Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบประเมินครูและบุคลากรทางการศึกษาดีเด่น

เอกสารประกอบประเมินครูและบุคลากรทางการศึกษาดีเด่น

Description: เอกสารประกอบประเมินครูและบุคลากรทางการศึกษาดีเด่น

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามท่สี ำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต ๒ ไดจัดทำโครงการเพชรเสมากาญจน ๒ เพื่อยกยอ ง เชิดชเู กยี รติครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาดเี ดน ประจำป ๒๕๖๔ รับรางวัล “เพชรเสมากาญจน ๒” ขาพเจา นายชวินทรพล จันทรคลาย ไดดำเนินการจัดทำเอกสารเพื่อขอรับการคัดเลือกผูที่มีผลงาน ดเี ดน ประเภทครผู สู อน กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบไปดวยขอ มูล 3 สว น ไดแก ดานท่ี ๑ การพัฒนาตนเอง ดา นที่ ๒ การออกแบบการจดั การเรยี นรู ดานท่ี ๓ การจัดการเรยี นรู (สงั เกตการจดั การเรยี นรู) ดา นที่ ๔ ประสทิ ธผิ ลท่เี กดิ จากการจดั การเรยี นรู โดยหวังวาเอกสารฉบับนี้จะเปน ประโยชนตอคณะกรรมการประเมินโครงการเพชรเสมากาญจน 2 การ คัดเลือกขอรับรางวัล “เพชรเสมากาญจน ๒” ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒ และผทู ี่เกีย่ วของไดใ ชประโยชนนำไปสกู ารปฏิบตั ิใหบ รรลุเปา หมายตอ ไป นายชวินทรพ ล จนั ทรคลาย ตำแหนง ครู ค.ศ.1 โรงเรียนวัดครอ พนัน

สารบญั หนา คำนำ ดา นที่ 1 การพัฒนาตนเอง 1.1 การเขารวมประชมุ อบรม สัมมนา หรือศึกษาดงู านทเ่ี กยี่ วกบั กลมุ สาระการเรยี นรูท่ี เสนอขอรับการประเมิน 1 1.2 การเขารวมประชมุ อบรม สัมมนา หรือศกึ ษาดงู านเพอ่ื พัฒนาตนเองตามความตอ งการ 3 1.3 รายงานผลของการเขา รว มประชมุ อบรม สัมมนา หรอื ศึกษาดูงาน 5 1.4 นำเสนอหรอื เผยแพรผ ลงานของการเขา รวมกิจกรรมการประชมุ อบรม สัมมนา หรือศกึ ษาดงู าน 7 1.5 นำความรแู ละประสบการณท่ีเขารว มกจิ กรรม การประชุม อบรม สัมมนา หรอื ศกึ ษาดูงาน มาพฒั นาการจัดการเรยี นรู 7 ดา นท่ี 2 การออกแบบการจดั การเรยี นรู 2.1 การจดั ทำโครงสรา งรายวชิ า 20 2.2 การออกแบบและจัดทำหนว ยการเรยี นรู 26 2.3 การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู 33 2.4 การนำผลการประเมินไปใชทำงาน 39 ดา นที่ 3 การจัดการเรยี นรู (สงั เกตการจัดการเรียนร)ู 48 ดา นที่ 4 ประสิทธผิ ลทเี่ กดิ จากการจัดการเรยี นรูเ รยี นรู 4.1 ผลการจัดการเรียนรูท ่มี ีตอ ผูเ รยี น 53 4.2 ผลการจัดการเรยี นรทู เ่ี กิดกบั ผูเรียน ครู หรอื โรงเรียน 2 ปการศกึ ษายอ นหลงั 54 4.3 คำสงั่ 55 เอกสารประกอบประเมินครูและบุคลากรทางการศกึ ษาดีเดน ประเภทครดู เี ดน ระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 2 ……………………………………………………. 1. ชอ่ื -นามสกลุ นายชวนิ ทรพ ล จนั ทรคลาย ตำแหนง ครู ค.ศ.1 โรงเรยี นวัดครอพนนั 2. เสนอขอรับการประเมินประเภทครผู สู อน กลมุ สาระการเรียน วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

3. มปี ระสบการณก ารสอนในกลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จำนวน 2 ปก ารศกึ ษ ดงั นี้ 3.1 ปการศกึ ษา 2562 สอนนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1-3 3.2 ปการศกึ ษา 2563 สอนนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 1-3 4. ขอสง เอกสารประกอบการประเมินตามเกณฑก ารประเมิน ดังนี้ ดา นที่ 1 การพัฒนาตนเอง (10 คะแนน) 2 ปก ารศึกษายอนหลงั 1.1 เขา รวมประชุม อบรม สัมมนา หรอื ศึกษาดูงานทีเ่ ก่ียวกับกลุมสาระการเรียนรทู เี่ สนอขอรบั การ ประเมนิ ปก ารศกึ ษา เร่ืองท่ีพัฒนา จัดโดยหนว ยงาน วนั เดอื น ป / สถานที่ หลักสตู รอบรมออนไลนก าร สถาบนั สงเสรมิ การ 23 เมษายน 2564 จดั การเรียนรวู ิทยาการ สอนวทิ ยาศาสตรแ ละ พ.ศ. 2563 คำนวณสำหรับครู เทคโนโลย(ี สสวท.) มธั ยมศึกษาปท่ี 1-3 หลกั สูตรอบรมออนไลนก าร สถาบนั สงเสรมิ การ 3 กุมภาพนั ธ 2564 จดั การเรียนรูวทิ ยาการ สอนวทิ ยาศาสตรและ พ.ศ. 2563 คำนวณสำหรับครู เทคโนโลยี(สสวท.) มธั ยมศึกษาปท ี่ 1-3 อบรมออนไลนหลกั สูตรการ สถาบนั สง เสรมิ การ 31 ตลุ าคม 2563 เขยี นโปรแกรมภาษา สอนวิทยาศาสตรและ พ.ศ. 2563 Python ( Coding Online เทคโนโลย(ี สสวท.) for Teacher Plus: C4T Plus-Python) อบรมออนไลนหลกั สตู รการ สถาบนั สง เสรมิ การ 31 ตุลาคม 2563 เขยี นโปรแกรม Scratch สอนวทิ ยาศาสตรแ ละ พ.ศ. 2563 (Coding Online for เทคโนโลยี(สสวท.) Teacher Plus : C4T Plus-Scratch) หลักสตู รอบรมออนไลนการ สถาบันสงเสริมการ 4 พฤษภาคม 2563 จดั การเรยี นรูวิทยาการ สอนวทิ ยาศาสตรและ พ.ศ. 2563 คำนวณสำหรับครู เทคโนโลยี(สสวท.) ประถมศกึ ษาปท่ี 1-3 หลักสตู รอบรมออนไลนก าร สถาบนั สง เสริมการ 3 พฤษภาคม 2563 จดั การเรยี นรูวทิ ยาการ สอนวทิ ยาศาสตรและ พ.ศ. 2563 คำนวณสำหรับครู เทคโนโลยี(สสวท.) ประถมศึกษาปท ี่ 4-6

หลักสตู รอบรมออนไลนการ สถาบันสง เสริมการ 4 พฤษภาคม 2563 จัดการเรียนรูวิทยาการ สอนวิทยาศาสตรแ ละ พ.ศ. 2563 คำนวณสำหรับครู เทคโนโลยี(สสวท.) พ.ศ. 2563 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1-3 พ.ศ. 2562 อบรมออนไลนอบรมการ เลขาธิการ 7 พฤษภาคม 2563 พ.ศ. 2562 จัดการเรยี นการสอน คณะกรรมการ พ.ศ. 2562 ทางไกล ในสถานการก าร การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2562 แพรระบาดฯ วิทยากร กิจกรรมคา ยสรา ง โรงเรยี นวัดครอ พนัน 16 สิงหาคม 2562 พ.ศ. 2562 นักคิกปลกุ จิตสะเตม็ ณ โรงเรยี นวดั ครอ พนัน พ.ศ. 2562 อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการจดั การ สำนักงาน 15 ตลุ าคม 2562 เรียนรู วทิ ยาการคำนวณ เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษา กาญจนบุรี เขต 2 กจิ กรรมพัฒนาครูผูส อนใน มหาวิทยาลยั ราชภัฎ 30 เมษายน 2562 เขตพ้ืนทีก่ าญจนบุรีท่สี อน กาญจนบุรี ไมตรงเอกสาขาการศกึ ษา กลุมสาระวิทยาศาสตร การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร สำนกั งานเขตพนื้ ที่ 25 ธนั วาคม 2562 พัฒนาศักยภาพครผู สู อน การศึกษา กลุม สาระวทิ ยาศาสตร ประถมศึกษา โครงการเพิ่มผลสัมฤทธิ์โอ กาญจนบุรี เขต 2 เนต็ เขา รวมอบรมโครงการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ 26 มิถนุ ายน 2562 พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กาญจนบุรี และพฒั นาทองถิน่ สถาบนั อดุ มศึกษาเปนพ่ี เล้ยี ง”กิจกรรมพัฒนา นวตั กรรมการเรยี นรโู ดยใช แหลง เรียนรูในทองถ่นิ สำหรบั คร”ู หลักสูตรการอบรมครดู ว ย สถาบนั สง เสรมิ การ 31 กรกฎาคม ระบบทางไกล โครงการ สอนวิทยาศาสตรและ 2562 บรู ณาการสะเตม็ ศึกษา เทคโนโลย(ี สสวท.)

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน เรือ่ งขนสง ทันใจ ลืน่ ไถลก็ไม กลัว ครผู ูส อนกจิ กรรมการ สำนักงานเขตพ้นื ท่ี 11 ตลุ าคม 2562 แขง ขันการแสดงทาง การศกึ ษา พ.ศ. 2562 วิทยาศาสตร ระดับชั้น ประถมศึกษา ม.1-3 กาญจนบรุ ี เขต 1.2 เขารวมประชุม อบรม สัมมนา หรือศึกษาดูงานเพือ่ พฒั นาตนเองตามความตอ งการ ปการศึกษา เรอื่ งทพ่ี ัฒนา จัดโดยหนว ยงาน วัน เดือน ป / สถานที่ เกยี รติบัตรรางวัลผาน สำนกั งานเขตพน้ื ท่ี 16 มกราคา 2564 เกณฑก ารประเมนิ คัดเลือก การศึกษา เปน ครผู ูสอน ที่มีผลงาน ประถมศึกษา พ.ศ. 2564 ระดับ“ดเี ดน ” เนอ่ื งในวนั กาญจนบรุ ี เขต 2 ครูแหง ชาติ ประจำป และสมาคมอำเภอทา 2564 มะกา จงั หวัด กาญจนบุรปี  การประชมุ กรรมการ สำนักงานเขตพ้ืนท่ี 26 มกราคม 2563 ดำเนนิ งานการจัดการสอบ การศกึ ษา ทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั ประถมศกึ ษา พ.ศ. 2564 พนื้ ฐาน กาญจนบุรี เขต2 ระดับช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 ประชมุ รบั ฟง การชีแ้ จง สำนกั งานเขตพ้นื ที่ 15 มีนาคม 2564 โครงการเพิ่มทักษะดา น การศึกษา พ.ศ. 2564 อาชีพแกนักเรยี นครอบครวั ประถมศกึ ษา ยากจนทีไ่ มไ ดเ รยี นตอ หลัง กาญจนบุรี เขต 2 31 มกราคม 2564 เขารวมอบรมสง เสริม สมศ. สถานศกึ ษาและประสาน พ.ศ. 2564 ความรว มมอื กับหนวยงาน ตน สังกดั การเสรมิ สรา งความเขมแข็ง เลขาธกิ าร 11 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2564 ในการจัดเก็บขอ มูล คณะกรรมการ 2564 สารสนเทศการจบ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

การศึกษาและหการ ใหบ รกิ ารขอ มลู การศึกษา เกียรตบิ ัตรรางวลั ผา น สำนักงาน 16 มกราคม 2564 เกณฑการประเมิน ครดู ีไมม ี คณะกรรมการ 11 ตลุ าคม 2562 พ.ศ. 2564 อบายมขุ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2563 (สพฐ.) เกยี รติบัตรกรรมการตดั สิน สำนักงานเขตพน้ื ที่ พ.ศ. 2563 การแขง ขันเครือ่ งรอน การศกึ ษา ประเภท รอนนานยงิ ยาง ประถมศกึ ษา พ.ศ. 2563 ระดบั ชนั้ กาญจนบุรี เขต 2 พ.ศ. 2562 ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2562 เกยี รติบตั รกรรมการตัดสนิ สำนกั งานเขตพน้ื ที่ 11 ตลุ าคม 2562 การแขงขันเครอื่ งบิน การศึกษา พลงั งานยางประเภท บิน ประถมศึกษา นานสามมิติ กาญจนบุรี เขต 2 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1- 3 เกียรตบิ ตั รรางวัลผา น สำนกั งาน 16 ธันวาคม 2563 เกณฑก ารประเมนิ ครูดีไมมี คณะกรรมการ 28 มถิ นุ ายน 2562 อบายมขุ การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (สพฐ.) เกยี รติบัตรรางวัลผา น สำนกั งานเขตพ้นื ที่ เกณฑการประเมนิ เพชร การศึกษา เสมากาญจน2 อนั ดับที่ 2 ประถมศกึ ษา กาญจนบรุ ี เขต2 หลักสตู รสำหรบั ขา ราชการ เครือขา ยสุจริต 3 พฤษภาคม 2562 ผา นระบบE-Learning จัดหางานจังหวดั 14 ธนั วาคม 2461 อบรมเครือขา ยการแนะ กาญจนบรุ ี แนะอาชีพ ประจำป งบประมาณ พ.ศ.2562

1.3 รายงานผลของการเขา รว มประชุม อบรม สมั มนา หรอื ศึกษาดงู าน ปการศึกษา เรื่องท่พี ฒั นา จัดโดยหนว ยงาน วัน เดอื น ป / สถานท่ี รายงานอบรมโครงการ สพฐ. 17-21 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 OBEC 2021 Webinar 2564 รายงานอบรมโครงการ สพฐ. 12-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เรียนรูเพอ่ื การศึกษา 2564 สอนเพ่อื การเรยี นรู รายงานอบรมออนไลน สถาบนั สงเสรมิ การสอน 23 เมษายน 2564 หลักสตู รอบรมการ วิทยาศาสตรและ จัดการเรียนรุวิทยาการ เทคโนโลย(ี สสวท.) พ.ศ. 2563 คำนวณสำหรับครู Coding for Teacher ครมู ัธยมศกึ ษาปท ่ี 1-3 รายงานอบรมออนไลนให สพฐ.และ 23 เมษายน 2564 พ.ศ. 2563 ความรแู ละการจัดการ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร พิบตั ิภยั ธรรมชาติ รายงานอบรมประชุม จัดหางานจงั หวดั 16 กมุ ภาพันธ ชแ้ี จงโครงการเพือ่ ทกั ษะ กาญจนบรุ ี 2564 พ.ศ. 2563 อาชีพแกน ักเรยี น ครอบครวั ยากจนฯ รายงานอบรมการศึกษา สำนกั งานพัฒนาฝมอื 15 มนี าคม 2564 อบรมของนักเรียนทีไ่ มไ ด แรงงานจงั หวัดกาญจนบรุ ี พ.ศ. 2563 เรียนรูแ ละประสงคจะเขา รวมโครงการเพิม่ ทักษะ ดานอาชพี รายงานอบรมออนไลน สถาบนั สงเสรมิ การสอน 31 ตุลาคม 2563 หลักสตู รการเขียนโปรแกรม วทิ ยาศาสตรและ พ.ศ. 2563 Scratch (Coding Online เทคโนโลย(ี สสวท.) for Teacher Plus : C4T Plus-Scratch)

รายงานการประชุมกรรมการ สำนกั งานเขตพ้นื ท่ี 26 มกราคม 2563 ดำเนนิ งานการจดั การสอบ การศึกษาประถมศกึ ษา พ.ศ. 2563 ทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ กาญจนบรุ ี เขต2 3 กมุ ภาพันธ พื้นฐาน 2564 พ.ศ. 2563 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 และชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 2563 พ.ศ. 2563 รายงานหลักสตู รอบรม สถาบนั สง เสริมการสอน 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ออนไลนการจดั การเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 2563 พ.ศ. 2563 วทิ ยาการคำนวณสำหรับครู (สสวท.) 4 พฤษภาคม มัธยมศกึ ษาปท่ี 1-3 2563 2563 รายงานหลักสูตรอบรม สถาบันสง เสรมิ การสอน 31 ตลุ าคม 2563 2563 ออนไลนก ารจดั การเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณสำหรบั ครู (สสวท.) 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ประถมศกึ ษาปท่ี 1-3 2563 รายงานหลกั สตู รอบรม สถาบันสง เสริมการสอน 30 เมษายน 2563 ออนไลนก ารจัดการเรียนรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณสำหรบั ครู (สสวท.) 30 เมษายน 2562 ประถมศึกษาปที่ 4-6 โรงแรมพาวิเลี่ยน รายงานหลักสตู รอบรม สถาบนั สงเสริมการสอน จงั หวดั กาญจนบุรี ออนไลนการจัดการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณสำหรบั ครู (สสวท.) ประถมศึกษาปท่ี 1-3 รายงานอบรมออนไลน สถาบนั สงเสริมการสอน หลกั สตู รการเขียนโปรแกรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี Scratch (Coding Online (สสวท.) for Teacher Plus : C4T Plus-Scratch) รายงานการจัดการเรยี น สพฐ. การสอนทางไกลโดยใช เทคโนโลยใี นสถานการณ การแพรร ะบาดโควิด19 รายงานประชมุ ออนไลน สพฐ. แผนการจดั การเรียนการ สอนดว ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล รายงานกิจกรรมพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฎั ครผู สู อนในเขตพื้นท่ี กาญจนบุรี กาญจนบรุ ีทส่ี อนไมตรงเอก

พ.ศ. 2562 สาขาการศกึ ษากลมุ สาระ สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา 28 กันยายน วิทยาศาสตร ประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต2 2562 รายงานโครงการพัมนา ศกั ยภาพขา ราชการครู สำนักงานเขตพ้นื ท่ี บุคลากรทางการศึกษาใหม ี การศึกษา และเล่อื นวิทยฐานะทส่ี ูงขึ้น ประถมศึกษา กาญจนบรุ ี เขต2 1.4 นำเสนอหรอื เผยแพรผ ลของการเขา รวมประชุม อบรมสมั มนา หรอื ศกึ ษาดูงาน ปก ารศึกษา เรื่องทพ่ี ัฒนา จัดโดยหนวยงาน วัน เดอื น ป / สถานท่ี การศึกษาอบรมของ สำนักงานพฒั นาฝมือ 15 มีนาคม 2564 นกั เรียนท่ไี มไ ดเรียนรูและ แรงงานจังหวดั พ.ศ. 2563 ประสงคจะเขา รวมโครงการ กาญจนบรุ ี เพิม่ ทกั ษะดา นอาชพี สำนักงานเขตพน้ื ท่ี 3-4 มิถนุ ายน การคัดกรองนกั เรยี น บกพรองทางการเรยี นและ การศึกษา 2564 พ.ศ. 2563 การเขยี นแผนการสอนIEP ประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต2 สงเสรมิ นวตั กรรมการอาน สำนักงานเขตพ้ืนท่ี 18 กนั ยายน 2563 ตามโครงการโรงเรยี นดี การศกึ ษา พ.ศ. 2563 ประจำตำบล ประถมศึกษา กาญจนบรุ ี เขต2 พ.ศ. 2563 การคัดกรองนักเรียนยากจน กศส. ผานเวปไซตร ะบบ ปจจยั พื้นฐานนักเรียนบาก จน 1.5 นำเสนอความรปู ระสบการที่เขา รวมกิจกรรมการประชุม อบรม สัมมนา หรือศกึ ษาดูงานมา พัฒนาการจัดการเรียนรู

ปการศึกษา เรอื่ งท่ีพฒั นา จดั โดยหนว ยงาน วัน เดือน ป / สถานท่ี รายงานผลการจัดกิจกรรม โรงเรียนวดั ครอพนัน 2563 วทิ ยาการคำนวณ 17 มนี าคม 2564 Unplugged Coding นกั เรยี นท่ีไมไดเ รยี นรูแ ละ โรงเรียนวัดครอ พนนั 2563 ประสงคจะเขารว มโครงการ 30 มถิ ุนายน เพมิ่ ทกั ษะดานอาชพี 2564- กจิ กรรมสงเสริมการอา น โรงเรยี นวดั ครอพนัน 18 กนั ยายน 2653 นวตั กรรมการอา น ตาม 2563 โครงการโรงเรียนดปี ระจำ ตำบล - การคดั กรองนักเรยี นยากจน โรงเรียนวัดครอ พนัน ผานเวปไซตระบบ 2563 ปจ จัยพ้นื ฐานนักเรยี นบาก จน ดา นท่ี 2 ออกแบบการจัดการเรียนร(ู 30 คะแนน) ทำเคร่อื งหมาย  ในชองท่ตี รงกับความจริง หรอื เขียนเพิม่ เติมตามความเหมาะสม 2.1 การจดั ทำโครงสรางรายวิชา( 5 คะแนน) (เอกสารอา งองิ หนา 20)  โครงสรา งรายวิชาที่เสนอขอเปนปจจบุ นั 2.2 การออแบบและจดั ทำหนว ยการเรียนรู( 10 คะแนน) (เอกสารอา งอิงหนา 26)  แผนหนวยการเรยี นรวู ชิ าท่เี สนอขอเปน ปจ จบุ ัน จำนวน 1 หนวยการเรยี นรู 2.3 การจัดทำแผนการจัดการเรียนร(ู 10 คะแนน) (เอกสารอา งอิงหนา 33)  แผนหนวยการเรียนรวู ชิ าทเ่ี สนอขอเปน ปจ จุบัน จำนวน 1 แผนการเรียนรู 2.4 การนำเสนอผลการประเมินไปใช (5 คะแนน) (เอกสารอางอิงหนา 39-47)  ขอ มูลนกั เรยี นรายบคุ คลเปน ปจจบุ นั (ช้นั ท่เี สนอขอประเมิน)  บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู  วิจัยในช้ันเรยี น  แผนการสอนซอมเสรมิ ดา นท่ี 3 การจัดการเรยี นรู (สังเกตการณจ ดั การเรยี นร)ู (40 คะแนน)  คลิปวิดโิ อการจัดการเรยี นรู(ความยาว 50-60นาที)(ถายใหเห็นภาพรวมท้งั หอง โดยไมมกี ารตดั ตอ)  แผนการจดั การเรียนรูตามคลิป (เอกสารอา งองิ หนา 48-52)

ดา นที่ 4 ประสทิ ธิผลทีเ่ กิดจากการจัดการเรยี นร(ู 20 คะแนน) 4.1 ผลการจดั การเรยี นรูทีม่ ีตอ ผเู รยี น ( 10 คะแนน) (เอกสารอา งอิง หนา 53)  ผลการสอบปลายปการศึกษาท่ีผา นมาในวิชาท่ขี อรับการประเมิน จำนวน 1 ช้ันเรยี น 4.2 ผลการจัดการเรยี นรูที่เกิดกบั ผูเรยี น ครู หรือโรงเรยี น( 10 คะแนน) 2 ปก ารศกึ ษา ยอนหลัง (เปนรางวลั ทต่ี รงกบั วชิ าทีร่ บั การประเมิน) ท่ี ชอ่ื รางวัล หนวยงานท่มี อบ วนั เดือนปท่ไี ดรับ เกยี รตบิ ัตรรางวลั ผาน สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา 16 มกราคม 2564 เกณฑก ารประเมนิ คดั เลอื ก ประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 2 เปน ครผู ูสอน ท่ีมีผลงาน และสมาคมอำเภอทามะกา จังหวดั 1 ระดับ“ดีเดน ” เนื่องในวนั กาญจนบรุ ีป ครแู หงชาติ ประจำป 2564 เกยี รตบิ ัตรรางวัลผา น ระดับกลมุ SPถ สำนักงานเขตพื้นที่ 28 มิถนุ ายน 2562 เกณฑก ารประเมนิ เพชร การศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี 2 เสมากาญจน2 อนั ดบั ท่ี 2 เขต2 เกยี รตบิ ตั รรางวัลผาน สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา 16 ธันวาคม 2563 เกณฑการประเมนิ ครูดไี มม ี ขน้ั พ้นื ฐาน (สพฐ.) มหาวทิ ยาลยั อบายมุข มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั (มจร.) 11 ตุลาคม 2562 3 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสราง 11 ตุลาคม 2562 เสริมสุขภาพ (สสส.) เครอื ขาย 16 มกราคม 2564 โรงเรยี นคำพอ สอน และเครอื ขา ยครู ดีไมมีอบายมุข ครผู ูสอนกิจกรรมการ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา แขงขนั การแสดงทาง ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 วทิ ยาศาสตร ระดบั ชน้ั ม.1-3 กิจกรรมการแขงขันการ สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา แสดงทางวิทยาศาสตร ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 5 ระดับชน้ั ม.1-3 ระดับ เหรียญทอง เกยี รติบตั รรางวัลผา น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา 6 เกณฑก ารประเมนิ ครูดีไมม ี ข้นั พนื้ ฐาน (สพฐ.) มหาวทิ ยาลยั อบายมขุ มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.)

สำนกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสรา ง เสริมสขุ ภาพ (สสส.) เครอื ขาย โรงเรยี นคำพอสอน และเครือขายครู ดไี มม อี บายมขุ ขอรับรองวา รายงานและเอกสารอางอิงท้ังหมดนีเ้ ปนของ นายชวนิ ทรพล จันทรคลา ยตำแหนง ครู คศ.1 โรงเรียนวัดครอ พนัน จริง ลงชื่อ ………………………………………………..ผรู บั รอง (นางสาวราตรี ทองศรี) ตำแหนง ผูอำนวยการโรงเรยี นวัดครอพนนั

ภาคผนวก ดา นที่ 1 การพัฒนาตนเอง















ภาพประกอบกจิ กรรม

ภาพประกอบกจิ กรรม

ดานท่ี 2 การออแบบการจดั การเรียนรู 2.1 การจัดทำโครงสรา้ งรายวชิ า วิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท� ่ี 2

ชอ่ื มาตรฐาน หน่วย การ เวลา ที่ การ เรียนรู้/ สาระสำคญั (ชั่วโมง) เรียนรู้ ตัวชี้วดั 1. ระบบ ว 1.2 ระบบหายใจมอี วยั วะท่ีเป�นทางเดนิ ของอากาศ ได้แก่ จมูก ท่อลม และปอด และมีอวัยวะ 28 ร่างกาย ม.2/1 ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ กะบังลม และกระดูกซโี่ ครง โดยอากาศเคลื่อนทีเ่ ขา้ และออกจากปอดเป�นผล มนษุ ย์ ม.2/2 จากการเปล่ียนแปลงปริมาตรและ ความดันภายในชอ่ งอก ซ่งึ เก่ยี วขอ้ งกบั การทำงานของ กะบัง ม.2/3 ลมและกระดกู ซโ่ี ครง เม่ือมนษุ ยห์ ายใจนำอากาศเข้าสู่ร่างกาย อากาศเดนิ ทางผ่านจมูก ท่อลม ม.2/4 และเข้าสู่ปอด ซึ่งเป�นบริเวณที่เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ม.2/5 โดยแก๊สออกซิเจนแพร่จากถุงลมเข้าสู่หลอดเลือดฝอย ส่วนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่จาก ม.2/6 หลอดเลือดฝอยเขา้ สู่ถงุ ลมเพ่ือกำจัดออกจากร่างกายผา่ นการหายใจออก แกส๊ ออกซิเจนท่ีแพร่ ม.2/7 เข้าสู่หลอดเลือดฝอยจะลำเลียงไปยงั เนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย และเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส ม.2/8 ขึน้ โดยแก๊สออกซิเจนจากหลอดเลอื ดฝอยแพร่เข้าสเู่ น้ือเยื่อ สว่ นแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์แพร่ ม.2/9 จากเน้ือเย่อื เข้าส่หู ลอดเลือดฝอยเพอ่ื ลำเลยี งไปยงั ปอดและกำจัดออกจากรา่ งกาย การสูบบุหรี่ ม. การสูดอากาศทีม่ ีสารปนเป�อนอาจเป�นสาเหตุของโรคระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคถุงลมโปง่ 2/1 พอง ดงั น้นั จึงควรดแู ลรักษาอวยั วะในระบบหายใจใหท้ ำงานอย่างปกติ 0 ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไต ท่อไต กระเพาะป�สสาวะ และท่อป�สสาวะ ม. ภายในไตมหี นว่ ยไต ทำหนา้ ที่กำจัดของเสียต่างๆ ออกจากเลือด และดูดกลบั สารท่ีมีประโยชน์ 2/1 เข้าสู่เลือด ของเหลวต่างๆ ที่ผ่านการทำงานของหน่วยไตจะผ่านไปยังท่อไตและไปเก็บใน 1 กระเพาะปส� สาวะเพ่ือกำจดั ออกจากรา่ งกายผ่านท่อปส� สาวะ การเลือกรับประทานอาหารที่ไม่มี ม. รสจัด การดื่มน้ำอย่างเพียงพอเป�นแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่ายใหท้ ำงาน 2/1 อยา่ งปกติ 2 ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดประกอบดว้ ยหัวใจแบ่งออกเป�น 4 ห้อง ได้แก่ ห้องบน 2 ห้อง และ ม. หอ้ งลา่ ง 2 หอ้ ง โดยมลี นิ้ ก้ันระหวา่ งหอ้ งบนและหอ้ งล่าง หวั ใจทำหน้าท่ีสบู ฉีดเลอื ดไปยงั อวัยวะ 2/1 ตา่ งๆ หลอดเลือด แบง่ ออกเปน� หลอดเลอื ดแดงทำหน้าทีล่ ำเลียงเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูง 3 ไปยังเซลล์ หลอดเลือดดำทำหน้าที่ลำเลียงเลือดที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูงจากเซลลม์ ายงั ม. ปอดเพื่อกำจัดออกจากร่างกาย และเลือดประกอบด้วยเซลล์เมด็ เลอื ดแดง ทำหน้าทลี่ ำเลยี งแก๊ส 2/1 ออกซเิ จนไปหล่อเล้ียงเซลล์ เซลล์เม็ดเลอื ดขาวทำหนา้ ท่ีกำจัดเช้ือโรคและส่งิ แปลกปลอม 4 และเกลด็ เลือดทำหนา้ ท่ีชว่ ยในการแข็งตวั ของเลือด ระบบหมุนเวียนเลอื ดมกี ารหมุนเวียนอย่าง ม. เปน� ระบบ โดยเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนต่ำ แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูงเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา 2/1 ผ่านลงสู่หวั ใจห้องลา่ งขวา แล้วลำเลียงไปยงั ปอดเพือ่ แลกเปลีย่ นแก๊ส กลายเป�นเลือดทีม่ ีแกส๊ 5 ออกซเิ จนสูง แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ กลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายผ่านลงสู่หัวใจห้องล่าง ซา้ ยเพ่ือนำเลอื ดที่มีแก๊สออกซิเจนสูงไปยังเซลล์ต่างๆ การออกกำลังกาย การเลือกรับประทาน อาหาร และการรกั ษาสภาวะทางอารมณจ์ ะชว่ ยใหร้ ะบบหมนุ เวียนเลอื ดทำงานปกติ

ชอื่ มาตรฐาน หนว่ ย การ เวลา ท่ี การ เรยี นร้/ู สาระสำคญั (ชั่วโมง) เรยี นรู้ ตัวช้วี ดั ม. ระบบประสาทสว่ นกลางประกอบด้วยสมองทำหน้าทีค่ วบคุมการทำงานของรา่ งกาย ไขสัน 2/1 หลังทำหน้าท่ีสง่ ผา่ นกระแสประสาท และเสน้ ประสาททำหนา้ ทร่ี บั ส่งกระแสประสาท ซ่งึ มเี ซลล์ 6 ประสาทจำนวนมาก การทำงานของระบบประสาทจะส่งกระแสประสาทจากอวัยวะรับ ม. ความรู้สึกไปยังไขสันหลัง และส่งตอ่ ไปยังสมอง ซ่งึ สมองจะสง่ กระแสประสาทผา่ นไขสันหลังไป 2/17 ยังหน่วยปฏิบัติการต่างๆ โดยระบบประสาทจะเกี่ยวข้องกับการทำงานของทุกระบบจึงควร ป้องกันการกระทบกระเทือนของสมองและไขสันหลัง หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด และภาวะ เครยี ด เพื่อดูแลรักษาระบบประสาทให้ทำงานอย่างเปน� ปกติ ระบบสืบพันธุ์แบ่งออกเป�นระบบสืบพันธุ์เพศชายซึ่งมีการสร้างเซลล์อสุจิจากอัณฑะทำ หนา้ ทเี่ ป�นเซลล์สืบพนั ธุ์เพศชาย ถูกควบคมุ โดยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน และระบบสืบพันธุ์เพศ หญงิ ซงึ่ มีการสรา้ งเซลลไ์ ข่จากรังไข่ ทำหน้าท่เี ปน� เซลลส์ บื พันธุเ์ พศหญิง ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน โพรเจส-เทอโรนและอสี โทรเจน ซง่ึ จะมกี ารตกไข่ เดอื นละ 1 เซลล์ และหากไม่ไดร้ บั การปฏสิ นธิ จากเซลลอ์ สจุ จิ ะกลายเป�นประจำเดือน แตห่ ากเซลล์ไข่ได้รบั การปฏิสนธจิ ากอสจุ ิจะแบ่งเซลล์เป�น ไซโกต เอ็มบริโอ และเจรญิ เป�นทารกในครรภ์ ซึ่งทารกอยใู่ นครรภ์ประมาณ 9 เดือน อย่างไรกต็ าม มี วิธีการคุมกำเนิดหากไม่พร้อมสำหรับการมีบุตร เช่น การคุมกำเนิดโดยวิธีทางธรรมชาติ การใช้ อุปกรณ์ การใชส้ ารเคมี การทำหมนั 2. การ ว 2.1 การระเหยแห้งใชแ้ ยกสารละลายที่ประ กอบด้วย ตัวละลายท่เี ป�นของแข็งในตัวทำละลาย 17 แยก ม.2/1 ทเี่ ปน� ของเหลว โดยใชค้ วามร้อน ซง่ึ ตัวทำละลายจะระเหยกลายเป�นไอจงึ เหลือเฉพาะตัวละลาย สาร ม.2/2 ทเ่ี ปน� ของแขง็ เช่น การผลิตเกลือสมุทร ผสม ม.2/3 การตกผลึกใช้แยกสารละลายที่ประกอบ ด้วยตัวละลายที่เป�นของแข็งในตัวทำละลายท่ี เป�นของเหลว โดยทำให้เป�นสารละลายอิ่มตัว แล้วจึงปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไป บางสว่ น ตวั ละลายจะตกผลึกแยกออกมา เชน่ การผลิตนำ้ ตาลทราย การกลั่นใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำละลายที่เป�นของเหลว แบ่ง ออกเปน� 3 ประเภท ได้แก่ การกล่ันแบบธรรมดาใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวทำละลายที่ เป�นสารระเหยง่าย และมีจดุ เดือดต่ำออกจากตัวละลายที่เป�นสารระเหยยากและมีจุดเดือดสงู ซ่ึง จดุ เดอื ดควรต่างกันต้งั แต่ 30 องศาเซลเซียสขึ้นไป เชน่ การกลัน่ แยกเกลือออกจากน้ำทะเล การ กล่ันแบบไอน้ำใช้แยกสารทีม่ จี ุดเดือดต่ำ ระเหยง่าย และไม่ละลายน้ำ ออกจากสารที่ระเหยยาก โดยความดันไอน้ำทำให้สารเดอื ดกลายเป�นไอและถูกกลั่นออกมาพร้อมกับไอน้ำ ซงึ่ สารที่ถูกกล่ัน ออกมาจะแยกชั้นกับน้ำ เช่น การกลั่นน้ำมันหอมระเหย และการกลั่น ลำดับส่วนใช้แยก สารละลายท่ีมีส่วนประกอบเป�นสารที่มจี ุดเดือดใกล้เคียงกันหรอื แยกสารละลายที่มีตัวทำละลาย และตวั ละลายเป�นสารท่ีระเหยงา่ ย เชน่ การกล่นั นำ้ มันดิบ

ชอ่ื มาตรฐาน หนว่ ย การ เวลา ที่ การ เรียนรู้/ สาระสำคญั (ชัว่ โมง) เรียนรู้ ตัวชี้วัด โครมาโทกราฟ�แบบกระดาษใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยสารมากกว่า 1 ชนิด ออก จากกัน โดยอาศัยความสามารถในการละลายของสารในตวั ทำละลาย และการถูกดูดซับบนตวั ดูดซับที่แตกต่างกัน ทำให้สารแต่ละชนิดถูกแยกออกจากกัน ซึ่งระยะทางที่สารแต่ละชนิด เคลื่อนท่บี นตัวดดู ซับสามารถนำมาหาอัตราการเคลอื่ นท่ีของสาร (Rf) ได้จากสตู ร Rf = ระยะทางทีส่ ารเคลอ่ื นที่ ระยะทางทีต่ ัวทำละลายเคลอื่ นที่ 3. สารละ ว 2.1 การสกัดดว้ ยตัวทำละลายใช้แยกสารออกจากสารผสมโดยอาศัยสมบัติการละลายในตัวทำ 15 ลาย ม.2/4 ละลายของสาร ตัวทำละลายที่เหมาะต้องละลายสารที่ต้องการจะแยก ไม่ละลายสารที่ไม่ ต้องการ ไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่ต้องการจะแยก มีจุดเดือดต่ำ ระเหยง่าย แยกออกจากสาร ม.2/5 ละลาย ไดง้ ่าย เช่น การสกัดน้ำมันจากเมลด็ พืช ม.2/6 ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแยกสารสามารถนำไปบูรณาการกับคณิตสาสตร์ เทคโนโลยี โดยใชก้ ระบวนการทางวศิ วกรรม เพ่อื นำไปแก้ปญ� หาในชีวติ ประจำวนั ตอ่ ไป สารละลาย หมายถึง สารเนอื้ เดยี วทป่ี ระกอบ ดว้ ยธาตุ หรอื สารประกอบต้งั แต่ 2 ชนิด ข้ึน ไปรวมตวั กัน โดยธาตุหรอื สารประกอบชนดิ หน่งึ เป�นตวั ทำละลาย สว่ นธาตุหรอื สารประกอบอีก ชนิดหนึ่งหรือมากกว่าเป�นตัวละลาย ซึ่งมีหลักการพิจารณาตัวละลายและตัวทำละลายใน สารละลาย ดงั นี้ - หากสารอย่ใู นสถานะเดยี วกัน สารท่มี ีปริมาณมากกว่าเป�นตัวทำละลาย สารท่ีมีปริมาณ น้อยกว่าเปน� ตัวละลาย - หากสารอยู่ในสถานะตา่ งกัน เมอ่ื ผสมกนั แล้วมสี ถานะเหมอื นกบั สารชนิดใด จะถือวา่ สาร นน้ั เป�น ตัวทำละลาย ส่วนสารอีกชนิดหน่งึ เป�นตัวละลาย สภาพละลายได้ของสาร หมายถึง ความ สามารถในการละลายได้ของตัวละลายในตัวทำ ละลายจนเป�นสารละลายอิ่มตัว ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ การละลายของตัวละลายขึ้นอยู่กับป�จจัย ต่างๆ ไดแ้ ก่ - อุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นตัวละลายที่เป�นของแข็งและของเหลวละลายได้มากขน้ึ แต่ตวั ละลายที่เป�นแก๊สจะละลายได้น้อยลง - ชนิดของตวั ทำละลาย ตัวทำละลายแต่ละชนิดสามารถละลายตัวละลายแต่ละชนิดได้ แตกตา่ งกนั - ขนาดของตัวละลาย ตัวละลายทีม่ ขี นาดเลก็ ละลายไดเ้ ร็วกว่าตัวละลายท่ีมีขนาดใหญ่ เพราะมีพ้ืนท่ีผวิ สมั ผัสมากกวา่

ชอื่ มาตรฐาน หน่วย การ เวลา ท่ี การ เรียนร/ู้ สาระสำคญั (ชัว่ โมง) เรียนรู้ ตัวช้ีวดั - ความดันมีผลต่อตัวละลายที่เป�นแก๊ส ซึ่งหากความดันสูงข้ึนจะทำใหแ้ ก๊สละลายได้ดี ข้ึน - การคน การเขย่า หรอื การปน� เหวี่ยง ซงึ่ จะทำให้อนภุ าคเคลื่อนท่เี ร็ว จงึ เกดิ การละลาย ไดเ้ ร็ว ความเข้มข้นของสารละลายเป�นค่าที่แสดงปริมาณของตัวละลายที่ละลายอยู่ในตัวทำ ละลายหรอื ในสารละลาย ดังนี้ - ร้อยละโดยมวล เป�นหน่วยที่บอกถึงปริมาณตัวละลายเป�นกรัมที่ละลายในสาร ละลาย 100 กรัม นิยมใชก้ บั สารละลายทเี่ ปน� ของแข็ง มสี ูตร ดงั น้ี มวลของตัวละลาย ร้อยละโดยมวล = มวลของสารละลาย x 100 - ร้อยละโดยปรมิ าตร เป�นหน่วยทีบ่ อกถึงปริมาตรของตวั ละลายเปน� ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ที่ ละลายในสารละลาย 100 ลกู บาศกเ์ ซนติ- เมตร นยิ มใชก้ ับสารละลายท่ีเป�นของเหลวหรือแก๊ส มีสูตร ดงั น้ี ปริมาตรของตัวละลาย ปริมาตรของสารละลาย รอ้ ยละโดยปริมาตร = x 100 - ร้อยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร เป�นหน่วยที่บอกถึงปรมิ าณของตัวละลายเป�นกรัมที่ละลาย ในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร นยิ มใช้กบั ตัวละลายท่ีเป�นของแขง็ ในตัวทำละลายท่ีเป�น ของเหลว มสี ูตร ดังนี้ สารละลายรถอ้ กูยนลำะมโดายใชม้ใวนลชตีวอ่ ติ ปปรรมิ ะาจตำรวัน=ซ่งึปใรชมมิ ท้ วา่ีคลตวขราอขมงอเตงขวัสม้ ลาขระ้นลลแะาตยลกายตา่ งxกนั10เช0่น น้ำส้มสายชูมี ความเข้มข้นของกรดแอซตี ิกรอ้ ยละ 4-18 โดยปรมิ าตร แอลกอฮอลล์ ้างแผลมีความเข้มข้นของ เอทิลแอลกอฮอล์ร้อยละ 70 โดยปริมาตร น้ำเกลือมคี วามเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์ ร้อยละ 0.9 หรือร้อยละ 15 โดยมวลต่อปริมาตร น้ำยาล้างเล็บมีความเข้มข้นของแอซีโตนรอ้ ยละ 80 โดยปริมาตร ส่วนสารทำความสะอาดและสารเคมีกำจัดศัตรูพืชถูกนำมาทำให้เจือจางก่อน นำไปใช้

ชอ่ื มาตรฐาน หน่วย การ เวลา ที่ การ เรยี นรู้/ สาระสำคญั (ชั่วโมง) เรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด 4. แรงและ ว 2.2 แรงเปน� ปรมิ าณเวกเตอรท์ ่มี ขี นาดและทศิ ทางมีหน่วยเป�นนิวตัน เมอ่ื มีแรงหลายแรงกระทำ 19 การ ม.2/1 ต่อวัตถุ แล้วแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป�นศูนย์ วัตถุจะไม่เคลื่อนที่ แต่หากแรงหลายแรง เคล่อื น ม.2/2 กระทำตอ่ วัตถุ แล้วแรงลัพธ์ทกี่ ระทำต่อวตั ถุมีค่าไม่เปน� ศูนย์ วัตถจุ ะไม่เคลื่อนท่ี ที่ ม.2/3 แรงดันในของเหลวเป�นแรงที่ของเหลวกระทำตั้งฉากกับผิวของวัตถุต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ม.2/4 เรียกว่า ความดันของของเหลว ซึ่งมีความ สัมพันธ์กับความลึกจากระดับผิวหน้าของของเหลว ม.2/5 โดยบริเวณที่ลึกลงไปจากผิวหน้าของของเหลวมากขึ้นจะทำให้ความดันของเหลวเพิ่มขึ้น ม.2/6 เนือ่ งจากของเหลวที่อยู่ลึกกว่าจะมนี ำ้ หนักของของเหลวด้านบนกระทำมากกว่า และเมอื่ วตั ถุอยู่ ม.2/7 ในของเหลวจะมี แรงพยุง ซึ่งเป�นแรงที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลว มีทิศขึ้นใน ม.2/8 แนวดิ่ง โดยขนาดของแรงพยุงมีค่าเท่ากบั ขนาดของนำ้ หนักของของเหลวที่ถูกวัตถแุ ทนที่ หาก ม.2/9 น้ำหนักของวัตถุและแรงพยุงของของเหลวมีค่าเทา่ กัน วัตถุจะลอยนิ่งอยู่ในของเหลว แต่หาก ม.2/10 วตั ถมุ ีนำ้ หนกั มากกว่า แรงพยงุ ของของเหลว วัตถจุ ะจม ม.2/11 แรงเสยี ดทานเป�นแรงท่ีเกิดขน้ึ ระหว่างทผ่ี ิวสมั ผัสของวัตถุเพอ่ื ต้านการเคล่อื นท่ีของวัตถุน้ัน ม.2/12 มีทิศทางตรงข้ามกับการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ แรงเสียดทานมี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ แรงเสยี ดทานสถิต ม.2/13 เกิดขึ้นในขณะที่วัตถยุ ังไมเ่ คล่ือนที่ และแรงเสียดทานจลน์เกิดขึน้ ในขณะที่วัตถุกำลังเคลือ่ นท่ี ม.2/14 ความรู้เรื่องแรงเสียดทานสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การลากวัตถุบนพนื้ ม. การใช้น้ำมนั หลอ่ ลน่ื ในเครอ่ื งยนต์ 2/15 โมเมนต์ของแรงเป�นแรงที่กระทำต่อวัตถุโดยไม่ผ่านศนู ย์กลางมวลของวัตถุ ซึ่งทำให้วัตถุ หมุนรอบศูนย์กลางมวลของวัตถุ โดยโมเมนต์ของแรงในทิศทวนเข็มนา�ิกาจะมีค่าเท่ากับ โมเมนตข์ องแรงในทศิ ตามเขม็ นา�ิกา ในธรรมชาตจิ ะมีแรง 3 แรง ได้แก่ แรงจากสนามโนม้ ถ่วงเป�นแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุในทิศทาง พุ่งเข้าหาวัตถุที่เป�นแหล่งของสนามโน้มถ่วงส่งผลให้วัตถุตกจากที่สูงลงมาสู่ที่ต่ำ แรงจาก สนามแมเ่ หล็กเป�นแรงท่เี กดิ กบั วตั ถทุ ่ีมีประจไุ ฟฟา้ ซึ่งประจไุ ฟฟา้ จะมีทศิ พงุ่ เขา้ หาหรือออกจาก วตั ถุทม่ี ีประจุเปน� แหลง่ ของสนามไฟฟ้า และแรงจากสนามแม่เหล็กเปน� แรงท่ีเกดิ จากวัตถุท่ีเป�น แม่เหล็ก โดยแรงแม่เหล็กทีก่ ระทำต่อขั้วแม่เหล็กจะมีทิศพุ่งเข้าหาหรอื ออกจากขั้วแม่เหล็กที่ เป�นแหล่งของสนามแม่เหล็ก การเคลื่อนที่ของวัตถุเป�นการเปลี่ยนตำ แหน่งของวัตถุเทียบกับตำแหน่งอ้างอิง โดยมี ปริมาณทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การเคลอื่ นท่ี มีท้งั ปรมิ าณสเกลาร์ซึง่ เป�นปริมาณทม่ี ีขนาด เช่น ระยะทาง อตั ราเร็ว การกระจดั ความเร็ว และปรมิ าณเวกเตอร์ซ่ึงเป�นปรมิ าณทมี่ ีทง้ั ขนาดและทิศทาง เช่น การกระจัด ความเร็ว

ชื่อ มาตรฐาน หนว่ ย การ เวลา ที่ การ เรียนร/ู้ สาระสำคญั (ชั่วโมง) เรยี นรู้ ตวั ช้วี ัด 5. งาน ว 2.3 งานเป�นการออกแรงกระทำกระทำตอ่ วตั ถุ แล้วทำให้วัตถุเกิดการเคลือ่ นที่ไปตามแนวแรง 10 และ ม.2/1 โดยงานที่ทำในหนึ่งหน่วยเวลาจะเรียกว่า กำลัง หลักการของงานถูกนำมาอธิบายการทำงาน พลังงา ม.2/2 ของเคร่อื งกลซึง่ เป�นอปุ กรณ์ท่ีช่วยให้การทำงานเป�นไปอย่างสะดวกขึ้น โดยมีแรงพยายาม หรือ น ม.2/3 แรงทีใ่ ห้กบั เครื่องกล และแรงตา้ นทาน หรือแรงทว่ี ตั ถุกระทำต่อเครือ่ งกลเขา้ มาเกี่ยวข้อง โดย ม.2/4 เครือ่ งกลอย่างง่ายมี 6 ประเภท ได้แก่ คาน รอก พ้นื เอียง สกรู ล่ิม ลอ้ และเพลา ม.2/5 พลังงาน แบ่งออกเป�น 2 ประเภท ได้แก่ พลังงานจลน์เป�นพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุที่ ม.2/6 เคลื่อนที่ ซึ่งมีมวลและอัตราเร็วเป�นปจ� จัยที่มผี ลต่อพลังงานจนล์ ถ้าอัตราเร็วของวัตถุทั้งสอง เท่ากัน วัตถทุ มี่ มี วลมากกว่าจะมพี ลังงานจลนม์ ากกวา่ และถา้ มวลของวตั ถุท้ังสองเทา่ กัน วัตถุท่ี เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่มากกว่าจะมีพลังงานจลน์มากกว่า และพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป�น พลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุที่อยู่สูงจากพื้นผิวโลก ซึ่งมีมวลและอัตราเร็วเป�นป�จจัยที่มีผลต่อ พลังงานศักย์โน้มถ่วง ถ้าวัตถุทั้งสองอยู่ในระดับความสูงที่เท่ากัน วัตถุที่มีมวลมากกว่าจะมี พลังงานศักย์โน้มถ่วงมากกว่า และถ้ามวลของวัตถุทั้งสองเท่ากัน วัตถุที่อยู่ในระดับความสูงท่ี มากกว่าจะมพี ลังงานศกั ย์โนม้ ถ่วงท่มี ากกวา่ พลังงานเปน� สงิ่ ทไี่ ม่สามารถสรา้ งข้ึนใหม่ และไมส่ ามารถทำให้สญู หาย หรือทำลายได้ แตจ่ ะ เกิดการเปลย่ี นรปู พลงั งานจากรปู หนงึ่ ไปเปน� อกี รูปหนึ่ง ได้แก่ - พลังงานศกั ย์โน้มถ่วงเปลี่ยนเปน� พลงั งานจลน์ เช่น การกักเก็บน้ำไวใ้ นท่ีสูง - พลงั งานจลน์เปลย่ี นเป�นพลังงานความรอ้ น เช่น การทำงานของเครือ่ งจกั รใน อุตสาหกรรม - พลังงานจลน์เปลีย่ นเป�นพลังงานไฟฟ้า เช่น การผลติ กระแสไฟฟา้ จากพลงั งานนำ้ - พลงั งานแสงเปลยี่ นเปน� พลังงานเคมี เชน่ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื - พลังงานเคมีเปลี่ยนเป�นพลังงานความร้อนและแสง เช่น การเผาซากเชื้อเพลิงดึกดำ บรรพ์ - พลังงานเคมีเปลีย่ นเปน� พลังงานทีใ่ ช้ทำกจิ กรรม เช่น การเผาผลาญอาหารในร่างกาย มนุษย์และสัตว์ 6. โลกและ ว 3.2 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของซากสิ่งมีชีวิตในอดีตโดย 31 การ ม.2/1 กระบวนการทางเคมแี ละธรณีวิทยา ได้แก่ ถ่านหินเป�นเชอ้ื เพลิงธรรมชาติ หรือหินตะกอนชนิด เปลี่ยน ม.2/2 หนึ่งซึ่งเกิดจากการสะสมของซากพืชเป�นเวลานานจนเปลี่ยนสภาพเป�นถ่านหินประเภทต่างๆ แปลง ม.2/3 หินน้ำมันเป�นเช้ือเพลิงธรรมชาติซ่ึงเกิดจากการทับถมของซากพืชและซากสัตว์ภายใต้แหล่งน้ำ ม.2/4 เป�นเวลานาน มีสมบัติจุดติดไฟได้ และป�โตรเลียมเป�นเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นเองตาม ม.2/5 ธรรมชาตซิ ่งึ เป�นสารประกอบไฮโดร คารบ์ อนมี 2 ประเภท คอื นำ้ มนั ดิบและแก๊สธรรมชาติ ซ่ึง

ช่ือ มาตรฐาน หน่วย การ เวลา ท่ี การ เรียนรู้/ สาระสำคญั (ชั่วโมง) เรียนรู้ ตัวชว้ี ัด ม.2/6 ก่อนน้ำไปใช้ประโยชน์จำเป�นต้องผา่ นกระบวนกล่ัน เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมต่อการใช้ ม.2/7 ประโยชน์ การเผาไหม้เชื้อเพลิง ซากดึกดำบรรพใ์ นกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์จะทำให้เกดิ มลพษิ ม.2/8 ทางอากาศ เชน่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไนตรัส-ออกไซด์ กอ่ ใหเ้ กิดฝนกรด ภาวะโลกร้อน และ ม.2/9 สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศของโลก ม.2/10 พลังงานทดแทนเป�นพลังงานที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ มีหลายประเภท ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ถูกใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า พลังงานลมเป�นพลังงานธรรมชาติซึ่งเกิดจาก ความแตกต่างของอุณหภูมิ และความกดดันของบรรยากาศ ถูกใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า พลงั งานนำ้ เป�นพลังงานรปู แบบหนง่ึ ที่อาศยั การเคล่อื นที่ของนำ้ ไปขับเคล่ือนเครื่องจกั ร พลงั งาน ชีวมวลเป�นพลังงานที่ได้มาจากการเผาไหม้สารอินทรยี ์ พลังงานคลืน่ เป�นพลังงานของคลื่นผวิ มหาสมุทรซึ่งเป�นแหล่งพลังงานศักย์ขนาดใหญ่สามารถนำมาผลิตกระแสไฟฟ้า พลังงานความ ร้อนใต้พิภพเกดิ จากการเคล่อื นตัวของเปลือกโลกทำให้เกิดแนวรอยเล่ือน น้ำทอ่ี ยู่บนดินจะไหล ผ่านตามแนวรอยแยก ภายใต้ความร้อนและความดันสูงส่งผลให้ไอน้ำแทรกขึ้นมาบนผิวดิน สามารถนำมาผลิตกระแสไฟฟา้ ได้ และพลงั งานไฮโดรเจนถูกใช้เปน� เชื้อเพลิงในการเผาไหม้และ ใหค้ วามร้อนเพอื่ ใชใ้ นการผลิตกระแสไฟฟ้าและขับเคล่อื นรถยนตไ์ ด้ โครงสร้างแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมีได้ 3 ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก ประกอบด้วยธาตุ ซลิ ิกอนและอะลูมเิ นียม เน้ือโลกประกอบด้วยธาตุซลิ กิ อน แมกนีเซียม และเหล็ก และแก่นโลก ประกอบด้วยธาตุเหลก็ และนกิ เกิล การเปลี่ยนแปลงของโลก ได้แก่ การผุพงั อยกู่ บั ท่ี การกรอ่ น และการสะสมตัวของตะกอน ซึ่งเป�นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่ทำให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงเป�นภูมิลักษณ์ แบบต่างๆ เช่น น้ำ ลม ธารน้ำแข็ง แรงโน้มถ่วงของโลก สิ่งมีชีวิต สภาพอากาศ และปฏิกิริยา เคมี ดินเกดิ จากหนิ ทผี่ ผุ งั ตามธรรมชาติผสมคลกุ เคลา้ กับอินทรียวตั ถจุ ากการเน่าเป�อยของซาก พืชซากสัตว์ แบ่งออกเป�น 6 ชั้น ได้แก่ O A E B C และ R แต่ละชั้นมีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่ง ปจ� จัยทท่ี ำให้ดินแตล่ ะท้องถ่ินมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน ได้แก่ วตั ถุต้นกำเนิด ภูมิอากาศ สิ่งมชี วี ิตในดิน สภาพภูมปิ ระเทศ และระยะเวลาในการเกิดดิน แหล่งน้ำแบ่งออกเป�น 2 ประเภท ได้แก่ น้ำบนดินเกิดจากน้ำในบรรยากาศกลั่นตัวเป�น นำ้ ฝนตกลงมาไหลจากทสี่ งู ลงสทู่ ีต่ ำ่ ซงึ่ การไหลของนำ้ ทำให้เกดิ การกดั เซาะเป�นรอ่ งน้ำ เช่น ลำ ธาร คลอง แม่นำ้ และน้ำใตด้ นิ เกดิ จากน้ำบนดินซมึ ลงไปสะสมตัวอยู่ใต้พ้นื โลก แบง่ ออกเป�นน้ำ ในดินและน้ำบาดาล ซึ่งแหล่งน้ำถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่างๆ เช่น ใช้สำหรับการบริโภคและ อปุ โภค ใชเ้ พาะปลูกพืช เลยี้ งสัตว์ และเปน� แหลง่ ท่ีอย่อู าศยั ของปลาและสัตว์น้ำอื่นๆ ใช้ในด้าน

ชอื่ มาตรฐาน หนว่ ย การ เวลา ที่ การ เรยี นร้/ู สาระสำคญั (ชัว่ โมง) เรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด อุตสาหกรรมต่างๆ และยังสามารถก่อให้เกิดภัยพบิ ัติต่างๆ เช่น น้ำท่วม การกัดเซาะ ดินถล่ม หลุมยุบ แผ่นดนิ ทรดุ 2.2 การออกแบบและจดั ทำหนว ยการเรียนรู( 10 คะแนน) การออกแบบหนว ยการเรียนรู รหสั วิชา 22101 รายวิชา วิทยาศาสตร กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2564 หนวยการเรยี นรู เร่อื ง ระบบรางกายมนษุ ย จำนวน 28 ชวั่ โมง ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ัด ว1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารผานเซลล ความสัมพันธข อง โครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสัตวและมนุษยที่ทำงานสัมพันธกัน ความสัมพันธของ โครงสราง และหนาทขี่ องอวัยวะตา งๆ ของพชื ท่ีทำงานสัมพันธก นั รวมทง้ั นำความรูไปใชประโยชน ม.2/1 ระบอุ วัยวะและบรรยายหนา ทขี่ องอวยั วะที่เกยี่ วขอ งในระบบหายใจ ม.2/2 อธิบายกลไกการหายใจเขาและออกโดยใชแบบจำลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการ แลกเปลีย่ นแกส ม.2/3 ตระหนักถงึ ความสำคญั ของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวยั วะใน ระบบหายใจใหท ำงานเปน ปกติ ม.2/4 ระบุอวยั วะและบรรยายหนา ท่ีของอวัยวะในระบบขับถา ยในการกำจัดของเสยี ทางไต ม.2/5 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบขับถายในการกำจัดของเสียทางไต โดยการบอก แนวทางในการปฏิบัติตนท่ีชวยใหระบบขบั ถา ยทำหนา ทไี่ ดอยา งปกติ ม.2/6 บรรยายโครงสรา งและหนา ท่ีของหัวใจ หลอดเลือด และเลอื ด ม.2/7 อธิบายการทำงานของระบบหมุนเวียนเลอื ดโดยใชแ บบจำลอง ม.2/8 ออกแบบการทดลองและทดลองในการเปรียบเทียบอัตราการเตน ของหัวใจขณะปกติและ หลงั ทำกิจกรรม ม.2/9 ตระหนักถงึ ความสำคัญของระบบหมนุ เวียนเลอื ด โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา อวยั วะในระบบหมุนเวียนเลอื ดใหทำงานเปนปกติ ม.2/10 ระบุอวัยวะและบรรยายหนาที่ของอวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการควบคุม การทำงานตา งๆ ของรา งกาย

ม.2/11 ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของระบบประสาท โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษา รวมถึง การปอ งกนั การกระทบกระเทอื นและอนั ตรายตอ สมองและไขสันหลัง ม.2/12 ระบุอวัยวะและบรรยายหนาที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุของเพศชายและเพศหญิง โดยใชแ บบจำลอง ม.2/13 อธิบายผลของฮอรโมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของรางกาย เมื่อเขาสูวัยหนมุ สาว ม.2/14 ตระหนกั ถงึ การเปลยี่ นแปลงของรา งกายเมอื่ เขาสูวัยหนมุ สาว โดยการดแู ลรักษารางกาย และจิตใจของตนเองในชวงท่ีมีการเปล่ยี นแปลง ม.2/15 อธบิ ายการตกไข การมปี ระจำเดือน การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกต จนคลอดเปน ทารก ม.2/16 เลอื กวิธีการคุมกำเนิดทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณที่กำหนด ม.2/17 ตระหนักถงึ ผลกระทบของการตั้งครรภกอนวัยอันควร โดยการประพฤติตนใหเหมาะสม 2. สาระการเรยี นรู 1. ระบบหายใจมอี วัยวะตา งๆ ท่เี ก่ียวของ ไดแ ก จมกู ทอลม ปอด กะบงั ลม และกระดูกซ่ีโครง 2. มนุษยหายใจเขาเพื่อนำแกสออกซิเจนเขาสูรางกายเพื่อนำไปใชในเซลล และหายใจออกเพ่ือ กำจดั แกส คารบอนไดออกไซดออกจากรางกาย 3. อากาศเคลื่อนที่เขาและออกจากปอดได เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดันของ อากาศ ภายในชอ งอกซง่ึ เกย่ี วของกับการทำงานของกะบังลมและกระดกู ซ่ีโครง 4. การแลกเปลีย่ นแกสออกซิเจนกับแกสคารบอนไดออกไซดในรางกายเกิดข้ึนบริเวณถุงลมในปอด กับหลอดเลอื ดฝอยทีถ่ ุงลม และระหวา งหลอดเลือดฝอยกบั เน้อื เยอื่ 5. การสูบบุหรี่ การสดู อากาศที่มีสารปนเปอ น และการเปน โรคเกีย่ วกบั ระบบหายใจบางโรค อาจทำ ใหเกดิ โรคถุงลมโปงพอง ซึ่งมผี ลใหความจุอากาศของปอดลดลง ดงั นั้น จึงควรดูแลรักษาระบบหายใจ ใหทำหนา ที่เปนปกติ 6. ระบบขบั ถายมีอวัยวะที่เกีย่ วของ คอื ไต ทอ ไต กระเพาะปสสาวะ และทอ ปส สาวะ โดยมีไต ทำ หนาที่กำจัดของเสยี เชน ยูเรีย แอมโมเนีย กรดยูริก รวมทั้งสารที่รางกายไมตองการออกจากเลือด และควบคมุ สารท่มี มี ากหรอื นอ ยเกินไป เชน นำ้ โดยขบั ออกมาในรปู ของปส สาวะ 7. การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เชน รับประทานอาหารที่ไมมีรสเค็มจัด การดื่มน้ำ สะอาดใหเ พยี งพอเปน แนวทางหนง่ึ ทช่ี วยใหระบบขบั ถา ยทำหนาท่ไี ดอ ยางปกติ 8. ระบบหมนุ เวยี นเลือดประกอบดวยหวั ใจ หลอดเลือด และเลอื ด 9. หวั ใจของมนุษยแบง เปน 4 หอง ไดแ ก หัวใจหองบน 2 หอง และหอ งลาง 2 หอ ง ระหวางหัวใจ หอ งบนและหัวใจหองลางมีล้ินหวั ใจกน้ั 10.หลอดเลือด แบงเปน หลอดเลอื ดอารเตอรี หลอดเลือดเวน หลอดเลอื ดฝอย ซึ่งมโี ครงสรา งตางกนั

เลือด ประกอบดว ยเซลลเ มด็ เลือด เพลตเลต และพลาสมา 11.การบบี และคลายตัวของหวั ใจทำใหเ ลือดหมนุ เวยี น และลำเลียงสารอาหาร แกสของเสยี และสาร อืน่ ๆ ไปยังอวัยวะและเซลลต า งๆ ทวั่ รา งกาย 12.เลือดที่มีปริมาณแกสออกซิเจนสูงจะออกจากหัวใจไปยังเซลลตางๆ ทั่วรางกาย ขณะ เดียวกัน แกสคารบอนไดออกไซดจากเซลลจะแพรเขาสูเลือด และลำเลียงกลับเขาสูหัวใจ และถูกสงไป แลกเปลยี่ นแกสที่ปอด 13.ชีพจรบอกถึงจังหวะการเตนของหัวใจซึ่งอัตราการเตนของหัวใจในขณะปกติและหลังจากทำ กิจกรรมตางๆ จะแตกตา งกัน สวนความดนั เลอื ดเกดิ จากการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด 14.อัตราการเตนของหัวใจมีความแตกตางกันในแตละบุคคล คนที่เปนโรคหัวใจและหลอดเลือดจะ สง ผลทำใหห วั ใจสบู ฉดี เลอื ดไมเปน ปกติ 15.การออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหาร การพักผอน และการรักษาภาวะทางอารมณใ ห เปน ปกติ จงึ เปน ทางเลอื กหน่ึงในการดแู ลรกั ษาระบบหมุนเวียนเลอื ดใหเ ปนปกติ 16.ระบบประสาทสวนกลาง ประกอบดวยสมองและไขสันหลัง จะทำหนา ท่รี วมกบั เสน ประสาท ซ่ึง เปนระบบประสาทรอบนอกในการควบคุมการทำงานของอวัยวะตางๆ รวมถึงการแสดง พฤตกิ รรมเพอ่ื การตอบสนองตอ ส่ิงเรา 17.เมื่อมีสิ่งเรามากระตุนหนวยรับความรูสึกจะเกิดกระแสประสาทสงไปตามเซลลประสาทรับ ความรูส ึกไปยังระบบประสาทสวนกลาง แลวสง กระแสประสาทมาตามเซลลประสาทสงั่ การไปยัง หนวยปฏิบัตงิ าน เชน กลามเน้ือ 18.ระบบประสาทเปนระบบที่มคี วามซับซอนและมีความสัมพันธกับทุกระบบในรางกาย ดังนั้น จึง ควรปองกันการเกิดอุบัติเหตุทีก่ ระทบกระเทือนตอสมอง หลีกเลี่ยงการใชสารเสพติด หลีกเลี่ยง ภาวะเครียด และรับประทานอาหารที่มีประโยชน เพื่อดูแลรักษาระบบประสาทใหทำงานเปน ปกติ 19.มนุษยมรี ะบบสืบพนั ธุที่ประกอบดว ยอวัยวะตางๆ ที่ทำหนาที่เฉพาะ โดยรังไขในเพศหญิงจะทำ หนาทผ่ี ลิตเซลลไ ข สว นอณั ฑะในเพศชายจะทำหนาที่สรางเซลลอ สุจิ 20.ฮอรโมนเพศทำหนาที่ควบคุมการแสดงออกของลักษณะทางเพศที่แตกตา งกัน เมื่อเขาสูวัยหนมุ สาวจะมกี ารสรางเซลลไขแ ละเซลลอ สจุ ิ การตกไข การมีรอบเดือน และถา มีการปฏิสนธขิ องเซลล ไขแ ละเซลลอ สุจิจะทำใหเกิดการต้งั ครรภ 21.การมีประจำเดือนมีความสัมพันธกับการตกไข โดยเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงของระดับ ฮอรโ มนเพศหญงิ 22.เมื่อเพศหญิงมีการตกไขแ ละเซลลไขไดรับการปฏิสนธิกับเซลลอสุจิจะทำใหไดไซโกต ไซโกต จะ เจริญเปนเอ็มบริโอและฟตัส จนกระทั่งคลอดเปนทารก แตถาไมมีการปฏิสนธิ เซลลไขจะ สลายตัว ผนังดานในมดลกู รวมท้ังหลอดเลือดจะสลายตัวและหลุดลอกออก เรยี กวา ประจำเดอื น การคุมกำเนิดเปนวิธีปองกันไมใหเกิดการตัง้ ครรภ โดยปองกันไมใหเกิดการปฏสิ นธิหรือไมใหม ี การฝง ตัวของเอ็มบรโิ อ ซึง่ มหี ลายวิธี เชน การใชถงุ ยางอนามยั การกนิ ยาคุมกำเนดิ 3. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

ระบบหายใจมอี วยั วะท่ีเปน ทางเดนิ ของอากาศ ไดแก จมกู ทอลม และปอด และมีอวยั วะท่เี ก่ียวขอ ง ไดแก กะบังลมและกระดูกซี่โครง โดยอากาศเคลื่อนที่เขาและออกจากปอดเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและ ความดันภายในชองอกซึ่งเกี่ยวกับการทำงานของกะบังลมและกระดูกซี่โครง เมื่อมนุษยหายใจนำอากาศเขาสู รางกาย อากาศเดินทางผานจมูก ทอลม และเขาสูปอดซึง่ เปนบริเวณท่ีเกดิ การแลกเปลี่ยนแกสออกซิเจนกับแกส คารบ อนไดออกไซด โดยแกส ออกซเิ จนแพรจากถงุ ลมเขา สหู ลอดเลอื ดฝอย สวน แกส คารบ อนไดออกไซดแพรจาก หลอดเลือดฝอยเขาสูถุงลมเพื่อกำจัดออกจากรางกายผานการหายใจออก แกสออกซิเจนที่แพรเขาสูหลอดเลือด ฝอยถกู ลำเลียงไปยงั เนือ้ เยื่อตางๆ ของรางกายและเกิดการแลกเปลี่ยนแกสขึ้น โดยแกสออกซิเจนจากหลอดเลือด ฝอยแพรเขาสูเนื้อเยื่อ สวนแกสคารบอนไดออกไซดแพรจากเนือ้ เยื่อเขาสูหลอดเลือดฝอยเพื่อลำเลียงไปยังปอด และกำจัดออกจากรางกาย ซ่ึงการสบู บหุ ร่ีและการสูดอากาศที่มีสารปนเปอ นอาจเปนสาเหตขุ องโรคระบบทางเดิน หายใจ เชน โรคถงุ ลมโปง พอง ดังนัน้ จึงควรดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบหายใจใหทำงานอยา งปกติ ระบบขับถา ยมอี วยั วะทเี่ กี่ยวของ ไดแก ไต ทอไต กระเพาะปสสาวะ และทอ ปสสาวะ ภายในไตมีหนวยไต ทำหนาที่กำจัดของเสียตางๆ ออกจากเลือด และดูดสารที่มีประโยชนกลับเขาสูเลือด ของเหลวที่ผานการทำงาน ของหนว ยไตจะไหลผา นทอไตไปเก็บในกระเพาะปสสาวะเพอ่ื กำจัดออกจากรางกายผาน ทอ ปสสาวะ ซง่ึ การเลือก รับประทานอาหารทไ่ี มม รี สจดั และการด่มื น้ำอยางเพยี งพอเปนแนวทางในการดูแลรักษาอวยั วะในระบบขับถายให ทำงานอยา งปกติ ระบบหมนุ เวียนเลือดประกอบดว ยหัวใจ แบง ออกเปน 4 หอง ไดแก หอ งบน 2 หอง และหอ งลา ง 2 หอง มีลิ้นหัวใจกัน้ ระหวางหองบนและหองลาง หัวใจทำหนาที่สูบฉีดเลือดไปยังอวัยวะตา งๆ หลอดเลือดแบงออกเปน หลอดเลือดอารเตอรีทำหนา ท่ีลำเลยี งเลือดทีม่ ีแกสออกซเิ จนสูงไปยังเซลล (ยกเวนหลอดเลือดอารเตอรีจากหัวใจ ไปยังปอด) หลอดเลือดเวนทำหนาที่ลำเลียงเลือดที่มีแกสคารบอนไดออกไซดสูงจากเซลลกลับสูหัวใจ (ยกเวน หลอดเลือดเวนจากปอดกลับมายงั หัวใจ) และหลอดเลือดฝอยทำหนาท่แี ลกเปลยี่ นแกสและสารอาหาร และเลือด ประกอบดวยเซลลเม็ดเลือดแดงทำหนาที่ลำเลียงแกสออกซิเจนไปหลอเลี้ยงเซลล เซลลเม็ดเลือดขาวทำหนาที่ กำจัดเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม และเพลตเลตทำหนาที่ ชวยการแข็งตัวของเลือด ระบบหมุนเวียนเลือดมีการ หมุนเวียนอยางเปนระบบ โดยเลอื ดที่มีแกสออกซเิ จนต่ำ แตแ กสคารบ อนไดออกไซดสงู เขาสูหวั ใจหองบนขวาและ ผานลงสูหัวใจหองลางขวา แลวลำเลยี งไปยงั ปอดเพอ่ื แลกเปลย่ี นแกส กลายเปน เลือดท่ีมีแกส ออกซิเจนสูง แตมแี กส คารบอนไดออกไซดต่ำ กลับเขาสหู ัวใจหอ งบนซายและผานลงสูหัวใจหองลางซา ยเพ่อื นำเลือดทม่ี แี กสออกซิเจนสูง ไปยังเซลลต างๆ โดยการออกกำลงั กาย การเลือกรับประทานอาหาร และการรกั ษาสภาวะทางอารมณชวยใหระบบ หมุนเวียนเลอื ดทำงานปกติ ระบบประสาทประกอบดวยสมองทำหนาที่ควบคุมการทำงานของรางกาย ไขสันหลังทำหนาที่สงผาน กระแสประสาท และเสนประสาททำหนาที่รับสงกระแสประสาท ซึ่งมีเซลลประสาทอยูจำนวนมาก การทำงาน ของระบบประสาทเกิดจากการสงกระแสประสาทจากอวัยวะรับความรูสึกไปยังไขสันหลังและ สงตอไปยังสมอง จากนน้ั สมองสง กระแสประสาทผา นไขสันหลงั ไปยงั หนว ยปฏิบัติการตางๆ ระบบประสาทเก่ียวของกับการทำงาน ของทุกระบบจึงควรปองกันการกระทบกระเทือนของสมองและไขสันหลัง หลีกเลี่ยงการใชสารเสพติด และภาวะ เครยี ด เพือ่ ดูแลรักษาระบบประสาทใหทำงานอยา งเปนปกติ ระบบสืบพนั ธแุ บง ออกเปนระบบสบื พันธเุ พศชาย มกี ารสรา งเซลลอสจุ ิจากอณั ฑะซง่ึ ทำหนาที่เปน เซลลสืบ พันธเพศชาย ถูกควบคมุ โดยฮอรโมนเทสโทสเทอโรน และระบบสบื พนั ธุเ พศหญิง มกี ารสรา งเซลลไขจ ากรงั ไขซงึ่ ทำ

หนา ทเี่ ปนเซลลสืบพันธเุ พศหญิง ถกู ควบคมุ โดยฮอรโมนโพรเจสเทอโรนและฮสี โตรเจน เพศหญิงในวยั เจริญพันธุมี การตกไข เดือนละ 1 เซลล และหากเซลลไ ขไมไดรับการปฏิสนธิจากเซลลอสุจจิ ะกลายประจำเดือน แตหากเซลล ไขไดรบั การปฏสิ นธจิ ากอสจุ จิ ะแบงเซลลเปนไซโกต เอม็ บริโอ และเจรญิ เปนทารกในครรภ ซ่งึ อยูในครรภประมาณ 9 เดือน อยางไรก็ตาม มีวิธีการคุมกำเนิดหากไมพรอมสำหรบั การมบี ุตร เชน การคุมกำเนิดโดยวิธีทางธรรมชาติ การใชอปุ กรณ การใชสารเคมี การทำหมัน 4. สมรรถนะสำคญั ของผูเรียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการสังเกต 2) การสำรวจคน หา 3) การจำแนกประเภท 4) ทักษะการทดลอง 5) ทกั ษะการกำหนดและควบคมุ ตวั แปร 6) ทักษะการลงความเหน็ จากขอ มูล 7) ทักษะการตีความหมายขอ มูลและการลงขอ สรุป 8) ทกั ษะการการจดั กระทำและส่อื ความหมายขอ มูล 3. ความสามารถในการแกปญ หา 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5. ช้นิ งาน/ภาระงาน - ผงั มโนทัศน เรื่อง ระบบหายใจ - ผงั มโนทศั น เรอื่ ง ระบบขับถา ย - ผังมโนทัศน เร่อื ง ระบบหมุนเวยี นเลอื ด - ผงั มโนทัศน เรอื่ ง ระบบประสาท - ผงั มโนทศั น เรื่อง อวัยวะรบั สมั ผัสของมนษุ ย - ผังมโนทัศน เรอื่ ง ระบบสืบพนั ธุ - แผนพับ เรื่อง สารพิษในบุหรี่ที่สงผลตอระบบหายใจ หรือเรื่อง สารพิษในอากาศที่สงผลตอ ระบบ หายใจ - แผน พบั เร่อื ง การตง้ั ครรภกอ นวยั อนั ควร - รายงาน เรือ่ ง ไตเทียม - รายงาน เรอ่ื ง ระบบหมนุ เวยี นเลือดของสัตว - รายงาน เร่ือง การเปลี่ยนแปลงของรา งกายเขาสวู ยั หนมุ สาว - แบบจำลองระบบหมนุ เวียน - แบบจำลองระบบรางกายมนุษย 6. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วิธวี ัด เครอ่ื งมือ เกณฑก ารประเมนิ 6.1 การประเมินช้นิ งาน/ - ตรวจรายงาน เรอื่ ง - แบบประเมนิ รายงาน - ระดบั คุณภาพ 2 ไตเทยี ม ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจรายงาน เร่อื ง - แบบประเมินรายงาน ผา นเกณฑ - ระดับคณุ ภาพ 2 ระบบหมนุ เวยี นเลือด ของสัตว ผานเกณฑ - ตรวจรายงาน เรือ่ ง - แบบประเมินรายงาน - ระดบั คุณภาพ 2 การเปลี่ยนแปลงของ รางกายเขา สูวัยหนมุ ผานเกณฑ สาว - ระดับคุณภาพ 2 - ตรวจแผน พบั เร่อื ง - แบบประเมินช้ินงาน สารพิษในบุหร่ีที่ ผานเกณฑ สง ผลตอระบบหายใจ หรอื เร่อื ง สารพิษใน - ระดับคุณภาพ 2 อากาศที่สงผลตอ ผา นเกณฑ ระบบหายใจ - ตรวจแผน พบั เรื่อง - แบบประเมินชิ้นงาน - ระดับคุณภาพ 2 การต้ังครรภก อนวัย ผานเกณฑ อนั ควร - ตรวจผังมโนทศั น - แบบประเมนิ ชิน้ งาน - ระดับคุณภาพ 2 เรื่อง ระบบหายใจ ผานเกณฑ - ตรวจผังมโนทศั น - แบบประเมนิ ช้ินงาน เรื่อง ระบบขับถา ย - ระดบั คุณภาพ 2 - ตรวจผังมโนทัศน - แบบประเมนิ ช้นิ งาน ผานเกณฑ เร่ือง ระบบหมุนเวียน เลอื ด - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน - ระดับคณุ ภาพ 2 - ตรวจผงั มโนทศั น ผา นเกณฑ เร่อื ง อวัยวะรบั สมั ผสั ของมนุษย - แบบประเมินชนิ้ งาน - ระดับคณุ ภาพ 2 - ตรวจผงั มโนทัศน ผา นเกณฑ เรอ่ื ง ระบบประสาท - แบบประเมินชน้ิ งาน - ตรวจผังมโนทศั น - ระดบั คณุ ภาพ 2 เรอ่ื ง ระบบสบื พนั ธุ - แบบประเมนิ ผา นเกณฑ แบบจำลอง - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา นเกณฑ - ระดับคณุ ภาพ 2

รายการวัด วธิ ีวดั เครื่องมือ เกณฑก ารประเมนิ - แบบจำลองระบบ - แบบประเมิน ผา นเกณฑ หมนุ เวยี นเลอื ดของ มนษุ ย แบบจำลอง - ประเมนิ ตาม - แบบจำลองระบบ - แบบทดสอบ สภาพจริง รางกายมนุษย 6.2 การประเมินกอ น กอ นเรียน - รอยละ 60 เรียน - ตรวจแบบทดสอบ - ใบงานที่ 1.1 ผา นเกณฑ - แบบทดสอบกอ นเรยี น กอนเรยี น หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 - รอ ยละ 60 6.3 การประเมินระหวา ง ผา นเกณฑ การจัดกจิ กรรม 1) ระบบหายใจ - ตรวจใบงานที่ 1.1 - รอยละ 60 ผานเกณฑ - ตรวจ Topic - Topic Question Question - แบบฝกหดั - ตรวจแบบฝกหัด 7. กิจกรรมการเรยี นรู เวลา 6 ชว่ั โมง แผนฯ ที่ 1 : ระบบหายใจ แผนฯ ท่ี 2 : ระบบขับถาย เวลา 4 ช่วั โมง แผนฯ ท่ี 3 : ระบบหมนุ เวียนเลอื ด เวลา 7 ชั่วโมง แผนฯ ที่ 4 : ระบบประสาท เวลา 3 ชว่ั โมง แผนฯ ที่ 5 : ระบบสืบพันธุ เวลา 8 ชว่ั โมง 8. ส่ือ/แหลง การเรยี นรู 8.1 สอื่ การเรยี นรู 1) หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร ม.2 เลม 1 หนว ยการเรยี นรูท ี่ 1 ระบบรา งกายมนษุ ย 2) แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ม.2 เลม 1 หนวยการเรียนรทู ่ี 1 ระบบรางกายมนุษย 3) ใบงานที่ 1.1 เร่อื ง ระบบหายใจ 4) ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง ระบบขับถาย 5) ใบงานที่ 1.3 เร่อื ง หัวใจและหลอดเลือด 6) ใบงานที่ 1.4 เร่อื ง เลอื ด 6) ใบงานท่ี 1.5 เรือ่ ง ระบบประสาท 7) ใบงานที่ 1.6 เรือ่ ง ระบบสืบพนั ธเุ พศชาย

8) ใบงานท่ี 1.7 เรื่อง ระบบสืบพนั ธุเ พศเหญิง 9) ใบงานที่ 1.8 เรอื่ ง การปฎิสนธแิ ละการตงั้ ครรภ 10) ภาพยนตรสารคดีสัน้ Twig 10) PowerPoint เร่อื ง ระบบรา งกายมนุษย 11) QR Code 8.2 แหลงการเรยี นรู 1) ชั้นเรียน 2) หอ งสมดุ 3) แหลงขอมลู สารสนเทศ 2.3 การจดั ทำแผนการจัดการเรียนร(ู 10 คะแนน) แผนการจดั การเรยี นรู สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร รายวิชา วิทยาศาสตร รหสั วชิ า ว22101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2564 หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 เรื่อง ระบบหายใจ เวลา 1 ชว่ั โมง วันท.ี่ ...........เดือน..........................................พ.ศ.......................ครผู สู อน............................................................ ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชีว้ ัด ว1.2 ว2.1 ระบุอวยั วะและบรรยายหนา ที่ของอวัยวะท่ีเก่ยี วขอ งในระบบหายใจ ว2.2 อธิบายกลไกการหายใจเขาและออกโดยใชแบบจำลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการ แลกเปล่ยี นแกส ว2.3 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวยั วะใน ระบบหายใจใหท ำงานเปน ปกติ 2. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 1. อธิบายโครงสรา งและหนาทขี่ องอวัยวะท่ีเกยี่ วของในระบบหายใจได (K) 2. อธิบายการเคลอ่ื นที่ของอากาศเขาและออกจากปอดได (K)

3. อธิบายกลไกการหายใจเขาและออกได (K) 4. กระบวนการกลุม (P) ๕. สนใจใฝรูในการศกึ ษา (A) 3. สาระการเรียนรู - ระบบหายใจมีอวยั วะตา งๆ ท่ีเกย่ี วขอ ง ไดแ ก จมูก ทอ ลม ปอด กะบงั ลม และกระดกู ซ่โี ครง - มนุษยหายใจเขาเพื่อนำแกสออกซเิ จนเขาสูรางกายเพื่อนำไปใชในเซลล และหายใจออกเพื่อกำจัดแกส คารบอนไดออกไซดอ อกจากรางกาย - อากาศเคลื่อนที่เขาและออกจากปอดได เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดันของอากาศ ภายในชองอกซ่ึงเกยี่ วขอ งกบั การทำงานของกะบงั ลมและกระดูกซ่ีโครง - การแลกเปลี่ยนแกส ออกซิเจนกับแกสคารบอนไดออกไซดใ นรางกายเกิดขึ้นบริเวณ ถุงลมในปอดกบั หลอดเลือดฝอยท่ถี งุ ลม และระหวา งหลอดเลอื ดฝอยกับเนอื้ เยอื่ - การสูบบุหรี่ การสูดอากาศที่มีสารปนเปอน และการเปนโรคเกี่ยวกับระบบหายใจบางโรค อาจทำให เกิดโรคถุงลมโปงพอง ซ่ึงมีผลใหค วามจอุ ากาศของปอดลดลง ดังน้ัน จึงควรดแู ลรักษาระบบหายใจใหทำหนาที่เปน ปกติ 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ระบบหายใจมีอวัยวะที่เปนทางเดินของอากาศ ไดแก จมูก ทอลม และปอด และมีอวัยวะที่เกี่ยวของ ไดแก กะบังลมและกระดูกซี่โครง โดยการคลื่อนท่ีของอากาศเขาและออกจากปอดเปนผลจากการเปลี่ยนแปลง ปรมิ าตรและความดนั ภายในชอ งอกซ่งึ เกย่ี วกับการทำงานของกะบงั ลมและกระดกู ซโ่ี ครง เมื่อมนุษยหายใจนำอากาศเขาสูรางกาย อากาศเดินทางผานจมูก ทอลม และเขาสูปอดซึ่งเปนบริเวณท่ี เกิดการแลกเปลี่ยนแกสออกซิเจนกับแกสคารบอนไดออกไซด โดยแกสออกซิเจนแพรจากถุงลมเขา สูหลอดเลือด ฝอย สวนแกสคารบอนไดออกไซดแพรจากหลอดเลือดฝอยเขาสูถงุ ลมเพื่อกำจัดออกจากรา งกายผานการหายใจ ออก แกสออกซิเจนที่แพรเขาสูหลอดเลือดฝอยจะถูกลำเลียงไปยังเนื้อเยื่อตาง ๆ ของรางกายและเกิดการ แลกเปล่ียนแกสขึ้นท่เี ซลล โดยแกสออกซเิ จนจากหลอดเลอื ดฝอยแพรเขา สูเซลล สว นแกส คารบอนไดออกไซดแ พร จากเซลลเ ขาสหู ลอดเลอื ดฝอยเพื่อลำเลียงไปยงั ปอดและกำจัดออกจากรางกาย การสูบบุหรีแ่ ละการสูดอากาศที่มีสารปนเปอ นอาจเปนสาเหตุของโรคระบบทางเดนิ หายใจ เชน โรคถงุ ลมโปงพอง ดังนน้ั จงึ ควรดแู ลรักษาอวยั วะในระบบหายใจใหทำงานอยางปกติ เชน ออกกำลงั กายอยางสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีมลพิษทางอากาศและสถานที่แออัด งดสูบบุหรี่หรือหลีกเลี่ยงการอยูใกลกับผูสูบบุหรี่และ ผปู วยโรคระบบทางเดินหายใจ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค 5.1 สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการสังเกต 2) ทักษะการสำรวจคน หา

3) ทักษะการวัด 4) ทกั ษะการทดลอง 5) ทักษะการลงความเหน็ จากขอมูล 6) ทักษะการตีความหมายขอ มลู และการลงขอสรุป 3. ความสามารถในการแกปญ หา 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5.2 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค 1. มวี ินัย 2. ใฝเรยี นรู 3. มงุ มัน่ ในการทำงาน 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5Es) ซึง่ มีขนั้ ตอนดงั น้ี ชัว่ โมงที่ 1 ข้นั นำ ข้นั กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ นเรยี น หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบรา งกายมนุษย 2. ถามคำถามกระตุนความสนใจของนักเรียนวา นกั เรียนรูจ กั ระบบของรางกายระบบใดบา ง และระบบท่ี รูจ ักมคี วามสำคัญอยางไร (แนวตอบ คำตอบข้นึ อยกู ับดลุ ยพินิจของครูผสอน เชน ระบบยอ ยอาหารทำหนาท่ียอย อาหารใหเปนสารอาหารเพื่อนำไปใชในการสรางพลงั งานเพือ่ การดำรงชีวิต หรือระบบขับถายทำหนาที่กำจดั ของ เสีย ตา งๆ ออกจากรา งกาย) 3. ถามคำถาม Big Question จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร ม.2 เลม 1 กับนักเรียนวา ระบบตางๆ ใน รางกายมนุษยมีการทำงานอยางไร (แนวตอบ คำตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผสอน เชน ระบบหายใจมีการ หายใจนำอากาศจากภายนอกเขาสูรางกายเพื่อนำอากาศที่มีแกสออกซิเจนสูงไปแลกเปลี่ยนแกสที่ปอดและนำ อากาศที่มีแกสคารบอน- ไดออกไซดสูงมากำจดั ออกจากรางกายผา นการหายใจออก หรือระบบหมุนเวยี นเลอื ดมี หัวใจ ทำหนาทส่ี บู ฉีดเลอื ดไปตามหลอดเลือดอารเ ตอรเี พ่ือนำเลอื ดท่มี แี กสออกซิเจนสงู ไปหลอ เล้ียงเซลลต างๆ ท่ัว รางกาย และนำเลอื ดทีม่ ีแกสคารบ อนไดออกไซดสูงกลับเขาสูหวั ใจทางหลอดเลอื ดเวนหรอื นำเลือดท่ีมีของเสียไป กำจดั ออกทางอวยั วะตา ง ๆ เชน ไต) 4. นักเรียนทำ Understanding Check จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร ม.2 เลม 1 เพื่อตรวจสอบความ เขาใจของตนเองกอนเรยี น 5. ถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร ม.2 เลม 1 เพอ่ื ทบทวนความรูเ ดิมของ นักเรียนวา มนษุ ยหายใจเขา และออกผา นทางอวยั วะใด (แนวตอบ จมูกและปาก) ข้นั สอน ข้ันสำรวจคน หา (Explore)

๑. เกริ่นใหนักเรียนฟงวา ระบบหายใจเปนระบบแลกเปลี่ยนแกสของรางกายกับสิ่งแวดลอม โดยแกส ออกซิเจนจากสิ่งแวดลอมเขาสูรางกายและถูกนำไปใชสลายสารอาหารภายในเซลลเพื่อสรางพลังงาน ซึ่งไดแ กสคารบอนไดออกไซดออกมาเปนผลิตภัณฑที่จะถูกนำไปกำจัดออกทางการหายใจออก ระบบ หายใจมีปอดเปนอวยั วะสำคญั ในการแลกเปลย่ี นแกส ๒. นักเรียนศึกษาโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะในระบบหายใจ ประกอบดวยจมูก ทอลม ปอด และ อวัยวะทีท่ ำหนาที่เกี่ยวกับการหายใจ ไดแก กะบังลมและกระดกู ซี่โครง โดยใชแบบจำลองอวัยวะในระบบหายใจ หรือภาพจากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร ม.2 เลม 1 หรอื ใชวิดีทศั นจากสอื่ ออนไลน เชน - https://www.youtube.com/watch?v=uyqt7ekkP2E - https://www.youtube.com/watch?v=mOKmjYwfDGU - https://www.youtube.com/watch?v=PLFq-1h4870 อธิบายความรู (Explain) 1. จับสลากหมายเลขของนักเรียน 5 คน อธิบายโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะในระบบหายใจ ประกอบดวยจมกู ทอลม ปอด กะบังลม กระดกู ซ่ีโครง 2. จับสลากหมายเลขของนกั เรียน 3 คน รวมกนั เขยี นแผนผงั แสดงการเคล่ือนทข่ี องอากาศเขาและออก จากรา งกาย พรอมอธิบายแผนผงั แสดงการเคลื่อนที่ของอากาศ 3. ถามคำถามนักเรียน โดยใชค ำถามตอ ไปนี้ - อากาศจากสง่ิ แวดลอ มทีผ่ านเขาสรู างกายจะผานอวยั วะใดบาง (แนวตอบ อากาศเคลื่อนท่เี ขาสูรางกาย ทางจมูกหรอื ปาก ผานเขาสูโพรงจมกู ทอ ลม ปอด และถุงลม ตามลำดับ) - ในอากาศประกอบดวยฝุน ละอองและเชอ้ื โรคจำนวนมาก ระบบหายใจจะมกี ารปองกันการหายใจนำฝุน ละอองและเช้ือโรคเขาสรู า งกายไดอยางไร (แนวตอบ ภายในโพรงจมูกมีขนทำหนา ทก่ี รองฝนุ ละออง เช้ือโรค และ สิ่งแปลกปลอมไมใหเขาสูทางเดินหายใจ และบริเวณเซลลเยื่อบุของผนังทอลมสามารถดักจับฝุนละออง เชื้อโรค และสงิ่ แปลกปลอมไมใหเ ขา สูปอด) - ถุงลมมีลักษณะสำคัญที่เหมาะสมตอการแลกเปลี่ยนแกสอยางไร (แนวตอบ ถุงลมมีลักษณะเปนถุง ขนาดเล็ก มผี นงั บาง และมหี ลอดเลือดฝอยมาหลอเลี้ยงจำนวนมาก ซึง่ ทำใหเกดิ การแลกเปลี่ยนแกสระหวางถุง ลมกับหลอดเลือดฝอย) - กะบังลมและกระดูกซี่โครงเกี่ยวของกับการหายใจอยางไร (แนวตอบ กะบังลมทำหนาที่รั้งปอดลง เพอ่ื ใหอากาศผา นเขา สปู อดขณะหายใจเขา และดนั ปอดขนึ้ เพอื่ ไลอ ากาศออกจากปอดขณะหายใจออก สวนกระดูก ซโ่ี ครงทำงานรว มกับกลามเนอื้ ยึดกระดูกซ่ีโครงในการเปลย่ี นแปลงปรมิ าตรของชอ งอกระหวางการหายใจเขาและ ออก) ๓. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะในระบบหายใจเพื่อใหได ขอสรุป ดังนี้ ระบบหายใจประกอบดวยจมูกซึง่ ภายในมีขนทำหนาที่กรองฝุนละออง เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม ไมใหเ ขา สูทางเดินหายใจ ทอ ลมเปน ทอ กลวง ประกอบดว ยกระดกู ออนรูปเกอื กมาชวยปองกนั การแฟบหรือยุบตัว ขณะหายใจเขาและออก ทอลมเปนทางผานของอากาศเขาสูปอดและชวยดักจับฝุนละออง เชื้อโรค และส่ิง แปลกปลอมไมใ หเขาสปู อด ปอดประกอบดวยถุงลมจำนวนมาก ซึง่ จะมีการแลกเปล่ียนแกสระหวางถงุ ลมกับหลอด เลือดฝอย และอวัยวะที่เก่ียวของกบั ระบบหายใจ ไดแก กะบังลมทำหนาที่รั้งหรือดันปอดในขณะหายใจเขาและ

ออก และกระดกู ซี่โครงทำหนาที่รวมกับกลามเนื้อยึดกระดกู ซโ่ี ครงในการเปลีย่ นแปลงปรมิ าตรของชองอกระหวาง การหายใจเขาและออก ขัน้ สรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูรว มกนั สรปุ เรอื่ ง ระบบหายใจ ในประเด็นตา ง ๆ ดงั น้ี - ความสำคญั ของระบบหายใจ - โครงสรา งและหนา ท่ขี องอวยั วะในระบบหายใจ 2. ตรวจผังมโนทัศน เรือ่ ง ระบบหายใจ 3. ตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 1.1 เรือ่ ง ระบบหายใจ 4. ตรวจสอบผลจากการทำแบบฝกหัดในแบบฝกหดั วทิ ยาศาสตร ม.2 เลม 1 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วธิ วี ดั เคร่อื งมือ เกณฑการ 7.1 การประเมนิ ชนิ้ งาน/ - ตรวจแผนพบั เร่อื ง - แบบประเมนิ ชิน้ งาน ประเมนิ - ระดบั คุณภาพ ภาระงาน (รวบยอด) สารพิษในบหุ รี่ทีส่ งผล - แบบประเมินช้นิ งาน 2 7.2 การประเมนิ กอนเรยี น ตอ ระบบหายใจ หรือ ผา นเกณฑ เร่ือง สารพิษในอากาศที่ - ระดับคุณภาพ - แบบทดสอบ สง ผลตอระบบหายใจ 2 กอนเรยี นหนว ยการ - ตรวจผงั มโนทัศน เรอ่ื ง ผานเกณฑ เรียนรูท ่ี 1 ระบบหายใจ - ประเมินตาม สภาพจริง 7.3 ประเมินระหวาง - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ การจัดกจิ กรรม กอนเรียน กอนเรยี น - รอ ยละ 60 การเรียนรู ผานเกณฑ 1) ระบบหายใจ - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.1 - ตรวจ Topic - Topic Question - รอยละ 60 - แบบฝกหัด ผานเกณฑ Question - ตรวจแบบฝก หัด - รอยละ 60 ผานเกณฑ 2) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - ผลงานท่ีนำเสนอ ผลงาน - ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ

รายการวัด วธิ วี ดั เครือ่ งมอื เกณฑการ 4) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ การทำงาน การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล 2 รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา นเกณฑ 5) พฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ การทำงานกลมุ การทำงานกลมุ การทำงานกลมุ 2 6) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ ผา นเกณฑ อันพึงประสงค - ระดบั คณุ ภาพ ใฝเรยี นรู และมงุ มนั่ คณุ ลกั ษณะ 2 ในการทำงาน อันพึงประสงค ผา นเกณฑ 8. สอื่ /แหลงการเรียนรู 8.1 สอื่ การเรียนรู 1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร ม.2 เลม 1 หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 ระบบรา งกายมนษุ ย 2) ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง ระบบหายใจ 3) PowerPoint เรื่อง ระบบหายใจ 8.2 แหลงการเรยี นรู 1) หองเรียน 2) หองสมุด 3) อินเทอรเน็ต

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ระบบหายใจ คําชีแ้ จง : จงตอบคำถามตอ่ ไปนีใ้ หถ้ ูกต้อง 1. จงอธบิ ายลัก ษณะและหนา้ ท่ขี องอวยั วะในระบบทางเดินหายใจต่อไปน้ี 2. จงเขยี นลำดบั การเคล่อื นทข่ี องอากาศจากภายนอกรา่ งกายเข้าสู่ปอด 3. จงเปรยี บเทียบการเปล่ยี นแปลงของอวัยวะตา่ งๆ เมื่อหายใจเขา้ และออกจากร่ากาย อวัยวะ การหายใจเข้า การหายใจออก กะบงั ลม ................................................... ................................................... กระดกู ซีโ่ ครง ................................................... ................................................... ปริมาตรของช่องอก ................................................... ...................................................

2.4 การนำเสนอผลการประเมนิ ไปใช (5 คะแนน) 2.4.1 แบบบนั ทึกขอ มูลนักเรยี นรายบุคคล แบบสรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาปท� ี่ 2 ป�การศกึ ษา 2564 จำนวนนกั เรียน 21 คน ชาย 7 คน หญิง 14 คน ด้านท่ี รายการวิเคราะห์ ดี ปานกลาง ปรับปรงุ หมาย ผเู้ รยี น เหตุ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ - 1 ดา้ นความรู้ ความสามารถ - และ ประสบการณ์ทางภาษา - - 1) ความรพู้ น้ื ฐาน 9 42.85 11 52.38 1 4.76 - 2) ความสามารถในการแกป้ �ญหา 3) ความสนใจ /สมาธิในการเรยี น 2 ความพร้อมดา้ นสตปิ �ญญา 1) ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ 9 42.85 11 52.38 1 4.76 2) ความมีเหตผุ ล 3) ความสามารถในการเรยี นรู้ 3 ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม 1) กลา้ แสดงออก 9 42.85 11 52.38 1 4.76 2) การควบคุมอารมณ์ 3) ความมุ่งม่นั ขยนั หมน่ั เพียร 4 ความพรอ้ มด้านรา่ งกาย จติ ใจ 1) สุขภาพรา่ งกายสมบูรณ์ 21 100 - - - - 2) การเจรญิ เตบิ โตสมวยั 3) มีสขุ ภาพจิตดี 5 ความพร้อมดา้ นสังคม 1) การปรบั ตัวเขา้ กับผู้อน่ื 21 100 - - - - 2) การช่วยเหลอื เสียสละแบ่งป�น 3) มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎ กตกิ า ลงชอ่ื ชวนิ ทรพ์ ล จนั ทรค์ ลา้ ย ครูผู้สอน

(นายชวินทรพ์ ล จนั ทร์คลา้ ย ) 2.4.2 บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู





2.4.3 วจิ ยั ในช้นั เรยี น