Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารโทรศัพท์เคลื่อนที่

เอกสารโทรศัพท์เคลื่อนที่

Published by ศุภณัฐ รัตนบุรี, 2021-02-11 16:40:15

Description: เอกสารโทรศัพท์เคลื่อนที่

Search

Read the Text Version

วชิ าระบบเครอื ข่ายโทรศัพท์เคล่อื นที่ รหสั วิชา 20901-2007 นายศภุ ณฐั รตั นบุรี ปวช.2 62209010011 ท.ส.2 เสนอโดย ครูพลวฒั น์ เก้ือขำ วิทยาลัยสารพดั ช่างสงขลา ภาคเรียนที่ 2

ก คำนำ รายงานเลม่ นจ้ี ัดทำขน้ึ เพื่อเป็นส่วนหน่งึ ของวชิ า ระบบเครือขา่ ยโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี ชั้น ปวช.2 เพือ่ ใหไ้ ด้ศึกษาหา ความรใู้ นเร่อื ง หลกั การโทรศัพทเ์ คลื่อนที่ และได้ศกึ ษาอย่างเข้าใจเพอ่ื เป็นประโยชนก์ บั การเรียน ผูจ้ ัดทำหวงั วา่ รายงานเลม่ นจี้ ะเปน็ ประโยชน์กบั ผ้อู า่ น หรือนกั เรยี น นกั ศึกษา ท่กี ำลังหาข้อมูลเร่ืองนี้อยู่ หากมขี ้อแนะนำหรือข้อผดิ พลาดประการใด ผู้จดั ทำขอน้อมรบั ไว้และขออภัยมาณ ที่น้ีด้วย ผ้จู ัดทำ นายศภุ ณัฐ รัตนบุรี วนั ท่ี 11 ก.พ. 64

ข สารบญั Table of Contents การทำงานของโทรมอื ถือ .................................................................................................................................. 1 ผลกระทบต่อสุขภาพ ....................................................................................................................................... 2 การเลือกซื้อตอ้ งพิจารณาอะไรบา้ ง ..................................................................................................................... 2 SAR คอื อะไร .................................................................................................................................................. 3 อปุ กรณ์ Hand free จะทำใหป้ ลอดภยั เพิม่ ขน้ึ หรอื ไม่................................................................................................. 4 ผลการศกึ ษา.................................................................................................................................................. 5 ไอคอนโทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี .................................................................................................................................. 7 การเรม่ิ ต้นใช้โทรศพั ท์.................................................................................................................................... 11 Android ....................................................................................................................................................... 11 การต้งั ค่าบัญชี Google.................................................................................................................................... 11 การใชโ้ ทรศพั ทข์ องคุณเปน็ โทรศพั ท์.................................................................................................................. 12 ทำความรู้จักกับระบบปฏบิ ัติการ ...................................................................................................................... 13 เคล็ดลับทสี่ ำคัญเพมิ่ เตมิ ................................................................................................................................. 17 แตะทา่ ทาง.................................................................................................................................................. 19 iOS............................................................................................................................................................. 20 เปิดใชง้ านอุปกรณข์ องคุณ .............................................................................................................................. 22 ตั้งคา่ Face ID หรือ Touch ID และสร้างรหสั .......................................................................................................... 23 กคู้ ืนหรอื ถา่ ยโอนข้อมลู ตา่ ง ๆ ของคณุ ............................................................................................................... 24 ลงชื่อเข้าใช้ดว้ ย Apple ID ของคณุ ...................................................................................................................... 25 เปิดรายการอพั เดทอตั โนมตั แิ ละตงั ้ คา่ คณุ สมบตั อิ ่ืนๆ.......................................................................................... 26 ตัง้ คา่ Siri และอปุ กรณเ์ คร่ืองอ่ืน........................................................................................................................ 27 ตง้ั คา่ เวลาหนา้ จอและตัวเลอื กจอแสดงผลเพ่มิ เตมิ ................................................................................................ 28 การโทร ...................................................................................................................................................... 30

ค รับสายหรือปฏเิ สธสายเรยี กเข้า........................................................................................................................ 30 การปอ้ นโทรศพั ท.์ ......................................................................................................................................... 32 การแบง่ กลมุ่ ตวั เลขให้ถกู ................................................................................................................................ 32 สรปุ แนวทางการเขยี นเลขหมายโทรศัพท์ ........................................................................................................... 35 การอา้ งองิ ................................................................................................................................................... 37

1 การทำงานของโทรมอื ถอื เม่อื เราพดู โทรศัพทม์ ือถือ คลนื่ เสยี งจะเปลี่ยนเป็นคลื่นวิทยุ radio waves ซ่งึ เปน็ คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า ชนดิ หนึ่ง( electromagnetic radiation) คลื่นนี้จะกระจายไปในอากาศและไปสสู่ ถานีของวทิ ยุมอื ถือ เมื่อมีคนโทรติดต่อมาคลน่ื เสยี งจะแปลงเปน็ คล่ืนวิทยุ ส่งไปตามสถานแี ละส่งมายังผู้รบั ความแรงของคลื่นส่วนใหญป่ ระมาณ 0.75ถึง 1 watt ในขนะท่ีเราพดู สมองของเราจะอยู่ใกลเ้ สา อากาศของโทรศัพทม์ อื ถอื มากที่สดุ พลงั งานจากคล่ืนวทิ ยุจะเปล่ียนเปน็ พลังงานความร้อนซ่งึ อาจจะ สง่ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพ ความแรงของคลื่น คนท่ใี ชโ้ ทรศพั ท์มือถือจะได้รบั คลื่นมากกวา่ คนท่ีอาศัยอยู่ใกล้สถานี คนท่ีใช้โทรศพั ท์มอื ถือจะไดร้ ับ คลืน่ เม่ือมีการใช้โทรศัพท์ แต่คนทอี่ าศยั ใกล้สถานีจะได้รบั คลน่ื อย่ตู ลอดเวลา โทรศพั ท์มือถือ โทรศัพท์มอื ถือสมยั เกา่ เปน็ ระบบ 850 MHz ปัจจบุ นั เป็นแบบ 1900 MHz ส่วนของ ประเทศทางยโุ รปใชร้ ะบบ Global System for Mobile Communications (GSM) ซงึ่ มีคล่ืน ความถ่ีระหว่าง 900 MHz ถงึ 1800 MHz โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่จี ะใหพ้ ลังงานคลนื่ เพียง 0.2-0.6 Watts สำหรับวทิ ยุ walkies talkies จะใหก้ ำลังคลนื่ ถึง 10 Watts ความแรงของคลน่ื จะลดลงอย่างมากเมอื่ ตัวเครอื่ งอยหู่ ่างจากศรษี ะ ดังน้ันควารจะใช้อุปกรณ์ทีเ่ รียกวา่ hand free ซึ่งจะลดความแรงของคล่นื

2 สถานีกระจายคล่ืน สถานจี ะใหค้ ลนื่ แรงต้ังแต่ไม่กว่ี ตั ต์จนเป็นรอ้ ยขึ้นกับขนาดและจำนวนของเซลล์ไซต์ โดยตวั เสา อากาศจะมีความกวา้ ง 20-30 ซม. และยาวประมาณ 1 เมตรโดยตัง้ อยู่ ดาดฟ้าอาคาร บนหอคอยสงู 15-50 เมตร จากพืน้ หากต้งั อยู่บนพืน้ จะต้องมีความสูง 50-200 ฟตุ จากพ้ืนดิน คลน่ื จากเสาอากาศจะออกในแนวราบ ดังน้ัน คนทอ่ี ยบู่ นดินหรอื ในบ้านจะได้รับคล่ืนนอ้ ยมาก ระยะห่างท่ปี ลอดภยั จากคอื 2-5 เมตรจากเสาอากาศ ผลกระทบต่อสุขภาพ คลน่ื วทิ ยจุ ะมผี ลต่อเนอื้ เย่ือลึกประมาณ 1 ซม ความลึกขนึ้ กบั ความถ่ีของคล่ืน เม่ือเนือ้ เยื่อได้รบั คล่ืนจะแปลงเป็น ความร้อนแต่ร่างกายกม็ ีกลไกทจี่ ะควบคุมอุณหภูมิ เช่ือว่าผลเสยี ของคลน่ื วทิ ยเุ กิดจากความรอ้ น การศึกษาท่ีผา่ นมาจะศึกษาผลกระทบอของคลื่นวิทยุต่อท้ังร่างกาย และคลืน่ ท่ศี ึกษาก็แรงกวา่ คล่นื โทรศัพท์มาก การศึกษาผลกระทบของคลืน่ โทรศพั ทมอื ถือต่อคนยังมไี มม่ าก มะเร็ง ยังไม่มีหลักฐานยืนยนั วา่ คล่ืนโทรศัพท์ทำให้เกิดมะเรง็ แต่จากการทดลองในสตั ว์กไ็ ม่มหี ลักฐานวา่ ทำใหเ้ กดิ มะเรง็ และจากการศึกษาทางระบาดวิทยาก็ไม่มหี ลกั ฐานว่าคลน่ื โทรศัพท์ทำใหเ้ กดิ มะเร็ง ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพอืน่ พบว่าคลนื่ วทิ ยุมีผลตอ่ การนอนหลบั การตอบสนองของสมอง น้อยมาก การขับรถ การใชโ้ ทรศัพท์มือถือทำให้มีอุบัตเิ หตุเพิม่ ขน้ึ การรบกวนของคล่นื วิทยุ คลื่นจะรบกวนการทำงานของอุปกรณ์ทางการแพทย์ เชน่ เคร่อื งกระตุ้นการเตน้ ของ หวั ใจ pacemaker ,defibrillator และอาจจะมีผลตอ่ การควบคมุ การบิน การเลอื กซอ้ื ต้องพจิ ารณาอะไรบ้าง ตอ้ งทราบว่าโทรมือถือแตล่ ะรุ่นท่ีผลิตออกมาให้ความถ่ีคลน่ื วิทยุออกมาเท่าไร (Radiofrequency exposure level ) ทา่ นจะทราบโดยขอข้อมลู จากบริษัทผู้ผลติ หรอื ท่เี ว็ป http://www.fcc.gov/oet/rfsafety ทา่ นจะต้องทราบว่าพลงั งานท่ไี ด้จากคลน่ื (Specific Absorption Rate (SAR) เปน็ การคำนวณพลังงานจาก คล่นื วทิ ยุท่ีเราไดร้ ับ)ไม่ควรเกินเท่าไร ปกติไม่ควรเกนิ 1.6 watts per kilogram SAR stands for Specific Absorption Rate

3 แมว้ ่าจากหลักฐานถึงปจั จบุ ันพบว่าการใช้โทรศัพท์มอื ถือไม่กอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อผู้ใช้ แต่ยังมคี ำถามถึงความ ปลอดภัยของการใชโ้ ทรศัพท์มอื ถือในระยะยาว ซงึ่ รัฐบาลของของหลายประเทศได้แนะนำให้มีการวจิ ยั เพิ่มเตมิ SAR คอื อะไร หมายถงึ Specific Absorption Rate หมายถึงหนว่ ยการวัดปริมาณพลังงานทีร่ ่างกายได้รับขณะทเ่ี ราใช้ โทรศัพท์มอื ถือ โทรศัพท์ทกุ เครือ่ งจะต้องผ่านการวดั โดยใช้พลังงานเต็มที่ แต่พลังงานท่ีเราใช้จริงจะนอ้ ยกว่าคา่ ท่ี ไดจ้ ากการทดสอบ เพราะบริษทั เคา้ ออกแบบใหใ้ ช้พลังงานต่ำทส่ี ดุ ที่พอจะส่งคลื่นไปยังสถานีทใี่ กลท้ ส่ี ุด ดงั นนั้ หาก เราอยใู่ กล้สถานี เราจะไดร้ ับพลงั งานน้อย เราจะเลอื กเครื่องท่ีมรี ะดบั SAR เทา่ ไร ในการเลอื กซ้ือเครื่องโทรมือถือนอกตากจะพจิ ารณา บริษัทท่ผี ลติ รนุ่ แบบ ขนาด ประเภทการใชง้ าน ราคา เรา จะต้องคำนึงถึง ระดบั ของ SAR โดยค่าปกตจิ ะไมเ่ กนิ 1.6 watt/Kg โทรศัพท์ของบริษัทแต่ละรุ่นมีคา่ SAR เทา่ กนั หรือไม่ แม้ว่าจะเปน็ โทรศัพท์จากบริษัทเดยี วกนั แตจ่ ะมีค่า SAR ไม่เท่ากนั เราจะทราบวา่ เครื่องของเรามีคา่ SAR เท่าไร มี website ทีใ่ ห้ทา่ นค้นหาว่าเคร่ืองของท่านมีค่า SAR เท่าไรค้นไดจ้ าก www.fcc.gov/oet/fccid ตารางขา้ งลา่ งจะเป็นที่อยู่ของบริษัทท่ีผลติ โทรมือถือ ซึ่งทา่ นจะสามารถหารายละเอยี ดของ Specific Absorption Rate (SAR) ของเครือ่ งแต่ละรุ่น Alcatel Audiovox: Benefon: Kyocera Wireless: www.kyocera-wireless.com LG: www.lge.com Mitsubishi: www.mitshubishiwireless.com

4 Motorola: www.mot.com/rfhealth/sar.html Nokia: www.nokiausa.com Panasonic: www.panasonic.com Samsung: www.samsungusa.com Ericsson: www.sonyericssonmoible.com/us อุปกรณ์ Hand free จะทำใหป้ ลอดภยั เพมิ่ ขน้ึ หรือไม่ ในขณะท่ียังไม่ทราบถงึ ผลเสียของการใช้โทรศัพทม์ ือถือในระยะยาว ดังน้ันการใช้อุปกรณ์ Hand free จะทำให้ สมองของเราได้รบั พลงั งานจากคลื่นวทิ ยลุ ดลง อุปกรณ์ท่ีปอ้ งกนั คลื่นไปสศู่ รีษะใชก้ ารไดห้ รือไม่ จากการศึกษาพบว่าอุปกรณ์เหล่าน้ใี ช้ไม่ไดผ้ ลเนื่องจากทำให้การใช้โทรศพั ท์ลำบาก และเครอื่ งจะปรับพลังงาน เพ่มิ ข้ึน ทำใหเ้ ราไดร้ บั พลังงานเท่าเดมิ เราจะใช้มือถืออย่างปลอดภยั ไดอ้ ยา่ งไร จนถึงปจั จบุ นั ยังไมม่ ีหลกั ฐานถงึ ผลเสียของคลน่ื โทรศพั ทม์ ือถือตอ่ สุขภาพ แต่ต้องรอผลการศกึ ษาอีก 3-4 ปี ดงั น้ัน องค์การอนามัยโลกจงึ เสนอแนวทางปฏบิ ัติ ลดระยะเวลาในการพูดโทรมือถือ ให้ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำเพื่อสขุ ภาพทั้งผูใ้ ชม้ ือถือ หรอื ผทู้ ่ีอาศัยใกล้สถานี มาตราการเสริม การออกมาตราการควรจะอาศัยขอ้ มลู ทางวชิ าการ หากภาครัฐหรือภาคประชาชนตอ้ งการมาตราการเสริม ควรจะเป็นมาตราการจงู ใจหรือสมัครใจ เพ่ือใหบ้ ริษทั ผลิต สินคา้ ที่มกี ารปล่อยคลื่นลดลง สว่ นประชาชนโดยเฉพาะเด็กหากต้องการลดการรับคลื่นควรจะจำกดั การใชห้ รอื ใชอ้ ปุ กรณ์ hand free ปฏบิ ัติตามข้อหา้ ม เชน่ ไม่ใช้โทรศัพทม์ ือถือในโรงพยาบาล หรือเครอื่ งบนิ ความปลอดภัยขณะขบั ขี่ ควรจะหลกี เล่ยี งการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะทีข่ บั รถ หรืออาจจะใชอ้ ุปกรณ์ hand free

5 สร้างรั้วหรือส่งิ กีดขวางบรเิ วณสถานเี พื่อมิให้ผูไ้ ม่เกีย่ วข้องเข้าไปยังบรเิ วณดงั กลา่ ว การติดตั้งสถานี การตดิ ต้งั สถานใี กล้โรงเรยี นอนุบาล สนามเด็กเลน่ โรงเรียน จะตอ้ งพิจารณาใหร้ อบครอบ ผลการศึกษา รายงานจาก Cellphones 'should not be given to children' 18:19 11, January 2005 NewScientist.com news service ,Will Knight, London แม้ว่าจะยงั ไมม่ ีหลักฐานถงึ อันตรายของมือถือต่อ สุขภาพ แต่ต้องระวงั โดยเฉพาะในเด็ก มีรายงานจากประเทศสวีเดน วา่ มีความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเกดิ เน้ืองอก เส้นประสาทหกู บั มอื ถอื มีการวจิ ัยวา่ การใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือนาน ๆจะเกิด Hot spot ในเนื้อสมอง ซ่ึงเชื่อว่าจะมีการทำลายสมองบางสว่ น และอาจจะเปน็ สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคเนอ้ื งอกในสมอง และ Alzheimer’s disease การวิจัยใหม่ๆพบวา่ คล่ืนโทรมอื ถือ GSM จะทำใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงในการทำงานของเซลล์ และการ เปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟา้ สมอง พบว่าคลื่นวทิ ยุทำให้เกดิ การสลายของ DNA ซึง่ หากไม่มกี ารซ่อมแซมจะทำใหเ้ ซลลส์ มองตาย นักวจิ ัยที่ Royal Adelaide Hospital in Australia คน้ พบว่าคลื่นแม่เหล็กทุ ี่ออกมาจากอุปกรณเ์ คร่ืองใช้ไฟฟ้า อาจจะมีความสัมพันธก์ บั การเกิดเน้อื งอกสมองของหนู การทส่ี มองสมั ผัสคล่นื โทรศัพท์มือถอื นาน ๆจะทำให้สารพิษสามารถเขา้ สูเ่ น้อื สมองได้งา่ ย รูปข้างลา่ งแสดงกลไกวา่ คลืน่ โทรศัพทม์ ือถือทำใหเ้ กิดเน้ืองอกสมองได้อยา่ งไร ออสซสี งสัยคนเน้อื งอกในสมองจากเสามือถอื บนอาคาร 12 พฤษภาคม 2549 14:37 น. สำนกั งาน 2 ช้ันบนสดุ ของอาคารแห่งหนึ่งในนครเมลเบิร์นของออสเตรเลียปดิ ทำการชว่ั คราว หลงั จากเจ้าหน้าท่ี 7 คนทท่ี ำงานในนัน้ ตรวจพบเน้ืองอกสมอง ก่อให้เกิดความวิตกว่าอาจมีสาเหตุมาจากเสาส่งสญั ญาณ โทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ีบนหลงั คาอาคาร เจา้ หน้าท่สี หภาพการอุดมศกึ ษาแห่งชาติของออสเตรเลียเผยวา่ 2 ชั้นบนสดุ ของอาคารดังกล่าว เปน็ ทตี่ ง้ั สำนักงาน ของราชสถาบนั เทคโนโลยเี มลเบิร์น มีการสงั่ ยา้ ยเจ้าหน้าที่ออกจากสำนกั งานดังกลา่ วแล้วเมื่อวานนี้ หลังจาก

6 เจ้าหน้าท่ี 4 คนตรวจพบเนื้องอกในสมองในชว่ ง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา และกอ่ นหน้าน้เี จ้าหนา้ ที่ 3 คนก็ตรวจพบเน้อื งอกในสมองเช่นกนั โดยพบรายแรกเม่ือปี 2544 การพบเจ้าหนา้ ทม่ี ีเน้ืองอกสมองพร้อมกันมากขนาดน้ี จงึ ไมน่ ่าจะ เป็นเร่ืองบงั เอญิ เจ้าหน้าที่ที่ป่วย 5 คน ทำงานอยชู่ ัน้ บนสดุ ของอาคาร และสว่ นใหญ่ทำงานมานานไมต่ ่ำกว่า 10 ปี ด้านเจ้าหน้าทร่ี าชสถาบนั เทคโนโลยีเมลเบริ ์นกล่าววา่ เสาสง่ สญั ญาณโทรศัพท์เคลือ่ นท่ีที่ตดิ ตงั้ อยบู่ นหลังคาอาคาร สร้างความกังวลมานาน แต่ผลการศกึ ษาเมื่อปี 2544 ไม่พบวา่ เป็นสาเหตทุ ่ที ำให้เจา้ หน้าทีร่ ายแรกมีเนือ้ งอกใน สมอง อย่างไรก็ดี ทางสถาบนั ยงั ไม่ตัดประเดน็ น้ีออกไป และจะศึกษาเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้แนใ่ จ ดา้ นเทลสตรา บรษิ ทั โทรศัพท์รายใหญท่ ีส่ ุดในออสเตรเลียที่ติดตั้งเสาส่งสญั ญาณโทรศัพท์บนหลงั คาอาคารดงั กล่าว ออกแถลงว่า เสาส่งไดม้ าตรฐานด้านสุขภาพและความปลอดภัยของสำนักงานความปลอดภัยนวิ เคลยี รแ์ ละการ ปอ้ งกันรังสีออสเตรเลยี และเป็นไปตามระเบยี บที่เครง่ ครัดขององค์การอนามยั โลก อยา่ งไรกด็ ี ทางบริษัทจะ รว่ มกับราชสถาบนั ฯ สืบหาความจริงตอ่ ไป เพื่อคลายความกังวลของเจ้าหน้าท่ี

7 ไอคอนโทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี ไอคอนที่อยดู่ า้ นบนสุดของหน้าจอคือไอคอนอะไร แถบสถานะท่ดี ้านบนของ หนา้ จอหลกั มีไอคอนตา่ ง ๆ ท่จี ะชว่ ยคณุ ตรวจสอบโทรศัพท์ของคุณ ไอคอนทางดา้ นซา้ ย จะแจ้งให้คุณทราบเกย่ี วกับแอป เช่น ขอ้ ความใหม่หรือดาวนโ์ หลด หากคณุ ไม่ทราบ ความหมายของไอคอนเหล่านี้ ให้กวาดแถบสถานะลงเพ่ือดูรายละเอยี ด ไอคอนทางดา้ นขวา จะแจ้งให้คุณทราบเกีย่ วกบั โทรศัพท์ของคณุ เชน่ ระดับแบตเตอร่ีและการเชอ่ื มต่อเครือขา่ ย นค่ี อื ไอคอนจากแอปทมี่ าพร้อมกบั โทรศัพท์ของคณุ และไอคอนสถานะโทรศัพท์ การโทร การโทรทใ่ี ชง้ านอยู่ สายที่ไม่ได้รบั ลำโพงเปิดอยู่ ไมโครโฟนถูกปดิ เสยี ง เครอื ข่าย เช่ือมต่ออยกู่ ับเครือข่ายโทรศัพท/์ เครือขา่ ยมอื ถือ (สญั ญาณเต็ม) ยังมีการแสดงความเร็วของการ เชือ่ มต่อเครอื ขา่ ยของคุณเอาไว้อกี ด้วย ตวั อย่าง เช่น หรือ ความเร็วทเ่ี ป็นไปไดเ้ รียงจาก ชา้ ท่ีสดุ ไปเรว็ ทีส่ ดุ คือ 1X, 2G, 3G, H, H+, 4G ความเร็วท่ีใชไ้ ด้ขนึ้ อยู่กบั ผใู้ หบ้ ริการและตำแหน่งของ คุณ ไมม่ ีการเชื่อมตอ่ กบั เครือข่ายโทรศัพท์/เครือข่ายมอื ถือ เชอื่ มต่ออยกู่ ับเครือข่ายโทรศัพท์/เครือข่ายมือถอื อ่ืน (โรมม่ิง)

8 โทรฉุกเฉนิ เท่านั้น อยู่ในพนื้ ท่ีเครือข่าย Wi-Fi เชื่อมต่อ อยกู่ ับเครอื ข่าย Wi-Fi บรกิ ารตำแหนง่ ใช้งานอยู่ ไม่มซี ิมการ์ด โหมดบนเคร่ืองบนิ เปดิ อยู่ \\การเชื่อมต่อ บลูทธู เปดิ อยู่ เชื่อมตอ่ กับอุปกรณ์บลูทูธแล้ว เช่ือมตอ่ กับอุปกรณ์บลทู ธู ที่เช่ือถือได้แล้ว โทรศพั ท์ของคณุ เป็น Wi-Fi ฮอตสปอต อปุ กรณ์ต่างๆ สามารถเชื่อมต่อเพ่อื แบง่ ปนั การเชื่อมตอ่ ข้อมลู ของคณุ ได้ เชื่อมต่อกบั จอแสดงผลไร้สายหรืออะแดปเตอร์แลว้ เชอ่ื มตอ่ แล้วดว้ ย สาย USB เช่ือมตอ่ แล้วดว้ ยสาย USB ในโหมดแกไ้ ขข้อบกพร่อง ซงิ ค์และอปั เดต มกี ารอัปเดตแอปรอให้ ดาวน์โหลด จาก Play Store

9 แอปฯ ได้รับการติดตั้งสำเร็จแล้วจาก Play Store อย่ใู นระหว่างการซิงค์อีเมลและปฏทิ ิน อยู่ในระหวา่ งการอัปโหลด ดาวน์โหลดเสรจ็ สนิ้ กำลัง backup Google+ สำรองข้อมลู Google+ เสร็จสมบูรณ์ เสยี ง สน่ั เสียงเรียกเขา้ ปิดอยู่ กำลังเล่นเพลงอยู่ การขดั จงั หวะ แบตเตอร่ี แบตเตอร่ชี ารจ์ เต็มแล้ว กำลังชารจ์ แบตเตอรี่ แบตเตอรใ่ี กล้หมด การปลกุ และปฏทิ ิน

10 ต้ังคา่ การปลุก กจิ กรรมใน ปฏิทนิ ที่กำลงั มาถึง อเี มลและการรบั สง่ ข้อความ อีเมลใหม่ ข้อความ Gmail ใหม่ ขอ้ ความตัวอกั ษรใหม่ ขอ้ ความเสียงใหม่ ขอ้ ความใหม่จาก Hangouts การแจง้ เตือนฉกุ เฉิน ไอคอนอื่น ๆ เปลี่ยนประเภทแปน้ พิมพ์ ภาพหน้าจอ ใชง้ านได้ Assist กำลงั ปรับการตงั้ ค่าโทรศัพทต์ ามกิจกรรม กำลังขับรถ Assist กำลังปรบั การต้ังคา่ โทรศพั ทต์ ามกจิ กรรม บา้ น Assist กำลงั ปรบั การตงั้ คา่ โทรศพั ทต์ ามกิจกรรม ประชมุ Assist กำลังปรับการต้ังค่าโทรศพั ทต์ ามกจิ กรรม กำลงั นอนหลบั

11 การเรมิ่ ต้นใช้โทรศัพท์ Android ดังนนั้ คุณเพ่ิงหยบิ โทรศัพท์ Android เครื่องแรกหรอื บางทีคุณอาจมโี ทรศัพท์ Android ท่ีคุณไม่ได้ใชป้ ระโยชน์ อย่างเตม็ ที่เพราะนั่นเปน็ โทรศัพท์ต่ำสุดประเภทเดียวที่ผู้ให้บริการของคณุ เสนอในวนั น้ี คำแนะนำน้ีจะช่วยให้คณุ เข้าใจและปรับตัวเขา้ กับชีวิตดว้ ย Android. โปรดทราบวา่ บางสว่ นของโทรศพั ท์ของคุณอาจดูแตกตา่ งจากภาพหนา้ จอท่เี ราถา่ ยท่ีนซี่ ึง่ ถา่ ยใน Nexus 4 ทใี่ ช้ ระบบ Android สตอ็ กเร่มิ ต้นของ Google อุปกรณเ์ ช่นซีร่ีส์ Samsung Galaxy S มกี ารเปล่ียนแปลงส่วนตอ่ ประสานทีห่ ลากหลายท่ีทำโดยผผู้ ลติ โทรศัพท์. การต้ังคา่ บญั ชี Google คร้ังแรกที่คุณเปิดอุปกรณ์ Android คุณจะถูกขอใหป้ ้อนรายละเอยี ดบัญชี Google ของคณุ หรอื สรา้ งบัญชี Google หากคุณยังไม่มี นีเ่ ป็นทางเลอื กทางเทคนิคเนอื่ งจากคุณสามารถใชโ้ ทรศัพท์ Android โดยไม่ต้องมบี ญั ชี Google แตเ่ ป็นความคิดทีด่ .ี Android เป็นระบบปฏบิ ัติการของ Google และบัญชี Google มกี ารเช่ือมโยงอย่างแน่นหนากับระบบปฏิบัติการ บัญชี Google ของคณุ ใชเ้ พ่ือสำรองข้อมูลการตั้งคา่ โทรศพั ทต์ ดิ ตามแอปที่ติดต้ังและลงิ ก์ทรี่ วมแอพท่มี ีบริการของ Google เชน่ Gmail, Google ปฏทิ ินและ Google Contacts หากคุณเคยไดร้ บั โทรศัพท์ Android เคร่ืองใหม่ หรือคืนคา่ โทรศัพทป์ ัจจบุ ันของคุณเป็นการตั้งคา่ เร่ิมตน้ จากโรงงานบญั ชี Google จะตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ ได้

12 สำรองข้อมลู ทั้งหมดแลว้ คณุ ยังสามารถเข้าถงึ อีเมลผูต้ ดิ ต่อกิจกรรมในปฏิทนิ และขอ้ มูลอ่ืน ๆ บนเวบ็ Android สามารถอปั โหลดรูปภาพของคุณไปยังอลั บมั้ สว่ นตัวใน Google+ โดยอัตโนมัติดังนนั้ คณุ จะมีสำเนาสำรองอยู่เสมอ. หากคุณเลือกท่จี ะไม่ป้อนข้อมูลประจำตวั ของบญั ชี Google ในขณะตัง้ คา่ โทรศพั ท์ Android ของคณุ คุณสามารถ เพม่ิ บัญชีในภายหลังไดจ้ ากหน้าจอการต้ังค่าของ Android. การใชโ้ ทรศพั ท์ของคณุ เป็นโทรศพั ท์ เชน่ เดยี วกบั สมารท์ โฟนอ่ืน ๆ โทรศัพท์ Android มสี ่ิงท่เี หมอื นกนั กบั คอมพวิ เตอร์มากกว่าโทรศพั ท์แบบเดมิ สามารถใชส้ ำหรับการท่องเว็บอีเมลและอนื่ ๆ ที่มีแอพสำหรบั - ต้ังแตก่ ารสตรีมวิดโี อและการเล่นเกมไปจนถงึ การ แก้ไขรูปภาพและการเขยี นเอกสารสำนกั งาน.

13 อยา่ งไรกต็ ามหากคุณเพงิ่ มาที่ Android จากแพลตฟอรม์ อ่ืนและต้องการใชโ้ ทรศัพท์ Android ของคุณเปน็ โทรศพั ทน์ ่ีไม่ใช่ปญั หา คณุ สามารถใชแ้ อพ Phone เพอ่ื โทรออกและแอพ Messaging เพื่อสง่ และรับขอ้ ความ ตาม คา่ เรม่ิ ตน้ แอพโทรศพั ทแ์ ละการส่งขอ้ ความควรปรากฏในบรเิ วณท่าเรือท่ีด้านลา่ งของหน้าจอหลักของคุณ - มองหา โทรศพั ท์สนี ำ้ เงินและกรอบข้อความสเี ขียว. ทำความรู้จกั กบั ระบบปฏบิ ัตกิ าร เมือ่ คุณเปดิ อปุ กรณ์ Android คุณจะเหน็ หน้าจอลอ็ คซ่งึ คุณสามารถกำหนดคา่ รหัสรูปแบบหรอื รหัสผ่านเพื่อให้ไมม่ ี ใครสามารถใชโ้ ทรศัพท์ของคุณโดยไม่ได้รบั อนุญาต.

14 ปลดล็อคโทรศัพท์ของคุณและคณุ จะเหน็ หนา้ จอหลักของคุณ หน้าจอหลักเปน็ สถานท่ที ่ีคุณสามารถวางไอคอน สำหรบั แอพโปรดและเพ่ิมวดิ เจต็ ตวั อย่างเชน่ หากคุณเปน็ ผู้ใช้ Gmail บ่อยคร้ังคุณสามารถเพ่ิมวิดเจต็ Gmail เพื่อใหค้ ุณเหน็ กลอ่ งจดหมายเขา้ ของคุณบนหน้าจอหลกั โดยไม่ต้องเปิดแอปใด ๆ หากคุณใชแ้ อพอน่ื บ่อยคุณ สามารถวางไอคอนไวบ้ นหน้าจอหลกั ได้. แตะปุ่มวงกลมพรอ้ มจดุ ท่ีดา้ นล่างของหนา้ จอหลกั ของคณุ เพ่อื เปิดลิน้ ชกั แอป ล้นิ ชักแอปจะแสดงแอพทง้ั หมดที่ คุณติดต้ังบนโทรศัพท์ Android ของคณุ ตา่ งจาก iPhone ของ Apple ท่ีหน้าจอหลักเป็นเพียงรายการแอพที่คุณ ติดตั้งเสมอหนา้ จอหลกั และรายการแอพที่ติดตั้งจะแยกจากกันบน Android.

15 จากหนา้ จอแอพคณุ สามารถปัดไปรอบ ๆ เพอ่ื ดแู อพท่ีตดิ ตง้ั และเปดิ แอปได้โดยแตะท่แี อป หากตอ้ งการวางแอ พบนหนา้ จอหลักกดคา้ งไวแ้ ละลากไปทใ่ี ดกไ็ ด้ทคี่ ุณต้องการ หากต้องการเรยี นรู้เพิ่มเตมิ เกยี่ วกับการปรับแต่ง หน้าจอหลกั ของคุณให้อ่านคู่มอื ของเราเพื่อปรบั แต่งหน้าจอโฮมของคุณเอง.

16 กดปมุ่ ทีด่ ้านลา่ งของหนา้ จอเพือ่ ควบคมุ โทรศัพท์ของคณุ มีปมุ่ โฮมทจี่ ะพาคุณกลบั ไปท่ีหนา้ จอหลกั ทนั ทแี ละปุ่ม ย้อนกลับทจ่ี ะพาคุณกลับไปท่ีใดก็ได้ใน Android - มันอาจไปท่ีแอพที่คณุ ใช้ก่อนหนา้ นี้หรือหน้าจอก่อนหนา้ ใน แอปท่ีคณุ กำลังเข้าชม ในโทรศพั ท์ของคุณคณุ อาจมีปุ่มมัลติทาสกงิ้ สำหรบั สลบั ระหว่างหน้าต่างท่ีเปดิ อยหู่ รอื ปุ่ม เมนูทีเ่ ปดิ เมนูของแอพ. หากตอ้ งการสลับระหวา่ งแอปทเี่ ปดิ อยใู่ ห้แตะปมุ่ มัลติทาสก้ิง หากคณุ ไม่มีปุ่มมลั ติทาสกิ้งคุณอาจตอ้ งแตะสองคร้ัง หรือกดปุ่มโฮมค้างไวน้ านเพ่อื เปิดแอปสลับบนโทรศัพท์ของคณุ ส่ิงนี้จะแตกตา่ งกนั ไปตามโทรศพั ท.์

17 เม่ือคุณทำแอพเสรจ็ แลว้ ใหแ้ ตะปุม่ โฮมเพื่อกลับไปที่หน้าจอหลกั ของคุณใชป้ ุ่มย้อนกลับเพื่อออกจากแอพหรือใชต้ ัว สลับแอพเพอ่ื สลบั ไปยงั แอปอ่ืน Android จดั การแอปทร่ี ันอย่โู ดยอตั โนมัติดังน้นั คณุ ไม่ต้องกังวลกับการปิดแอพ. เคลด็ ลับทส่ี ำคัญเพมิ่ เตมิ ใชก้ ารแจ้งเตือน: ในการเข้าถึงการแจง้ เตือนในโทรศพั ท์ของคุณใหด้ ึงลน้ิ ชักการแจง้ เตือนลงมาจากด้านบนของ หนา้ จอดว้ ยนวิ้ ของคุณ แตะการแจง้ เตอื นเพื่อโตต้ อบกับมนั หรอื ปัดการแจ้งเตือนไปทางซ้ายหรอื ขวาเพื่อกำจัด.

18 การกำหนดค่าโทรศัพทข์ องคุณ: การต้งั ค่า Android สามารถเข้าถึงได้ในแอพการตัง้ คา่ ในการเปดิ ใหเ้ ปิดแอป drawer ของคณุ และแตะท่ไี อคอนการตัง้ คา่ นอกจากนค้ี ุณยงั สามารถดงึ ลิน้ ชกั การแจ้งเตอื นลงมาแตะทไ่ี อคอนที่ มมุ บนขวาแล้วแตะปุ่มการตงั้ ค่า. กำลงั ตดิ ต้ังแอพ: ในการติดต้ังแอพเปดิ แอพ Play Store โดยแตะท่ีช็อตคตั Play Store หรือแตะทไ่ี อคอนถุงชอ็ ป ป้ิงท่มี ุมบนขวาของล้นิ ชักแอปของคุณ คุณสามารถคน้ หาแอพและติดตง้ั แอพได้อยา่ งงา่ ยดายจากแอพน.ี้ ทำการคน้ หา: ในการเริ่มตน้ ค้นหาอยา่ งรวดเรว็ ให้แตะวิดเจต็ ชอ่ งค้นหาของ Google ท่ีด้านบนของหนา้ จอหลัก คณุ ยงั สามารถออกคำส่ังเสียงไปยัง Android ได้อย่างรวดเร็วจากทนี่ ี่เพ่ือคน้ หาและดำเนินการอื่น ๆ โดยไมต่ อ้ ง พิมพ์อะไรเลย.

19 แตะท่าทาง ทา่ ทางสมั ผัสทว่ั ไปทำงานตามทีค่ ณุ คาดหวงั แตะบางส่ิงเพ่ือเปิดใชง้ านเลอื่ นนิ้วไปมาบนหนา้ จอเพื่อเลือ่ นข้นึ และ ลงหรอื ปดั จากซ้ายไปขวาและจากขวาไปซา้ ยเพื่อยา้ ยระหว่างหนา้ จอ.หากต้องการกำจดั บางส่งิ เชน่ การแจ้งเตือน คุณสามารถกวาดน้ิวไปทางซา้ ยหรอื ขวาซึ่งจะเป็นการย้ายออกจากหน้าจอของคุณ เพยี งแตะท่ีรายการและเล่ือน นิว้ ของคุณไปทางซา้ ยหรือขวา.ในการเลอื กบางอยา่ งไมว่ ่าจะเป็นข้อความหรือสิ่งท่ีคุณต้องการเลอ่ื นไปมาบน หน้าจอกดแบบยาว นีเ่ ทยี บเท่าคลกิ และลากบน Windows.

20 iOS ต้ังค่า iPhone, iPad หรือ iPod touch ของคุณ ดูวิธีการตงั้ ค่า iPhone, iPad หรอื iPod touch ของคุณ หากคุณกำลังจะเปลี่ยนไปใช้อุปกรณ์เคร่ืองใหม่ หากคุณต้องการถา่ ยโอนข้อมูลจากอปุ กรณเ์ ครื่องอ่ืนไปยัง iPhone, iPad หรือ iPod touch เครอ่ื งใหมข่ องคุณ ให้ ทำตามขัน้ ตอนต่อไปนี้ จาก iPhone, iPad หรือ iPod touch เครอ่ื งอืน่ จากอปุ กรณ์ Android ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ คณุ ไดส้ ำรองข้อมูลอุปกรณ์ iOS เครื่องเดมิ แลว้ เพ่ือให้คุณสามารถถา่ ยโอนคอนเทนต์ไปยัง อุปกรณ์เคร่อื งใหม่ได้ หากคุณกำลังตั้งค่าอุปกรณ์ iOS เคร่ืองแรกของคุณ หากคณุ ตั้งคา่ อุปกรณ์เคร่ืองใหมข่ องคณุ แล้ว แต่ต้องการเร่ิมใหม่หมด ให้ดูวิธลี บข้อมูลใน iPhone, iPad หรอื iPod touch ของคุณ หรอื ทำตามขัน้ ตอนตอ่ ไปนี้ เปิดอุปกรณ์ กดปมุ่ เปดิ /ปิดของอุปกรณ์คา้ งไว้จนกวา่ จะเหน็ โลโก้ Apple จากน้ันคุณจะเห็นคำวา่ \"สวสั ด\"ี ในหลายๆ ภาษา ทำ ตามขน้ั ตอนต่อไปนเ้ี พ่ือเร่ิมต้น หากคุณตาบอดหรือมองเห็นได้ไม่ชดั คุณสามารถเปิด VoiceOver หรอื ซูมจาก หนา้ จอสวัสดีได้ เมอ่ื เคร่ืองถาม ให้เลือกภาษาทจี่ ะใช้ จากนนั้ แตะประเทศหรอื ภูมภิ าคของคุณ สง่ิ นจ้ี ะมีผลต่อลกั ษณะการแสดง ข้อมูลบนอุปกรณข์ องคุณ ซ่งึ รวมถึงวันที่ เวลา รายช่อื และขอ้ มูลอ่ืน ๆ ในขั้นน้ี คุณสามารถแตะปุ่มการช่วยการ เข้าถึงสนี ำ้ เงินเพ่ือต้ังค่าตวั เลอื กการชว่ ยการเข้าถึงซ่งึ ทำให้คณุ ตง้ั คา่ และใชอ้ ปุ กรณ์ได้มปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น ดขู อ้ มลู ช่วยเหลอื หากอปุ กรณข์ องคุณเปดิ ไมต่ ิด หรือหากเครอ่ื งถกู ปิดใชง้ านไวห้ รือเรยี กขอรหสั

21 หากคุณมีอุปกรณ์เครื่องอ่ืนท่ีใช้ iOS 11 หรือใหม่กว่า ให้ใช้เร่ิมต้นอย่างรวดเร็ว หากคณุ มอี ุปกรณเ์ ครื่องอ่ืนที่ใช้ iOS 11 หรอื ใหม่กว่า คุณสามารถใช้อุปกรณเ์ คร่อื งนั้นเพ่ือต้ังคา่ อุปกรณ์เคร่ืองใหม่ ของคุณโดยอัตโนมัตดิ ้วยเร่ิมต้นอยา่ งรวดเร็ว นำอปุ กรณท์ ้งั สองเคร่ืองมาวางไวใ้ กล้กัน จากนนั้ ทำตามคำแนะนำ หากคณุ ไม่มอี ุปกรณ์เครอื่ งอ่ืนท่ใี ช้ iOS 11 หรอื ใหม่กว่า ใหแ้ ตะ \"ตั้งคา่ ด้วยตนเอง\" เพื่อดำเนนิ การตอ่

22 เปดิ ใชง้ านอุปกรณ์ของคณุ คุณต้องเชอ่ื มตอ่ กับเครือข่าย Wi-Fi เครือข่ายเซลลลู าร์ หรือ iTunes เพ่ือเปดิ ใช้งานและดำเนนิ การต้งั คา่ อปุ กรณ์ ของคุณต่อไป แตะเครือข่าย Wi-Fi ทีค่ ณุ ตอ้ งการใช้หรือเลือกตัวเลือกอื่น หากคณุ กำลังตง้ั ค่า iPhone หรือ iPad (Wi-Fi + Cellular) คุณอาจตอ้ งใส่ซิมการ์ดของคุณกอ่ น ดูขอ้ มลู ชว่ ยเหลอื หากคุณไม่สามารถเชื่อมตอ่ Wi-Fi ได้ หรอื หากคณุ ไมส่ ามารถเปดิ ใช้งาน iPhone ของคณุ ได้

23 ต้ังคา่ Face ID หรอื Touch ID และสร้างรหัส บนอุปกรณบ์ างเครื่อง คุณสามารถตง้ั คา่ Face ID หรือ Touch ID ได้ เมอ่ื ใช้คณุ สมบัติเหลา่ นี้ คณุ จะสามารถใช้ การจดจำใบหนา้ หรือลายนิ้วมือของคุณเพื่อปลดล็อคอปุ กรณ์และทำการซ้ือได้ แตะดำเนินการต่อแล้วทำตาม คำแนะนำ หรือแตะ \"ตง้ั คา่ ภายหลงั จากการต้งั ค่า\" จากนน้ั ใหต้ ้ังค่ารหสั หกหลกั เพ่ือช่วยปกป้องข้อมลู ของคุณ คณุ ต้องใช้รหัสเพ่ือใชค้ ณุ สมบัตติ า่ ง ๆ อย่างเชน่ Face ID, Touch ID และ Apple Pay หากคณุ ต้องการใช้รหัสสห่ี ลกั รหัสแบบกำหนดเอง หรอื ไมใ่ ช้รหัส ใหแ้ ตะ \"ตวั เลอื กรหสั \"

24 กคู้ ืนหรือถา่ ยโอนข้อมลู ต่าง ๆ ของคณุ หากคณุ มขี ้อมูลสำรอง iCloud หรือ iTunes หรืออปุ กรณ์ Android คณุ สามารถกู้คนื หรอื ถา่ ยโอนขอ้ มลู จาก อปุ กรณ์เครือ่ งเก่าไปยงั อุปกรณ์เคร่อื งใหม่ของคณุ ได้ หากคณุ ไม่มขี ้อมลู สำรองหรืออปุ กรณ์เคร่ืองอน่ื ให้เลือกไม่โอนแอพและข้อมูล

25 ลงชอื่ เขา้ ใชด้ ้วย Apple ID ของคณุ ป้อน Apple ID และรหัสผ่านของคุณ หรือแตะ \"ลืมรหัสผา่ นหรอื ยงั ไมม่ ี Apple ID ใชไ่ หม\" จากตรงจุดน้ัน คณุ สามารถกู้คืน Apple ID หรือรหสั ผ่านของคุณ สรา้ ง Apple ID หรอื ต้งั ค่าในภายหลงั ได้ หากคุณใช้ Apple ID มากกวา่ หนึ่งบัญชี ให้แตะ \"ใช้ Apple ID ทแี่ ตกตา่ งกนั สำหรบั iCloud และ iTunes หรือไม่\" เมอ่ื คุณลงช่อื เขา้ ใช้ดว้ ย Apple ID ระบบอาจขอรหัสการตรวจสอบยนื ยนั จากอปุ กรณเ์ คร่ืองเก่าของคณุ

26 เปิ ดรายการอพั เดทอตั โนมตั ิและต้งั ค่าคุณสมบตั ิอ่ืนๆ ในหนา้ จอถัดไป คุณสามารถตัดสนิ ใจได้ว่าจะแชรข์ อ้ มลู กบั นักพฒั นาแอพและอนญุ าตให้ iOS อพั เดทโดยอตั โนมัติ หรอื ไม่

27 ต้งั คา่ Siri และอปุ กรณเ์ คร่อื งอ่นื ต่อจากนั้น ระบบจะขอให้คุณตัง้ คา่ หรอื เปิดใชบ้ รกิ ารและคุณสมบัตติ า่ ง ๆ อย่างเช่น Siri สำหรบั อุปกรณ์บางร่นุ ระบบจะขอให้คณุ พูดวลีบางวลีเพือ่ ให้ Siri รจู้ กั เสียงของคุณ หากคุณได้ลงชอ่ื เขา้ ใช้ด้วย Apple ID ของคุณแลว้ ใหท้ ำตามขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อตั้งคา่ Apple Pay และพวงกญุ แจ iCloud

28 ต้ังค่าเวลาหน้าจอและตวั เลอื กจอแสดงผลเพมิ่ เติม เวลาหน้าจอจะชว่ ยให้คณุ ทราบขอ้ มลู อย่างละเอยี ดวา่ คณุ และลกู ๆ ของคุณใช้เวลาเท่าไรบนอปุ กรณ์ คณุ สมบัตนิ ี้ ยังช่วยให้คณุ สามารถจำกดั เวลาการใชแ้ อพในแต่ละวันได้อีกด้วย หลงั จากคุณตงั้ คา่ เวลาหนา้ จอแล้ว คณุ จะ สามารถเปิด True Tone ได้หากอปุ กรณ์ของคณุ รองรับ และใชก้ ารซมู น้าจอเพ่ือปรับขนาดของไอคอนและ ขอ้ ความบนหนา้ จอโฮมของคุณได้ หากคุณมี iPhone X หรือใหม่กว่า ให้ดขู ้อมูลเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั การใช้คำสง่ั น้ิวเพื่อไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของ อปุ กรณ์ หากคุณมี iPhone 7, iPhone 7 Plus, iPhone 8 หรอื iPhone 8 Plus คุณสามารถปรับการกดสำหรับ ป่มุ โฮมของคณุ ได้

29

30 การโทร โทรออก สำคญั : หากตอ้ งการใช้แอปโทรศัพท์ คณุ ต้องยอมรับขอ้ ความทแี่ จง้ ให้ต้งั ค่าแอปเปน็ คา่ เร่ิมต้น เปิดแอปโทรศัพท์ในโทรศัพท์ โทรศัพท์ เลือกบคุ คลท่จี ะโทรหา ดังน้ี แตะ \"แปน้ หมายเลข\" ป่มุ กด เพอื่ ป้อนหมายเลข แตะ \"รายช่อื ตดิ ต่อ\" รายชอ่ื ติดต่อ เพ่ือเลอื กรายชอ่ื ติดต่อท่ีบันทกึ ไว้ เราอาจแสดงรายช่ือติดตอ่ ท่ีแนะนำใหค้ ุณตาม ประวตั กิ ารโทร แตะ \"ลา่ สุด\" ล่าสุด เพือ่ เลือกจากหมายเลขทีโ่ ทรออกล่าสุด แตะ \"รายการโปรด\" การโทรด่วน เพ่ือเลอื กจากรายช่ือติดต่อทบี่ ันทึกไวใ้ นรายการโปรด แตะโทร โทรศัพท์ แตะ \"วางสาย\" ปุม่ วางสาย เม่ือสนทนาเสร็จแลว้ หากหน้าต่างการโทรย่อขนาดลง ใหล้ ากไอคอนการโทรไปที่ ดา้ นขวาลา่ งของหน้าจอ เคล็ดลบั : สำหรับผใู้ ห้บรกิ ารบางรายและอุปกรณ์บางรุ่น คุณจะโทรวิดโี อคอลหรอื โทรด้วย RTT ได้ด้วย ดวู ิธโี ทร วิดีโอคอลหรอื โทรด้วย RTT รบั สายหรอื ปฏิเสธสายเรียกเข้า เมอ่ื รับสาย คุณจะเหน็ หมายเลขผูโ้ ทร รายชื่อติดต่อ หรอื ข้อมูลหมายเลขผูโ้ ทรหากมขี ้อมูลดังกลา่ ว เมอ่ื ต้องการรับสาย ให้เลือ่ นวงกลมสีขาวไปท่ีดา้ นบนของหน้าจอขณะที่โทรศพั ทล์ ็อกอยู่ หรือแตะรบั สาย เมอ่ื ต้องการปฏิเสธสาย ใหเ้ ลอ่ื นวงกลมสขี าวไปทดี่ า้ นลา่ งของหน้าจอขณะท่ีโทรศัพทล์ ็อกอยู่ หรอื แตะปิด ผูโ้ ทรที่ ถูกปฏิเสธสายจะฝากข้อความไว้ได้ เมื่อต้องการปฏิเสธสายและส่งขอ้ ความถงึ ผูโ้ ทร ใหเ้ ล่ือนขน้ึ จากไอคอน \"ขอ้ ความ\" ขอ้ ความใหม่ เคล็ดลบั : การรบั สายเรยี กเข้าขณะสนทนาอยู่กบั อีกสายหน่ึงจะเปน็ การพกั สายที่สนทนาอยู่

31 ใชต้ ัวเลอื กการโทรศัพท์ ขณะสนทนาอยู่ จะมตี ัวเลือกดงั น้ี เมอ่ื ต้องการใช้ปมุ่ กด ให้แตะ \"แป้นหมายเลข\" ป่มุ กด เมื่อต้องการสลบั ระหวา่ งหฟู ังโทรศพั ท์ ลำโพงโทรศัพท์ หรือชดุ หูฟังบลูทูธท่เี ชื่อมต่ออยู่ ให้แตะ \"ลำโพง\" ลำโพง เมือ่ ต้องการปิดหรือเปิดเสียงไมโครโฟน ให้แตะ \"ปิดเสียง\" ปดิ เสยี ง เมื่อต้องการหยุดการสนทนาไวช้ ว่ั คราวโดยไม่วางสาย ให้แตะ \"พักสาย\" พักสาย แตะ \"พักสาย\" อีกครั้งเพ่ือสนทนา ตอ่ เมอ่ื ต้องการสลบั ระหว่างสายท่ีสนทนาอยู่ ให้แตะ \"สลับ\" สลับ สายทีเ่ หลอื จะพักไว้ เมอ่ื ต้องการรวมสายทสี่ นทนาอยู่ทัง้ หมดเปน็ การประชุมสาย ให้แตะ \"รวมสาย\" รวมสาย เมื่อต้องการย่อหน้าต่างการโทร ใหไ้ ปท่ีหนา้ จอหลัก ดูวิธไี ปยังสว่ นตา่ ง ๆ ของโทรศพั ท์ เมอ่ื ต้องการย้ายตำแหน่งของบับเบลิ การโทร ใหล้ ากบบั เบิล เมื่อต้องการซ่อนบับเบลิ การโทร ใหล้ ากบบั เบลิ ลงเพ่ือ \"ซ่อน\" ไวท้ ่ีด้านลา่ งของหน้าจอ สำหรับผใู้ ห้บริการบางรายและอปุ กรณบ์ างร่นุ คณุ จะสลบั ไปโทรวดิ โี อคอลได้ด้วย โดยแตะท่ี \"วดิ โี อคอล\" วดิ โี อ คอล

32 การป้อนโทรศพั ท์ สงิ่ หน่งึ ทีท่ ำให้หลายคนสบั สนเวลาจะเขยี นได้อยา่ งไม่น่าเชื่อก็คือ \"หมายเลขโทรศพั ท์\" วนั นีเ้ ราจะไปเรียนรู้ หลักการเขียนเลขหมายโทรศัพท์บน เอกสารสำคญั เชน่ นามบตั ร โบชัวร์ หรือสือ่ ต่าง ๆ วา่ ควรจะเขยี นอย่างไร ใหต้ รงถูกต้อง มีมาตรฐานอ้างอิงได้ ซ่ึงถา้ คณุ ยังเขียนเป็น 02-xxx-xxxx หรือ (02) xxx xxxx ก็ถึงเวลาตอ้ ง เปลีย่ นแปลง คำอธบิ ายภาพ : pic5577b58a0cdcf การเขยี นเลขหมายโทรศัพทท์ ี่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ประเทศไทยไดใ้ ชแ้ นวทางการเขียนเลขหมายโทรศัพท์ ตามมาตรฐานของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศหรือ ITU เพือ่ ให้เป็นมาตรฐานเดยี วกนั ท่ัวโลกซึง่ ก็มี หลักการพจิ ารณาดังน้ีครับ การแบง่ กลมุ่ ตวั เลขให้ถกู เลขหมายโทรศัพท์ในประเทศ ใหเ้ ขียนเลขศนู ย์นำหน้า ตามด้วยเลขหมาย 8 หลัก ซึ่งเป็นไปตามหลกั ของการเขยี น Trunk prefix + Subscriber numbers เช่น 0 2345 6789 หรือ 0 5345 6789 เลขหมายโทรศัพทส์ ำหรบั ตดิ ตอ่ กบั ต่างประเทศ ให้เขยี นรหสั ประเทศตามด้วยเลขหมายโทรศัพท์ ซึ่งเปน็ ไปตาม หลักของการเขียน Country code + Subscriber numbers เช่น +66 2345 6789 หรอื +66 5345 6789

33 หลายคนอาจจะมปี ญั หากับการเขยี นเลขหมาย ระบบใหม่ เพราะเคยชนิ กบั ระบบเดมิ อยู่ แตก่ อ่ นเราเขยี น (02) 345 6789 เพ่ือแยกรหสั พ้นื ที่ ออกจากเลขหมายโทรศัพท์ ในเมอ่ื ระบบเลขหมาย 8 หลัก ไมม่ รี หสั พื้นทีแ่ ลว้ การที่ เรายงั คงเขยี นเปน็ 02 345 6789 นน้ั ก็อาจทำให้เข้าใจผดิ ไปได้บา้ ง แม้ว่าผลลัพธข์ องการโทรนน้ั ไม่แตกต่างกนั แต่ ในการพูด คณุ สามารถทจี่ ะบอกเบอรโ์ ทรของคุณเปน็ “ศูนย์สอง สามสหี่ ้า หกเจด็ แปดเก้า” ได้เหมือนเดมิ ก็ไม่มี ใครวา่ อะไร ทจ่ี รงิ แลว้ บ้านเราก็ไมไ่ ด้ทำตามคำแนะนำของ ITU เสยี ทั้งหมด รูปแบบบางอย่างเรากย็ ังคงใช้ตามนิยมท่ีทุกคน เข้าใจ เช่น การเขียนเบอร์โทรทปี่ ระกอบด้วยหลายเลขหมาย (Multiple numbers) นั้น มาตรฐาน ITU-T Recommendation E.123 แนะนำใหใ้ ชเ้ ครอ่ื งหมายทับ (/) ระหวา่ งตัวเลข เชน่ เลขหมายที่ไม่ตดิ กนั 0 2123 4567 / 3456 7890 / 4567 8901 เลขหมายท่ตี ดิ กนั สามารถย่อเป็น 0 2123 4567 / 8 / 9 แต่ เราแทบจะไม่เคยเห็นรปู แบบนใี้ นประเทศไทยเลย ท่ีนิยมใช้และเปน็ ทีเ่ ข้าใจกนั โดยทั่วไป จะใชเ้ คร่ืองหมายขีด “-” ระหวา่ ง เลขหมายท่ตี ิดกัน หรือค่ันดว้ ย “,” สำหรับเลขหมายท่ีไมต่ ดิ กนั เช่น เลขหมายตดิ กนั 0 2123 4567-9 หรอื 0 2123 4567-71 เลขหมายท่ไี มต่ ดิ กัน 0 2134 4567, 0 2345 6789 มาตรฐาน ITU E.123 แนะนำให้มีการแบ่งกลุ่มตวั เลขของหมายเลขโทรศัพท์ โดยใช้ สญั ลกั ษณ์ช่องว่าง (Spacing symbols) เพ่อื ใหง้ า่ ยตอ่ การจดจำและความสะดวกในการบอกกลา่ ว สญั ลักษณ์ท่ีควรใช้ทสี่ ุดก็คือ ชอ่ งว่าง (space) หรอื การเว้นวรรค ไม่ควรใช้เครอ่ื งหมายอืน่ อยา่ งเชน่ เครื่องหมายขีด “-” โดยเฉพาะเลขหมายระหว่าง ประเทศ เพราะอาจสรา้ งความสบั สนได้ โดยเฉพาะเม่ือนำไปใชร้ วมกับเลขหมายทีต่ อ่ เน่ืองกนั เช่น 0-2123-4567- 8 หรอื 0-2123-4567-70 ดว้ ยเหตุน้ี เราควรใช้ “ชอ่ งวา่ ง” ในการแบ่งกลมุ่ ตวั เลขเท่าน้นั ใครท่ีเคยเขียนเบอรโ์ ทรเป็น 02-123-4567 น้นั ก็ ควรเปลย่ี นมาเขียนเปน็ 0 2123 4567 ซ่ึงถกู ต้องกวา่ เลกิ ใชเ้ ครือ่ งหมายวงเล็บ ( ) ได้แลว้ เครอ่ื ง หมายวงเล็บ ( ) นั้นใชแ้ สดงวา่ ตัวเลขทอ่ี ยูใ่ นวงเล็บน้ันอาจไมจ่ ำเปน็ ต้องใชใ้ นการโทร ดังเช่น รหสั พืน้ ที่ (02) สำหรับกรงุ เทพฯและปริมณฑล ซึ่งแต่ก่อนสามารถโทรถึงกนั ได้โดยไม่จำเปน็ ต้องกดรหสั 02 กอ่ น เราจึง

34 สามารถเขยี นเลขหมายเปน็ (02) 123 4567 หรือ (053) 123 456 ได้ เพ่ือแสดงให้ทราบว่าถ้าอยู่ในพนื้ ท่ีเดียวกัน ไมต่ ้องกดรหสั พื้นท่ี แต่หลังจากการเปลีย่ นระบบเลขหมายโทรศพั ท์จาก 7 หลกั มาเปน็ 8 หลกั ทำใหใ้ นปจั จบุ ัน เราตอ้ งกดรหสั พืน้ ที่ก่อนเสมอ ด้วยเหตุนี้ เราจงึ ไมค่ วรใชเ้ คร่ืองหมายวงเลบ็ ( ) ในเลขหมายโทรศัพท์ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ อีกต่อไป การใช้ +66 สำหรับเลขหมายระหว่างประเทศ (International number) เคร่ือง หมายบวก “+” เปน็ International prefix symbol ทใ่ี ช้นำหน้ารหสั ประเทศ และแสดงใหท้ ราบวา่ เลข หมายโทรศพั ทท์ ต่ี ามมานัน้ เป็นเบอรโ์ ทรระหว่างประเทศ สำหรับตวั เลข “66” นั้นก็คอื รหัสประเทศ(Country code) ของไทยน่ันเอง ในการกดเบอร์โทรไปต่างประเทศดว้ ยเครื่องโทรศัพทธ์ รรมดา เราไม่ต้องกดเคร่ืองหมาย บวก “+” แตถ่ า้ โทรออกดว้ ยโทรศพั ท์มอื ถอื เราถงึ จะสามารถกดเครื่องหมายบวก “+” ได้จริง ๆ แต่ถ้าเปน็ การโทร ระหวา่ งประเทศ เลข 0 ซ่ึงเป็น Trunk prefix น้จี ะถูกละเว้นไป นัน่ เป็นเหตุผลทเี่ ราสามารถ เขยี นเลขหมายโทรศัพทส์ ำหรับการโทรระหว่างประเทศ เป็น +66 2345 6789 และไม่ควรใช้เคร่อื งหมายวงเล็บ ( ) และเคร่ืองหมายขีด (-) ในเลขหมายโทรศพั ทร์ ะหว่างประเทศ ซึ่งจะสร้างความสบั สนได้งา่ ย หมายเลขตอ่ (ext.) สำหรับ เบอรต์ อ่ นน้ั ITU แนะนำให้เขียนโดยใชค้ ำว่า “ext.” ซึง่ ย่อมาจาก extension ตามด้วยเลขหมาย เชน่ 0 2345 6789 ext. 1234 แต่ของไทยเรานัน้ ใชค้ ำวา่ “ต่อ” แทน จงึ เขยี นได้เป็น 0 2345 6789 ต่อ 1234 บางทีก็ เหน็ ใช้เครอื่ งหมายชาร์ป (#) แทนอย่าง 0 2345 6789 # 1234 ก็เปน็ ท่เี ข้าใจไดเ้ ชน่ กัน

35 สรุปแนวทางการเขียนเลขหมายโทรศพั ท์ จาก หลักการเขยี นเลขหมายโทรศัพท์สำหรับสงิ่ พมิ พ์และส่ือตา่ ง ๆ ซึง่ ไดแ้ ก่ การแบ่งกลุ่มตวั เลขใหถ้ ูกตอ้ ง การใช้ ช่องวา่ งแยกกลมุ่ ตัวเลข, การเลกิ ใชเ้ ครือ่ งหมายวงเลบ็ และการใช้ “+66” สำหรับเลขหมายระหวา่ งประเทศ เรา จึงมีแนวทางการเขียนเบอรโ์ ทรศพั ทด์ ังน้ี เลขหมายโทรศัพท์ สำหรับโทรในประเทศ - เลิกใชว้ งเลบ็ ไมค่ วรเขียนว่า (02) 345 6789 เลิกใช้เครอ่ื งหมายขีด (-) ไม่ควรเขยี นว่า 02-345-6789 เลิกใชช้ ่องว่างรวมกบั เคร่ืองหมายขีด (-) ไม่ควรเขียนว่า 02 345-6789 ใช้ชอ่ งว่างแยกกลุ่มตัวเลข เขียนไดเ้ ปน็ 02 345 6789 แยกกลุ่มตัวเลขใหถ้ ูกตอ้ ง เขยี นไดเ้ ป็น 0 2345 6789 เลขหมายโทรศัพท์สำหรับตดิ ตอ่ กับต่างประเทศ ไมค่ วรเขียน (662) 3456789 เพราะไม่ควรใชว้ งเล็บ และขาดเครื่องหมาย + ไม่ควรเขยี น +66 23 456789 เพราะแบ่งกลุ่มตวั เลขไมเ่ หมาะสม

36 ไม่ควรเขียน +66(0) 23456789 เพราะไมจ่ ำเปน็ ต้องมเี ลข 0 ใหส้ บั สน ไมค่ วรเขยี น +66 (0) 2 345 6789 เพราะไม่จำเป็นต้องมีเลข 0 และยังแบ่งกล่มุ ไมถ่ ูก ย่ิงทำให้ดูสบั สน ไม่ควรเขยี น +66-2345-6789 เพราะไม่ควรใช้เครอ่ื งหมายขดี (-) ทที่ ำให้ดูสับสนเมอื่ มีทั้งเครือ่ งหมายบวก (+) และลบ (-) อย่รู ว่ มกัน ควรเขียนเปน็ +66 2345 6789 ซ่งึ เรยี บงา่ ย และเป็นท่เี ข้าใจในระดบั สากล เลขหมายโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี สำหรับติดตอ่ ในประเทศ ให้ เขยี นโดยแยก 08 ไวข้ ้างหน้า เว้นวรรคดว้ ยช่องวา่ ง ตามด้วยเลขอีก 4 ตัว เวน้ วรรคด้วยช่องวา่ ง แลว้ จงึ ตาม ด้วยเลขที่เหลอื อีก 4 ตัว เช่น 08 1234 5678 ไม่ ควรเขยี นเป็น (081)-234-5678, (081) 234 5678, (081) 234 5678, 081-234-5678, 081 234 5678, 08- 1234-5678, (08) 1234 5678 เพราะไม่ควรใช้เคร่ืองหมายขดี (-) และวงเลบ็ ( ) ในเลขหมาย เนอื่ ง จากเครื่องหมายขดี น้นั อาจทำให้สบั สนเม่ือใช้กับเลขหมายทีต่ อ่ เนอ่ื งกนั สว่ นเครอื่ งหมายวงเล็บนนั้ มี ความหมายวา่ ตัวเลขท่ีอยู่ในวงเล็บนัน้ ไม่จำเปน็ ต้องกด เมื่อโทรในพน้ื ทีเ่ ดยี วกนั เลขหมายโทรศพั ท์เคลื่อนที่ สำหรบั ตดิ ต่อกบั ต่างประเทศ ใหเ้ ขียนแบบโดยแยก +668 ไว้ข้างหนา้ แลว้ ตามด้วยเลขอีก 8 ตวั ซึ่งแบ่งกล่มุ ด้วยช่องวา่ ง เชน่ +668 1234 5678 โดยมีเครอื่ งหมายบวก (+) นำหน้า ตามด้วยรหัสประเทศไทย ซง่ึ กค็ ือ 66 พร้อมตัดเลข 0 ซง่ึ ไม่จำเป็นในการโทร เข้าจากต่างประเทศ ออกไป ไม่ควรเขียนเป็น +66 (0) 8 1234 5678, +66 (08) 1234 5678, +6608 1234 5678, +66 08 1234 5678, +66-08-1234-5678 เนื่องจากมาตรฐาน ITU ไม่แนะนำให้ใชเ้ ครื่องหมายขดี (-) และวงเล็บ ( ) ในเลขหมาย ระหว่างประเทศ

37 การอ้างองิ https://www.siamhealth.net/public_html/Health/good_health_living/electro/mobile.html https://icon- icons.com/th/%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99/%E0%B9%82%E 0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B9%8C- %E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0 %B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88/142980 https://support.google.com/phoneapp/answer/2811745?hl=th&fbclid=IwAR3gX0yIpchtixi6XEYsdB 0W7BFXjxxesov-CRaSpOvTVIN-3ECAU-JS_PU https://www.sator4u.com/paper/1864 https://www.savtec.org/articles/howto/welcome-to-android-a-beginners-guide-to-getting-started- with- android.html?fbclid=IwAR1AakRX8F4f_PcB5mj2iZ789s6nKWDtohSO97RELz9Swx2YhTudQW5g1us https://support.apple.com/th- th/HT202033?fbclid=IwAR0MR_auTJAxeNqtjapmWeF1ki0JK89YZOpe1c3WDFU5ejCWCEQgsbNT6d Q

38


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook