Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Talent Trainer

Talent Trainer

Published by channarong.56op, 2021-08-09 05:05:15

Description: Talent Trainer นายชาญณรงค์ จิรขจรกุล (เฟิร์ส) นักทรัพยากรบุคคล

Search

Read the Text Version

ตวั บ่งช้ี ๑ ดา้ นปฏบิ ตั กิ าร ๑.๑ ศึกษาข้อมูล องค์ความรู้ แนวทางเก่ียวกบั การบริหารและการพฒั นา ทรพั ยากรบุคคล หรอื ข้อมลู ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าที่ ๑.๑ (๑) ศกึ ษาขอ้ มลู องคค์ วามรแู้ ละแนวทางทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั การพฒั นาทรพั ยากรบุคคล หรอื งานในบทบาทหน้าท่ี ผ่านการเรยี นรใู้ นรูปแบบเอกสาร ค่มู อื สอ่ื รปู แบบออนไลน์ การอบรม หรอื การสมั มนา อย่างน้อย ๓ เรอ่ื ง ๑.๑ (๒) จดั เกบ็ องคค์ วามรทู้ ไ่ี ดเ้ ป็นหมวดหม่สู ามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดใ้ นการทางาน ๑.๑ (๓) มกี ารถ่ายทอด เผยแพรค่ วามรใู้ หผ้ อู้ ่นื สามารถนาไปปรบั ใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม ๑.๒ สรา้ ง พฒั นาสื่อ เครอื่ งมือ ในการทางาน ๑.๒ (๑) มกี ารสรา้ ง พฒั นาสอ่ื เครอ่ื งมอื หรอื ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี หเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การทางาน อยา่ งน้อย ปีละ ๒ ชน้ิ งาน ๑.๒ (๒) มกี ารถา่ ยทอดสอ่ื ใหผ้ อู้ น่ื นามาปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ องคก์ ร ๑.๓ ศึกษา วิเคราะห์ ดาเนิ นการเก่ียวกบั ข้อมูลสารสนเทศและกาหนด ความต้องการและความจาเป็นในการพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล ๑.๓ (๑) ศึกษา วเิ คราะห์ ดาเนินการเก่ียวกบั ขอ้ มูลสารสนเทศ เพ่อื วเิ คราะห์ความ ตอ้ งการและความจาเป็นของผรู้ บั บรกิ าร/กลมุ่ เป้าหมาย ๑.๓ (๒) มีแนวทางการพฒั นาหรือแก้ไขปัญหา เพ่ือตอบสนองความต้องการและ ความจาเป็นของผรู้ บั บรกิ าร/กลุ่มเป้าหมาย

ตัวบง่ ชี้ที่ 1. ด้านการปฏบิ ตั กิ าร 1.1 ศกึ ษาขอ้ มลู องค์ความรแู้ นวทางเก่ียวกับการบรหิ ารและการพฒั นาทรพั ยากรบุคคลหรอื เก่ียวขอ้ งกบั งานตามบทบาทหนา้ ที่ ได้ศึกษาหาความรู้ เก่ยี วกบั งานในหนา้ ที่ทรี่ บั ผดิ ชอบ และการพฒั นาตนเอง ผา่ นการเรียนรูใ้ นรูปแบบ ออนไลน์ และผา่ นการอบรม การสมั มนา ดังน้ี • วุฒิบัตร/เกยี รติบัตร ศึกษาขอ้ มลู องค์ความรู้แนวทางเก่ยี วกับการบริหารและการ พัฒนาทรัพยากรบุคคลหรอื เก่ยี วข้องกับงานตามบทบาทหน้าท่ี มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาข้อมลู องคค์ วามรู้แนวทางเก่ยี วกับการบริหารและการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลหรอื เกี่ยวขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าท่ี มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาข้อมลู องคค์ วามรู้แนวทางเก่ยี วกับการบริหารและการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลหรอื เกี่ยวขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าท่ี มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาข้อมลู องคค์ วามรู้แนวทางเก่ยี วกับการบริหารและการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลหรอื เกี่ยวขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าท่ี มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาข้อมลู องคค์ วามรู้แนวทางเก่ยี วกับการบริหารและการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลหรอื เกี่ยวขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าท่ี มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตัวบ่งชท้ี ่ี 1. ดา้ นการปฏบิ ตั ิการ 1.1 ศกึ ษาขอ้ มูล องค์ความรูแ้ นวทางเกีย่ วกับการบรหิ ารและการพฒั นาทรพั ยากรบุคคลหรือ เกยี่ วข้องกบั งานตามบทบาทหน้าที่ - การร่วมสัมมนาออนไลน์ หัวข้อการหาปริมาตรดินขุดด้วย Drone และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และประเมนิ เสถยี รภาพลาดดนิ เบ้ืองตน้ - การร่วมอบรมในโครงการ สร้างความมั่นใจในการเป็นศูนย์ฝึกอบรมประชาชนตามมาตรฐาน Amazing Thailand Safety & Health Administration (SHA) มาตรฐานนักทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

ตวั บง่ ช้ีที่ 1. ด้านการปฏบิ ัตกิ าร 1.1 ศกึ ษาขอ้ มลู องค์ความร้แู นวทางเกี่ยวกับการบรหิ ารและการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลหรือ เกย่ี วขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าที่ - การร่วมฝกึ อบรม หลกั สตู ร การใช้แผนที่ เครื่องภูมสิ ารสนเทศ เพื่อการสำรวจและจดั ทำข้อมูล กายภาพ เศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดล้อม - การรว่ มสัมมนากจิ กรรมเรียนรู้กระบวนการถอดองคค์ วามรชู้ มุ ชนและสรา้ งรปู แบบการจัดการ ความรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ภูมสิ งั คม มาตรฐานนกั ทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ที่ 1. ด้านการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาขอ้ มูล องค์ความรู้แนวทางเกีย่ วกับการบริหารและการพฒั นาทรพั ยากรบคุ คลหรือ เกยี่ วขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าที่ - รว่ มอบรมกิจกรรม เสรมิ สรา้ งองค์ความรู้ในการพัฒนาฐานเรียนรู้ “ฅนรักษแ์ มโ่ พสพ” ณ ศูนย์เมล็ด พนั ธุ์ขา้ วลำปาง - รว่ มอบรมโครงการฝกึ อบรม หลักสูตร วทิ ยากรและผูน้ ำการขบั เคลือ่ นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง รุ่นที่ 2 ณ ศนู ยภ์ ูมริ ักษ์ธรรมชาติ จ.นครนายก มาตรฐานนกั ทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1. ดา้ นการปฏิบตั ิการ 1.1 ศึกษาขอ้ มูล องค์ความรแู้ นวทางเก่ียวกับการบริหารและการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลหรือ เกีย่ วขอ้ งกับงานตามบทบาทหน้าท่ี • จดั เก็บองค์ความร้ทู ่ไี ดเ้ ปน็ หมวดหมู่ สามารถนำมาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดใ้ นการทำงาน รวบรวมองค์ความรู้(ถอดบทเรยี น) และจดั เกบ็ ในรูป ส่ือ แผ่นพบั ประกอบฐานเรยี นรู้ ฐาน ฅนรกั ษป์ า่ “...สมควรท่จี ะปลกู แบบปา่ สำหรับใช้ไม้หนึ่งปา่ สำหรับใช้ผลหน่ึง ป่าสำหรับใช้เป็นฟืนอยา่ งหน่ึงอนั น้แี จก ออกไปเป็นกว้างๆ ใหญๆ่ การที่จะปลูกต้นไม้สำหรับไดป้ ระโยชนด์ ังนี้ ในคำวิเคราะห์ของกรมปา่ ไมร้ สู้ กึ วา่ จะไมใ่ ชป่ า่ ไม้ จะเป็นสวนมากกว่าเป็นปา่ ไม้แต่วา่ ในความหมายของการช่วยเพ่ือต้นนำ้ ลำธารนัน้ ปา่ ไม้ เชน่ นจี้ ะเป็นสวนผลไม้กต็ าม หรือเปน็ สวนไม้ฟืนกต็ าม น่ันแหละเปน็ ปา่ ไมท้ ่ถี ูกต้อง เพราะทำหน้าทีเ่ ปน็ ปา่ คือเปน็ ตน้ ไมแ้ ละทำหน้าท่เี ป็นทรัพยากรในด้านสำหรบั เป็นผลท่มี าเปน็ ประโยชน์แกป่ ระชาชนได้...” พระราชดำรสั บางตอนเกี่ยวกบั ป่า ๓ อย่าง โยชน์ ๔ อย่าง ณ โรงแรมรินคำ จงั หวัดเชียงใหม่ วนั ที่ ๗ มกราคม ๒๕๒๓ ป่า ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อย่างของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ประโยชน์เพอื่ ให้“พออย”ู่ คือ การปลูกต้นไม้ที่ใช้เนื้อไม้และไม้เชิงเศรษฐกิจให้เป็นป่า ไม้กลุ่มนี้เป็นไม้อายุยาวนานซึ่งจะ เน้น ประโยชน์ในเนื้อไม้เพื่อสร้างบ้าน ทำเครื่องเรือน และถือได้ว่าเป็นการออมทรัพย์เพื่อสร้างความมั่นคงใน อนาคตต้นไมก้ ลุ่มนเี้ ช่น ตะเคยี นทองยางนา แดง สกั พะยงู พยอม เป็นตน้ ประโยชน์เพื่อให้ “พอกนิ ” คือ การปลกู ตน้ ไม้ท่ีกนิ ไดร้ วมท้ังใชเ้ ปน็ ยาสมนุ ไพร ไม้ในกลุ่มนี้ เชน่ แคมะรมุ ทุเรียน สะตอ ผักหวาน ฝางแฮม่ กลว้ ย ฟกั ข้าว เปน็ ตน้ ประโยชน์เพือ่ ให้ “พอใช”้ คือ การปลูกตน้ ไม้ใหเ้ ป็นปา่ ไมส้ ำหรับใช้สอยในครัวเรอื น อาทิ ทำฟืนเผาถ่าน ทำงานหัตถกรรม หรือ ทำนำ้ ยาซกั ล้าง ไมใ้ นกลุ่มน้ี เชน่ มะคำดคี วาย หวาย ไผ่ หมเี หมน็ เป็นตน้ ประโยชน์เพอื่ ให้ “พอรม่ เยน็ ” คือ ประโยชน์อย่างที่ ๔ ที่เกิดจากการปลูกป่า ๓ อย่าง “พอร่มเย็น”คือป่าทั้ง ๓ อย่างจะช่วยฟื้นฟู ระบบนิเวศดนิ และนำ้ ให้กลบั อดุ มสมบรู ณร์ ่มรื่นและฉำ่ เยน็ ข้ึนมา หลักการและวิธีการปลูกป่า ๕ ระดับ การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ประกอบด้วยต้นไม้ หลากหลายทั้งชนิดพันธุ์ ช่วงอายุ ลักษณะนิสัยและขนาดความสูง โดยเราสามารถจัดแบ่งตามระดับ ช่วงความสงู และระบบนิเวศได้ ๕ ระดับอนั ได้แก่ ๑. ไม้สงู เป็นกลมุ่ ต้นไมเ้ รือนยอดสงู สดุ และอายยุ นื ไมใ้ นระดบั น้ี เชน่ ตะเคยี น ยางนา เต็ง รงั ฯลฯ ๒. ไม้กลาง เป็นกลุ่มต้นไม้ที่ไม่สูงนัก ไม้ในระดับนี้ได้แก่บรรดาไม้ผลที่เก็บกินได้ เช่น มะม่วง ขนุน มังคุด กระทอ้ น ไผ่ สะตอ ฯลฯ มาตรฐานนกั ทรัพยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตัวบง่ ชี้ท่ี 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาข้อมูล องค์ความรูแ้ นวทางเก่ยี วกับการบริหารและการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลหรอื เกยี่ วข้องกับงานตามบทบาทหน้าท่ี ๓. ไม้เตี้ย เป็นกลุ่มต้นไม้พุ่มเตี้ย ไม้ในระดับนี้ เช่น พริก มะเขือ กะเพราผักหวานบ้าน ติ้ว เหรียง ฟ้าทะลาย โจร ฯลฯ ๔. ไม้เร่ยี ดนิ ไมใ้ นระดบั นี้เปน็ ตระกูลไม้เลื้อย เชน่ พรกิ ไทย รางจืด แตงโม ฟกั ทอง อัญชัน ฯลฯ ๕. ไม้หัวใตด้ นิ ไมใ้ นระดบั น้เี ชน่ ขงิ ขา่ มนั มอื เสอื บุก กวาวเครือ ขงิ ขา่ กระชาย ฯลฯ การปลกู ต้นไมจ้ ะต้องยึดแนวทางปลูกป่า ๓ อยา่ ง ไดป้ ระโยชน์ ๔ อยา่ ง ได้แก่ (๑) ปลูกไวก้ ิน คือ กิน เป็นอาหาร กินเป็นเครื่องดื่ม กินเป็นสมุนไพร กินเป็นขนม (๒) ปลูกไว้ทำที่อยู่ ได้แก่ ทำไม้พื้น ไม้ฝา ไม้เสา และไม้เครื่องบน (๓) ปลูกไว้เพื่อใช้สอย ได้แก่ ทำฟืน ทำถ่าน ทำปุ๋ยทำสารไล่แมลง ทำเครื่องมือเครื่องใช้ ใช้ งานหัตถกรรม ใชท้ ำสี ใชท้ ำนำ้ ยาซักลา้ ง (๔) ปลกู ไว้เพอ่ื เป็นร่มเงาให้ความรม่ เยน็ เปน็ ประโยชนต์ อ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ข้อคำนึงในการปลกู ปา่ ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อย่าง ๑. ไมเ้ บกิ นำ ไมส้ ะเดา มะรมุ แคไม้ผล กล้วย ออ้ ย และพืชผักอายสุ ้ันควรหามาปลูกก่อน เพอ่ื สร้างแหล่ง อาหารของครอบครัว ๒. ไม้ปลูกเพ่ืออยู่อาศัย ควรปลูกหลงั จากปลกู ไม้ในข้อที่ ๑ ประมาณ ๑ - ๒ ปี ๓. ไมส้ มุนไพร จะเจรญิ เตบิ โตได้ดีเมื่อมีความร่มรน่ื เพยี งพอ ๔. นาขา้ ว กำหนดพื้นท่ีใหเ้ หมาะสมหากมีพน้ื ท่ีพอ เพ่อื เก็บขา้ วไว้กนิ ระหวา่ งปีโดยไม่ต้องซื้อ ๕. รอ่ งน้ำ ควรขดุ รอ่ งน้ำขนาดเลก็ เพื่อให้ความชุ่มช้นื กบั พื้นดินและต้นไม้ ซ่ึงจะทำให้สามารถเลยี้ งปลา ธรรมชาติเพอื่ ใช้เป็นอาหาร โดยขุดใหเ้ ช่ือมต่อกันกับบ่อขนาดใหญ่ ๖. ปลกู ตน้ ไมใ้ ห้หลากหลาย เพ่ือการใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ชว่ ยลดค่าใชจ้ า่ ย สรา้ งความมัง่ ค่ัง ม่นั คงซงึ่ เป็นการเสริมสร้างภมู คิ ุ้มกนั ในครอบครวั และชมุ ชน “ คลองไสไ้ ก่ ” คือ การขุดร่องน้ำในที่ดนิ เป็นหนึ่งในรูปแบบหลุมขนมครกเพื่อกักเก็บน้ำและกระจายความชุ่มชื้นไป ทวั่ บรเิ วณพน้ื ที่เพาะปลูก เปรียบเสมอื นลำธารทม่ี ีความคดเค้ียว น้ำที่ไหลผ่านจะซึมลงสู่พื้นดินทำให้เกิดความ ชุ่มช้ืน ในการขุดคลองไส้ไก่น้ันก็จะ ขุดให้คดเคี้ยวไปตามพื้นที่เพื่อให้ เกิดการกระจายน้ำเต็มพื้นที่เพ่ือ เพิ่มความชุ่มชื้น ลดพลังงานในการ รดน้ำต้นไม้ และทำฝายทดน้ำสลับ กับการทำหลุมขนมครก เพ่ือเก็บน้ำ เข้าไว้ในพ้ืนท่ีให้มากท่ีสุด เพราะใน พื ้ น ที ่ โ ด ย ร อบ ไม่ มี การ กั กเ ก ็ บ น้ ำ การทำคันนาทองคำเพื่อใช้ในการ ปลูกผักสวนครัวเพื่อการพึ่งพา ตนเองและรองรับภยั พิบัติ ในการปรับปรุงบำรุงดิน “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช (feed the soil and let the soil feed the plant)” ใช้ฟางหม่ ดนิ สูงจากพ้ืนดินประมาณ 1 ฝามอื (แนวต้งั ) โดยใหห้ ่มคลมุ เตม็ พ้ืนที่ ยกเว้นบริเวณโคน ต้นไม้ที่ปลูกให้เว้นห่างจากโคนต้นไม้ 1 คืบ จากนั้นให้นำปุ๋ยหมักชีวภาพมาโรยใหท้ ั่วบริเวณทีห่ ่มฟาง และใช้ นำ้ หมกั ชีวภาพ (รสจืด) นำมารดใหท้ ัว่ กระบวนการนเ้ี รยี กว่า “แห้งชาม น้ำชาม” มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชุมชน

ตวั บง่ ช้ีท่ี 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาขอ้ มูล องคค์ วามรแู้ นวทางเก่ยี วกับการบริหารและการพฒั นาทรัพยากรบุคคลหรือ เก่ยี วข้องกับงานตามบทบาทหนา้ ท่ี ขน้ั ตอน/วิธกี ารขุดคลองไส้ไก่ 1. ออกแบบพื้นที่สำหรับขุดคลองไส้ไก่ โดยใช้ปูนขาว (ถ้ามี)โรยเป็นเส้นแนว ทางการขดุ ให้มีลกั ษณะโคง้ เปน็ เหมือนลำคลองหรอื ลำนำ้ ตามธรรมชาติ 2. กำหนดจุดหลุมขนมครกในคลองไส้ไก่ 3. ใช้จอบขุดตามเส้นแนวที่ได้กำหนดไว้ ลึก 50 ซม. กว้าง 50 ซม. ความลาดชัน ประมาณ 45 องศา (ขนาดสามารถปรับได้ ตามเหมาะสม แล้วแต่บริบทของพน้ื ท)่ี 4. นำดนิ ทไี่ ด้จากการขุดคลองไส้ไก่มาทำเป็นหัวคันนาทองคำ ประโยชนข์ องการขุดคลองไส้ไก่ เพ่ือเปน็ การชะลอการไหลของน้ำ ชว่ ยในการกกั เกบ็ น้ำและกระจาย ความชมุ่ ชื้น ลดและปอ้ งกันการพงั ทลายของหน้าดิน ขนั้ ตอน/วิธีการขดุ หลุมขนมครก 1. เลือกพ้นื ทส่ี ำหรบั หลมุ ขนมครกบริเวณคลองไสไ้ ก่ โดยเลือกจดุ ที่เปน็ จดุ ทางโค้งของ คลองไส้ไก่ เพอ่ื ป้องกนั การพังทลายของริมตล่ิงของชว่ งโค้งคลองไสไ้ ก่ 2. ขุดเป็นวงกลมขนาดความลกึ เป็น 2 เทา่ ของคลองไส้ไก่ ทำมมุ ลาดชนั 45 องศา 3. ทำตะพักในหลมุ ขนมครกเพ่อื ป้องกนั การพังทลายของริมตลิ่ง 4. ขดุ หลมุ สะดอื ตรงกลางของหลมุ ขนมครกเพื่อไวด้ ักตะกอน การขดุ หลมุ ขนมครกเพื่อเป็นการกักเก็บนำ้ ไว้ใชป้ ระโยชน์ใหไ้ ด้มากท่สี ดุ ช่วย ในการกระจายความชมุ่ ช้นื ให้แกด่ ิน และยังช่วยในการดักตะกอนและเศษวสั ดุ ขั้นตอน/วิธกี ารทำฝายชะลอนำ้ 1. สำรวจพ้ืนทท่ี ำฝายชะลอน้ำ (ฝายแม้ว) บริเวณทเี่ หมาะสมในคลองไสไ้ ก่ 2. ใชไ้ ม้ (ไม้ไผ่) ทมี่ ีความสงู ขนาดพอดีกับความสูงของคลองไส้ไก่ โดยมดี า้ นหนงึ่ ปลายแหลม ตอกปักลงดิน เพือ่ ยดึ ดินใหฝ้ ายมีความแขง็ แรง 3. ตอกไม้ยึดดนิ เปน็ กำแพงฝาย โดยมคี วามลึกประมาณ 30-50 ซม. ทำเป็น 2 ชนั้ ดา้ นหน้าและด้านหลงั ตัวฝาย เว้นระยะหา่ งพอสมควร (ประมาณ 20 ซม.) 4. ใช้ลำไมต้ ดั ตามความกวา้ งของคลองไส้ไก่ โดยวางขวางแนวนอนกัน้ ดา้ นในของหลกั ไม้ด้านหนา้ ฝายและหลังฝาย 5. ใชว้ สั ดุเติมลงเปน็ หินหรือดนิ เหนยี วในฝายเพ่ือการชะลอนำ้ แล้วแต่วัตถปุ ระสงค์ท่ตี ้องการ โดยใหม้ ีความสงู เท่ากับขนาดความสูงของคลองไสไ้ ก่ 6. ตกแตง่ ความสวยงามของฝาย โดยการเลอ่ื ยไมใ้ ห้มีขนาดเท่า ๆกนั มาตรฐานนักทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บ่งชี้ที่ 1. ดา้ นการปฏิบัติการ 1.1 ศึกษาข้อมูล องคค์ วามรู้แนวทางเก่ียวกับการบรหิ ารและการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลหรอื เกย่ี วขอ้ งกับงานตามบทบาทหนา้ ที่ “ หัวคนั นาทองคำ ” คอื การปรับพ้นื ท่แี ปลงเกษตรเพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด เพือ่ ใช้พื้นที่ให้สามารถปลกู ผกั ปลูกพืช ปลูก ไม้ 5 ระดับ ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ทำให้มีพืช ผัก ไว้กินและใช้ประโยชน์ได้ตลอด “หัวคันนา ทองคำ” ยังเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบพื้นที่ โคก หนอง นา โมเดล และเป็นการน้อมนำเอาศาสตร์ พระราชา เกษตรทฤษฎีใหม่ ของในหลวงรชั กาลท่ี 9 มาปรับใช้ใหเ้ หมาะสมกับพนื้ ท่ี เพือ่ ให้การใช้พ้ืนที่ให้เกิด ประโยชน์สงู สดุ ***************************** มาตรฐานนักทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บ่งช้ที ี่ 1. ด้านการปฏิบัติการ 1.1 ศึกษาขอ้ มูล องคค์ วามรูแ้ นวทางเกยี่ วกับการบรหิ ารและการพฒั นาทรพั ยากรบุคคลหรือ เก่ียวข้องกับงานตามบทบาทหนา้ ที่ สือ่ ประกอบฐานเรียนรู้ ฅนรกั ษ์ปา่ มาตรฐานนักทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 1. ด้านการปฏิบัติการ 1.1 ศึกษาข้อมลู องค์ความรู้แนวทางเกย่ี วกับการบรหิ ารและการพฒั นาทรพั ยากรบุคคลหรือ เกย่ี วข้องกบั งานตามบทบาทหน้าท่ี • การถ่ายทอด เผยแพรค่ วามรู้ให้ผ้อู ่ืนสามารถนำไปปรบั ใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม การถอดบทเรียนฐานเรียนรู(้ คมู่ ือวทิ ยากร , ฐานฅนรักษ์ป่า , วิชากิจกรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ , วชิ าการเรียนรตู้ ำราบนดนิ ) สรปุ วชิ า กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ สรุปวชิ า เรียนรู้ตำราบนดนิ แผ่นพับฐานฅนรกั ษ์ปา่ โครงการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจ พอเพยี งฯ ปี 64 มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชุมชน

ตวั บง่ ชีท้ ่ี 1. ดา้ นการปฏบิ ัตกิ าร 1.1 ศึกษาข้อมูล องค์ความรแู้ นวทางเกีย่ วกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลหรือ เกย่ี วข้องกับงานตามบทบาทหน้าท่ี หลกั สูตร - กรอบหลักสตู ร - ตารางการฝึกอบรม - สงั เขปรายวชิ า - แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ - 5 ขัน้ ตอนกิจกรรมหนา้ เสาธง - คำปฏิญาณตน หนา้ เสาธง - บทพิจารณาอาหาร คมู่ ือวิทยากร มบ.ศก.พพ. ปี 64 - คาถาเล้ียงดิน มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชุมชน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.1 ศึกษาข้อมลู องคค์ วามรู้แนวทางเก่ยี วกับการบริหารและการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลหรอื เกี่ยวขอ้ งกบั งานตามบทบาทหน้าท่ี มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บ่งชีท้ ่ี 1. ด้านการปฏิบตั ิการ 1.2 สรา้ ง พฒั นาสื่อ เครื่องมือ ในการทำงาน • การสรา้ ง พัฒนาสื่อ เคร่ืองมือหรอื ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีให้เกดิ ประโยชน์ ต่อการทำงาน (สอื่ ประกอบฐานเรยี นรู้ , ส่ือการบรรยายวิชา) 1. โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล กิจกรรมท่ี 1 การฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสัน้ การพฒั นากสกิ รรมสูร่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียงในรูปแบบ โคก หนอง โมเดล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. โครงการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กจิ กรรมยอ่ ยที่ 1 สรา้ ง และพัฒนากลไกขับเคลอื่ นในระดับพนื้ ที่ กิจกรรมยอ่ ยที่ 1.1 สร้างแกนนำขับเคลอื่ นหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง PPT กลุ่มสัมพันธ์ โคก หนอง นา (เงินกู้) มาตรฐานนักทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ที่ 1. ดา้ นการปฏิบัตกิ าร 1.2 สรา้ ง พฒั นาส่อื เครอ่ื งมือ ในการทำงาน - การพฒั นา ส่ือ ใช้ประกอบใน ฐานเรยี นรู้ฅนรักษ์ปา่ และ ฐานเรยี นรู้ฅนรกั ษ์แมธ่ รณี มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

ตัวบ่งชท้ี ี่ 1. ดา้ นการปฏบิ ัติการ 1.2 สรา้ ง พัฒนาส่ือ เคร่อื งมือ ในการทำงาน • การถ่ายทอดส่ือ ให้ผอู้ ืน่ นำมาปรบั ใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ องคก์ ร : นำองค์ความรถู้ ่ายทอด ให้กับผ้เู ขา้ อบรม และผูท้ ส่ี นใจ และถ่ายทอดให้กับ นพต. พื้นท่ตี ้นแบบฯ ของ ศพช.ลำปาง • มาตรฐานนักทรัพยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

ตวั บ่งชีท้ ่ี 1. ดา้ นการปฏบิ ัติการ 1.2 สร้าง พัฒนาสื่อ เคร่อื งมือ ในการทำงาน - การถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับหน่วยงานภายนอกที่สนใจ เช่น สำนักงานสหกรณ์ลำปาง ได้จัด กระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมพัฒนาความรู้ด้านการเกษตร นำไปสู่การพัฒนาเสริมสร้างความยั่งยืนในการ ประกอบอาชีพการเกษตร มาตรฐานนักทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตัวบ่งชท้ี ่ี 1. ด้านการปฏบิ ัตกิ าร 1.3 ศกึ ษาข้อมลู วิเคราะห์ ดำเนินการเก่ยี วกบั ข้อมลู สารสนเทศและกำหนดความ ต้องการและความจำเปน็ ในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คล • ศึกษา วิเคราะห์ ดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศและกำหนดความต้องการและ ความจำเป็นในการพัฒนาทรพั ยากรบุคคล การวิเคราะห์หาความต้องการและความจำเป็นของผู้รับบริการ/กลุม่ เปา้ หมาย ผ่าน AAR นำมาพัฒนาตอ่ หรือแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขึ้น วิชา 1. กจิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ ช่ือวทิ ยากร นายชาญณรงค์ จิรขจรกุล และทีมวิทยากร ศพช.ลำปาง หลักสูตร ร่นุ 1 แบบประเมนิ ผลโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปี 2564 กิจกรรมย่อย ท่ี 1 สรา้ งและพฒั นากลไกขบั เคลื่อนในระดบั พื้นท่ี กจิ กรรมยอ่ ย 1.1 สรา้ งแกนนำขบั เคล่ือนหม่บู า้ นเศรษฐกิจ พอเพียง สว่ นที่ ๒ ความพึงพอใจต่อวิทยากร หัวขอ้ มากที่สดุ ระดับความพึงพอใจ นอ้ ยที่สุด ค่าเฉลย่ี การ 4.37 แปลผล ๑.ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/ 138 มาก ปานกลาง นอ้ ย 0 4.33 บรรยาย (44.1%) (0.0%) 4.29 มาก ๒.เทคนคิ และวิธีการทีใ่ ช้ในการถา่ ยทอด 148 21 1 ความรู้ 126 (47.3%) (6.7%) (๐.3%) 0 มาก ๓.การเปิดโอกาสให้ซกั ถาม แสดงความ (40.3%) (0.0%) คิดเห็น 159 23 0 มาก ๔.การสรา้ งบรรยากาศในการเรยี นรู้ 122 (50.8%) (7.3%) (0.00%) 0 (39%) (๐.0%) ๕.บคุ ลิกภาพ (การแตง่ กาย ทา่ ทาง 158 26 2 น้ำเสียง ฯลฯ) 123 (39.3%) (50.5%) (8.3%) (0.6%) 145 153 30 1 1 4.28 มาก (46.3%) (48.9%) (9.6%) (0.3%) (๐.3%) มาก 138 24 0 0 4.39 (44.1%) (7.7%) (0.00%) (๐.0๐%) ภาพรวม 4.33 มาก ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ อืน่ ๆ - การบริหารเวลา ต้องบริหารเวลาท้งั ผ้เู ขา้ อบรมและวิทยากร - ควรมีนนั ทนาการ - ลงภาคปฏบิ ตั ใิ หเ้ ยอะๆ จากผลการประเมินและขอ้ เสนอแนะดงั กลา่ ว นาเสนอในการประชมุ AAR และไดน้ ามาปรบั ปรุงในรุ่น ถัดไป ในการกระชับเวลาให้เหมาะสม และปรับกิจกรรมของวิชาให้เหมาะสมกับช่วงกลุ่มอายุและ สถานการณ(์ โควดิ -19) มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชุมชน

ตัวบง่ ช้ที ี่ 1. ด้านการปฏบิ ตั กิ าร 1.3 ศกึ ษาข้อมลู วิเคราะห์ ดำเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมูลสารสนเทศและกำหนดความ ตอ้ งการและความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล วิชา 2. เรียนรตู้ ำราบนผืนดิน ชือ่ วทิ ยากร นายชาญณรงค์ จิรขจรกลุ และทีมวิทยากร ศพช.ลำปาง หลักสูตร รนุ่ 1 แบบประเมินผลโครงการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปี 2564 กิจกรรมย่อย ที่ 1 สรา้ งและพัฒนากลไกขบั เคลื่อนในระดบั พ้ืนที่ กิจกรรมยอ่ ย 1.1 สร้างแกนนำขบั เคลื่อนหม่บู า้ นเศรษฐกิจ พอเพียง สว่ นท่ี ๒ ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร หวั ข้อ ระดับความพงึ พอใจ ค่าเฉล่ีย การ แปลผล ๑.ความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ดุ บรรยาย ๒.เทคนคิ และวธิ กี ารท่ีใช้ในการถ่ายทอด 140 145 20 1 0 4.38 มาก ความรู้ (44.7%) (0.0%) ๓.การเปิดโอกาสใหซ้ กั ถาม แสดงความ (46.3%) (6.4%) (๐.3%) คดิ เห็น 127 ๔.การสรา้ งบรรยากาศในการเรยี นรู้ (40.6%) 157 20 1 0 4.34 มาก (0.0%) ๕.บุคลกิ ภาพ (การแตง่ กาย ท่าทาง 122 (50.2%) (6.4%) (0.3%) นำ้ เสียง ฯลฯ) (39%) 149 31 2 0 4.28 มาก 132 (47.6%) (9.9%) (0.6%) (๐.0%) (42.2%) 147 25 1 0 4.34 มาก 136 (47%) (8%) (0.3%) (๐.0%) (43.5%) 144 23 0 0 4.37 มาก (๐.๐%) (46%) (7.3%) (0.0%) ภาพรวม ๔.34 มาก ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม อืน่ ๆ - ให้พัฒนาต่อไป - ลงภาคสนามใหม้ ากๆ - ขอเอกสารมากๆ จากผลการประเมินและข้อเสนอแนะดังกล่าวเป็นขวัญกำลังใจให้กับวิทยากรในการพัฒนาต่อไปและนำ ข้อเสนอเข้าที่ประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลกรณี เอกสารประจำวิชา ซึ่งได้นำมาปรับปรุงคือ นำเอกสารชุดความรู้ มา จดั ทำเป็น QR CODE และประชาสมั พันธเ์ ปน็ สื่อ ออฟไลน์ และ ออนไลน์ มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

ตวั บ่งชีท้ ี่ 1. ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 1.3 ศกึ ษาข้อมลู วิเคราะห์ ดำเนนิ การเกย่ี วกบั ขอ้ มูลสารสนเทศและกำหนดความ ตอ้ งการและความจำเป็นในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คล ภาพการทบทวนหลงั การปฏิบัตงิ านประจำวัน (After Action Review : AAR) โครงการพฒั นาหม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมย่อยท่ี 1 สรา้ งและพฒั นากลไกขับเคลื่อนในระดับพนื้ ท่ี กิจกรรมย่อยท่ี 1.1 สร้างแกนนำขบั เคล่อื นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานนกั ทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1. ด้านการปฏิบตั ิการ 1.3 ศกึ ษาข้อมลู วเิ คราะห์ ดำเนินการเกยี่ วกบั ข้อมูลสารสนเทศและกำหนดความ ต้องการและความจำเปน็ ในการพฒั นาทรพั ยากรบุคคล • แนวทางการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา เพื่อตอบสนองความต้องการและความจำเป็น ของผู้รบั บริการ/กลมุ่ เปา้ หมาย (หลงั การ AAR ประจำวนั ) - นำปัญหาทพ่ี บ มาปรับปรุง พัฒนา แก้ไข ในกจิ กรรมของวันอบรมถัดไปและปรบั ปรุงในร่นุ ถดั ไป ในทุกกจิ กรรมของโครงการฯ - การเตรยี มความพร้อมของโครงการฯ ในรนุ่ ถัดไป จากการได้นำข้อเสนอแนะและปญั หาที่พบในระหวา่ งการอบรม มาปรบั ปรุง พฒั นา แกไ้ ข นนั้ ไดร้ ับ การตอบรับและคำช่ืนชมจากผู้เขา้ อบรม สง่ ผลยงั การประเมินโครงการที่ได้รบั การประเมิน ความพงึ พอใจต่อ ภาพรวมของโครงการ ในระดับมากทส่ี ุด และข้อเสนอแนะชืน่ ชมต่างๆ ผลการประเมินโครงการ การประเมินผลโครงการพฒั นาหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปี 2564 กจิ กรรมท่ี 1 สร้างและ พฒั นากลไกขับเคลอื่ นในระดับพ้ืนท่ี กิจกรรมย่อยท่ี 1.1 สรา้ งแกนนำขับเคล่ือนหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒.4 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ ๒.วิทยากร 214 77 4 1 0 4.70 มาก (68.2%) (24.5%) (1.3%) (0.3%) (๐.๐%) ทีส่ ุด ๒.๑ ความรอบรู้ ใน เนือ้ หาของวิทยากร 205 83 7 0 0 4.67 มาก (65.3%) (26.4%) (2.2%) (0%) (๐.๐%) ที่สดุ ๒.๒ ความสามารถ ในการถ่ายทอด 203 85 7 0 0 4.66 มาก ความรู้ (64.6%) (27.1%) (2.2%) (0%) (๐.๐%) ที่สดุ 2.3 การเปดิ โอกาส ซักถามแสดงความ 202 84 7 1 0 4.65 มาก คดิ เหน็ (64.3%) (26.8%) (2.2%) (0.3%) (๐.๐%) ท่สี ุด 2.4 การสรา้ ง บรรยากาศการ เรยี นรู้ สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ 3.1 สิ่งทผี่ ู้เข้าอบรมพอใจในการร่วมโครงการ/กจิ กรรมครั้งน้ี - มิตรภาพ - พึงพอใจ ได้ความรู้และประสบการณ์การใหม่ๆ - การไดเ้ จอเครอื ข่ายเกษตรกร - ไดค้ วามรูแ้ ละเพื่อนๆ - สะดวกสบาย สถานทด่ี ี - ภูมใิ จทีไ่ ดเ้ ข้ารับการอบรม มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชุมชน

ตัวบ่งชท้ี ่ี 1. ดา้ นการปฏิบัตกิ าร 1.3 ศึกษาข้อมลู วเิ คราะห์ ดำเนนิ การเกี่ยวกบั ข้อมูลสารสนเทศและกำหนดความ ตอ้ งการและความจำเปน็ ในการพฒั นาทรพั ยากรบุคคล - ไดร้ ับความรูแ้ ละประสบการณ์ที่จะนำไปเป็นแนวทางปฏบิ ัติต่อ - เขา้ ใจถึงหลกั ของการทำงานทีแ่ ท้จรงิ คือถา้ เรารักในงานที่ทำผลความสำเร็จก็ไมไ่ กลอยา่ งที่คิด - ได้เห็นของจริงการลงมือทำจริงๆ - เขา้ ใจทฤษฎีตา่ งๆของในหลวงละเอยี ดมากข้นึ มกี ำลงั ใจกลับไปทำใหเ้ ป็นรูปธรรมมมากข้ึน - มสี ่งิ ใหมๆ่ ความรใู้ หมใ่ หร้ อู้ ย่างต่อเน่ือง - ไดค้ วามรู้มากมายวิทยากรเก่งอธบิ ายเข้าใจงา่ ย - ระยะเวลาในการอบรมเหมาะสม - ไดร้ บั ความรสู้ ่ิงใหม่ๆ เพมิ่ มากขึน้ กวา่ เก่า - การสรา้ งแรงจูงใจในการร่วมทำกิจกรรม - ความรใู้ หมท่ ่ีไดร้ บั เยอะมากๆ จะเขา้ รว่ มโครงการคร้ังต่อไป และแนะนำเพ่ือนบา้ นดว้ ยครบั - พธิ กี รสามารถบรรยายกจิ กรรมโครงการไดส้ มบูรณ์ครบถว้ นและอยา่ งเหมาะสม - ประทับใจมากได้ทัง้ ความรู้ เพอ่ื น ความอดทน สามัคคแี ละวินยั - กจิ กรรมนอกสถานท่ี มคี วามน่าสนใจ - พึงพอใจมากที่สุด ทำให้ได้พบความหลากหลายในมมุ มอง ทัศนคติ มีการพบเจอผู้ที่มาอบรมต่างวัย ต่างประสบการณ์ ได้แชร์ประสบการณ์ความรู้ให้แก่กันและกัน แนะนำแก่กัน ทำให้ได้พบเครือข่ายที่กว้างข้ึน ทพี่ ร้อมจะช่วยเหลือกัน แนะนำในอนาคต ได้มาเรยี นรเู้ พ่ิมเติมเยอะข้นึ และสุดท้ายขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกๆคน ท่ดี แู ลต้งั แต่วนั แรกที่เข้ารบั การอบรมจนถึงวนั ปดิ การอบรม เจา้ หนา้ ทีน่ า่ รักทกุ คน ดแู ลเอาใจใส่แกผ่ ทู้ ีม่ าอบรม ดแู ลการเจบ็ ป่วยตดิ ตามของผู้มีมาอบรม ไดค้ วามรูแ้ ละทักษะมากมาย ทส่ี ามารถนำไปใชไ้ ด้จรงิ และจะได้กลับ ปฏบิ ัติต่อในพ้นื ท่ีของเราอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประโยชน์สูงสุด - การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ และการได้เปิดมุมมองและการสร้างเครือข่ายเกษตรกร กลมุ่ ต่างไป ทำใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ และย่ังยนื ต่อไป - มีพน้ื ทแ่ี ละอุปกรณ์พรอ้ มในการลงมอื ปฏบิ ัติกจิ กรรม/สถานท่พี ักพร้อม สะอาด สวยงาม - เปน็ กจิ กรรมท่มี ีประโยชนม์ ากๆต่อผเู้ ขา้ ร่วมโครงการอยากใหม้ ีการจัดแบบนี้อีก - พึงพอใจมากค่ะที่เราทำมาไม่มีใครแนะเรา เราก็ทำตามความคิดของเราทีน่ ี้เราสามารถเอาความร้ทู ี่ ทา่ นถ่ายทอดใหไ้ ปใช้ปรับปรงุ ในหมบู่ า้ นชมุ ชนของเราค่ะขอบคุณมากค่ะ - การเป็นกันเองของวิทยากร ตวั อย่างภาพประกอบการปรบั กระบวนการเรียนรูข้ องผเู้ ขา้ อบรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ (การเลือกผนู้ าแบบเปิด,การเพม่ิ การศกึ ษาเรยี นรูจ้ ากพืน้ ท่ีจรงิ ,กระบวนการสอนโดยมีพ่เี ลีย้ ง มาตรฐานนกั ทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชุมชน

ตวั บ่งช้ี ๒ ดา้ นการวางแผน ๒.๑ การวางแผนงานและการดาเนินงานตามแผน ๒.๑ (๑) มกี ารจดั ทาแผนการพฒั นาทรพั ยากรบุคคลทช่ี ดั เจน ๒.๑ (๒) มโี ครงการ/กจิ กรรมการพฒั นาทรพั ยากรบคุ คลทส่ี ามารถดาเนินการอย่างน้อย ๑ โครงการ/กจิ กรรม (ทใ่ี ชง้ บประมาณ หรอื ไม่ใชง้ บประมาณ) ๒.๒ กาหนดแผนพัฒนาตนเองและสามารถดาเนิ นการตามแผนให้ สอดคล้องกบั ภารกิจ หน้าที่ ๒.๒ (๑) จดั แผนการพฒั นาตนเองโดยมกี ิจกรรมท่สี อดคล้องกบั ภารกจิ และบทบาท หน้าท่ี อย่างน้อย ๒ กจิ กรรมต่อปี ๒.๒ (๒) มแี ผนการพฒั นาตนเองโดยมกี จิ กรรมท่สี ร้างความท้าทาย แปลกใหม่ และ พฒั นางานไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามบทบาทหน้าท่ี อยา่ งน้อย ๑ กจิ กรรม

ตัวบ่งช้ที ี่ 2. ด้า 2.1 การวางแผนงานและการดำเนนิ งานตามแผ • การจดั ทำแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่ชัดเจน ท่ี โครงการ/กจิ กรรม กลมุ่ เปา้ หมาย กระบวนการทำงาน 1 กิจกรรม “รักษ์โลก - บ ุ ค ค ล ก ร 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการดูแล รักษ์แม่ธรณี รักษ์ ภายในศูนย์ ฟื้นฟู บำรุงดิน ด้วยการ “เลี้ยงดิน ให้ ส ิ ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม ” ศ ึ ก ษ า แ ล ะ ดนิ เลีย้ งพชื ” หม่ ดิน (แห้งชาม นำ้ ชาม) ส่งเสริมการเกษตร พัฒนาชุมชน 2. การจดั เตรียมอปุ กรณ์/วตั ถุดิบในการ เ ป ็ น ม ิ ต ร กั บ ลำปาง ทำ สิ่งแวดล้อม (ผลิต - บุคคลทั่วไป 3. การฝึกปฏิบัติในการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยหมักชีวภาพ ปุ๋ย ผู้ทส่ี นใจ ชีวภาพ, ปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกอง และ ห ม ั ก แ บ บ ไ ม ่ พ ลิ ก น้ำหมกั ชวี ภาพรสจดื กอง และน้ำหมัก 4. เรียนรพู้ รอ้ มลงมอื ปฏิบตั ิ โดยมีครพู า ชวี ภาพรสจืด) ทำ 5. สรุปผลการเรียนรู้ มาตรฐานนักทรัพยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาช

านการวางแผน ผน ระยะเวลา ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ ตวั ช้วี ัด ดำเนินการ ผลผลติ ผลลพั ธ์ จ ำ น ว น 3 1. เพื่อพัฒนา เพ่ิม 1 . ป ุ ๋ ย ห มั ก 1. วิทยากรครูพาทำ ชั่วโมงแผนการ ทักษะการเป็นวิทยากร ชีวภาพ(แห้ง) ประจำฐานเรียนรู้ได้รับ จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ประจำฐานเรียนรู้กับ สูตรแบบด่วน ก า ร พ ั ฒ น า ท ั ก ษ ะ ฐานเรียนรู้ใน วิทยากรครพู าทำ ศพช. 2. ปุ๋ยหมักแหง้ เพิม่ เติมองคค์ วามรู้ ฐานฅนรักษ์แม่ ลำปาง แ บ บ ไ ม ่ พ ลิ ก 2. บุคคลกรภายในศพช. ธรณี และฐาน 2. เพิ่มพัฒนาทักษะ กอง ลำปางและ บุคคลท่ัวไปผู้ น้ำหมักรักษ์ อาชีพ ให้กับนักพัฒนา 3 . น ้ ำ ห มั ก ที่สนใจ ได้รับองค์ความรู้ โ ล ก ศ พ ช . พื้นที่ต้นแบบ (นพต.) ชวี ภาพ(รสจดื ) และทดลองลงมือปฏิบัติ ลำปาง และประชาชนผู้สนใจ ด้วยตนเอง ในการลดรายจ่าย เพ่ิม 3. สามารถนำองค์ความรู้ ร า ย ไ ด ้ ภ า ย ใ ต้ ไปปรับใช้ใน สถานการณ์การแพร่ ชีวิตประจำวัน และ ระบาดของโรคติดเช้ือ สามารถนำองค์ความรู้ไป ไวรัสโคโรนา 2019 ถ่ายทอดต่อให้กับผู้อื่นท่ี (COVID-19) สนใจได้ 4. สร้างทางเลือกในการ สร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ โดยสามารถ ทำเป็นอาชีพเสริมให้กับ ตนเองและครอบครัว ชมุ ชน

ตวั บง่ ช้ที ี่ 2. ด้า 2.1 การวางแผนงานและการดำเนนิ งานตามแผ ที่ โครงการ/กจิ กรรม กลมุ่ เป้าหมาย กระบวนการทำงาน 2 ก ิ จ ก ร ร ม “ ก า ร - บ ุ ค ค ล ก ร 1. เกริ่นนำการบริหารจัดการพื้นที่ดิน บรหิ ารจัดการพ้ืนท่ี/ ภายในศูนย์ และน้ำ เพื่อให้เกิดการกระจายน้ำเข้าสู่ รูปแบบคลองไส้ไก่” ศ ึ ก ษ า แ ล ะ ดิน สร้างความชุ่มชื้นให้กบั กินในการทำ ตามหลักสูตรการ พัฒนาชุมชน แปลงเกษตร หรอื การบริหารจดั การน้ำ ฝ ึ ก อ บ ร ม อ า ชี พ ลำปาง 2. ครูพาทำเข้าสู่เนื้อหา ลักษณะ ระยะสั้น “108 - บุคคลทั่วไป ประโยชน์ของคลองไส้ไก่และการขุด อาชีพแก้จน พัฒนา ผู้ท่ีสนใจ คลองไส้ไก่ คลองไส้ไก่ช่วยในการ คนทุกช่วงวัย” กระจายน้ำรอบพื้นที่ โดยขุดให้มี เรียนรู้ศึกษาและฝึก ลักษณะคดเคี้ยว เพื่อให้น้ำไหลได้ทั่วถึง ปฏิบัติการบริหาร ทั้งพื้นที่ เพื่อใช้ทำการเกษตรและช่วย จัดการพื้นที่โดย เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผืนดินและต้นไม้ รูปแบบคลองไส้ไก่ โดยรอบ ไม่ต้องวางท่อ ไม่ต้องตดิ ระบบ การทำฝายชะลอน้ำ รดนำ้ การขุดหลุมขนม 3. เนื้อหา ลักษณะ ประโยชน์และการ ครก ขุดของหลุมขนมครก ขุดเป็นบ่อพักน้ำ ไว้เป็นระยะ เพื่อดักน้ำให้กระจายท่ัว ลดภาระการรดนำ้ 4. เนื้อหา ลักษณะ ประโยชน์และการ ขุดของฝายชะลอน้ำ ฝายดักตะกอน ตามคลองไส้ไก่หรือทางน้ำ เพื่อการ ชะลอความเร็วของน้ำและทำหน้าที่ดัก ตะกอนและเศษวัสดุไม่ให้ไหลลงไปใน มาตรฐานนักทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาช

านการวางแผน ผน ระยะเวลา ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั ตวั ช้ีวัด ดำเนินการ ผลผลติ ผลลัพธ์ จำนวน2ชั่วโมง 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ได้พื้นที่ที่ผ่าน 1. บุคคลกรภายในศพช. แ ผ น ก า ร ค ว า ม เข ้ า ใ จ ใ น ก าร ก า ร บ ร ิ ห า ร ลำปางและ บุคคลทัว่ ไปผู้ ฝ ึ ก อ บ ร ม บริหารจัดการพื้นที่ดิน จ ั ด ก า ร ใ น ที่สนใจ ได้รับองค์ความรู้ “108 อาชีพ และน้ำในรูปแบบการ รูปแบบคลอง และทดลองลงมือปฏิบัติ แก้จน พัฒนา บริหารจัดการคลองไส้ ไส้ไก่ เพ่อื นำมา ด้วยตนเอง คนทุกช่วงวัย” ไก่ ต่อยอดในการ 2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ข อ ง ศ พ ช . ๒. ผู้เข้าอบรมสามารถ ปลูกพืช ปลูก มีความรู้ความเข้าใจใน ลำปาง น ำ ค ว า ม รู้ ผัก สร้างแหล่ง การบริการจัดการพื้นท่ี/ ความสามารถ ไปปรับ ค ว า ม ม ั ่ น ค ง ร ู ป แ บ บ ค ล อ ง ไ ส ้ ไ ก่ ใช้ในพืน้ ทขี่ องตนเองให้ ทางอาหาร สามารถนำไปต่อยอดได้ เกิดประโยชนส์ งู สุด 3. เพิ่มพัฒนาทักษะ 3. เพิ่มพัฒนาทักษะ อ า ช ี พ ส า ม า ร ถ น ำ อ ง ค์ อาชีพ ให้กับนักพัฒนา ความรู้ไปปรับใช้ใน พื้นที่ต้นแบบ (นพต.) ช ี วิ ต ป ร ะ จ ำ ว ั น แ ล ะ และประชาชนผู้สนใจ สามารถนำองค์ความรู้ไป ในการลดรายจ่าย เพิ่ม ถ่ายทอดต่อให้กับผู้อื่นท่ี ร า ย ไ ด ้ ภ า ย ใ ต้ สนใจได้ สถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ชมุ ชน

ตวั บ่งชีท้ ่ี 2. ดา้ 2.1 การวางแผนงานและการดำเนินงานตามแผ หนองน้ำ และนำตะกอนที่ได้กลับมาทำ เป็นปยุ๋ หมัก 5. การนำดินท่ีได้จากการขุดคลองไส้ไก่ หลุมขนมครก มาทำเป็นหัวคันนา ทองคำ ลักษณะของหัวคันนาทองคำ เป็นการปรับพื้นที่แปลงเกษตรเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อใช้พื้นที่ให้ สามารถปลูกผัก ปลูกพืช ปลูกไม้ ๕ ระดับ ทำให้มีพืช ผัก ไว้กินและใช้ ประโยชน์ได้ตลอด อีกทั้งยังเป็นส่วน หนึ่งของการออกแบบพื้นที่โคก หนอง นา โมเดล และเป็นการน้อมนำเอา ศาสตร์พระราชา เกษตรทฤษฎใี หม่ ของ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ มาปรับใช้ให้เหมา สมกับพื้นที่ เพื่อให้การใช้พื้นที่ให้เกิด ประโยชน์สงู สดุ 6. อธิบายกิจกรรมฝึกปฏิบัติ ขุดคลอง ไส้ไก่ ขุดหลุมขนมครก ทำฝายชะลอน้ำ ธรรมชาติ 7. ครูพาทำเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรม ซักถาม และสรุปกิจกรรม มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาช

านการวางแผน ผน ลงช่ือ ( นายชาญณรงค์ จิรขจรกลุ ) ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบคุ คล ชุมชน

ตัวบ่งชท้ี ี่ 2. ดา้ นการวางแผน 2.1 การวางแผนงานและการดำเนนิ งานตามแผน • การจัดทำแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่ชัดเจน โครงการ/กิจกรรมการพัฒนา ทรพั ยากรบุคคลทดี่ ำเนนิ การ กิจกรรม “รักษ์โลก รักษ์แม่ธรณี รักษ์สิ่งแวดล้อม” ส่งเสริมการเกษตรเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ผลิตปุ๋ย หมกั ชวี ภาพ ปยุ๋ หมักแบบไม่พลิกกอง และน้ำหมักชีวภาพรสจืด) - ผลติ ป๋ยุ หมักชีวภาพ(แหง้ ชาม) สูตรเร่งดว่ น มาตรฐานนกั ทรัพยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

ตวั บ่งชท้ี ี่ 2. ด้านการวางแผน 2.1 การวางแผนงานและการดำเนินงานตามแผน - ผลติ ปยุ๋ หมกั แบบไม่พลิกกอง - ผลติ น้ำหมกั ชวี ภาพรสจืด มาตรฐานนักทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

ตวั บง่ ชี้ท่ี 2. ดา้ นการวางแผน 2.1 การวางแผนงานและการดำเนินงานตามแผน กิจกรรม “การบริหารจัดการพื้นที่/รูปแบบคลองไส้ไก่” ตามหลักสูตรการฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น “108 อาชีพแก้จน พัฒนาคนทุกช่วงวัย” เรียนรู้ศึกษาและ ฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการพื้นที่โดยรูปแบบ คลองไส้ไก่ การทำฝายชะลอนำ้ การขุดหลุมขนมครก มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

แผนการพฒั นาท นายชาญณรงค์ จิรขจรกลุ นกั ทรพั ยากรบ ท่ี โครงการ/กิจกรรม กลุม่ เปา้ หมาย กระบวนการทำงาน 1 กิจกรรม “รักษ์โลก - บ ุ ค ค ล ก ร 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟู รักษ์แม่ธรณี รักษ์ ภายในศูนย์ บำรุงดิน ด้วยการ “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยง ส ิ ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม ” ศ ึ ก ษ า แ ล ะ พืช” ห่มดนิ (แห้งชาม น้ำชาม) ส่งเสริมการเกษตร พัฒนาชุมชน 2. การจัดเตรียมอุปกรณ์/วัตถุดิบในการ เ ป ็ น ม ิ ต ร กั บ ลำปาง ทำ สิ่งแวดล้อม (ผลิต - บุคคลทั่วไป 3. การฝึกปฏิบตั ิในการทำปุย๋ หมักชีวภาพ ปุ๋ยหมักชีวภาพ ปุ๋ย ผู้ที่สนใจ , ปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกอง และน้ำหมัก ห ม ั ก แ บ บ ไ ม ่ พ ลิ ก ชวี ภาพรสจืด กอง และน้ำหมัก 4. เรียนรู้พร้อมลงมือปฏิบัติ โดยมีครูพา ชีวภาพรสจดื ) ทำ 5. สรุปผลการเรยี นรู้

ทรพั ยากรบุคคล บุคคล ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนลาปาง ระยะเวลา ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ ตวั ชี้วดั ดำเนนิ การ ผลผลติ ผลลัพธ์ จ ำ น ว น 3 1. เพื่อพัฒนา เพ่ิม 1 . ป ุ ๋ ย ห มั ก 1. วิทยากรครูพาทำ ช ั ่ ว โ ม ง ทักษะการเป็นวิทยากร ชีวภาพ(แห้ง) ประจำฐานเรียนรู้ได้รับ แผนการจัด ประจำฐานเรียนรู้กับ สูตรแบบด่วน ก า ร พ ั ฒ น า ท ั ก ษ ะ ร กิจกรรมฐาน วิทยากรครูพาทำ ศพช. 2. ปยุ๋ หมักแหง้ เพม่ิ เตมิ องค์ความรู้ เ ร ี ย น ร ู ้ ใ น ลำปาง แ บ บ ไ ม ่ พ ลิ ก 2. บุคคลกรภายในศพช. พ ฐานฅนรักษ์ 2. เพิ่มพัฒนาทักษะ กอง ลำปางและ บุคคลท่วั ไปผู้ แม่ธรณี และ อาชีพ ให้กับนักพัฒนา 3 . น ้ ำ ห มั ก ที่สนใจ ได้รับองค์ความรู้ ฐานน้ำหมัก พื้นที่ต้นแบบ (นพต.) ชวี ภาพ(รสจืด) และทดลองลงมือปฏิบัติ ร ั ก ษ ์ โ ล ก และประชาชนผู้สนใจ ดว้ ยตนเอง ศพช.ลำปาง ในการลดรายจ่าย เพ่ิม 3. สามารถนำองค์ความรู้ ร า ย ไ ด ้ ภ า ย ใ ต้ ไปปรับใช้ใน สถานการณ์การแพร่ ชีวิตประจำวัน และ ระบาดของโรคติดเช้ือ สามารถนำองค์ความรู้ไป ไวรัสโคโรนา 2019 ถ่ายทอดต่อให้กับผู้อื่นที่ (COVID-19) สนใจได้ 4. สร้างทางเลือกในการ สร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ โดยสามารถ ทำเป็นอาชีพเสริมให้กับ ตนเองและครอบครวั

แผนการพฒั นาท นายชาญณรงค์ จิรขจรกลุ นกั ทรพั ยากรบ ที่ โครงการ/กิจกรรม กลมุ่ เป้าหมาย กระบวนการทำงาน 2 ก ิ จ ก ร ร ม “ ก า ร - บ ุ ค ค ล ก ร 1. เกริ่นนำการบรหิ ารจัดการพืน้ ท่ดี ินและ บริหารจดั การพื้นท่ี/ ภายในศูนย์ น้ำ เพื่อให้เกิดการกระจายน้ำเข้าสู่ดิน รูปแบบคลองไส้ไก่” ศ ึ ก ษ า แ ล ะ สร้างความชุม่ ชื้นให้กับกินในการทำแปลง ตามหลักสูตรการ พัฒนาชุมชน เกษตร หรอื การบรหิ ารจัดการนำ้ ฝ ึ ก อ บ ร ม อ า ชี พ ลำปาง 2. ครูพาทำเข้าสู่เนื้อหา ลักษณะ ระยะสั้น “108 - บุคคลทั่วไป ประโยชน์ของคลองไสไ้ ก่และการขดุ คลอง อาชีพแก้จน พัฒนา ผู้ท่สี นใจ ไส้ไก่ คลองไส้ไก่ช่วยในการกระจายน้ำ คนทกุ ชว่ งวัย” รอบพื้นที่ โดยขุดให้มีลักษณะคดเคี้ยว เรียนรู้ศึกษาและฝึก เพื่อให้น้ำไหลได้ทั่วถึงทั้งพื้นที่ เพื่อใช้ทำ ปฏิบัติการบริหาร การเกษตรและช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับ จัดการพื้นที่โดย ผืนดินและต้นไม้โดยรอบ ไม่ต้องวางท่อ รูปแบบคลองไส้ไก่ ไม่ตอ้ งตดิ ระบบรดน้ำ การทำฝายชะลอน้ำ 3. เนื้อหา ลักษณะ ประโยชน์และการขดุ การขุดหลุมขนม ของหลุมขนมครก ขุดเป็นบ่อพักน้ำไวเ้ ปน็ ครก ระยะ เพื่อดักน้ำให้กระจายทั่ว ลดภาระ การรดน้ำ 4. เนื้อหา ลักษณะ ประโยชน์และการขดุ ของฝายชะลอน้ำ ฝายดักตะกอน ตาม คลองไส้ไก่หรือทางน้ำ เพื่อการชะลอ ความเร็วของน้ำและทำหน้าที่ดักตะกอน และเศษวัสดุไม่ให้ไหลลงไปในหนองน้ำ และนำตะกอนทไ่ี ด้กลบั มาทำเปน็ ปยุ๋ หมัก

ทรพั ยากรบคุ คล บุคคล ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลาปาง ระยะเวลา ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั ตัวชว้ี ัด ดำเนนิ การ ผลผลติ ผลลัพธ์ จ ำ น ว น 2 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ได้พื้นที่ที่ผ่าน 1. บุคคลกรภายในศพช. ชั่ ว โ ม ง ค ว า ม เข ้ า ใ จ ใ น ก าร ก า ร บ ร ิ ห า ร ลำปางและ บคุ คลทั่วไปผู้ แ ผ น ก า ร บริหารจัดการพื้นที่ดิน จ ั ด ก า ร ใ น ที่สนใจ ได้รับองค์ความรู้ ฝ ึ ก อ บ ร ม และน้ำในรูปแบบการ รูปแบบคลอง และทดลองลงมือปฏิบัติ “108 อาชพี บริหารจัดการคลองไส้ ไสไ้ ก่ เพื่อนำมา ด้วยตนเอง แก้จน พฒั นา ไก่ ต่อยอดในการ 2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ค น ท ุ ก ช่วง ๒. ผู้เข้าอบรมสามารถ ปลูกพืช ปลูก มีความรู้ความเข้าใจใน ว ั ย ” ข อ ง น ำ ค ว า ม รู้ ผัก สร้างแหล่ง การบริการจัดการพื้นท่ี/ ศพช.ลำปาง ความสามารถ ไปปรับ ค ว า ม ม ั ่ น ค ง ร ู ป แ บ บ ค ล อ ง ไ ส ้ ไ ก่ ใชใ้ นพนื้ ท่ีของตนเองให้ ทางอาหาร สามารถนำไปต่อยอดได้ เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ 3. เพิ่มพัฒนาทักษะ 3. เพิ่มพัฒนาทักษะ อ า ช ี พ ส า ม า ร ถ น ำ อ ง ค์ อาชีพ ให้กับนักพัฒนา ความรู้ไปปรับใช้ใน พื้นที่ต้นแบบ (นพต.) ชีวิตประจำวัน และ และประชาชนผู้สนใจ สามารถนำองค์ความรู้ไป ในการลดรายจ่าย เพิ่ม ถ่ายทอดต่อให้กับผู้อื่นท่ี ร า ย ไ ด ้ ภ า ย ใ ต้ สนใจได้ สถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

แผนการพฒั นาท นายชาญณรงค์ จิรขจรกลุ นกั ทรพั ยากรบ 5. การนำดินที่ได้จากการขุดคลองไส้ไก่ หลุมขนมครก มาทำเป็นหัวคันนาทองคำ ลักษณะของหัวคนั นาทองคำ เป็นการปรบั พื้นที่แปลงเกษตรเพื่อให้เกิดประโยชน์ สงู สุด เพื่อใช้พน้ื ที่ใหส้ ามารถปลกู ผัก ปลูก พชื ปลูกไม้ ๕ ระดบั ทำให้มีพืช ผกั ไวก้ ิน และใช้ประโยชน์ได้ตลอด อีกทั้งยังเป็น ส่วนหน่ึงของการออกแบบพืน้ ทีโ่ คก หนอง นา โมเดล และเป็นการน้อมนำเอาศาสตร พระราชา เกษตรทฤษฎีใหม่ ของในหลวง รัชกาลที่ ๙ มาปรับใช้ให้เหมาสมกับพื้นที่ เพ่อื ใหก้ ารใชพ้ ืน้ ทีใ่ หเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ 6. อธิบายกิจกรรมฝึกปฏิบัติ ขุดคลองไส้ ไก่ ขุดหลุมขนมครก ทำฝายชะลอน้ำ ธรรมชาติ 7. ครูพาทำเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรม ซักถาม และสรปุ กิจกรรม

ทรพั ยากรบุคคล บุคคล ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลาปาง ร์ ลงชอ่ื ( นายชาญณรงค์ จิรขจรกุล ) ตำแหน่ง นกั ทรพั ยากรบุคคล

ตัวบง่ ชีท้ ี่ 2. ดา้ นการวางแผน 2.2 กำหนดแผนพัฒนาตนเองและสามารถดำเนนิ การตามแผนใหส้ อดคลอ้ ง กับภารกิจ หน้าท่ี • จดั ทำแผนการพัฒนาตนเอง โดยมกี จิ กรรมทีส่ อดคลอ้ งกับภารกจิ และบทบาทหนา้ ท่ี การจัดการทำแผนพัฒนาตนเอง โดยการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง การพัฒนาสมรรถนะ(IDP) ซ่ึง ประเมินผลการพัฒนาตนเอง (ทั้งปี) มากกว่าหรือเทา่ กับ 70 ชั่วโมง ศึกษาและพัฒนาตนเองได้ จำนวน 14 วชิ า รวม 105 ช่วั โมง มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชุมชน

ตัวบง่ ชที้ ่ี 2. ด้า 2.2 กำหนดแผนพฒั นาตนเองและสาม กบั ภารก อันดับท่ี สมรรถนะหลัก หวั ข้อทตี่ ้องการเรียนร/ู้ พัฒนา วิธกี าร/เ การเร ๑ การส่ังสมความเช่ียวชาญ การบรหิ ารจัดการพื้นท/ี่ รปู แบบ ในงานอาชีพ (Expertise) คลองไสไ้ ก่ การเรียนร ปฏิบตั งิ าน ๒ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ปลูกผักสวนครวั รวั้ กินได้ โดย นาย Training) ดูภาพยนต (Aehievement สุทธพิ งษ์ จลุ เจริญ อธิบดกี รมการ เรียน Lea Motivation) พฒั นาชุมชน (คลิป) เรยี น Lea ๓ การยึดมัน่ ในความถูกต้อง การเรยี นรตู้ ามรอยพระยุคลบาท เรยี น Lea ชอบธรรมและจริยธรรม เรียน Lea (Integrity) เรียน Lea ๔ การส่ังสมความเช่ียวชาญ กระบวนการการผลิตเหด็ และพชื ผัก ในงานอาชีพ (Expertise) ตามแนวทางเกษตรปลอดภยั ๕ การส่ังสมความเชยี่ วชาญ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ในงานอาชีพ (Expertise) ๖ การมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ การจัดทำแผนพฒั นารายบุคคล (Aehievement Motivation) ๗ การทำงานเปน็ ทีม การเป็นผูน้ ำการเปล่ยี นแปลงท่มี ี (Teamwork) ประสทิ ธิภาพ มาตรฐานนักทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาช

านการวางแผน มารถดำเนินการตามแผนใหส้ อดคล้อง กจิ หน้าท่ี เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ใน ระยะเวลาทจ่ี ะดำเนินการ ระยะเวลา หน่วยงานกรณีฝึกอบรม รยี นรู้/พัฒนา เรียนรู/้ พัฒนา (ชัว่ โมง) - รู้จากการ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒ - น (On the job ) ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒ ตร์ arning ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ - arning ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ - arning ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ - arning ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ arning ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ ชมุ ชน

ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2. ด้า 2.2 กำหนดแผนพัฒนาตนเองและสาม กบั ภารก อันดบั ท่ี สมรรถนะหลกั หวั ข้อทต่ี ้องการเรียนรู/้ พฒั นา วธิ กี าร/เ การเร ๘ การทำงานเปน็ ทมี (Teamwork) ภาวะผู้นำยุค ๔.๐ เรียน Lea ๙ บริการที่ดี (Service โควดิ -๑๙ และระบาดวิทยา เรียน Lea Mind) การเปน็ วิทยากรมอื อาชีพฉบับ พช เรียน Lea ๑๐ บรกิ ารทีด่ ี (Service Mind) การใชแ้ ผนที่ เครื่องมือภูมิสารสนเทศ ฝึกอบรม เพ่อื การสำรวจและจดั ทำข้อมูล ๑๑ การสงั่ สมความเชี่ยวชาญ กายภาพ เศรษฐกจิ สงั คม และ ในงานอาชีพ (Expertise) สงิ่ แวดล้อม มาตรฐาน Amazing Thailand ฝกึ อบรม ๑๒ บรกิ ารทด่ี ี (Service Safety & Health Administration Mind) (SHA) ทักษะการจดั การความรู้ในงานพฒั นา ฝึกอบรม ๑๓ การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ชุมชน (Aehievement Motivation) กระบวนการการถอดองค์ความรู้ ฝึกอบรม ชุมชนและสรา้ งรปู แบบการจัดการ ๑๔ การสงั่ สมความเชี่ยวชาญ ความรู้ท่ีเหมาะสมกับภูมสิ ังคม ในงานอาชีพ (Expertise) มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาช

านการวางแผน มารถดำเนนิ การตามแผนใหส้ อดคล้อง กิจ หน้าท่ี เครื่องมือทใ่ี ชใ้ น ระยะเวลาทจ่ี ะดำเนินการ ระยะเวลา หนว่ ยงานกรณฝี กึ อบรม รียนร้/ู พฒั นา เรยี นรู้/พฒั นา (ชัว่ โมง) arning ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ กรมการพฒั นาชมุ ชน arning ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ - arning ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ - ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๔ สำนักงานเทคโนโลยี อวกาศและภมู ิ สารสนเทศ GISTDA ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๔ สถาบันการพฒั นาชมุ ชน กรมการพฒั นาชุมชน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๑ สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชมุ ชน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๘ สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชุมชน ลงช่ือ ( นายชาญณรงค์ จิรขจรกลุ ) ชมุ ชน ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบคุ คล

ตวั บ่งชที้ ่ี 2. ด้านการวางแผน 2.2 กำหนดแผนพัฒนาตนเองและสามารถดำเนินการตามแผนใหส้ อดคล้อง กบั ภารกจิ หน้าท่ี เกียรติบัตร/วุฒิบัตร , ชุดองค์ความรู้ , เอกสารทางวิชาการ การพัฒนาตนเอง การพฒั นาสมรรถนะ(IDP) มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบคุ คล : Talent Trainer ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลำปาง สถาบนั การพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2. ด้านการวางแผน 2.2 กำหนดแผนพัฒนาตนเองและสามารถดำเนนิ การตามแผนใหส้ อดคลอ้ ง กบั ภารกิจ หน้าที่ มาตรฐานนกั ทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลำปาง สถาบันการพัฒนาชมุ ชน กรมการพฒั นาชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook