904 25,820 22,302 … 28,379 พระนครศรอี ยุธยา ภาคกลาง SiAyutthaya Greater 10,878 12,544 25,506 21,140 … 23,351 ภาคกลาง Bangkok 10,587 10,649 22,405 17,178 … 22,955 อ่างทอง ภาคกลาง AngThong 10,786 11,894 25,419 26,068 … 26,112 ลพบุรี ภาคกลาง LopBuri Greater 11,159 12,693 18,719 20,181 … 22,059 สิงหบ์ รุ ี SingBuri Bangkok ชัยนาท ... ChaiNat ... ... ... ... ... ... Central ... ภาคใต้ ... Region 6,281 7,802 11,244 16,834 … 19,890 นราธิวาส Narathiwat Central Region Central Region Central Region Central Region ... Southern Region 2.3 น�ำ ข้อมูลจากไฟล์ “รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อเดือนต่อครวั เรอื น 41-58.xls” เพอ่ื จัดกลุ่มข้อมลู รายได้เฉลี่ยตอ่ เดอื นเปน็ รายภาค มาสรา้ งเป็นตารางใหม่ แล้วบนั ทกึ ไว้ในไฟล์ใหมช่ ือ่ average-income.xls ตารางรายได้เฉลย่ี ต่อเดอื นเปน็ รายภาคทน่ี ักเรยี นสรา้ งขนึ้ ประกอบด้วย ช่อื แถว ชอื่ คอลัมน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมที่ 4 | การรวบรวมข้อมลู 55 2.4. นำ�ข้อมูลจากไฟล์ “รายได้เฉล่ียต่อเดือนต่อครัวเรือน 41-58.xls” เพื่อจัดกลุ่มข้อมูลรายได้ เฉลยี่ ตอ่ เดือน ดังน้ี กลุ่มท่ี 1 < 15,000 บาท กลมุ่ ท่ี 5 30,000 - 35,000 กลมุ่ ที่ 2 15,000 - 20,000 กลมุ่ ที่ 6 35,000 - 40,000 กลมุ่ ท่ี 3 20,000 - 25,000 กลมุ่ ที่ 7 > 40,000 กล่มุ ท่ี 4 25,000 - 30,000 โดยสรา้ งเป็นไฟล์ใหมช่ อื่ GroupIncome.xls ตัวอยา่ งตารางข้อมลู 2558 จงั หวดั Total 30000-35000 กระบี่ 31011.5 <15000 เชยี งราย 13497.2 ภูเกต็ 31499.7 <15000 Total เชียงใหม่ 14950.4 30000-35000 Total ระยอง 30314.8 15000-20000 14223.8 35000-40000 กาญจนบรุ ี 18883.8 จนั ทบรุ ี 30942 15000-20000 Total กาฬสนิ ธ์ุ 15451.6 35000-40000 Total นนทบุรี 36023.5 ... นครพนม 15804.4 40000-45000 สรุ าษฎรธ์ านี นราธวิ าส 19889.6 36884 17886.2 40000-45000 Total นครปฐม 36465.6 น่าน 18479.6 >45000 ปทมุ ธานี 36457.7 บรุ รี มั ย์ >45000 Total ปัตตานี 17513 Grand Total กรุงเทพมหานคร 40347 พะเยา 17673.1 41056.9 พษิ ณโุ ลก 19235.1 40701.95 มหาสารคาม 18540.3 45571.7 แมฮ่ อ่ งสอน 15119.4 45571.7 ยโสธร 19517.9 235423 ยะลา 15583.8 รอ้ ยเอ็ด 19990.4 ราชบรุ ี ศรสี ะเกษ 19590 สกลนคร 18792.5 สมุทรสงคราม 19280.9 สพุ รรณบุรี 18310.2 อุตรดติ ถ์ 15786.2 19239.4 18028.37 ... สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
56 กจิ กรรมที่ 4 | การรวบรวมขอ้ มูล รายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ตอนท่ี 2 ปรับปรงุ ขอ้ มูลรายจา่ ยเฉลย่ี ตอ่ ปขี องคนและครวั เรือน ปี 2558 1 ดาวนโ์ หลดไฟล์ “BMN_58_expenses.csv” ซง่ึ เปน็ ชดุ ขอ้ มลู รายจา่ ยเฉลยี่ ขอ้ มูลรายจา่ ย ตอ่ ปี ของคนและครัวเรอื น (รายจงั หวดั ) จากขอ้ มลู จปฐ ปี 2558 ซ่งึ เปน็ เฉลี่ยต่อปขี องคน ไฟล์ .csv และครวั เรือน 2 นำ�เข้าไฟล์รายจ่ายเฉล่ียต่อปีของคนและครัวเรือนในโปรแกรม Microsoft oho.ipst.ac.th/ Excel และตั้งค่ารูปแบบรหัสแทนตัวอักษร และเครื่องหมายสัญลักษณ์ใน m5/1422 การแบง่ ข้อมูล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 4 | การรวบรวมข้อมลู 57 3 ใหน้ กั เรียนจดั เตรียมขอ้ มลู ให้เปน็ ระเบยี บสำ�หรบั การประมวลผล ดงั นี้ 1) ลบแถวทไ่ี ม่มีข้อมูล หรือเป็นชอ่ งวา่ ง 2) ลบแถวท่เี ปน็ การรวมขอ้ มูล และรายละเอียดอื่น ๆ ทไ่ี ม่เกย่ี วข้องส�ำ หรับการค�ำ นวณ 3) บันทึกไฟลใ์ หม่ช่อื expense58.xls จังหวดั ครวั เรอื นทั้งหมด จำ�นวนคนทงั้ หมด …. รวมรายจ่าย รวมรายจ่าย รายจา่ ยเฉลยี่ /คน/ปี ทส่ี �ำ รวจ ทีส่ �ำ รวจ ทัง้ หมด/ครัวเรือน ทงั้ หมดของคนใน กระบ่ี 51,245 กาญจนบุรี 90,523 308,687 … 15,818,550,264 ครัวเรือน 48,681 กาฬสนิ ธุ์ 156,721 512,236 … 24,935,947,610 174,746 40,024 กำ�แพงเพชร 205,284 744,792 … 29,809,269,141 159,110 53,752 ขอนแก่น 151,561 471,176 … 25,326,445,675 145,210 40,685 จันทบรุ ี 338,432 1,220,708 … 49,664,674,952 167,104 54,696 ฉะเชงิ เทรา 305,108 … 16,688,127,371 146,749 49,818 ชลบุรี 99,639 485,159 … 24,169,689,306 167,486 72,152 ชยั นาท 145,392 653,180 … 47,128,037,279 166,238 51,452 ชยั ภมู ิ 321,403 254,196 … 13,078,811,686 146,632 38,251 ชมุ พร 866,285 … 33,136,099,441 147,372 54,481 เชียงราย 88,747 293,495 … 15,989,887,117 126,468 42,993 เชียงใหม่ 262,012 870,526 … 37,426,582,381 157,866 47,577 101,288 1,087,164 … 51,724,413,124 125,953 ... ... 297,147 ... ... 136,399 36,860 อุบลราชธานี 379,213 1,307,855 … ... ... ... 48,206,911,377 131,121 367,651 4 เพ่มิ จำ�นวนขอ้ มูล “จำ�นวนสมาชกิ เฉลย่ี ต่อครวั เรอื น” โดยเพ่ิมคอลัมนแ์ ละคำ�นวณโดยใชส้ ูตร ดังรปู A B C D ... O 1 จังหวัด ครวั เรือนทงั้ หมด จ�ำ นวนคนทั้งหมด จำ�นวนสมาชกิ เฉลีย่ ต่อ ... รายจ่ายเฉลยี่ /คน/ปี ท่ีส�ำ รวจ ทส่ี �ำ รวจ ครัวเรอื น 2 กระบ่ี 3 กาญจนบรุ ี 90,523 308,687 3 ... 51,245 4 กาฬสินธ์ุ 156,721 5 กำ�แพงเพชร 205,284 512,236 จ�ำ นวนคน3ทงั้ หมด ... 48,681 6 ขอนแกน่ 151,561 40,024 7 จันทบุรี 338,432 74ส4ูต,7ร9=2 จ�ำ นวนครวั เร34อื นทงั้ หมด = C.2../B2 53,752 8 ฉะเชงิ เทรา 471,176 ... 9 ชลบุรี 99,639 10 ชยั นาท 145,392 1,220,708 4 ... 40,685 ... ... 321,403 77 อบุ ลราชธานี 305,108 3 ... 54,696 88,747 ... 485,159 3 ... 49,818 367,651 653,180 2 ... 72,152 254,196 3 ... 51,452 ... ... ... ... 1,307,855 4 48,009 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
58 กิจกรรมที่ 4 | การรวบรวมข้อมลู รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 5 เพิม่ คอลัมน์ใหม่ รายจ่ายเฉลี่ยต่อครวั เรือนตอ่ เดือน โดยคำ�นวณจาก รายจ่ายรวมท้ังหมดของคนในครัวเรอื น รายจ่ายเฉลยี่ ตอ่ ครวั เรือนตอ่ เดอื น = 12 จังหวัด ครวั เรอื นทัง้ หมด จำ�นวนคนทัง้ หมด …. รวมรายจา่ ย รายจ่ายเฉล่ยี ต่อ รายจา่ ยเฉลย่ี /คน/ปี ท่สี ำ�รวจ ท่สี ำ�รวจ ทงั้ หมดของคนใน ครวั เรอื นตอ่ เดอื น กระบ่ี 51,245 กาญจนบุรี 90,523 308,687 … ครวั เรือน ... 48,681 กาฬสนิ ธ์ุ 156,721 512,236 … 40,024 ก�ำ แพงเพชร 205,284 744,792 … 174,746 53,752 ขอนแก่น 151,561 471,176 … 40,685 จันทบุรี 338,432 1,220,708 … 159,110 54,696 ฉะเชิงเทรา 305,108 … 49,818 ชลบรุ ี 99,639 485,159 … 145,210 72,152 ชยั นาท 145,392 653,180 … 51,452 321,403 254,196 … 167,104 ... ... ... ... 48,009 อุบลราชธานี 88,747 1,307,855 … 146,749 ... 367,651 167,486 166,238 146,632 147,372 ... 148,923 6 บนั ทึกไฟล์ชอ่ื expense58.xls ตอนที่ 3 เช่ือมโยงไฟล์ income.xls และ expense58.xls เพื่อสำ�รวจความสัมพันธ์ระหว่างรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนต่อเดือนและรายจ่ายเฉล่ียต่อครัวเรือนต่อ เดอื น ในปี พ.ศ. 2558 จะตอ้ งเช่อื มโยงทัง้ 2 ไฟลใ์ ห้เป็นไฟลเ์ ดียวกัน ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมที่ 4 | การรวบรวมขอ้ มลู 59 1 ตรวจสอบคอลมั นข์ องทั้ง 2 ไฟล์ มีคอลมั นท์ ่ีเหมอื นกนั คอื 2 ท�ำ ความสะอาดข้อมลู โดยตรวจสอบข้อมูลจงั หวัดที่ไมเ่ หมอื นกนั ของทง้ั สองไฟล์ 2.1 เรยี งล�ำ ดับข้อมูลในคอลมั น์ “จังหวัด” ของไฟล์ expense58.xls 2.2 ไม่พบจังหวัด ในไฟล์ expense58.xls 2.3 ลบจงั หวัด ในไฟล์ income.xls เนอื่ งจาก 2.4 เชือ่ มโยงไฟล์ income.xls และ expense58.xls ได้ผลลัพธด์ ังรูป จังหวดั ภาค province Region income expense กระบี่ ภาคใต้ Krabi Southern Region 31012 14562 กาญจนบรุ ี ภาคกลาง Central Region 18884 13259 ภาคตะวนั ออก Kanchanaburi กาฬสนิ ธ์ุ เฉียงเหนือ Northeastern Region 15452 12101 ภาคเหนอื Kalasin กำ�แพงเพชร ภาคตะวันออก Northern Region 20140 13925 เฉยี งเหนือ Kamphaeng Phet ขอนแก่น ภาคกลาง Northeastern Region 21337 12229 ภาคกลาง Khon Kaen จนั ทบุรี ภาคกลาง Central Region 36024 13957 ฉะเชงิ เทรา ภาคกลาง Chanthaburi Central Region 27555 13853 Chachoengsao Central Region 27257 12219 ชลบุรี ... Central Region 22059 12281 ชัยนาท Chon Buri ภาคตะวันออก Chai Nat ... ... ... ... เฉียงเหนือ ... Northeastern Region 20453 10926.75 อุบลราชธานี Ubon Ratchathani 3 บันทึกไฟล์ใหม่ชื่อ income-expense.xls และ income-expense.csv ตอนท่ี 4 ใหน้ กั เรยี นและเพอ่ื นในกลมุ่ ชว่ ยกนั จดั เตรยี มไฟลใ์ หมท่ ค่ี น้ หาไดจ้ ากใบกจิ กรรมท่ี 4.1 ขอ้ มลู ตอบโจทย์ ไดแ้ ก่ รายได้เฉล่ียของประชาชนในจังหวัดตนเองและจังหวดั ใกล้เคียง 5 จังหวัด และปัจจยั ทีไ่ ดเ้ ลือกไว้ โดย ให้ทำ�ความสะอาดข้อมูล แปลงข้อมูล เช่ือมโยงข้อมูลให้พร้อมสำ�หรับการสำ�รวจและวิเคราะห์หาความ สัมพันธ์ และบันทกึ เป็นไฟล์ใหม่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
60 กิจกรรมที่ 5 | การส�ำ รวจข้อมูล รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) กิจกรรมที่ 5 การสำ�รวจข้อมลู คาบท่ี 13 - 14 | เวลา 2 ชั่วโมง 1 ตวั ชว้ี ัด รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปญั หาหรอื เพม่ิ มลู ค่าให้กับบริการหรอื ผลติ ภัณฑ์ท่ใี ชใ้ นชีวิตจริงอย่างสรา้ งสรรค์ 2 สาระการเรยี นรู้ 2.1 การส�ำ รวจข้อมูลโดยใชก้ ารวาดแผนภาพ แผนภมู ิ กราฟ 2.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการสำ�รวจข้อมูล เช่น โปรแกรมตารางทำ�งาน โปรแกรมภาษา และโปรแกรม เฉพาะส�ำ หรบั งานด้านวทิ ยาการข้อมลู 3 จุดประสงค์ ให้ผู้เรียนสามารถ 3.1 ส�ำ รวจขอ้ มลู เพอ่ื ทำ�ความเขา้ ใจ รปู แบบ ความสมั พนั ธ์ และผลลพั ธเ์ ชงิ พรรณนาเบอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั ข้อมูล 3.2 เลอื กใช้เคร่อื งมอื ในการส�ำ รวจข้อมลู ตามความถนดั 4 ทกั ษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 4.2 ทกั ษะการร้สู ารสนเทศ 4.3 ทกั ษะการแก้ปญั หา 5 ความร้เู ดมิ ท่นี ักเรียนต้องมี การจดั การขอ้ มลู การสร้างกราฟและแผนภูมิ การใช้โปรแกรมส�ำ เร็จรูป เชน่ โปรแกรมตารางท�ำ งาน และการเขียนโปรแกรมภาษา เช่น ภาษา R หรือภาษาไพทอน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมที่ 5 | การสำ�รวจขอ้ มลู 61 6 สาระส�ำ คญั การส�ำ รวจข้อมลู (data exploration) เป็นการทำ�ความเขา้ ใจเพือ่ พิจารณาภาพรวมของขอ้ มูล โดย อาจใชแ้ ผนภาพ หรอื กราฟของขอ้ มลู ในรปู แบบตา่ ง ๆ ระหวา่ งการส�ำ รวจ อาจจะพบขอ้ ผดิ พลาดหรอื ปญั หา อน่ื ๆ จากการตงั้ คำ�ถาม หรือการรวบรวมขอ้ มลู ซ่งึ ทำ�ใหต้ ้องกลบั ไปดำ�เนินการแกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง เครือ่ งมือ ทใ่ี ชใ้ นการสำ�รวจขอ้ มลู อาจใชโ้ ปรแกรมสำ�เรจ็ รปู หรือการเขยี นโปรแกรมภาษา 7 สอ่ื และอุปกรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกิจกรรมที่ เรอื่ ง เวลา (นาท)ี 5.1 40 นกั สำ�รวจ 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อน่ื ๆ หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ของสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เว็บไซต์ data.programming.in.th แบบทดสอบบทที่ 2 การเก็บรวบรวมและส�ำ รวจข้อมลู แบบออนไลน์ 8 แนวทางการจัดการเรียนรู้ เวบ็ ไซต์ data. 8.1 การจดั เตรยี ม programming 8.1.1 ใบกิจกรรมท่ี 5.1 นกั สำ�รวจ ตามจ�ำ นวนผูเ้ รยี น 8.1.2 ชดุ ขอ้ มูลส�ำ หรับทำ�กจิ กรรมเพ่มิ เติมจากเวบ็ ไซต์ oho.ipst.ac.th/ data.programming.in.th เชน่ ชุดข้อมลู ไดโนเสาร์ m5/1234 สนิ คา้ อุปโภคบรโิ ภคของไทย 8.1.3 แบบทดสอบบทที่ 2 การเกบ็ รวบรวมและสำ�รวจข้อมลู แบบออนไลน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
62 กจิ กรรมที่ 5 | การสำ�รวจขอ้ มลู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 8.2 ขน้ั ตอนการดำ�เนนิ การ 8.2.1 ผู้สอนทบทวนกระบวนการในการจัดเตรียมข้อมูลจากกิจกรรมท่ีผ่านมา และตรวจสอบ ผู้เรยี นในการจดั เตรยี มชุดข้อมูล ดังน้ี income.xls average-income.xls และ average-income.csv expense58.xls income-expense.xls และ income-expense.csv ชุดข้อมูลจงั หวัดตนเองและจงั หวดั ใกลเ้ คียง 5 จังหวดั และปัจจัยท่ไี ด้เลือกไว้ 8.2.2 ผูเ้ รียนศกึ ษาหวั ข้อท่ี 2.3 การสำ�รวจข้อมูล ในหนงั สอื เรยี น 8.2.3 ผ้เู รียนแต่ละคนทำ�ใบกจิ กรรมที่ 5.1 นักสำ�รวจ และระหว่างท�ำ กิจกรรมให้ศึกษา เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการส�ำ รวจข้อมลู เพ่ิมเติมจากเวบ็ ไซต์ data.programming.in.th 8.2.4 ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นโพสตผ์ ลลพั ธข์ องขอ้ มลู จากการส�ำ รวจของตนเองลงบน Padlet หรอื อาจ ใชโ้ ปรแกรมอ่นื ตามความเหมาะสม 8.2.5 ผเู้ รียนทำ�แบบทดสอบบทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำ�รวจข้อมูล เพ่อื ประเมนิ ความ เขา้ ใจ แบบทดสอบบทที่ 2 การเกบ็ รวบรวมและ ส�ำ รวจข้อมลู oho.ipst.ac.th/ m5/1500 9 การวัดและประเมินผล 9.1 ประเมนิ จากใบกิจกรรม 9.2 สังเกตพฤตกิ รรมจากการท�ำ งานกลมุ่ 9.3 แบบทดสอบบทท่ี 2 การเก็บรวบรวมและสำ�รวจข้อมูล 10 สื่อและแหลง่ ขอ้ มูล - สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมที่ 5 | การสำ�รวจขอ้ มูล 63 11 ข้อเสนอแนะ 11.1 ผู้สอนอาจเตรียมชุดข้อมูลในการทำ�กิจกรรมไว้ ในกรณีท่ีผู้เรียนบางคนจัดเตรียมข้อมูลไม่ เรยี บรอ้ ย โดยดาวนโ์ หลดจาก data.programming.in.th เว็บไซต์ data. programming oho.ipst.ac.th/ m5/1234 11.2 หากมเี วลาเพยี งพออาจใหน้ กั เรยี นฝกึ การส�ำ รวจขอ้ มลู จากชดุ ขอ้ มลู อน่ื เพม่ิ เตมิ เชน่ ชดุ ขอ้ มลู ไดโนเสาร์ ชุดขอ้ มลู สินคา้ อุปโภคบรโิ ภคของไทย หรือชดุ ขอ้ มลู อนื่ ๆ จากเว็บไซต์ตา่ งประเทศ 11.3 ผู้สอนควรแนะนำ�ผู้เรียนให้เลือกใช้เคร่ืองมือในการสำ�รวจข้อมูลตามถนัด และแนะนำ�แหล่ง ศึกษาหาความรู้เพิม่ เตมิ บทเรียนออนไลนก์ ารเขยี นโปรแกรมภาษา R และภาษาไพทอนส�ำ หรับงานด้านวทิ ยาการ ขอ้ มูล เชน่ https://datarockie.com วิดโี อสอนการท�ำ ขอ้ มูลให้เป็นภาพ (visualization) เช่น https://www.youtube.com/ channel/UCl4w_st9XiRHqWhnanGjIGg วดิ โี อสอนการใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel เพอ่ื ท�ำ Pivot table และสรา้ งกราฟ หรือ แผนภมู ิ เชน่ https://www.youtube.com/channel/UCl4w_st9XiRHqWhnanG jIGg วิดีโอสอนการใช้โปรแกรม Tableau เช่น https://www.youtube.com/play list?list=PLJbbOKlo_atDG-Q_b5FTrUEoXLFLjETWH สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
64 กิจกรรมท่ี 5 | การสำ�รวจข้อมลู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ใบกจิ กรรมที่ 5.1 นักส�ำ รวจ ชอื่ -สกลุ ___________________________________________________________ เลขที่ ________ ให้ผเู้ รยี นด�ำ เนนิ การตามขัน้ ตอนต่อไปน้ี 1 ใช้ชุดข้อมูล income.xls, average-income.csv, expense58.xls และ income-expense.xls และส�ำ รวจขอ้ มูลทั้ง 4 ชุดนี้ โดยใช้เคร่ืองมอื ทีน่ ักเรียนถนดั 1.1 ใช้ชุดข้อมูล income.xls หรือ average-income.csv (หากเขียนโปรแกรมภาษา) สร้าง กราฟเสน้ เพอ่ื ส�ำ รวจภาพรวมรายไดเ้ ฉล่ยี ต่อครวั เรือนรายภาค 1.2 ใช้ชดุ ข้อมลู income.xls หรอื expense58.xls สรา้ งฮสิ โทแกรมเพ่อื ส�ำ รวจรายได้หรอื รายจา่ ย เฉลยี่ ต่อครวั เรือนของประชากรในแต่ละจังหวัด 1.3 ใชช้ ดุ ขอ้ มลู income-expense.xls สรา้ งแผนภาพการกระจาย เพอ่ื ส�ำ รวจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง รายไดแ้ ละรายจา่ ยเฉลยี่ ตอ่ ครัวเรอื น 1.4 ใชช้ ดุ ขอ้ มลู income.xls หรอื average-income.csv (หากเขยี นโปรแกรมภาษา) สรา้ งแผนภาพ กลอ่ งเพอ่ื สำ�รวจความแตกต่างของรายไดเ้ ฉล่ียตามกล่มุ จังหวัด 2 ตั้งคำ�ถามที่นักเรียนสนใจ และสำ�รวจชุดข้อมูล รายได้เฉลี่ยของประชาชนจังหวัดตนเองและจังหวัด ทส่ี นใจ 5 จังหวดั 2.1 กราฟ แผนภาพ หรอื แผนภมู ิทน่ี ักเรยี นสำ�รวจ อธิบายอะไรเกีย่ วกับขอ้ มูลได้บา้ ง 2.2 เลอื กกราฟ แผนภาพ หรอื แผนภูมิ ทน่ี ักเรยี นสำ�รวจ นำ�เสนอให้เพื่อนดู โดยโพสต์บน Padlet และเขียนอธิบายส่ิงท่ีนักเรียนสำ�รวจพบ พร้อมบอกเคร่ืองมือท่ีใช้ (โปรแกรมสำ�เร็จรูปหรือ โปรแกรมภาษา) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 5 | การสำ�รวจข้อมูล 65 ค�ำ ถาม ภาพ ค�ำ อธบิ ายสง่ิ ท่คี ้นพบ เครื่องมอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
66 กิจกรรมท่ี 6 | การวเิ คราะห์เชิงพรรณนา รายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) กิจกรรมที่ 6 การวเิ คราะหเ์ ชงิ พรรณนา คาบที่ 15 - 18 | เวลา 4 ชว่ั โมง 1 ตัวช้ีวัด รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปญั หาหรือเพ่มิ มลู คา่ ให้กับบรกิ ารหรอื ผลติ ภัณฑท์ ีใ่ ชใ้ นชวี ติ จริงอยา่ งสร้างสรรค์ 2 สาระการเรียนรู้ 2.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชงิ พรรณนา 2.2 สถติ สิ �ำ หรับวิเคราะหข์ ้อมูล เช่น คา่ กลาง คา่ ต�ำ่ สดุ สงู สุด เพ่อื อธิบายขอ้ มูลเชิงพรรณนา 2.3 การหาความสมั พันธข์ องข้อมลู โดยใช้แผนภาพการกระจาย 3 จดุ ประสงค์ ให้ผ้เู รียนสามารถ 3.1 อธบิ ายหลักการวิเคราะห์ข้อมลู เชงิ พรรณนา 3.2 เลือกใช้คา่ สถติ ทิ เี่ หมาะสมในการวเิ คราะหข์ ้อมลู เชิงพรรณนา 3.3 ใชโ้ ปรแกรมส�ำ เร็จรูป หรอื โปรแกรมภาษาเพื่อวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงพรรณนา 3.4 อธิบายผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ พรรณนา 4 ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 4.2 ทกั ษะการแก้ปัญหา 4.3 ทกั ษะการสือ่ สารและร่วมมอื 5 ความรเู้ ดิมท่ีนักเรียนต้องมี สถติ ิพื้นฐาน เช่น การวดั แนวโน้มเขา้ สู่ส่วนกลาง สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมท่ี 6 | การวิเคราะหเ์ ชงิ พรรณนา 67 6 สาระส�ำ คัญ การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive analytics) เป็นการวิเคราะห์ขั้นพื้นฐาน ที่ทําให้เห็นภาพ รวมของข้อมูล และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งข้อมูล ช่วยอธิบายวา่ เกดิ อะไรข้ึนบ้างในชว่ งทีผ่ ่านมา และอาจนำ� มาชว่ ยในการตัดสินใจ โดยอาจใช้สถิติ เช่น การหาสดั สว่ นหรือรอ้ ยละ การวัดค่ากลางของขอ้ มลู (central tendency) การหาความสมั พนั ธข์ องชุดขอ้ มลู (correlation) 7 สอ่ื และอปุ กรณ์ 7.1 ใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรมที่ เร่ือง เวลา (นาท)ี 6.1 100 6.2 ข้อมูลนม้ี อี ะไร 100 สมั พันธ์กันหรอื ไม่ 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อื่นๆ หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ของสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชดุ ขอ้ มลู ไฟปา่ สนิ ค้าอุปโภคบรโิ ภคของไทย และคะแนนสอบ O-NET จากเว็บไซต์ data.programming.in.th 8 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ 8.1 การจัดเตรยี ม 8.1.1 ใบกจิ กรรมที่ 6.1 ขอ้ มูลน้ีมอี ะไร ตามจ�ำ นวนผู้เรยี น 8.1.2 ใบกจิ กรรมที่ 6.2 สัมพนั ธ์กนั หรือไม่ ตามจ�ำ นวนกลุม่ 8.2 ขั้นตอนการด�ำ เนนิ การ 8.2.1 ผู้สอนนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนเรื่องการเก็บรวบรวมข้อมูลและสำ�รวจข้อมูล และ ช้ีแจงการเรียนในบทน้ีโดยใช้สถานการณ์ของสิงโตและสุนัขจ้ิงจอก จากหนังสือเรียน และเช่อื มโยงการวิเคราะหข์ อ้ มูล 3 ประเภท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
68 กิจกรรมที่ 6 | การวเิ คราะหเ์ ชงิ พรรณนา รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 8.2.2 ผู้เรยี นศึกษาหวั ขอ้ ที่ 3.1 การวเิ คราะห์เชงิ พรรณนา หัวข้อย่อย 3.1.1 และ 3.1.2 ใน หนงั สอื เรยี น 8.2.3 ผเู้ รยี นจบั คกู่ นั ท�ำ ใบกจิ กรรมที่ 6.1 ขอ้ มลู นม้ี อี ะไร โดยใหโ้ พสตภ์ าพค�ำ ตอบไวบ้ น Padlet และใหร้ างวัลส�ำ หรับคูท่ ที่ �ำ เสรจ็ ได้เร็วท่ีสุด 8.2.4 ผู้เรียนพจิ ารณาคำ�ตอบของคู่อนื่ และรว่ มกันโหวตว่าการแสดงผลลพั ธข์ องค�ำ ตอบของ กลุ่มใดแสดงผลการวเิ คราะห์ได้ชัดเจนที่สุด 8.2.5 ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกนั สรปุ และเปรียบเทียบความเหมาะสมของผลของการวเิ คราะห์ ข้อมูลเชงิ พรรณนา 8.2.6 ผเู้ รยี นศกึ ษาหวั ข้อที่ 3.1.3 ในหนังสอื เรยี น 8.2.7 แบ่งผู้เรยี นออกเป็นกลมุ่ กล่มุ ละ 3 คน ชว่ ยกนั ท�ำ ใบกจิ กรรมที่ 6.2 สมั พันธ์กนั หรอื ไม่ 8.2.8 ให้แตล่ ะกลมุ่ เลือกโพสต์คำ�ตอบ 1 คำ�ตอบท่ตี นเองพบเจอความสมั พันธ์ของชุดขอ้ มลู ท่ี ศกึ ษา และเขยี นอธบิ ายไว้บน Padlet 8.2.9 ผู้เรยี นรว่ มกันโหวตวา่ คำ�ตอบของกล่มุ ใดนา่ สนใจมากที่สุด 8.2.10 ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกันสรปุ การวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนา 9 การวดั และประเมนิ ผล 9.1 ประเมนิ จากใบกิจกรรม 9.2 สงั เกตพฤติกรรมจากการท�ำ งานกลมุ่ 10 สือ่ และแหล่งขอ้ มลู 10.1 วดิ ีโอสอนการใช้ Pivot Table ในการสร้างกราฟ 10.2 วิดีโอสอนการใช้ Tableau ในการสร้างกราฟ 10.3 วิดีโอสอนการเขียนโปรแกรมภาษา R ในการสร้างกราฟ และหาคา่ ความสัมพนั ธ์ 10.4 วดิ โี อสอนการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนในการสร้างกราฟและหาคา่ ความสัมพนั ธ์ 11 ขอ้ เสนอแนะ 11.1 ผู้สอนสามารถแนะน�ำ ใหผ้ ู้เรียนเลือกใช้เครื่องมอื ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามความถนดั ของ ผ้เู รียน โดยผเู้ รยี นอาจเลอื กใชโ้ ปรแกรมส�ำ เร็จรูป หรือโปรแกรมภาษา 11.2 ส�ำ หรบั ใบกิจกรรมที่ 6.1 และ 6.2 อาจให้ผู้เรียนเลอื กชดุ ข้อมลู เพียงชุดเดยี ว เชน่ ข้อมูลไฟปา่ และตอบค�ำ ถามที่เก่ยี วข้องให้ครบทุกประเด็น 11.3 ส�ำ หรับขอ้ 4 ในใบกิจกรรมท่ี 6.1 ใหผ้ ู้เรียนที่สนใจศึกษาวิธีการท�ำ จากเวบ็ ไซต์ data.programming.in.th สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 6 | การวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนา 69 ใบกจิ กรรมท่ี 6.1 ข้อมลู นี้มีอะไร 1 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 2 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ดาวนโ์ หลดชดุ ขอ้ มลู ชดุ ใดชดุ หนง่ึ ทสี่ นใจจาก เวบ็ ไซต์ เว็บไซต์ data. data.programming.in.th แลว้ ใชโ้ ปรแกรมส�ำ เรจ็ รปู ชว่ ยในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู programming เพือ่ ตอบค�ำ ถาม oho.ipst.ac.th/ สูตร m5/1234 = Min (number1, number2,...) = Max (number1, number2,...) 1 ข้อมูลไฟปา่ 1.1 คา่ ต�่ำ สดุ คา่ สงู สดุ ของแต่ละปัจจยั ปจั จัย คา่ ต�ำ่ สุด คา่ สงู สดุ 1.2 อณุ หภูมใิ นช่วงใดสูงกว่าช่วงอื่น ๆ และบนั ทึกไฟลภ์ าพที่แสดงให้เห็นผลลัพธข์ องค�ำ ตอบ 1.3 เดอื นไหนฝนตกมากที่สุด และบันทึกไฟล์ภาพทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ผลลพั ธข์ องคำ�ตอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
70 กจิ กรรมท่ี 6 | การวิเคราะห์เชงิ พรรณนา รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) X,Y,month,day,FFMC,DMC,DC,ISI,temp,RH,wind,rain,area 7,5,mar,fri,86.2,26.2,94.3,5.1,8.2,51,6.7,0,0 7,4,oct,tue,90.6,35.4,669.1,6.7,18,33,0.9,0,0 7,4,oct,sat,90.6,43.7,686.9,6.7,14.6,33,1.3,0,0 8,6,mar,fri,91.7,33.3,77.5,9,8.3,97,4,0.2,0 8,6,mar,sun,89.3,51.3,102.2,9.6,11.4,99,1.8,0,0 8,6,aug,sun,92.3,85.3,488,14.7,22.2,29,5.4,0,0 8,6,aug,mon,92.3,88.9,495.6,8.5,24.1,27,3.1,0,0 8,6,aug,mon,91.5,145.4,608.2,10.7,8,86,2.2,0,0 8,6,sep,tue,91,129.5,692.6,7,13.1,63,5.4,0,0 ขอ้ มูลไฟป่าเป็นรปู แบบ csv ขอ้ มูลในบรรทดั แรกเปน็ ชอ่ื ของคอลัมน์ ได้แก่ X, Y,..., area โดยแต่ละ คอลมั นจ์ ะขัน้ ดว้ ยเครื่องหมาย “,” และถดั มาจะเปน็ ขอ้ มลู ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การเกิดไฟป่า ทง้ั หมด 517 คร้ัง การอธิบายรายละเอียดของแต่ละคอลมั นท์ ีช่ ดั เจนขนึ้ ดงั น้ ี นกั เรยี นสามารถตคี วามหมายของข้อมลู ในแตล่ ะคอลัมนไ์ ดด้ งั น้ี x ค่าของ x ในพกิ ัดเชิงพน้ื ทขี่ องต�ำ แหนง่ ในแผนที่ Montesinho park ซึ่งมคี ่าตง้ั แต่ 1- 9 Y ค่าของ y ในพิกัดเชงิ พื้นที่ของต�ำ แหนง่ ในแผนท ี่ Montesinho park ซึ่งมคี ่าตง้ั แต่ 2- 9 Month คือ เดือน ตงั้ แต่ Jan - Dec Day คอื วันท่ี ตง้ั แต่ 1- 31 Fire Fuel Moisture Code (FFMC) คอื คา่ ความชน้ื ของเช้อื เพลงิ ชน้ั บนสุด Duff Moisture Code (DMC) คือ ค่าเฉลี่ยความชืน้ ของช้ันลึกปานกลางของเช้อื เพลงิ Drought Code (DC) คือค่าความช้นื ของชน้ั ลึกสุดของเช้อื เพลงิ Initial Spread Index (ISI) คอื คา่ การลกุ ลามของไฟโดยอิทธิพลของลมและ FFMC temp คือ อณุ หภูมิ (องศาเซลเซียส) relative humidity คือ ความชืน้ สมั พทั ธ์ (%) wind คือความเรว็ ลม (km/hr) rain คือปรมิ าณฝนในบริเวณข้างเคียง (มลิ ลเิ มตรตอ่ ตารางเมตร ต่อ ช่ัวโมง) area คือขนาดพ้ืนทที่ เ่ี กดิ ไฟปา่ (1 เฮกเตอร์ = 10000 ตารางเมตร) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมท่ี 6 | การวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนา 71 2 ข้อมลู สินคา้ อุปโภคบริโภคของไทย 2.1 ค่าต�่ำ สดุ คา่ สูงสดุ ของแต่ละปขี องสนิ คา้ แต่ละชนดิ ช่อื สินคา้ ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ค่าต�่ำ สุด ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี คา่ สงู สุด ชอื่ สนิ ค้า คา่ ต่ำ�สดุ ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ค่าสงู สดุ ช่อื สินคา้ ค่าตำ่�สุด คา่ สงู สุด 2.2 สินคา้ ใดท�ำ รายไดม้ ากทสี่ ดุ และบนั ทกึ ไฟลภ์ าพทแ่ี สดงให้เหน็ ผลลพั ธ์ของคำ�ตอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
72 กจิ กรรมท่ี 6 | การวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนา รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 3 คะแนนสูงสุด คะแนนต�ำ่ สดุ ของแต่ละวชิ า ในแตล่ ะปี 3.1 คะแนนสอบ O-NET ของโรงเรยี นแห่งหน่งึ วชิ า ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี คะแนนต่ำ�สดุ คะแนนสูงสดุ วชิ า ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี คะแนนต�ำ่ สดุ คะแนนสงู สดุ วชิ า ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี คะแนนต่�ำ สุด คะแนนสงู สดุ 3.2 ในปหี นา้ คิดว่าแนวโน้มคะแนนต�ำ่ สุด หรือสงู สุดของแต่ละวชิ าเป็นอย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 6 | การวิเคราะหเ์ ชงิ พรรณนา 73 4 ข้อมูลการโพสตเ์ ฟซบุ๊กของตนเอง ต้งั แตเ่ ร่ิมสมคั รเป็นสมาชิก 4.1 มจี �ำ นวนโพสต์ทั้งหมด คร้ัง 4.2 โพสตใ์ ดท่ีเพื่อนชอบมากท่ีสดุ 4.3 ชว่ งเวลาใดท่นี ักเรยี นโพสต์มากทสี่ ุด หมายเหตุ วธิ กี ารท�ำ ข้อ 4 ให้ศกึ ษาเพม่ิ เติมจากเวบ็ ไซต์ data.programming.in.th สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
74 กิจกรรมท่ี 6 | การวเิ คราะหเ์ ชงิ พรรณนา รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ใบกิจกรรมท่ี 6.2 สมั พันธก์ นั หรือไม่ 1 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขท่ี ________ 2 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 3 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 4 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ หาความสมั พนั ธข์ องชดุ ขอ้ มลู ทนี่ กั เรยี นเลอื กท�ำ ในใบ เว็บไซต์ data. กจิ กรรมท่ี 6.1 โดยดาวนโ์ หลดชดุ ขอ้ มลู จาก เวบ็ ไซต์ data.programming.in.th programming แล้วใชโ้ ปรแกรมส�ำ เร็จรปู ชว่ ยในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบคำ�ถาม 1 ไฟปา่ oho.ipst.ac.th/ 1.1 คา่ ความสมั พันธ์ m5/1234 คูท่ ี่ ชื่อแอตทริบิวต์ ชือ่ แอตทรบิ ิวต์ ค่าความสมั พันธ์ การแปลความหมาย 1.2 ค้นพบอะไรจากชดุ ขอ้ มลู ไฟปา่ ให้เขยี นอธบิ าย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 6 | การวิเคราะห์เชิงพรรณนา 75 2 สนิ คา้ อปุ โภคบริโภคของไทย ช่อื แอตทริบิวต์ ค่าความสัมพันธ์ การแปลความหมาย 2.1 ค่าความสมั พนั ธ์ คู่ท่ี ช่ือแอตทรบิ ิวต์ 2.2 คน้ พบอะไรจากชดุ ขอ้ มลู สินค้าอปุ โภคบรโิ ภคของไทย ใหเ้ ขียนอธิบาย 3 คะแนนสอบ O-NET ชือ่ แอตทริบวิ ต์ คา่ ความสมั พนั ธ์ การแปลความหมาย 3.1 คา่ ความสัมพนั ธ์ คู่ท่ี ช่อื แอตทริบวิ ต์ 3.2 คน้ พบอะไรจากชดุ ขอ้ มลู คะแนนสอบ O-NET ใหเ้ ขียนอธิบาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
76 กิจกรรมท่ี 7 | การทำ�นายเชงิ ตัวเลข รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) กจิ กรรมที่ 7 การทำ�นายเชงิ ตัวเลข คาบท่ี 19 - 22 | เวลา 4 ชว่ั โมง 1 ตวั ชี้วดั รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแกป้ ญั หาหรือเพิม่ มลู ค่าให้กับบรกิ ารหรือผลิตภัณฑ์ทีใ่ ชใ้ นชีวติ จริงอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2 สาระการเรียนรู้ 2.1 ความหมายของการท�ำ นายเชงิ ตวั เลข 2.2 การท�ำ นายคา่ จากเสน้ แนวโน้มโดยใช้กราฟและใช้สมการเชงิ เสน้ 2.3 การหาคา่ ความคลาดเคล่ือนในการท�ำ นาย 2.4 การสร้างเสน้ แนวโน้ม และสมการเชิงเสน้ โดยใช้โปรแกรมส�ำ เรจ็ รูป หรอื การเขียนโปรแกรม 3 จุดประสงค์ ให้ผเู้ รยี นสามารถ 3.1 อธิบายหลกั การวเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ ท�ำ นายโดยใช้ตัวเลข 3.2 ท�ำ นายค่าโดยใชส้ มการเชิงเสน้ และค�ำ นวณค่าความคลาดเคล่อื นในการทำ�นาย 3.3 ใช้โปรแกรมส�ำ เร็จรปู หรือโปรแกรมภาษาในการทำ�นายเชงิ ตัวเลข 3.4 อธิบายผลการท�ำ นายเชงิ ตวั เลข 4 ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.2 ทักษะการแกป้ ญั หา 4.3 ทักษะการสือ่ สารและรว่ มมือ 5 ความร้เู ดมิ ที่นกั เรียนต้องมี ระบบสมการเชิงเสน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมที่ 7 | การท�ำ นายเชงิ ตวั เลข 77 6 สาระส�ำ คญั การวเิ คราะห์เชิงท�ำ นาย (predictive analysis) เป็นการวิเคราะหข์ ้อมูลในอดตี เพ่อื หารูปแบบความ สัมพันธ์ในชุดข้อมูลที่สามารถนำ�มาเป็นต้นแบบในการทำ�นาย การคาดการณ์ผลหรือสิ่งท่ีน่าจะเกิดข้ึนใน อนาคต ซ่งึ จะช่วยให้บคุ คลหรอื องคก์ ร สามารถตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ การทำ�นายข้อมูลเชิงตัวเลข (numeric prediction) เป็นการใช้ข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์หาความ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งชดุ ขอ้ มลู และสรา้ งแบบจ�ำ ลองในการท�ำ นายทใี่ หผ้ ลลพั ธเ์ ปน็ ตวั เลข โดยทวั่ ไปมวี ธิ กี ารท�ำ นาย 2 วิธคี อื การท�ำ นายโดยใชก้ ราฟและการทำ�นายโดยใช้สมการเชงิ เส้น 7 สอ่ื และอุปกรณ์ 7.1 ใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรมท่ี เร่ือง เวลา (นาที) 7.1 30 7.2 ยอดววิ 50 7.3 ผลทำ�นายใครแมน่ 50 รู้แลว้ รวย 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อืน่ ๆ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศึกษา ปที ี่ 5 ของสถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชดุ ข้อมลู ววั ป่าและม้าลายจากเว็บไซต์ data.programming.in.th ชดุ ข้อมูลทองคำ� สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
78 กิจกรรมที่ 7 | การทำ�นายเชิงตวั เลข รายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 8 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 8.1 การจัดเตรยี ม 8.1.1 ใบกิจกรรมที่ 7.1 ยอดวิว ตามจ�ำ นวนผ้เู รียน 8.1.2 ใบกิจกรรมท่ี 7.2 ผลท�ำ นายใครแม่น ตามจำ�นวนผูเ้ รียน 8.1.3 ใบกิจกรรมท่ี 7.3 ร้แู ลว้ รวย ตามจำ�นวนผเู้ รยี น 8.1.4 ไฟล์ตารางคำ�นวณคา่ ความคลาดเคลื่อน 8.2 ข้นั ตอนการด�ำ เนนิ การ 8.2.1 ผู้สอนนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนเรื่องการต้ังคำ�ถามสำ�หรับการวิเคราะห์เชิงทำ�นาย โดยใช้สถานการณส์ งิ โตและสุนัขจ้งิ จอก จากในหนงั สอื เรยี น และเพ่ิมเติมสถานการณ์อน่ื ๆ เพ่ือยกตวั อย่างการท�ำ นายเชงิ ตวั เลข เชน่ นักเรียนคิดว่าเวลาท่ีนักเรียนใช้ในการอ่านหนังสือสอบสามารถทำ�นายเกรดของ นกั เรียนไดห้ รอื ไม่ นกั เรียนคิดว่าอุณหภูมสิ ามารถทำ�นายยอดขายไอศกรมี ได้หรอื ไม ่ 8.2.2 ผเู้ รยี นศกึ ษาหวั ขอ้ ท่ี 3.2 การวิเคราะหเ์ ชิงท�ำ นาย และ หัวข้อย่อย 3.2.1 การท�ำ นาย เชิงตวั เลข ในหนังสือเรยี น 8.2.3 ผเู้ รียนจับค่กู นั ทำ�ใบกิจกรรมท่ี 7.1 ยอดววิ 8.2.4 สมุ่ ผเู้ รียนนำ�เสนอค�ำ ตอบ และใหเ้ ปรยี บเทียบกับค�ำ ตอบกบั คอู่ ่ืนวา่ เหมือนหรือตา่ งกัน อยา่ งไร 8.2.5 ผู้เรียนคเู่ ดมิ ทำ�ใบกจิ กรรมที่ 7.2 คำ�ทำ�นายใครแมน่ 8.2.6 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายขอ้ ดขี อ้ เสยี ของการท�ำ นายคา่ จากเสน้ แนวโนม้ โดยใช้ กราฟ สมการเชงิ เส้น โปรแกรมสำ�เร็จรปู หรอื การเขียนโปรแกรมภาษา 8.2.7 ผสู้ อนเปดิ ไฟลร์ าคาทองค�ำ และรว่ มกนั อภปิ รายกบั ผเู้ รยี นวา่ เราจะจดั เตรยี ม ไฟลร์ าคา ทองคำ�อย่างไร ถึงจะสามารถทำ�นายได้ว่า เดือนท่ีเราเกิดในปีหน้าราคาทองคำ�จะเป็น เท่าไร 8.2.8 ผูเ้ รยี นแตล่ ะคนทำ�ใบกิจกรรมที่ 7.3 รแู้ ล้วรวย 8.2.9 ใหผ้ ู้เรียนเขยี นสรุปเร่ืองราวและผลลพั ธ์ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากใบกิจกรรมที่ 7.3 ลงใน Padlet 8.2.10 ผู้เรียนรว่ มกันอา่ นเร่อื งราวของเพือ่ นและแสดงความคดิ เห็นในเชิงบวก 8.2.11 ผสู้ อนและผ้เู รียนร่วมกันสรปุ การวเิ คราะห์การทำ�นายเชิงตัวเลข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมท่ี 7 | การท�ำ นายเชิงตวั เลข 79 9 การวดั และประเมินผล 9.1 ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 9.2 สงั เกตพฤติกรรมจากการท�ำ งานกล่มุ 10 ส่ือและแหล่งข้อมูล 10.1 เวบ็ ไซต์ data.programming.in.th 11 ข้อเสนอแนะ 11.1 ผู้สอนแนะนำ�ให้ผู้เรียนเลือกใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ข้อมูลตามความถนัด โดยอาจเลือกใช้ โปรแกรมส�ำ เรจ็ รูปหรอื การเขียนโปรแกรมภาษา 11.2 กิจกรรมนี้ประกอบด้วยใบกิจกรรม 3 ใบ ใช้เวลา 4 ช่ัวโมง ให้ผู้สอนพิจารณาตามความ เหมาะสมในการแบ่งการทำ�กิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ หรือให้ทำ�ใบกิจกรรมที่ 7.3 รู้แล้วรวย นอกเวลาเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
80 กจิ กรรมท่ี 7 | การทำ�นายเชงิ ตัวเลข รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ใบกจิ กรรมที่ 7.1 ยอดวิว 1 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 2 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ ให้นักเรียนตอบคำ�ถามของ วนั ท่ี ยอดวิว (หมน่ื ครง้ั ) จำ�นวนการกด Like (พันครง้ั ) สถานการณ์ต่อไปนี้ 1 5.3 1.1 นักเรียนเป็นผู้จัดการของ 2 5.7 1.4 ศิลปนิ ชื่อดังคนหน่ึง และต้องการ 3 6.1 1.8 รู้ความนิยมของผู้ฟังในการฟัง 4 8.0 1.9 เพลงของศลิ ปนิ คนนี้ เพอ่ื วางแผน 5 10.3 2.3 การจัดทำ�โฆษณา โดยนักเรียนมี 6 13.5 3.4 ข้อมูลยอดวิวและจำ�นวนการกด 7 16.8 4.9 Like สะสมบนเวบ็ ไซต์ Youtube 8 17.3 5.1 ย้อนหลังจำ�นวน 20 วนั ดงั น้ี 9 18.1 5.3 10 18.5 5.7 11 18.9 6.0 12 19.6 6.5 13 23.4 7.8 14 27.5 9.1 15 28.7 9.7 16 29.2 10.5 17 29.6 11.2 18 30.3 11.9 19 31.1 12.6 20 38.2 15.2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมท่ี 7 | การท�ำ นายเชงิ ตวั เลข 81 1 นักเรยี นคิดวา่ เหตใุ ดจงึ มยี อดวิวและจำ�นวนการกด Like เพม่ิ มากขึน้ อย่างผดิ ปกตใิ นบางวนั 2 เพื่อตรวจสอบรูปแบบความสัมพันธ์ของข้อมูล ให้นักเรียนสร้างแผนภาพการกระจายด้วยการพล็อต จดุ (x,y) โดยใหแ้ กน y แทนจำ�นวนยอดววิ และแกน x แทนจำ�นวนการกด Like พร้อมทงั้ ด�ำ เนนิ การ ต่อไปนี้ 2.1 ลากเส้นแนวโนม้ 2.2 ท�ำ นายค่าจากเส้นแนวโน้มในข้อ 2.1 เพื่อท�ำ นายจ�ำ นวนการกด Like ถา้ จ�ำ นวนยอดวิวเทา่ กับ 250,000 ครงั้ ตวั อย่าง จ�ำ นวนการกด Like โดยประมาณคือ _______________ ครัง้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
82 กิจกรรมท่ี 7 | การทำ�นายเชงิ ตวั เลข รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ใบกจิ กรรมท่ี 7.2 ผลท�ำ นายใครแม่น 1 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขท่ี ________ 2 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ ใหน้ กั เรยี นใชช้ ดุ ขอ้ มลู ววั ปา่ และมา้ ลาย โดยดาวนโ์ หลดชดุ ขอ้ มลู จากเวบ็ ไซต์ data.programming.in.th แล้วสร้างสมการเสน้ แนวโน้ม และค�ำ นวณค่าความคลาดเคล่ือนโดยใชโ้ ปรแกรมตารางท�ำ งาน ตามขั้นตอน ดังนี้ 1 เลือก 2 จุดในชุดขอ้ มลู x1 y1 จดุ ที่ 1 ( x1, y1) ใหแ้ ทนค่าของชุดข้อมลู y2 x2 จุดท่ี 2 ( x2, y2) ใหแ้ ทนคา่ ของชุดข้อมูล 2 แทนคา่ x และ y เพ่ือหาความชนั (m) โดยใชส้ ูตร m = y2-y1 = == x2-x1 3 แทนคา่ x1 y1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) กิจกรรมที่ 7 | การท�ำ นายเชิงตัวเลข 83 และคา่ m ใน สมการด้านล่าง เพ่อื หาคา่ C y1 m x1 y - = (x- ) mC y= x+ จ�ำ นวนมา้ ลาย = (จ�ำ นวนวัวปา่ ) + จากสมการเชงิ เส้นน้ี อธิบายได้ว่า สมมตวิ ่ามีววั ปา่ จ�ำ นวน พันตวั จะได้วา่ มีม้าลายจ�ำ นวน พนั ตวั 4 ค�ำ นวณค่าความคลาดเคลอ่ื นของสมการเส้นแนวโนม้ ในข้อ 3 ตวั อยา่ งการค�ำ นวณคา่ ความคลาดเคล่ือน ววั ป่า ม้าลาย สมการเส้นแนวโนม้ คา่ ความคลาดเคล่ือน (x) (y) ŷ = 0.76x + 44.2 (y-ŷ)2 97.61 118 124 133.88 390.46 106 105 124.76 . . . . . . . . . . . . 0.15 3507.90 112.43 130.04 129.65 ผลรวมของความคลาดเคล่อื นยกก�ำ ลงั สอง ŷ = ค่าท่ีไดจ้ ากการแทนคา่ x ในสมการเสน้ แนวโนม้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
84 กิจกรรมที่ 7 | การทำ�นายเชงิ ตัวเลข รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ให้ใช้สมการเสน้ แนวโนม้ ทค่ี �ำ นวณไดใ้ นขอ้ 3 ค�ำ นวณค่าความคลาดเคล่ือน วัวปา่ ม้าลาย สมการเส้นแนวโนม้ ค่าความคลาดเคลื่อนยกกำ�ลงั สอง (x) (y) ŷ= (y- ŷ)2 118 124 106 105 79.31 75.23 67.45 78.5 57.83 76.16 50.66 76.49 51.41 83.16 55.02 85.11 58.16 88.77 65.12 108.34 81.27 116.03 75.84 98.07 80.62 128.3 86.34 118.22 94.06 125.2 99.15 130.97 96.5 124.31 95.47 130.08 98.07 121.76 97.88 132.4 105.74 120.6 106.58 135.77 112.43 130.04 ผลรวมของความคลาดเคลือ่ นยกก�ำ ลงั สอง 5 น�ำ ชุดขอ้ มลู ไปสร้างสมการเสน้ แนวโนม้ โดยใช้โปรแกรมส�ำ เรจ็ รูปหรอื การเขยี นโปรแกรม y = mx + C สมการทไ่ี ด้คอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมที่ 7 | การท�ำ นายเชงิ ตัวเลข 85 ใบกิจกรรมที่ 7.3 รู้แล้วรวย ชอ่ื -สกลุ ___________________________________________________________ เลขท่ี ________ ให้นักเรียนดาวนโ์ หลดชุดขอ้ มลู ทองค�ำ จากเว็บไซต์ เว็บไซต์ data. data.programming.in.th ซ่ึงมีการจัดเก็บข้อมูลดังตาราง programming oho.ipst.ac.th/ m5/1234 เนอ่ื งจากขอ้ มลู ชดุ น้ี อยใู่ นรปู แบบทไ่ี ม่ ส่ ามารถน�ำ ไปวเิ คราะหไ์ ด้ ใหน้ กั เรยี นจดั เตรยี มขอ้ มลู ในรปู แบบ ท่ีเหมาะสม โดยอาจเปลย่ี นแปลงขอ้ มลู ดงั นี้ 1 แปลงขอ้ มลู แต่ละปี พ.ศ. และแตล่ ะเดือนเปน็ ตัวเลข และใหค้ ่าตวั เลขทแี่ ทนการเรยี งล�ำ ดบั เวลาของปี พ.ศ. และเดอื น เช่น ให้เดือน ม.ค. ปี พ.ศ. 2555 เป็นเลข 1 2 แปลงขอ้ มลู ราคาทองค�ำ เปน็ คา่ เฉล่ยี ซึ่งจะไดร้ ูปแบบตารางดงั นี้ Date MinPrice MaxPrice AveragePrice สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
86 กิจกรรมที่ 7 | การทำ�นายเชงิ ตัวเลข รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ตอบคำ�ถามต่อไปนี้ 1 ทำ�นายราคาทองค�ำ ในเดอื นเกดิ ของนักเรียนในปีถัดไป 1.1 สมการท่ใี ชใ้ นการท�ำ นาย 1.2 ราคาทองค�ำ ในเดอื นเกดิ ของนักเรยี น 2 น�ำ ชดุ ข้อมลู ทองคำ� มาเชื่อมโยงกบั ชดุ ข้อมลู ราคาสนิ ค้าอปุ โภคบริโภคของไทย จากกจิ กรรมที่ 6 เพ่อื จดั ท�ำ เป็นชดุ ขอ้ มูลใหม่ 2.1 ชดุ ข้อมลู ใหมท่ ีไ่ ดป้ ระกอบด้วยแอตทริบิวต์ 2.2 หาความสัมพันธ์ระหว่างแอตทริบิวต์ในชุดข้อมูลใหม่ และนำ�เสนอข้อมูลผลลัพธ์ที่ได้โดยเล่าให้ เพอ่ื นฟัง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 8 | การทำ�นายเชงิ หมวดหมู่ 87 กจิ กรรมที่ 8 การท�ำ นายเชงิ หมวดหม ู่ คาบท่ี 23 - 26 | เวลา 4 ช่ัวโมง 1 ตัวช้ีวดั รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแกป้ ัญหาหรือเพิ่มมูลค่าใหก้ ับบรกิ ารหรอื ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวติ จรงิ อยา่ งสร้างสรรค์ 2 สาระการเรยี นรู้ 2.1 ความหมายของการท�ำ นายเชงิ หมวดหมู่ 2.2 การท�ำ นายโดยใช้ K-NN เพอื่ จำ�แนกข้อมลู 2.3 การประเมินความถกู ตอ้ งในการจ�ำ แนกข้อมลู 3 จดุ ประสงค์ ให้ผเู้ รยี นสามารถ 3.1 อธิบายหลกั การท�ำ นายเชิงหมวดหมู่ดว้ ยวิธี K-NN 3.2 ประเมินความถกู ตอ้ งในการจัดกลุม่ ขอ้ มลู 4 ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4.2 ทกั ษะการแก้ปัญหา 4.3 ทักษะการส่ือสารและรว่ มมอื 5 ความรเู้ ดิมท่นี ักเรียนต้องมี - 6 สาระส�ำ คัญ การท�ำ นายเชงิ หมวดหมู่ เปน็ การท�ำ นายขอ้ มลู ทสี่ นใจทไ่ี มใ่ ชข่ อ้ มลู ตวั เลข ซงึ่ จะใชข้ อ้ มลู ในอดตี ทม่ี กี าร ระบุหมวดหมมู่ าแล้ว มาวเิ คราะห์เพื่อทำ�นายขอ้ มูลชุดใหม่ที่ยงั ไมท่ ราบหมวดหมู่ หน่งึ ในเทคนิคทีใ่ ช้ในการ จัดหมวดหมู่ท่ีเป็นท่ีรู้จักกันดี คือวิธีการค้นหาเพ่ือนบ้านใกล้เคียงที่สุด K ตัว (K-Nearest Neighbors: K-NN) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
88 กิจกรรมที่ 8 | การท�ำ นายเชิงหมวดหมู่ รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 7 สอ่ื และอปุ กรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกิจกรรมที่ เรื่อง เวลา (นาท)ี 8.1 20 8.2 ชีวิตฉนั คลา้ ยใคร 30 8.3 ตัวน้ี พวกไหนดี 40 K ใครแม่นกว่ากนั 7.2 ใบความรู้ 7.2.1 ใบความรูท้ ่ี 8.1 เรอ่ื ง การสร้างกราฟเรดาร์ ใน Google Sheets 7.3 อ่ืนๆ หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 5 ของสถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 แนวทางการจัดการเรียนรู้ 8.1 การจัดเตรยี ม 8.1.1 ใบกิจกรรมที่ 8.1 ชวี ิตฉนั คลา้ ยใคร ตามจ�ำ นวนผเู้ รยี น 8.1.2 ใบกจิ กรรมท่ี 8.2 ตัวนี้ พวกไหนดี ตามจ�ำ นวนผู้เรียน 8.1.3 ใบกจิ กรรมท่ี 8.3 K ใครแม่นกวา่ กัน ตามจ�ำ นวนผู้เรยี น 8.1.4 แบบทดสอบบทท่ี 3 การวิเคราะห์ข้อมลู แบบออนไลน์ 8.2 ขั้นตอนการด�ำ เนินการ 8.2.1 ผสู้ อนนำ�เข้าสูบ่ ทเรยี นด้วยการถามคำ�ถามชวนคดิ “นกั เรียนฟังเพลงสากลหรือไม่ และ ชอบฟงั เพลงสากลประเภทใด” และค�ำ ถาม “หากมเี พลงใหมเ่ ขา้ สตู่ ลาด นกั เรยี นจ�ำ แนก ไดอ้ ยา่ งไรวา่ เพลงนนั้ เปน็ เพลงประเภทใด” ใหผ้ เู้ รียนแสดงความคิดเหน็ ตามอสิ ระ 8.2.2 ให้ผเู้ รียนแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 8 คน แล้วทำ�ใบกจิ กรรมท่ี 8.1 ชวี ิตฉนั คล้ายใคร หลงั จาก นน้ั ผสู้ อนสมุ่ ผเู้ รยี นน�ำ เสนอกราฟเรดารข์ องตวั เอง และใหเ้ ปรยี บเทยี บกบั เพอ่ื นคนอน่ื ๆ วา่ เหมอื นหรือต่างกันอย่างไร 8.2.3 ผูเ้ รยี นศกึ ษาหัวขอ้ ยอ่ ยท่ี 3.2.2 การทำ�นายเชงิ หมวดหมู่ ในหนังสอื เรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมท่ี 8 | การท�ำ นายเชงิ หมวดหมู่ 89 8.2.4 ผู้เรียนจับคู่ทำ�ใบกิจกรรมที่ 8.2 ตัวนี้ พวกไหนดี โดยใช้ขั้นตอนวิธีของ K-NN ตาม หนงั สือเรียน 8.2.5 ผเู้ รยี นทำ�ใบกจิ กรรมที่ 8.3 K ใครแมน่ กวา่ กัน โดยผสู้ อนแบ่งกล่มุ ผูเ้ รียนตามคา่ K ที่ เลือก (K = 3, K = 5 หรือ K = 7) แล้วท�ำ การเปรียบเทียบกับเพือ่ นทเ่ี ลือกคา่ K อนื่ ๆ เพอ่ื เปรยี บเทียบว่า คา่ K ใด เหมาะสมทสี่ ุด 8.2.6 ผู้สอนและผู้เรยี นร่วมกันสรปุ การวเิ คราะหก์ ารทำ�นายเชงิ หมวดหมู่ 8.2.7 ผเู้ รยี นทำ�แบบทดสอบบทท่ี 3 การวิเคราะหข์ อ้ มูล เพื่อทดสอบความเขา้ ใจ แบบทดสอบบทที่ 3 การวเิ คราะหข์ ้อมลู oho.ipst.ac.th/ m5/1800 9 การวดั และประเมินผล 9.1 ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 9.2 สังเกตพฤตกิ รรมจากการท�ำ งานกลมุ่ 9.3 แบบทดสอบบทท่ี 3 การวเิ คราะห์ข้อมลู 10 สื่อและแหล่งขอ้ มูล 10.1 เวบ็ ไซต์ data.programming.in.th 10.2 เว็บไซต์ https://www.babelcoder.com/blog/posts/k-nearest-neighbors 11 ขอ้ เสนอแนะ 11.1 กิจกรรมน้ีเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงทำ�นาย โดยใช้การวิเคราะห์เชิงหมวดหมู่ ซึ่งข้อมูลที่ได้ หรือผลลพั ธจ์ ากการทำ�นาย จะไมใ่ ชต่ วั เลข แตจ่ ะไดเ้ ป็นขอ้ มลู ท่บี อกว่าขอ้ มูลน้นั อย่ใู นกล่มุ ใด 11.2 ใบกิจกรรมท่ี 8.3 ผู้สอนอาจแนะนำ�ให้ผู้เรียนใช้ไฟล์ข้อมูลชื่อ K-NN.xlsx ที่จัดเตรียมไว้ใน การทำ�กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
90 กิจกรรมท่ี 8 | การท�ำ นายเชิงหมวดหมู่ รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ใบความรู้ที่ 8.1 เร่อื ง การสรา้ งกราฟเรดาร์ใน Google Sheets ภาพท่ี 1 แสดงตวั อยา่ ง กราฟเรดารท์ ี่ทำ�เสร็จแลว้ ขน้ั ตอนวธิ ีการสรา้ งกราฟเรดารด์ ้วย Google Sheets 1 เปดิ Google Sheets และใสข่ ้อมลู ตวั ชีว้ ดั เกย่ี วกับตวั เองในการสร้างกราฟเรดาร์ ในทีน่ ี้ ตัวชี้วัดได้แก่ ชอบเที่ยวทะเล ดหู นงั กนิ อาหารญปี่ ่นุ เที่ยวภเู ขา... ความชอบ / นกั เรยี น คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนท่ี 6 คนท่ี 7 คนท่ี 8 ชอบเท่ียวทะเล 3 4 2 1 5 3 4 4 ชอบดหู นงั 4 5 2 4 5 4 3 4 2 4 5 3 2 1 5 4 ชอบกนิ อาหารญ่ีปุ่น 3 4 5 3 2 4 3 3 ชอบเท่ียวภเู ขา 3 4 5 2 3 4 2 3 ชอบเลน่ เกม 2 3 4 5 4 3 2 3 ชอบเล่นกฬี า 4 3 2 1 2 3 4 3 ชอบอ่านหนังสอื 3 2 1 4 5 3 2 4 ชอบถา่ ยรปู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) กิจกรรมท่ี 8 | การท�ำ นายเชิงหมวดหมู่ 91 2 คลกิ ทีเ่ มนู Insert เลอื กคำ�ส่งั Chart 3 จะปรากฏกราฟแท่งพร้อมท้ังหน้าต่าง Chart editor ทางด้านขวามือ ให้คลิก กลอ่ งขอ้ ความ “Use row 1 as headers” และ “Use column A as labels” ใน กรอบสีแดงตามรูปด้านล่างน้ี 4.1 4 เล่ือน Scroll bar ของหน้าตา่ ง Chart Editor ขึน้ มา จนพบหัวขอ้ Chart Type 4.1 คลิกท่ี drop down list 4.2 เลอ่ื น Scroll bar ของหนา้ ต่าง Chart Type ลง มาในหมวด Other แลว้ คลกิ เลอื กกราฟแบบเรดาร์ 4.2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
92 กจิ กรรมที่ 8 | การท�ำ นายเชิงหมวดหมู่ รายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 5 จะปรากฏกราฟดงั รปู จากภาพจะสังเกตเห็นวา่ หัวข้อตัวชว้ี ัดไมค่ รบทั้ง 8 ด้าน ถา้ ต้องการแสดงให้ครบ จะต้องขยายกรอบ ของภาพออกไป จึงจะปรากฏครบดังรปู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) กจิ กรรมท่ี 8 | การทำ�นายเชงิ หมวดหมู่ 93 6 หากตอ้ งการทำ�ใหเ้ สน้ กราฟหนาขนึ้ ดบั เบลิ คลกิ ทกี่ ราฟ เพอื่ เรยี กหนา้ ตา่ ง Chart Editor ขนึ้ มา เลอื ก หัวข้อ Customize -> Series -> Line Thickness แลว้ ปรบั ขนาดเพมิ่ ตามเหมาะสม โดยปรับเสน้ กราฟได้ทลี ะคนเทา่ น้นั และสามารถเลือกเปลย่ี นเสน้ ไดโ้ ดยการกดตรงหวั ขอ้ Apply to -> คนท่ี .... ตามทตี่ อ้ งการ ปรบั แตง่ เสน้ กราฟ ปรับลกั ษณะเส้นกราฟ ของแตล่ ะคน ปรบั ความหนาเสน้ กราฟ ปรับสีเส้นกราฟ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
94 กิจกรรมที่ 8 | การท�ำ นายเชงิ หมวดหมู่ รายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ใบกจิ กรรมท่ี 8.1 ชวี ิตฉนั คล้ายใคร 1 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 2 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขท่ี ________ 3 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 4 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 5 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 6 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 7 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________________________ เลขที่ ________ 8 ชอื่ -สกลุ ________________________________________________________ เลขท่ี ________ ให้นกั เรยี นทำ�ตามข้ันตอนดังนี้ 1 กำ�หนดตัวช้ีวดั เกี่ยวกับนกั เรยี นและเพอื่ นในกลมุ่ จำ�นวน 8 ตัวช้วี ดั เชน่ ระดับความชอบเที่ยวทะเล ระดบั ความชอบอ่านหนงั สอื ระดับความชอบภาพยนตร์สยองขวญั จำ�นวนช่วั โมงทีเ่ ลน่ เกมต่อวนั โดย ก�ำ หนดระดบั ความชอบเปน็ 1-5 2 สร้างกราฟเรดาร์ หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มกรอกข้อมูลระดับความชอบของแต่ละ ตัวช้ีวัดให้ครบถ้วนใน Google Sheets หลังจากนั้นให้สังเกตและเปรียบเทียบในกลุ่มตนเองว่า กราฟของนกั เรียนเหมอื นของเพอ่ื นคนไหนมากที่สดุ ตัวอยา่ งการท�ำ กราฟเรดาร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130