Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถานการณ์ด้านแรงงานไตรมาส 2 ปี2564

สถานการณ์ด้านแรงงานไตรมาส 2 ปี2564

Published by labour27000, 2021-08-19 07:23:24

Description: สถานการณ์ด้านแรงงานไตรมาส 2ปี2564

Search

Read the Text Version

บทสรุปผบู้ รหิ าร สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของจงั หวดั สระแก้ว เศรษฐกิจของจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 พบวา่ ประเภทอุตสาหกรรมทม่ี ผี ลิตภัณฑม์ วลรวม สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) เกษตรกรรม และการประมง (ร้อยละ 27.00 ของ GPP) 2) การผลิต (ร้อยละ 16.00 ของ GPP) 3) การขายส่ง-ขายปลีก (รอ้ ยละ 15.55 ของ GPP) ดัชนีผู้บริโภคของจังหวัดสระแก้วเดือน พฤษภาคม 2564 เท่ากบั (101.3) อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปของจังหวัดในเดือนพฤษภาคม 2564 อยู่ท่ี(ร้อยละ 0.4) การจดทะเบียนนิติบุคคลจัดต้ังใหม่ มีจานวน 72 ราย ทุนจดทะเบียน 85,883,500 ล้านบาท อุตสาหกรรม ที่มีทุนจดทะเบียนสูงสุดคือ การขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ฯ จานวน 27 ราย ในส่วนของ การจดทะเบยี นโรงงานจดั ตง้ั ใหม่ พบว่า มจี านวน 2 ราย สามารถเพม่ิ แรงงานได้ 16 คน สถานการณ์แรงงานของจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 จากการสารวจภาวการณ์ทางานของประชากรในจังหวัดสระแก้ว ของสานักงานสถิติจังหวัดสระแก้ว พบวา่ ประชากรวัยแรงงาน ไตรมาส 1 ปี 2564 จังหวัดสระแก้ว มีประชากรท่ีอยู่ในวัยแรงงานหรือ ผู้ที่มีอายุ15 ปีขึ้นไป จานวน 508,825 คน เป็นผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 357,861 คน ประกอบด้วย ผู้มีงานทา 347,610 คน ผู้ว่างงาน 9,413 คน และผู้รอฤดูกาล 838 คน และเป็นผู้อยู่นอกกาลังแรงงาน 150,964 คน (Q1/2564) การมีงานทา ผู้มีงานทาในจังหวัดสระแก้ว จานวน 347,610 คน (ร้อยละ 68.32 ของประชากร วัยแรงงาน) ผู้มีงานทา ในภาคเกษตร จานวน 139,768 คน (ร้อยละ 40.21) นอกภาคเกษตร โดยทางานใน สาขาการขายส่ง ขายปลกี ซอ่ มแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ จานวน 54,919 คน (ร้อยละ 15.80) รองลงมา คือ การผลิต จานวน 42,662 คน (ร้อยละ 12.27) และผู้มีงานทาสูงสุด มีการศึกษาต่ากว่าประถมศึกษา จานวน 138,985 คน (ร้อยละ 27.31) (Q1/2564) การว่างงาน จังหวัดสระแก้ว มีผู้ว่างงาน ประมาณ 9,413 คน หรือมีอัตราการว่างงาน (ร้อยละ 1.90) และระดับเพศท่ีมีผู้ว่างงานสูงสุด คือ เพศชาย จานวน 4,954 คน หรือ (ร้อยละ 2.0 ของประชากร เพศชายท้ังหมด) (Q1/2564) แรงงานนอกระบบ จากข้อมูลการสารวจแรงงานนอกระบบ ปี 2563 จังหวัดสระแก้ว มีแรงงาน นอกระบบจานวน 202,755 คน (ร้อยละ 65.60) ของประชากรที่มีงานทา โดยส่วนใหญ่จะทางาน ในภาคเกษตร จานวน 109,004 คน (ร้อยละ 53.76) นอกภาคเกษตร จานวน 93,751 คน (ร้อยละ 46.24) ประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตร ที่มีแรงงานนอกระบบสูงสุด คือ การขายส่ง ขายปลีก จานวน 45,095 คน (ร้อยละ 22.24) ส่วนอาชีพท่ีมีการทางานนอกระบบสูงสุด คือ ผู้ปฏิบัติงานท่ีมีฝีมือด้านเกษตร และประมง จานวน 97,964 คน (ร้อยละ 48.32) สาหรับด้านการศึกษา แรงงานนอกระบบท่ีมีการศึกษา สูงสุด คือ ระดับต่ากว่าประถมศึกษา จานวน 66,577 คน (ร้อยละ 32.84) รองลงมา คือ ประถมศึกษา จานวน 52,824 คน (ร้อยละ 26.05) และมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 36,512 คน (ร้อยละ 18.01) ตามลาดบั รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 1

จากขอ้ มูลของสานักงานจดั หางานจังหวัดสระแก้ว พบวา่ การบริการจัดหางานในประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2564 นายจ้าง/สถานประกอบการได้แจ้ง ตาแหน่งงานว่าง จานวน 1,244 อัตรา โดยมีผู้สมัครงาน 534 คน และการบรรจุงานจะมีอัตราบรรจุงานต่อ ตาแหน่งงานว่าง ร้อยละ 74.12 ส่วนตาแหน่งงานว่างตามระดับการศึกษาที่ต้องการสูงสุดคือ มัธยมศึกษา มีความต้องการ ร้อยละ 32.07 (399 อัตรา) รองลงมาเป็นระดับประถมศึกษาและต่ากว่า ร้อยละ 18.89 235 อัตรา ปวช. ร้อยละ 15.11 (188 อัตรา) ตามลาดับ สาหรับอาชีพท่ีมีการบรรจุงานมากที่สุด คือ อาชีพงานพื้นฐานต่างๆ ร้อยละ 38.50 (355 คน) และอุตสาหกรรมที่มีตาแหน่งงานว่างมากที่สุด คอื การขายส่งขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จกั รยานยนต์ฯ รอ้ ยละ 47.26 (588 อัตรา) การใช้แรงงานต่างด้าว จานวนคนต่างดา้ วท่ีได้รับอนุญาตทางานคงเหลือจานวน 2,583 คน จาแนก เปน็ กล่มุ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. คนต่างด้าวมาตรา 59 ประเภท ตลอดชีพ ได้แก่ คนต่างด้าวท่ีได้รับอนุญ าตให้อยู่ ในราชอาณาจักร และทางานตามประกาศของคณะปฏิบัติ ฉบับท่ี 322 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 ไมม่ ใี นไตรมาสนี้ 2. คนต่างด้าวมาตรา 59 ประเภทท่ัวไป ได้แก่ คนต่างด้าวท่ีมีถิ่นท่ีอยู่ในราชอาณาจักร หรือได้รับ อนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองโดยมิใช่ได้รับอนุญาต ให้เข้ามาในฐานะนักท่องเที่ยว หรือผู้เดินทางผ่าน และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง จานวน 143 คน 3. คนต่างด้าวมาตรา 59 พิสูจน์สัญชาติ ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ที่หลบหนีเข้าเมืองได้รับผ่อนผันให้ทางานและอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว ตามมติคณะรัฐมนตรี ไดผ้ า่ นการพสิ ูจน์สัญชาติและปรบั สถานะการเข้าเมอื งถูกกฎหมายเรยี บร้อยแล้ว ไมม่ ีในไตรมาสน้ี 4. คนต่างด้าวมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ท่เี ขา้ มาทางานตามความตกลงระหว่างรัฐบาลไทย กบั รฐั บาลประเทศตน้ ทาง จานวน 2,413 คน 5. คนต่างด้าวมาตรา 62 ประเภทส่งเสริมการลงทุน ได้แก่ คนต่างด้าวที่เข้ามาทางาน ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน กฎหมายปิโตเลียม หรือกฎหมายอื่น ไมม่ ีในไตรมาสนี้ 6. คนต่างด้าวมาตรา 63 ประเภทชนกลุ่มน้อย ได้แก่ คนต่างด้าวที่ไม่ได้รับสัญชาติไทย ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ และกระทรวงมหาดไทยได้ออกเอกสารเพื่อรอพิสูจน์สถานะยื่นขอใบอนุญาต ทางาน จานวน 27 คน 7. คนต่างด้าวมาตรา 64 ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ท่ีเข้ามาทางาน บริเวณชายแดนในลักษณะไป-กลับ หรือตามฤดูกาลในพื้นที่ความตกลงว่าด้วยการสัญจรข้ามแดนระหว่าง ราชอาณาจักรไทยกับประเทศท่ีตดิ กับราชอาณาจักรไทย จานวน 3,825 คน คนต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) ตามมติ ครม. จดทะเบียน แรงงานต่างด้าว ณ ศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว (One Stop Service : OSS) จังหวัดสระแก้ว จานวนท้ังสิ้น 1,400 คน ท้ังหมดเป็น กมั พูชา รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 2

แรงงานไทยที่ได้รับอนุญาตไปทางานต่างประเทศ ในช่วงไตรมาสท่ี 2 ปี 2564 พบว่า มีผู้แจ้งความ ประสงค์ไปทางานต่างประเทศ และได้รับอนุญาตทั้งหมด 5 คน และเดินทางไปโดยวิธี Re-Entry จานวน 4 คน (คิดเป็นรอ้ ยละ 80) เดินทางด้วยตนเอง จานวน 1 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 20) จากขอ้ มูลของสานักงานพฒั นาฝีมือแรงงานสระแก้ว พบวา่ การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีการฝึกเตรียมเข้าทางานจานวน 18 คน โดยกลุ่มอาชีพที่มีการฝึก เตรียมเข้าทางานสูงสุด คือ กลุ่มช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์จานวน 10 คน (ร้อยละ 55.56) รองลงมา คือ กลุ่มช่างอุตสาหการ จานวน 8 คน (ร้อยละ 44.44) สาหรับการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน มีการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จานวน 498 คน โดยกลุ่มอาชีพที่ฝึกยกระดับฝีมือสูงสุด คือ ช่างก่อสร้าง จานวน 191 คน (ร้อยละ 38.35) รองลงมา คือ กลมุ่ ช่างไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ จานวน 136 คน (ร้อยละ 27.31) มีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานท้ังส้ิน 10 คน โดยกลุ่มอาชีพที่มีการทดสอบมากที่สุด คอื กลมุ่ ช่างไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ คอมพวิ เตอร์ จานวน 10 คน (รอ้ ยละ 100) จากข้อมูลของสานกั งานสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงานจงั หวัดสระแก้ว พบวา่ การคุ้มครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบกิจการท้ังส้ิน 21 แห่ง มีลูกจ้างท่ีผ่านการตรวจ จานวน 410 คน ซึ่งสถานประกอบกิจการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบ กิจการขนาดเล็ก ลูกจ้างต่ากว่า 10-19 คน มี 12 แห่ง (ร้อยละ 57.14) โดยสถานประกอบกิจการส่วนใหญ่ปฏิบัติไม่ถูกต้อง ตามกฎหมาย มี 11 แห่ง ร้อยละ 52.38 และพบว่าสถานประกอบกิจการขนาดต่ากว่า 10-19 คน มีการปฏิบัติไม่ถูกต้องมากท่ีสุด คือ ร้อยละ 54.55 โดยเรื่องท่ีปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายมากท่ีสุด คือ เรื่องข้อบังคับ มีร้อยละ 42.86 ประเภทอุตสาหกรรมท่ีปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายมากท่ีสุด คือ การขายส่งขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ฯ ร้อยละ 66.67 รองลงมาคือ การก่อสร้าง (ร้อยละ 16.67) และ งานด้านสขุ ภาพและงานสงั คมสงเคราะห์ (ร้อยละ 16.67) การตรวจความปลอดภัยในการทางาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการท้ังส้ิน 19 แห่ง ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ จานวน 620 คน พบว่าสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย ความปลอดภัยในการทางาน จานวน 10 แห่ง (ร้อยละ 52.63) ปฏิบัติไม่ถูกต้อง จานวน 9 แห่ง (ร้อยละ 47.37) โดยประเภทอุตสาหกรรมที่มีอัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องมากที่สุด ได้แก่ การผลิต (ร้อยละ 33.33) การขายส่ง ขายปลีก ซ่อมแซ่มยานยนต์ รถจักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน (แต่ละ ประเภท ร้อยละ 33.33) รองลงมาคือ การก่อสร้าง (ร้อยละ 22.22) กิจการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่า (รอ้ ยละ 11.11) ตามลาดับ การประสบอันตราย/เจ็บป่วยจากการทางาน ในช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2564 จังหวัดสระแก้ว มีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเน่ืองจากการทางาน จานวน 36 คน โดยประเภทของความร้ายแรง พบว่า ต้องหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จานวน 18 คน (ร้อยละ 50) หยุดงานเกิน 3 วัน จานวน 17 คน (ร้อยละ 47.22) และตาย จานวน 1 คน (ร้อยละ2.87) ตามลาดับ การเกิดข้อเรียกร้อง/ข้อพิพาทแรงงานและข้อขั ดแย้งภายในจังหวัดสระแก้ว ในช่วง ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ไมม่ ีการแจง้ ขอ้ เรียกร้อง/ ขอ้ พิพาทแรงงานและขอ้ ขดั แย้งดา้ นแรงงาน รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 3

การเลิกจ้างแรงงาน สถานประกอบกิจการในจังหวัดสระแก้ว ท่ีเลิกกิจการ จานวน 36 แห่ง ลูกจ้าง ถกู เลกิ จ้าง 59 คน ประเภทกิจการท่ีมีการเลิกจ้างสูงสุด คือ ประเภทอ่ืนๆ 18 แห่ง (ร้อยละ 50) รองลงมาคือ สถาบันการเงิน บริการด้านธุรกิจ จานวน 8 แห่ง (ร้อยละ 22.23) และร้านขายอาหาร โรงแรม 4 แห่ง (รอ้ ยละ 11.12) การสวัสดิการ มีการส่งเสริมและสนับสนุนสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกาหนดให้ สถานประกอบการ 16 แห่ง ลูกจ้างท่ีเก่ียวข้อง 827 คน ให้บริการเงินกู้กองทุนเพ่ือผู้ใช้แรงงาน จานวน 16 แหง่ ลูกจ้างทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 827 คน จากขอ้ มลู ของสานักงานประกนั สงั คมจังหวัดสระแก้ว พบวา่ จังหวัดสระแก้ว มีสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม จานวน 1,542 แห่ง ผู้ประกันตน ทั้งสนิ้ 22,551 คน และมสี ถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมท่ีเปน็ สถานพยาบาลของรัฐบาล จานวน 1 แห่ง (ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลท้ังหมดกองทุนประกันสังคม) มีเงินกองทุน 148,216,767.96 ล้านบาท จานวนผใู้ ช้บริการมจี านวน 50,042 คน ประเภทประโยชน์ทดแทนท่ีผู้ประกันตนใช้บริการสูงสุด ได้แก่ กรณี สงเคราะห์บุตร มีจานวน 33,013 คน หรือ (ร้อยละ 65.97 ของผู้ใช้บริการท้ังหมด) สาหรับปริมาณ การจ่ายเงินประโยชน์ทดแทน พบว่า การจ่ายเงินกรณีว่างงาน มีการจ่ายเงินสูงสุด ถึง 39,658,451.75 ล้านบาท (ร้อยละ 26.76 ของเงินประโยชน์ทดแทนท่ีจ่าย) ในส่วนน้ีชดเชยเหตุสุดวิสัยโควิด จานวน 676,944.95 บาท สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสระแก้ว รายงานการดาเนินการศูนย์ประสานงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศปค.รง.จังหวัดสระแก้ว ข้อมูล ณ วันท่ี 1 เมษายน – 30 มิถุนายน 2564 (ในห้วงไตรมาส 2/2564) พบผู้ติดเชือ้ รายใหม่ 9 ราย ผู้ติดเช้อื สะสม 1,448 ราย เสียชีวิต 9 ราย ในสถานประกอบการ ยังไม่ พบผู้ประกันตน เป็นผู้ติดเชื้อรายใหม่ การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก สานักงานแรงงานจังหวัด สระแก้ว บูรณาการตรวจตรวจประเมินมาตรการ Bubble & Seal โรงงานขนาด 200 คนข้ึนไป จานวน 3 แห่ง (100%) แรงงาน 908 คน พร้อมท้ังประชาสัมพันธ์มาตรการ D-M-H-T-T ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ให้สถานประกอบการทกุ แห่งปฏิบัตติ ามอย่างเครง่ ครัด ถึงแมจ้ ะพบผูป้ ว่ ยตดิ เชอ้ื จานวน ไม่มากในจังหวัดสระแก้ว แต่จากการแพร่การระบาดระลอกสาม ผู้ติดเชื้อคลัสเตอร์ใหญ่มาจาก \"สถานบันเทิง\"ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการในตลาดสด กาหนดให้ร้านอาหาร สถานบันเทิง ในจังหวัด สระแก้ว เปิดไม่เกิน 21.00 น. รบั ประทานอาหารได้ แต่งดเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ มีกิจการที่ต้องปิดตามคาสั่ง จงั หวดั สระแกว้ หลายฉบับที่ปรบั ให้สอดคลอ้ งกบั คาสง่ั ศบค. และขอ้ กาหนด ในสถานการณ์ฉกุ เฉินฯ จังหวัดสระแก้ว เปิดให้บุคคลทั่วไปและหน่วยงาน/องค์กร ลงทะเบียนจองฉีดวัคซีนโควิด ได้แล้ว ต้ังแต่วันนี้ (21 มิย.64) เป็นต้นไป เพียงสแกนคิวอาร์โค๊ด (QR CODE) หรือเปิดไลน์ไปที่เพิ่มเพื่อน>ค้นหา> พิมพ์ช่ือ @nextQ จานวนผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีน (COVID-19) ในจังหวัดสระแก้ว ฉีดไปแล้วสะสม จานวน 50,478 โดส เข็ม 1 สะสม 38,903 โดส เข็ม 2 สะสม 11,845 โดส ข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2564 (ทม่ี า : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสระแก้ว) รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 4

ข้อมูลผลดาเนนิ การระหวา่ ง วันที่ 1 เมษายน – 30 มิถุนายน 2564 (ในหว้ งไตรมาส 2/2564) รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 5

สภาพเศรษฐกิจจังหวดั สระแกว้ ส่วนที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของจังหวัดสระแก้ว 1.1 วิสัยทัศน์และพันธกิจ : “เมืองชายแดนแห่งความสุข และม่ันคง ถิ่นเกษตรปลอดภัย แหลง่ ท่องเที่ยวเชงิ นเิ วศและอารยธรรมโบราณ เขตเศรษฐกจิ พิเศษสระแกว้ ม่ันค่ัง ยง่ั ยนื ” 1.2 ท่ตี ้ัง อาณาเขต และขนาดพนื้ ที่ : จังหวัดสระแก้วตั้งอยภู่ าคตะวันออกของประเทศไทย ระหว่าง ละติจดู ท่ี 13 องศา 14 ลปิ ดา ถงึ 14 องศา 11 ลิปดาเหนือ และลองตจิ ดู ที่ 101 องศา 51 ลปิ ดา 56 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ 236 กิโลเมตร มีเนื้อท่ีทั้งหมด 7,219.717 ตารางกิโลเมตร หรือ 4,496,962 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นระยะทาง 165 กิโลเมตร ใน 4 อาเภอ คือ อาเภออรัญประเทศ อาเภอคลองหาด อาเภอตาพระยา และ อาเภอโคกสงู 1.3 ลักษณะภูมิประเทศ : สภาพทั่วไป พ้ืนที่จังหวัดสระแก้วโดยรวมเป็นพ้ืนท่ีราบถึงท่ีราบสูงและ มีภเู ขาสูงสลับซับซ้อน มีระดบั ความสูงจากน้าทะเลเฉลีย่ 74 เมตร กลา่ วคือ ทิศเหนือ มีทิวเขาบรรทัด ซึ่งเป็นต้นกาเนิดของแม่น้าบางปะกง มีลักษณะเป็นป่าเขาทึบ ได้แก่ บรเิ วณอุทยานแหง่ ชาติปางสีดาเปน็ แหล่งตน้ น้าลาธาร ทิศใต้ มีลักษณะเป็นที่ราบเชิงเขา มีสภาพเป็นป่าโปร่ง ส่วนใหญ่ถูกบุกรุก แผ้วถางป่า เพื่อทาการเกษตร ทาให้เกิดสภาพป่าเส่ือมโทรมตอนกลางมีลักษณะเป็นที่ราบ ได้แก่ อาเภอวงั นา้ เย็น อาเภอวงั สมบูรณ์ เปน็ เขตติดต่อจังหวดั จันทบรุ ี ทิศตะวนั ออก ลกั ษณะเป็นทีร่ าบถงึ ที่ราบสงู และมสี ภาพเปน็ ป่าโปร่ง ทาไร่ ทานา ทิศตะวันตก นับต้ังแต่อาเภอวัฒนานคร มีลักษณะเป็นสันปันน้าและพื้นที่ลาดไปทาง อาเภอเมืองสระแก้ว และอาเภออรัญประเทศ เขา้ ไปในเขตราชอาณาจกั รกมั พูชา รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 6

1.4 การปกครอง และจานวนประชากร ที่มา : ที่ทาการปกครองจังหวัดสระแก้ว : ประชากรท้ังส้ิน 560,925 คน เปน็ ชาย 278,266 คน หญิง 278,637 (ณ 31 ธนั วาคม 2563) 1.5 ทรัพยากรสาคัญท่ีก่อให้เกิดรายได้ของจังหวัด : มีจุดผ่านแดนท่ีสาคัญ 4 จุด คือจุดผ่านแดน ถาวร 2 แห่ง และจุดผ่อนปรนการค้า 2 แห่ง มีตลาดโรงเกลือซ่ึงเป็นแหล่งสินค้ามือสองท่ีใหญ่ ท่ีสุดในภูมิภาค สามารถสร้างรายได้ให้กับจังหวัดปีละหลายพันล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีแหล่ง ท่องเท่ียวตามธรรมชาติท่ีมีช่ือเสียงคือ อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยานแห่งชาติตาพระยา ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของมรดกโลก ละลุ เข่ือนพระปรง ถ้าเพชรโพธ์ิทอง และ น้าตกเขาตระกรบุ เปน็ ตน้ 1.6 อาชีพที่สร้างรายได้มาสู่จังหวัด : พืชเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวโพด มันสาปะหลัง อ้อย ยูคาลิปตัส พืชผักและผลไม้ สาหรับผลไม้ท่ีมีชื่อเสียง ได้แก่ แคนตาลูป ชมพู่ มะม่วง มะละกอ ลาไย กระท้อน เงาะ สัตว์เศรษฐกิจ ได้แก่ โคเนื้อ ซึ่งมีการเลี้ยงมากที่สุด ท่ีอาเภออรัญประเทศ อาเภอตาพระยา และอาเภอวัฒนานคร โคนม เล้ียงมากท่ีสุด ท่ีอาเภอวังน้าเย็น และอาเภอวังสมบูรณ์ นอกจากน้ียังมีการเลี้ยงไก่ เป็ด สุกร กระบือ และแพะ เป็นตน้ สว่ นท่ี 2 ภาวะเศรษฐกิจการคลังของจงั หวัด เศรษฐกิจจังหวัดสระแก้ว ในเดือนพฤษภาคม 2564 มีสัญญาณหดตัว เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) พบว่า มีสัญญาณหดตัวเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน หดตัวอย่างต่อเน่ืองจากเดือนก่อนท่ี หดตัว จากดัชนีผลผลิตภาคการบริการหดตัว ร้อยละ 43.4 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน หดตัวอย่าง ต่อเน่ืองจากเดือนก่อนที่หดตัว ร้อยละ 5.7 พิจารณาจากมูลค่าการขายส่ง การขายปลีก มูลค่าการขนส่ งและ สถานที่เก็บสินค้า รวมท้ังจานวนนักท่องเที่ยวที่ลดลง และดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัว ร้อยละ -1.7 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาหดตัวจากเดือนก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 0.5 พิจารณาจาก ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอตุ สาหกรรมทลี่ ดลง เปน็ ผลมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โควิด 19 ระลอกใหม่ และภาวะเศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัวดี ในขณะที่ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมขยายตัว ร้อยละ 17.3 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวอยา่ งต่อเน่ืองจากเดือนก่อนทีข่ ยายตวั ร้อยละ 3.8 จากปรมิ าณ โคเน้ือท่เี พิ่มขนึ้ เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) พบวา่ มีสญั ญาณขยายตวั เมอื่ เทียบกบั เดือนเดียวกันของ ปีกอ่ น ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากเดอื นก่อนท่ขี ยายตัว จากดชั นีด้านการค้าชายแดนขยายตวั รอ้ ยละ 58.9 เมื่อ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากเดือนก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 9.9 จากมูลค่าการ นาเข้าและส่งออกผ่านด่านศุลกากรที่เพิ่มข้ึนดัชนีด้านการบริโภคภาคเอกชนขยายตัว ร้อยละ 53.9 เม่ือเทียบ กับเดือนเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวจากเดือนก่อนท่ีขยายตัว ร้อยละ 125.2 เป็นผลจากการจัดเก็บ ภาษีมูลค่าเพิ่ม และจานวนรถยนต์น่ังส่วนบุคคลและรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่เพ่ิมขึ้น ดัชนีด้านการใช้ จ่ายภาครัฐขยายตัว ร้อยละ 51.5 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวจากเดือนก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 101.5 ตามการเบิกจ่ายงบประมาณรายจา่ ยลงทุนและรายจ่ายประจาทเ่ี พ่ิมขึ้น และดชั นีด้านการลงทุน ภาคเอกชนขยายตัว ร้อยละ 7.2 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวจากเดือนก่อนที่ขยายตัว รอ้ ยละ 7.9 พิจารณาจากสินเชื่อเพอื่ การลงทนุ รวมท่ชี ะลอตัวตามภาวะการลงทุนในจงั หวดั ทยี่ งั ไม่ฟน้ื ตัวดี รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 7

2.1 ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั สระแก้ว (GPP : Gross Provincial Product) จังหวัดสระแก้ว มีการพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจด้านการค้าชายแดนและเป็นส่วนสาคัญของ เขตพัฒ นาเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว (Sakaeo Special Economic Zone) โดยมีโครงสร้างพื้นฐาน อยใู่ นเกณฑด์ ี มที างหลวงระดับมาตรฐาน ตลอดจนนิคมอตุ สาหกรรมสระแกว้ เม่อื สถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโควิด-19 เริ่มคล่ีคลาย ภาครัฐมีการผ่อนปรนมาตรการต่างๆ และมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ อยา่ งตอ่ เน่อื ง สง่ ผลให้ความต้องการสนิ ค้าและการลงทนุ เพ่ิมขึ้น โครงสร้างเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของจังหวัดมีลักษณะผสม ผสานระหว่างอุตสาหกรรมเกษตร พาณชิ ยกรรมและการท่องเท่ียว ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสระแก้วในปี 2562 อยู่ในลาดับที่ 8 ของภาคตะวันออก และเป็นลาดับ ท่ี 56 ของประเทศ มมี ูลคา่ 48,655 ล้านบาท เปล่ยี นแปลงลดลงจากปีทผี่ ่านมาซง่ึ อยทู่ ่ี 50,824 ล้านบาท สาขาอุตสาหกรรมท่ีสาคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) เกษตรกรรม และการประมง (ร้อยละ 27.00 ของ GPP) 2) การผลิต (ร้อยละ 16.00 ของ GPP) 3) การขายส่ง-ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ฯ (ร้อยละ 15.55 ของ GPP) 4) การบริหารและการป้องกันภาครัฐ ประกันสังคมภาคบังคับ (ร้อยละ 7.94 ของ GPP) 5) การศกึ ษา (ร้อยละ 6.31 ของ GPP) รายละเอยี ดดังตารางที่ 1 (ภาคผนวก) 2.2 ดัชนีราคาผูบ้ ริโภคจังหวดั สระแกว้ ดัชนีราคาผ้บู ริโภคของจังหวัดสระแก้ว เดือนมิถุนายน 2564 เท่ากับ 101.70 เมื่อเทียบกับดัชนีราคา ผู้บริโภคเดือนพฤษภาคม 2563 เท่ากับ 101.30 ลดลง ร้อยละ 0.40 โดยเฉพาะอย่างย่ิงในหมวดอาหารและ เคร่ืองด่ืม ซ่ึงเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 0.30 สินค้าสาคัญในหมวดนี้ท่ีราคาลดลง ได้แก่ ผักและผลไม้ (มะนาว พริกสด ต้นหอม ขิง ผักกวางตุ้ง ส้มเขียวหวาน เงาะ) ลดลงร้อยละ 1.20 ข้าว แป้งและผลิตภัณฑ์ จากแป้ง ลดลง ร้อยละ 0.50 เน้ือสตั ว์ เป็ดไก่ และสัตวน์ ้า (กุ้งนาง กุ้งขาว) ลดลงร้อยละ 0.10 ราคาสาคัญที่ปรบั สูงขึ้น ได้แก่ ไข่และผลติ ภัณฑน์ ม (ไข่ไก่ นมถั่วเหลอื ง) สูงข้ึนร้อยละ 6.50 เครอื่ งประกอบอาหาร (น้าตาลทราย เครื่องปรุง อาหาร น้ามันพืช) สูงข้ึนร้อยละ 0.70 เครื่องด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ (น้าด่ืมบริสุทธิ์) สูงขึ้นร้อยละ 0.50 และ อาหารบริโภค-ในบา้ น (บะหมก่ี ่ึงสาเรจ็ รูป) รอ้ ยละ 0.10 สาหรับอัตราเงินเฟ้อของจังหวัดเดือนพฤษภาคม 2564 เท่ากับ 0.4 ในขณะท่ีอัตราเงินเฟ้อในระดับ ประเทศเดือนพฤษภาคม 2564 เท่ากบั ร้อยละ 2.44 รายละเอยี ดดังตารางท่ี 2 (ภาคผนวก) 2.3 การจดทะเบยี นนติ บิ ุคคลตงั้ ใหม่ ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 จังหวัดสระแก้ว มีการจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหม่ท้ังส้ิน 72 ราย แบ่งเป็น บริษัทจากัดจานวน 28 ราย ห้างหุ้นส่วนจากัด 44 ราย อุตสาหกรรมที่มีการจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหม่ สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) การขายส่ง ขายปลีก 27 ราย (2) การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า 11 ราย และ (3) การกอ่ สร้าง การผลติ อนื่ ๆ 9 ราย รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 8

แผนภมู ิที่ 1 การจดทะเบียนของนิติบุคคลต้ังใหมต่ ามหมวดธุรกจิ จงั หวัดสระแก้ว ไตรมาสท่ี 2 ปี 2564 18 16 บริษัทจากัด 16 ห้างหนุ้ สว่ นจากดั 14 บรษิ ทั มหาชนจากัด 12 11 แ ่หง 10 9 8 65 6 6 3 5 4 4 2 22 21 0 000 0 0 00 0 00 0 0 0 0 การผลิต การไฟฟ้า แกส้ และการประปา การกอ่ สร้าง การขายส่ง ขายปลีกฯ โรงแรมและภตั ตาคาร การขนส่ง สถานทเ่ี ก็บสินคา้ บริการดา้ นอสงั หาริมทรพั ย์ การใหบ้ ริการชมุ ชน สังคม อนื่ ๆ และการคมนาคม การใหเ้ ชา่ และบริการทางธุรกิจ และบรกิ ารสว่ นบคุ คลอ่ืนๆ ที่มา : สานกั งานพาณิชย์จงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 เม่ือพิจารณาทุนจดทะเบียนของนิติบุคคลตั้งใหม่ พบว่า บริษัทจากัดมีทุนจดทะเบียนท้ังส้ิน 85,883,500 ล้านบาท ห้างหนุ้ ส่วนจากดั 58,000,000 ลา้ นบาท โดยอตุ สาหกรรมท่ีมีทนุ จดทะเบียนมากทสี่ ุด ได้แก่ สาขาการขายส่ง ขายปลีก ท่ีมีทุนจดทะเบียนท้ังส้ิน 29,657,500 ล้านบาท โดยเป็นทุนจดทะเบียน ของบริษัทจากัด จานวน 19,000,000 ล้านบาท ห้างหุ้นส่วนจากัด จานวน 10,657,500 ล้านบาท รองลงมา เป็นสาขาการขนส่ง มีทุนจดทะเบียน จานวน 13,500,000 ล้านบาท โดยเป็นทนุ จดทะเบียนของบรษิ ัทจากัด จานวน 9,000,000 ล้านบาท ห้างหุ้นส่วนจากัด จานวน 4,500,000 ล้านบาท รายละเอียดดังตารางท่ี 3 (ภาคผนวก) 2.4 การจดทะเบียนโรงงาน สาหรับการจดทะเบียนโรงงานใหม่ในจังหวัดสระแก้ว พบว่า มีการจดทะเบียนรวม 2 ราย โดยทั้งหมดอยู่ในประเภทอุตสาหกรรมการผลิต รวมเงินลงทุน 1.17 ล้านบาท การจดทะเบียนโรงงาน ดังกล่าว ทาให้เกดิ การจ้างงานเพม่ิ ขึน้ 16 คน รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4 (ภาคผนวก) รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 9

ดัชนีชี้วัดภาวะแรงงาน ภาวะดา้ นแรงงานมกี ารเคลอ่ื นไหวเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา สบื เน่อื งจากปจั จยั ทางเศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง เช่น สถานการณ์ทางการเมืองมีความขัดแย้งฝ่ายค้านกับฝ่ายรัฐบาล จะส่งผลถึงความเชื่อมั่น ของนักธุรกิจ นักลงทุน ทั้งในและต่างประเทศ เกิดการชะลอการลงทุน ชะลอการขยายกิจการ รวมถึงชะลอ การจ้างงาน ในขณะท่ีการผลิตคนเพ่ือเข้าสู่ตลาดแรงงานของภาคการศึกษายังคงมีอย่างต่อเนื่อง มิอาจชะลอ ตามภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจ จึงส่งผลต่อการว่างงาน การทางานต่าระดับ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีการผลิต ต้นทุนการผลิต ฤดูกาล ทัศนคติทั้งของฝ่ายนายจ้างและผู้ใช้แรงงาน เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยท่ีนาไปสู่การเปล่ียนแปลงของภาวะด้านแรงงาน ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการจ้างงาน การเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือแรงงาน มาตรฐานแรงงาน ฯลฯ ดังนั้นการจะทราบความเคล่ือนไหว หรือ การเปล่ียนแปลงของภาวะแรงงาน จึงต้องมีการพิจารณาศึกษาเพื่อกาหนดตัวชี้วัด พร้อมท้ังติดตาม การเปลี่ยนแปลงเพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา รวมถึงทานายหรือคาดการณ์อนาคต อันจะเอ้ือ ประโยชน์ต่อการตัดสินใจ ในการกาหนดแผนงาน ท่ีจะต้องทาให้สนองตอบต่อความต้องการของทุกกลุ่มท้ัง นายจ้าง ผู้ใช้แรงงาน รวมทั้งองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน สถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 ฉบบั น้ี จะขอนาเสนอตัวชีว้ ดั ภาวะแรงงาน ดงั น้ี 1. อัตราการมีสว่ นร่วมในกาลังแรงงานของจังหวัดสระแกว้ อัตราการมีส่วนร่วมในกาลังแรงงานเป็นตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นถึงสภาพกาลังแรงงานในตลาดแรงงาน ของจงั หวัดสระแกว้ เม่ือเทียบกบั ประชากรวัยแรงงานท้ังหมด โดยคานวณจากกาลังแรงงานในจังหวัดสระแก้ว เทียบกับประชากรที่มีอายุ 15 ปีข้ึนไปในจงั หวัดสระแก้ว จะพบว่าในไตรมาส 1 ปี 2564 อัตราการมีสว่ นร่วม ในกาลังแรงงานจังหวัดสระแก้ว มีอัตราร้อยละ 70.4 เพ่ิมขึ้นจากไตรมาส 4 ปี 2563 ท่ีมีอัตราร้อยละ 67.40 และเม่ือเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีท่ีผ่านมาท่ีมีอัตราร้อยละ 64.40 พบว่า มีอัตราที่เพิ่มข้ึน รอ้ ยละ 6 (แผนภูมทิ ่ี 2) (Q1/2564) แผนภูมิที่ 2 อัตราการมีสว่ นร่วมในกาลงั แรงงานของจงั หวัดสระแก้ว 72 70.4 70 68 66.5 63.9 67.4 64.4 ร้อยละ 66 61.8 64.3 64 62 62.6 62 60 58 56 1/2562 2/2562 3/2562 4/2562 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 ไตรมาส/ปี ท่ีมา : สานกั งานสถิตจิ งั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 10

2. อัตราการมงี านทาของจงั หวัดสระแก้ว อตั ราการจ้างงานเป็นตัวชีว้ ดั ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นภาวะการมงี านทาในตลาดแรงงานของจังหวัดสระแกว้ ว่ามีสัดส่วนมากน้อยอย่างไร ในไตรมาส 1 ปี 2564 พบว่าอัตราการจ้างงานในจังหวัดอยู่ท่ี ร้อยละ 68.3 ใกล้เคียงกับไตรมาสท่ีแล้วที่อยู่ที่ ร้อยละ 65.7 และลดลงจากไตรมาสเดียวกันปีก่อนท่ีอยู่ท่ี ร้อยละ 71.64 อัตราการจ้างงานในภาคเกษตรจังหวัดสระแก้ว มีอัตราร้อยละ 40.2 โดยเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาส ที่ผ่านมาจะ พบว่า อัตราการมีงานทาในภาคเกษตรจังหวัดสระแก้ว มีอัตราใกล้เคียงกับไตรมาส 4/63 ท่ีร้อยละ 39.1 (แผนภูมิ 3) และเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีท่ีผ่านมา มีอัตราเพิ่มขึ้น คือ 28.4 เนื่องจากไตรมาส 1 เป็นช่วงฤดูกาลเก็บเก่ียวพืชผลทางการเกษตร ส่งผลให้สินค้าเกษตรเป็นท่ีต้องการ ของตลาดมากข้ึน ประกอบกับภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนภาคเกษตรอย่างต่อเน่ือง จึงทาให้การจ้างแรงงาน ในภาคเกษตรเพ่ิมข้ึน ส่วนอัตราการจ้างงานนอกภาคเกษตรก็จะมีสัดส่วนท่ีลดลงจากไตรมาสท่ีผ่านมา กล่าวคือ ไตรมาส 1/64 ลดลงจาก ร้อยละ 60.93 เป็น 59.79 เนื่องจากผู้ใช้แรงงานนอกภาคเกษตร เคล่ือนย้ายเข้าไปอยู่ในภาคเกษตรกรรม อันมีสาเหตุจากการท่ีภาคเศรษฐกิจหรือเจ้าของธุรกิจมีการชะลอตัว เน่ืองจากสถานการณ์ ความสับสน ความไม่ม่ันใจในเศรษฐกิจ ปัญหาความไม่สงบต่างๆ และผลกระทบของ ราคาน้ามันทาให้ธุรกิจชะงักงันชะลอการขยายงานโดยเฉพาะชะลอการจ้างงาน อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลาย ไตรมาส 1/63 ท่ีต่อเน่ืองไปยังต้นไตรมาส 1/64 คือเดือนธันวาคม 2563 – มกราคม 2564 เน่ืองจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควิด-19 ได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง ภายหลังเริ่มคล่ีคลาย ภาครฐั มี การผ่อนปรนมาตรการต่างๆ ธุรกิจจึงอยู่ในระดับทรงตัว การลดการจ้างงานจากผลกระทบโควิด-19 ในพื้นท่ี ชัน้ ในของประเทศ แรงงานบางส่วนจึงย้ายกลบั ภูมิลาเนา แต่ปัญหาที่น่าเป็นห่วง คือ การแพร่ระบาดของเช้ือ ไวรัสโควิด-19 ทาให้ภาคอุตสาหกรรมกระทบกระเทือนหนัก แรงงานเคลอ่ื นย้ายไปทางานในภาคเกษตรกรรม มากข้ึน และเกิดอาชีพใหม่จากการขายสินค้าออนไลน์ และพนักงานส่งอาหารเดลิเวอร่ีในจังหวัดสระแก้ว (แผนภูมิที่ 3) (Q1/2564) แผนภูมทิ ี่ 3 อตั ราการมงี านทาใน/นอกภาคเกษตรของจังหวดั สระแก้ว 80 71.64 70 66.53 67.36 68 67.23 66.82 66.21 65.7 68.3 60 58.53 66.77 65 62.97 62.07 60.9 37 60.77 60.93 59.79 50 39.1 40.2 ร้อยละ 40 37.9 39.2 41.47 39.1 34.9 30 28.4 20 อตั ราการมงี านทาของจงั หวัด 10 อตั ราการมงี านทาในภาคเกษตรของจังหวัด อตั ราการมีงานทานอกภาคเกษตรของจงั หวัด 0 1/2562 2/2562 3/2562 4/2562 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 ไตรมาส/ปี ทมี่ า : สานกั งานสถิตจิ ังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 1 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 11

เม่ือพิจารณาอัตราการมีงานทาเฉพาะในสว่ นภาคอุตสาหกรรม โดยคานวณจากจานวนผู้มีงานทาใน ภาคอุตสาหกรรมเปรียบเทียบกับจานวนผู้มีงานทาท้ังหมดจะพบว่า อัตราการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม มีอัตราร้อยละ 68.3 ซ่ึงเพ่ิมขึ้นจากไตรมาสท่ี 1/63 ท่ีมีอัตราร้อยละ 62.5 อันเน่ืองมาจากปัจจัยฤดูกาล ผนวกกับสถานการณ์เศรษฐกิจ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วทาให้การจ้างงานในภาคการขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมแซมยานตย์ นต์ และรถจักรยานต์ เพม่ิ ขึน้ ตามไปด้วย (แผนภมู ิที่ 4) (Q1/2564) แผนภมู ทิ ่ี 4 อตั ราการมีงานทาในภาคอุตสาหกรรมของจงั หวัดสระแก้ว 70 68.3 68 66 64.8 65.7 64 ร้อยละ 62 62.5 62.7 60 59.2 61.2 58 60.5 60.54 56 54 1/2562 2/2562 3/2562 4/2562 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 ไตรมาส/ปี ทมี่ า : สานกั งานสถติ ิจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 1 ปี 2564 โดยสรปุ ในภาพรวมจะพบว่าอตั ราการมีงานทาหรือการมีสว่ นรว่ มในกาลงั แรงงานของจังหวดั สระแก้ว จะมีลักษณะการเคลื่อนย้ายแรงงานแบบเป็นวัฏจักรหรือวงจร ทั้งนี้เพราะพื้นที่จังหวัดเป็นเขตเกษตรกรรม ประชากรซ่ึงเป็นกาลังแรงงานของจังหวัดจะอาศัยอยู่ในภาคส่วนของเกษตรกรรมเพื่อช่วยครัวเรือน ในการทาการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ เมื่อหมดฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตก็จะเคลื่อนย้ายไปหางานทาใน ภาคอุตสาหกรรม ในจังหวัดอ่ืนๆ และจะเคล่ือนย้ายกลับมาภาคเกษตรกรรมอีกคร้ังในฤดูเพาะปลูก วนเวียน ในลกั ษณะเชน่ น้ีทุกปี จึงอาจสง่ ผลต่อการขาดแคลนแรงงานในบางฤดกู าล 3. อตั ราการว่างงานของจงั หวดั สระแกว้ การศึกษาอัตราการว่างงานในปีท่ีผ่านมา จะพบว่าอัตราว่างงานของจังหวัดสระแก้ว แต่ละไตรมาส จะปรับตัวสูงข้ึนและลดลงตามปัจจัยในเรื่องฤดูกาล เน่ืองจากจังหวัดสระแก้ว เป็นพื้นที่เกษตรกรรม อัตราการว่างงานในไตรมาส 1 มีแนวโน้มค่อยๆสูงขึ้นต่อเน่ืองถึงไตรมาส 2 เนื่องจากเป็นช่วงที่ กาลังแรงงานใหม่ สาเร็จการศึกษาเร่ิมเข้าสู่ตลาดแรงงาน สาหรับไตรมาส 4 เป็นช่วงฤดูการเก็บเกี่ยว ผลผลิต และเตรียมเปิดสายการผลิตในโรงงานประกอบกับกาลังแรงงานใหม่ มีการจ้างงานเพ่ิมเป็นปัจจัยท่ีมี ผลต่ออัตราการว่างงานที่ลดลง ดังนั้นอัตราการว่างงานจึงเป็นเครื่องชี้วัดที่เก่ียวข้องกับปัจจัยฤดูกาล นอกจากน้ีอัตราการว่างงานจะเกี่ยวข้องกับภาวะเศรษฐกิจและพื้นท่ี กล่าวคือ แรงงานจะมีการเคล่ือนย้าย สู่ภาคเกษตรในไตรมาสท่ีเป็นฤดูเพาะปลูก และฤดูกาลเก็บเก่ียวผลผลิตจังหวัดท่ีเป็นพื้นท่ีการเกษตร จะมีอตั ราวา่ งงานต่า ขณะทจี่ ังหวดั ในพื้นทตี่ งั้ ของอุตสาหกรรมจะมีอัตราว่างงานสงู รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 12

สาหรับอัตราว่างงานในจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 1/64 มี (อัตราร้อยละ 1.90) ซ่ึงเพ่ิมจากไตรมาส 4 (แผนภูมิที่ 5) (Q1/2564) แผนภูมทิ ี่ 5 อตั ราการวา่ งงานของจังหวัดสระแกว้ 3 2.7 1.9 2.5 1.5 1.9 1.9 2 ้รอยละ 1.6 1.5 1.25 1.1 1.1 1 0.5 0 1/2562 2/2562 3/2562 4/2562 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 ไตรมาส/ปี ท่มี า : สานกั งานสถิตจิ งั หวดั สระแกว้ ไตรมาส 1 ปี 2564 4. อตั ราการเปลี่ยนแปลงของจานวนผูป้ ระกนั ตนในระบบประกนั สังคม (มาตรา 33) อตั รา การเปล่ยี นแปลง ของผู้ประกนั ตนท่ขี อรับประโยชน์ทดแทนกรณวี า่ งงาน และอัตราการเลิกจ้างลกู จา้ ง ในระบบประกนั สังคม มาตรา 33 จานวนผู้ประกันตนมาตรา 33 ของสานักงานประกันสังคม ไตรมาส 2/64 มีจานวน 22,551 คน อัตราเปล่ียนแปลงของจานวนผู้ประกันตน (มาตรา 33) ขยายตัว ร้อยละ 1.97 เพ่ิมขึ้นจากไตรมาสก่อน ท่ีขยายตัว ร้อยละ 0.53 จานวนผู้ประกันตนที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณี ว่างงาน 7,446 คน อัตราเปลี่ยนแปลงของผู้ประกันตนที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ร้อยละ 11.15 เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.93 (แผนภูมทิ ี่ 6) รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 13

แผนภูมิท่ี 6 อัตราการเปลี่ยนแปลงของจานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม (มาตรา 33) อัตราการเปลี่ยนแปลง ของผู้ประกันตนที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน และอัตราการเลิกจ้าง ลกู จา้ งในระบบประกันสงั คม 700 อัตราการเปลย่ี นแปลงของจานวน ผปู้ ระกนั ตนในระบบ 595.26 600 ประกนั สงั คม (มาตรา 33) (YoY) อตั ราการเปลี่ยนแปลงของ ผู้ประกนั ตนท่ีขอรับประโยชน์ ทดแทนกรณวี า่ งงาน (YoY) 500 อัตราการเลิกจ้างลกู จา้ งในระบบ ประกันสงั คม (YoY) 459.24 ร้อยละ400 300 200 171.03 131.45 100 46.4 45.26 19.76 0.96 0.53 2.05 29.44 0.90 15.73 0 3.01 3.15 14.07 5.44 1.92 2/2562 3/2562 4/2562 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 ไตรมาส/ปี ท่มี า : สานักงานประกันสงั คมจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 5. อัตราการบรรจุงาน อัตราการบรรจุงานในแต่ละไตรมาส เป็นตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวของภาวการณ์ ดา้ นแรงงาน ซ่ึงสามารถศึกษาวิเคราะห์กับจานวนตาแหน่งงานว่าง และจานวนผู้สมัครงาน โดยเม่ือวิเคราะห์ จานวนการบรรจุงานท่ีสานักงานจัดหางานจังหวัด ดาเนินการเทียบกับจานวนตาแหน่งงานว่าง ท่ีแจ้งผ่าน สานักงานจัดหางานจงั หวัดสระแก้ว จะพบว่า อัตราการบรรจงุ านต่อตาแหนง่ งานว่างไตรมาส 2 ปี 2564 อยู่ท่ี ร้อยละ 74.12 โดยมีอัตราสูงกว่าไตรมาส 1/64 ท่ีมีร้อยละ 71.75 อย่างไรก็ตามอัตราการบรรจุงาน ต่อตาแหน่งงานว่างไตรมาสนี้มีสัดส่วนที่ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา ที่มีร้อยละ 89.31 (แผนภูมิที่ 7) เม่ือเปรียบเทียบสัดส่วนของผู้บรรจุงานกับจานวนผู้สมัครท่ีมีอัตราร้อยละ 172.66 พบว่า มีอัตราเพ่ิมขึ้นจากไตรมาส 1/64 ที่มีอัตราร้อยละ 100.45 ท้ังนี้เป็นเพราะในไตรมาส 1/64 มีผู้สมัครงาน ท่ียังไม่ได้บรรจุงานสะสมจากไตรมาสก่อนๆ ทยอยได้รับการบรรจุงานไปเกือบหมดแล้ว เมื่อเปรียบเทียบกัน แลว้ จงึ ทาให้เห็นภาพว่ามอี ตั ราการบรรจุงานเพม่ิ ข้นึ รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 14

แผนภูมิที่ 7 อตั ราการบรรจุงานของจังหวัดสระแก้ว อัตราการบรรจุงานตอ่ ผ้สู มัครงาน จังหวดั อัตราการบรรจุงานตอ่ ตาแหน่งงานวา่ ง จงั หวดั 250 228.83 200 150 127.45 204.35 100 81.08 157.46 172.66 50 74.12 ้รอยละ ้รอยละ 140.93 130.23 110 112.78 101.54 80.95 89.31 71.75 60.05 98.25 9.28 0 2/2562 3/2562 4/2562 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 ไตรมาส/ปี ท่มี า : สานักงานจดั หางานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 6. อัตราการจา้ งงานแรงงานต่างดา้ ว จังหวัดสระแก้วเป็นจังหวัดจ้างแรงงานต่างด้าวค่อนข้างสูงโดยเฉเพาะกลุ่ม Border Pass หรือ มาตรา 64 โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณตลาดโรงเกลือจึงเห็นได้ว่าสระแก้วมีอัตราการจ้างแรงงานต่างด้าว ต่อจานวนผู้มีงานทาท้ังหมด (คิดเป็นร้อยละ 1.77) หมายถึง ผู้มีงานทาทุกๆ 100 คน จะมีการจ้างแรงงาน ต่างด้าวประมาณ 2 คน และอัตราการจ้างแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) ต่อจานวน ผู้มีงานทาทั้งหมดอยู่ที่ ร้อยละ 1.72 แสดงว่าผู้มีงานทาทุกๆ 100 คน จะเป็นการจ้างแรงงานต่างด้าวสัญชาติ เมยี นมา ลาว กมั พูชา ประมาณ 2 คน แผนภมู ิท่ี 8 อตั ราการจ้างงานแรงงานตา่ งดา้ วในจังหวดั สระแกว้ 8 5.51 6.72 อัตราการจ้างแรงงานต่างด้าว ตอ่ จานวนผมู้ ีงานทาทั้งหมด 5.44 6.64 อตั ราการจา้ งแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กมั พูชา) 7 5.72 3/2562 4/2562 4.91 6 4.83 2.4 1.93 1.77 2.33 1.89 1.72 5 5.65 1.02 1.21 4 0.96 1.15 4/2563 1/2564 2/2564 3 1/2563 2/2563 3/2563 2 ไตรมาส/ปี 1 0 2/2562 ทม่ี า : สานกั งานจดั หางานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 15

7. อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน ของสถานประกอบการ อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถานประกอบกิจการเป็นตัวบ่งบอก ตัวหน่ึงที่แสดงให้เห็นถึงภาวการณ์ด้านแรงงาน หากนายจ้างไม่ปฏิบัติตามกฎหมายสูงย่อมส่งผลกระทบต่อ ความเป็นอยู่ของลูกจ้าง ผู้ใช้แรงงาน และส่งผลถึงคุณภาพชีวิตของผู้ใช้แรงงานตามมา ซึ่งพบว่าอัตราการ ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถานประกอบ กิจการในจังหวัดต่อจานวน สถานประกอบกิจการที่ผ่านการตรวจทั้งหมดของจังหวัดปี 2564 ในไตรมาส 1 มีอัตราร้อยละ 39.29 สาหรับ ไตรมาส 2/64 มีอัตราร้อยละ 52.38 ซึ่งเพิ่มข้ึนจากไตรมาสท่ีแล้ว และเพิ่มขึ้นเม่ือเทียบช่วงเดียวกันของปี ท่ีผ่านมา (แผนภูมิท่ี 9) ท้ังน้ี การปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานส่วนใหญ่จะเป็นเร่ืองของ ข้อบังคับการทางาน ซ่ึงกฎหมายกาหนดว่าสถานประกอบการต้องมีข้อบังคับการทางาน เช่น การกาหนด วันเวลาทางาน เวลาพัก วันหยุด และประกาศให้ลูกจ้างทราบ พร้อมท้ังทาสาเนาแจ้งให้สานักงานสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานจังหวัดทราบ แต่สถานประกอบการหลายแห่งไม่ทราบหรอื ทราบไม่ครบทุกข้ันตอน จึงพบ ปัญหาไม่ปฏิบัติตามกฎหมายจานวนมาก อย่างไรก็ตามได้มีการลงพื้นท่ีตรวจแนะนาให้ดาเนินการให้ถูกต้อง ตามข้อกฎหมาย อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน พบว่าไตรมาส 2/64 อัตรา ร้อยละ 47.37 ซง่ึ เพ่ิมข้นึ จากไตรมาสท่ีแลว้ ทมี่ ีอัตราร้อยละ 20 (แผนภมู ทิ ่ี 9) อน่ึงการตรวจสถานประกอบกิจการในไตรมาสน้ีส่วนใหญ่เป็นการตรวจสถานประกอบการขนาดเล็ก ตา่ กวา่ 19 คน เป็นส่วนใหญ่ แผนภูมิที่ 9 อัตราการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน/ความปลอดภัยในการทางาน ของสถานประกอบกจิ การ 120.00 อตั ราการไมป่ ฎิบัตติ ามกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถานประกอบกิจการ 100.00 อตั ราการไม่ปฎบิ ตั ิตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบกจิ การ 100.00 82.33 80.00 ้รอยละ 60.00 56.52 52.38 47.37 40.00 38.1 45.00 28.13 39.29 36.73 18.75 20.00 2/2562 20.00 4/2562 13.33 0.00 3/2562 27.27 1/2564 0.00 4.55 8.00 0.00 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 2/2562 ไตรมาส/ปี ทีม่ า : สานกั งานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 16

8. อัตราการเกดิ ขอ้ พพิ าทแรงงาน/ขอ้ ขัดแยง้ ในสถานประกอบกจิ การ การเกิดข้อพิพาทแรงงานและข้อขัดแย้งในสถานประกอบกิจการ เป็นตัวช้ีวดั ท่ีแสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง การเปล่ียนแปลงของอัตราการเกิดข้อพิพาทแรงงานจะแสดงให้เห็นถึงทิศทาง ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างว่ามีทิศทางหรือแนวโน้มไปในทางใด การเกิดข้อพิพาทแรงงานน้ัน มีผลมาจากการท่ีลูกจ้างได้แจ้งข้อเรียกร้องต่อนายจ้าง และหากไม่สามารถยุติ หรือ ตกลงกันได้ก็จะเกิดเป็น ข้อพิพาทแรงงานข้ึน สาหรับอัตราสถานประกอบการท่ีเกิดข้อพิพาทแรงงานในจังหวัดต่อสถานประกอบ กิจการ 100,000 แห่ง พบว่าในช่วงไตรมาส 2/62-ไตรมาส 2/64 ไม่พบการเกิดข้อพิพาท ข้อขัดแย้งแรงงาน ตอ่ สถานประกอบการ แสดงให้เห็นวา่ สถานประกอบกิจการในจังหวัดสระแกว้ ไม่มีการเกิดข้อพิพาท แสดงให้ เห็นว่าที่ผ่านมาความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในจังหวัดอยู่ในระดับดีมาก (แผนภูมิที่ 10) สาหรับ ข้อขัดแย้งในสถานประกอบกิจการ ซึ่งเกิดจากความขัดแย้งระหว่างนายจ้าง ลูกจ้าง ท่ีมิใช่ข้อพิพาทแรงงาน ตามกฎหมายแรงงาน เป็นตัวช้ีวัดอีกตัวหน่ึงท่ีบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้าง และลูกจ้างได้ โดยอัตราการเกิดข้อขัดแย้งในสถานประกอบกิจการต่อสถานประกอบกิจการ 100,000 แห่ง ในรอบปีท่ีผ่าน มานับจากไตรมาส 2/62 จนถึง ไตรมาส 2/64 จังหวัดสระแก้วก็ไม่ปรากฏสถิติเช่นกัน อย่างไรก็ตาม กระทรวงแรงงานมิได้น่ิงนอนใจ ทุกหน่วยงานในสังกัด ได้ดาเนินการตรวจเย่ียมสถานประกอบกิจการ พรอ้ มทัง้ ส่งเสรมิ การสรา้ งความสัมพันธท์ ด่ี รี ะหวา่ งนายจ้างและลูกจา้ งตลอดเวลา (แผนภมู ิท่ี 10) แผนภูมิที่ 10 อัตราการเกิดข้อพพิ าท/ข้อขัดแย้งแรงงานตอ่ สถานประกอบกจิ การ 100,000 แห่ง 1.00 อัตราการเกิดข้อพพิ าทแรงงานตอ่ สถานประกอบกิจการ 100,000 แห่ง 0.90 อตั ราการเกดิ ขอ้ ขดั แย้งต่อสถานประกอบกจิ การ 100,000 แหง่ 0.80 0.70 0.60 ร้อยละ 0.50 0.40 0.30 0.20 0.10 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1/2562 2/2562 3/2562 4/2562 ไต1ร/ม2า5ส6/3ปี 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 ทมี่ า : สานกั งานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 17

9. อัตราแรงงานทเ่ี ปน็ ผปู้ ระกันตนในจังหวัด อัตราแรงงานท่ีเป็นผู้ประกันตนคิดจากจานวนผู้ประกันตนของกองทุนประกันสังคมตามมาตรา 33 39 และ 40 ต่อจานวนผู้มีงานทาของสานักงานสถิติแห่งชาติ เป็นอัตราท่ีแสดงให้เห็นว่ าแรงงานไทย มีหลักประกันการทางานท่ีดีมีความม่ันคง อัตราแรงงานที่เป็นผู้ประกันตนในจังหวัดสระแก้ว เร่ิมหดตัวตั้งแต่ ไตรมาส 1/64 เป็นต้นมา ไตรมาส 2/64 อัตราแรงงานท่ีเป็นผู้ประกันตน คิดเป็นร้อยละ 19.89 อัตราขยายตัว ไตรมาสที่แล้ว ซ่ึงอยู่ที่ร้อยละ 19.59 และขยายตัวต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้วซ่ึงอยู่ท่ีร้อยละ 20.98 (แผนภมู ิ 11) แผนภมู ิที่ 11 อตั ราแรงงานที่เปน็ ผปู้ ระกนั ตนในจังหวดั สระแกว้ 22 21.58 21.5 20.91 20.98 21 20.69 ร้อยละ 20.5 20.32 20.21 20 19.89 19.5 19.7 19.59 19 18.5 2/2562 3/2562 4/2562 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 ไตรมาส/ปี ท่มี า : สานกั งานประกันสงั คมจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 18

สถานการณแ์ รงงานจังหวัด สถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2/64 ช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน 2564 ขอนาเสนอข้อมูล ในประเด็นต่างๆ ตามลาดับคือ 1) กาลังแรงงาน/การมีงานทา/การว่างงาน 2) การส่งเสริมการมีงานทา 3) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน 4) การคุ้มครองแรงงานและสวัสดิการ 5) การประกันสังคม 6) ปัญหาด้านแรงงานที่สาคัญ 7) ผลการดาเนินงานท่ีสาคัญตามนโยบายรัฐบาล/ นโยบายกระทรวงแรงงาน 8) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว (SEZ) 9) สถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในจงั หวัดสระแกว้ 1. กาลังแรงาน/การมีงานทา/การวา่ งงาน 1.1 โครงสร้างประชากร สานักงานสถิติจังหวัดสระแก้ว ได้ดาเนินการสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส 1/64 สรุปรายละเอียดได้ดังนี้ จังหวัดสระแก้ว มีประชากรที่อยู่ในวัยทางานหรืออายุ 15 ปีข้ึนไป จานวน 508,825 คน (ชาย 248,459 คน หญิง 260,366 คน) จาแนกเป็น ผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 357,861 คน ช า ย 197,463 ค น ห ญิ ง 160,399 ค น ) ได้ แ ก่ ผู้ มี ง า น ท า 347,610 ค น (ช า ย 192 ,0 9 8 ค น หญิง 155,512 คน) ผู้ว่างงาน 9,413 คน (ชาย 4,954 คน หญิง 4,460 คน) และผู้รอฤดูกาล 838 คน (ชาย 411 คน หญิง 427 คน) ขณะท่ีผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงานมีจานวน 150,964 คน (ชาย 50,996 คน หญิง 99,967 คน) จาแนกเป็น ผู้ทางานบ้าน 49,253 คน เรียนหนงั สือ 29,751 คน เดก็ คนชรา และคนที่ไม่ สามารถทางานได้ 86,346 คน และอื่นๆ 71,960 คน (แผนภูมิที่ 12) และตารางที่ 15 (ภาคผนวก) (Q1/2564) แผนภมู ิท่ี 12 โครงสร้างประชากรจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 ประชากรอายุ 15 ปขี ึ้นไป (508,825 คน) ผอู้ ยใู่ นกาลังแรงงาน ผไู้ ม่อย่ใู นกาลงั แรงงาน (357,861 คน) (150,964 คน) ผมู้ งี านทา ผวู้ ่างงาน ทางานบ้าน เรียนหนังสือ (347,610 คน) (9,413 คน) (49,253 คน) (29,751 คน) ผรู้ อฤดูกาล เดก็ คนชรา และคนทไ่ี ม่ อ่นื ๆ (838 คน) สามารถทางานได้ (71,960 คน) (86,346 คน) ที่มา : สานกั งานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั สระแกว้ ท่มี า : สานกั งานสถติ ิจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 1 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 19

1.2 ผมู้ งี านทา ในไตรมาส 1/2564 จังหวัดสระแก้วมีจานวนผู้มีงานทา 347,610 คน จาแนกตามอายุ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 40 – 59 ปี หรือวัยกลางคนที่ปรับเปล่ียนอาชีพได้ยาก จานวน 162,078 คน (ร้อยละ 46.63) นอกจากนย้ี ัง พบว่า มผี สู้ ูงอายุยงั ประกอบอาชีพอย่ถู ึง 39,831 คน (รอ้ ยละ 11.46) (Q1/2564) แผนภูมิที่ 13 ผูม้ ีงานทาจงั หวัดสระแก้ว จาแนกตามชว่ งอายแุ ละเพศ ไตรมาส 1 ปี 2564 หน่วยนบั : คน ชาย หญงิ 50,000 45,046 46,904 45,000 40,000 37,516 35,000 32,612 30,000 20,270 24,048 25,000 15,783 20,000 13,304 13,106 17,907 15,000 13,897 50-59 ปี 60 ปขี น้ึ ไป 10,000 11,260 5,000 8,963 - 2,391 5,020 1,055 15-19 ปี 20-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40-49 ปี ที่มา : สานกั งานสถติ ิจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 หากจาแนกโดยระดับการศึกษาของผู้มีงานทาพบว่า ผู้มีงานทาเป็นผู้มีการศึกษาประถมศึกษา จานวน 89,684 คน (ร้อยละ 25.8) มากท่ีสุด รองลงมาเป็นต่ากว่าประถมศึกษา 80,588 คน (ร้อยละ 23.2) มัธยมศึกษาตอนปลาย 64,667 คน (ร้อยละ 18.6) อุดมศึกษา 51,552 คน (ร้อยละ 14.8) มัธยมศึกษา ตอนตน้ 49,329 คน (รอ้ ยละ 14.2) ตามลาดบั (Q1/2564) แผนภมู ทิ ี่ 14 ผมู้ งี านทาจงั หวดั สระแกว้ จาแนกตามระดับการศกึ ษา ไตรมาส 1 ปี 2564 อดุ มศึกษา ไม่ทราบ ไม่มกี ารศกึ ษา 14.8% 0% 5% มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตา่ กว่าประถมศึกษา 18.6% 23.2 มัธยมศกึ ษาตอนต้น ประถมศกึ ษา 14.2% 25.8 ท่มี า : สานกั งานสถติ จิ ังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 20

เมื่อพิจารณาผู้มีงานทาตามอาชีพในไตรมาส 1 ปี 2564 พบว่าอาชีพท่ีมีผู้ทางานมากท่ีสุด 5 อันดับแรกคือ 1) ผู้ปฏิบตั ิงานท่มี ีฝมี ือด้านการเกษตรและการประมง จานวน 108,352 คน (ร้อยละ 31.20) 2) พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 63,994 คน (ร้อยละ 18.40) 3) อาชีพข้ันพ้ืนฐานต่างๆ ในด้านการขายและให้บริการ 63,821 คน (ร้อยละ 18.40) 4) ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและ ธุรกิจการค้าท่ีเก่ียวข้อง 42,496 คน (ร้อยละ 12.2) และ 5) ผู้ปฏิบัติงานโรงงานและเครื่องจักร และ ผู้ปฏบิ ตั ิงานด้านการประกอบ 30,087 คน (ร้อยละ 8.6) (แผนภมู ิท่ี 15) และ (ตารางที่ 18) (ภาคผนวก) แผนภูมทิ ่ี 15 ผูม้ งี านทาจงั หวัดสระแก้ว จาแนกตามอาชพี (5 อันดบั แรก) ไตรมาส 1 ปี 2564 อาชพี ขน้ั พ้นื ฐานต่าง ๆ ในดา้ นการขายและการใหบ้ รกิ าร หน่วยนับ : ร้อยละ 18.40 ผปู้ ฏิบตั ิการโรงงานและเคร่ืองจกั รและผปู้ ฏิบตั ิงานดา้ นการประกอบ 8.60 ผปู้ ฏิบัตงิ านดา้ นความสามารถทางฝมี อื และธรกุ ิจการค้าทเ่ี กย่ี วข้อง 12.20 ผปู้ ฏิบตั ิงานทีมฝี ีมือในด้านการเกษตรและการประมง 31.20 พนกั งานบริการและพนักงานในรา้ นคา้ และตลาด 18.40 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 ท่มี า : สานกั งานสถติ ิจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 1 ปี 2564 สาหรับผู้มีงานทา 347,610 คน พบว่า ทางานในภาคเกษตรกรรม 139,768 คน (คิดเป็นร้อยละ 40.2 ของผู้มีงานทาท้ังหมด) ส่วนผู้ทางานนอกภาคเกษตรกรรมมีจานวน 207,842 คน (ร้อยละ59.79 ของผู้มีงานทาท้ังหมด) เน่ืองจากไตรมาสนี้เป็นช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวพืชผลทางการเกษตร ประกอบกับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจท่ีชะลอลง อันมีสาเหตุจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้ราคาน้ามันตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น ทาให้ผู้ประกอบการต้องลดต้นทุนค่าใช้จ่ายลง โดยเฉพาะ เรื่องแรงงาน จึงส่งผลให้แรงงานจากนอกภาคเกษตรกรรมหรือภาคอุตสาหกรรม และแรงงานรอฤดูกาลย้าย เข้าไปอยู่ในภาคเกษตรกรรมมากขึ้น โดยกลุ่มผู้ทางานนอกภาคเกษตรกรรม จะทางานในอุตสาหกรรม การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ฯ มากท่ีสุด 54,919 คน (คิดเป็นร้อยละ 26.42 ของผู้มีงานทานอกภาคเกษตร) รองลงมาได้แก่การผลิต 42,662 คน (คิดเป็นร้อยละ 20.53 ของผู้ทางานนอกภาคเกษตรกรรมทั้งหมด) ท่ีพักแรมและบริการด้านอาหาร 23,692 คน (คิดเป็นร้อยละ 11.40 ของผู้มีงานทานอกภาคการเกษตร) การก่อสร้าง 17,708 คน (คิดเป็นรอ้ ยละ 8.52 ของผู้มีงานทานอก ภาคการเกษตร) และสาขาการบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ รวมท้ัง การประกันสังคมภาคบังคับ 15,644 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.53 ของผ้มู ีงานทานอกภาคการเกษตร) (แผนภมู ิที่ 16) (Q1/2564) รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 21

แผนภูมิท่ี 16 ผู้มีงานทาจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตรกรรม (5 อนั ดบั ) ไตรมาส 1 ปี 2564 60,000 54,919 50,000 40,000 42,662 30,000 23,692 20,000 10,000 17,707 15,644 - การก่อสรา้ ง การขายส่ง และขายปลกี ฯ ทีพ่ ักแรมและบริการ การบรหิ ารราชการ การผลติ การซ่อมยานยนต์ ดา้ นอาหาร การปอ้ งกนั ประเทศ การประกนั สงั คม ท่ีมา : สานกั งานสถติ จิ งั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 ในด้านสถานภาพการทางานของผู้มีงานทา พบว่าส่วนใหญ่ทางานส่วนตัว 152,569 คน (ร้อยละ 43.9) รองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 84,012 คน (ร้อยละ 24.2) และช่วยธุรกิจครอบครัว 60,876 คน (รอ้ ยละ 17.5) สว่ นผูม้ งี านทาทม่ี สี ถานภาพเปน็ นายจ้าง มีเพียง 9,032 คน (ร้อยละ 2.6) (แผนภูมทิ ่ี 17) (Q1/2564) ตารางที่ 17 ผ้มู ีงานทาจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามสภาพการทางาน ไตรมาส 1 ปี 2564 ช่วยธรุ กจิ นายจ้าง ลกู จา้ งรัฐบาล ครอบครัว 3% 12% 17% ทางานสว่ นตัว ลูกจา้ งเอกชน 44% 24% ที่มา : สานกั งานสถติ จิ ังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 22

ผู้มีงานทา เฉพาะท่ีเป็นการทางานในระบบการจ้างงาน สถานประกอบการ/นายจ้าง รวมท้ังส้ิน 106,328 คน จาแนกตามระดับการศึกษาโดยสว่ นใหญ่เปน็ ผู้จบระดับอุดมศกึ ษา 31,294 คน (ร้อยละ 29.43) รองลงมาเป็นระดับมธั ยมตอนปลาย จานวน 25,427 คน (ร้อยละ 23.91) มัธยมตอนตน้ จานวน 19,945 คน (ร้อยละ 18.76) ประถมศึกษา จานวน 14,087 คน (ร้อยละ 13.25) จะเห็นได้ว่าการจ้างงานในระบบ ยังมีความนิยมจ้างผู้ที่มีวุฒิการศึกษาต้ังแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป และในกลุ่มการจ้างผู้จบระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย มีความแตกต่างความนิยมในการจ้างงานโดยสายอาชีพ 6,019 คน ในขณะท่ี สายสามัญ มกี ารจา้ งงาน 19,259 คน (แผนภมู ทิ ่ี 18) (Q1/2564) แผนภูมทิ ่ี 18 ผ้มู ีงานทาในระบบจงั หวัดสระแกว้ จาแนกตามระดับการศกึ ษา ปี 2564 ไม่ทราบ ไมม่ ีการศึกษา 0% 1% ต่ากว่าประถมศกึ ษา 13% อดุ มศกึ ษา 30% ประถมศกึ ษา 13% มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มธั ยมศึกษาตอนตน้ 24% 19% ทม่ี า : สานกั งานสถิติจังหวัดสระแก้ว การสารวจแรงงานนอกระบบ ปี 2563 1.3 ผวู้ ่างงาน ผู้ว่างงานในจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 จานวน 9,413 ราย (คิดเป็นอัตราการว่างงาน ร้อยละ 1.9) จาก (ตารางท่ี 8) หากจาแนกตามภาคอุตสาหกรรมที่มีผู้ว่างงานมากท่ีสุด คือ อุตสาหกรรม นอกภาคเกษตร รองลงมาคือ อุตสาหกรรม ภาคเกษตร ในจานวนน้ีพบว่า เพศชายมีผู้ว่างงานสูงสุด (คิดเป็นร้อยละ 63.8 ของผู้ว่างงานทั้งหมด) รองลงมาคือเพศหญิง (ร้อยละ 62.1 ของผู้ว่างงานท้ังหมด) (แผนภูมทิ ี่ 19) (Q1/2564) แผนภมู ิที่ 19 ผู้ว่างงานในจังหวัดสระแกว้ จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ ไตรมาส 1 ปี 2564 70.0 63.8 62.1 60.0 50.0 37.9 40.0 36.2 30.0 20.0 10.0 - หญงิ ชาย ภาคเกษตร นอกภาคเกษตร รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 23

ทมี่ า : สานกั งานสถิติจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 1 ปี 2564 1.4 แรงงานนอกระบบ สาหรับแรงงานนอกระบบ ปี 2563 จากผลการสารวจของสานักงานสถิติจังหวัดสระแก้ว พบว่า ปัจจุบันผู้มีงานทาอยู่ในแรงงานนอกระบบมีจานวน 202,755 คน จาแนกตามอายุ พบว่าส่วนใหญ่มีอายุ ในช่วง 50 – 59 ปี กล่าวคือ ผู้มอี ายุ 50 – 59 ปี มจี านวน 62,606 คน (รอ้ ยละ 30.87) รองลงมาคอื ผูม้ ีอายุ 40 – 49 ปี มีจานวน 52,934 คน (ร้อยละ 26.11) และอายุ 60 ปีขน้ึ ไป จานวน 35,609 คน (ร้อยละ 17.56) สว่ นชว่ งอายุ 15 – 19 ปี มีน้อยท่ีสุด 2,807 คน (ร้อยละ 1.38) (แผนภมู ิท่ี 20) แผนภมู ทิ ่ี 20 แรงงานนอกระบบในจังหวัดสระแกว้ จาแนกตามช่วงอายุและเพศ ปี 2564 หนว่ ยนบั : คน 20 - 24 ปี 25 - 29 ปี ชาย หญงิ 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี 60 ปีขึ้นไป 40,000 30 - 34 ปี 35 - 39 ปี 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0 15 - 19 ปี ท่ีมา : สานกั งานสถิติจังหวดั สระแกว้ การสารวจแรงงานนอกระบบ ปี 2563 สาหรบั ด้านการศกึ ษา พบวา่ แรงงานนอกระบบมีการศกึ ษาในระดบั ตา่ กว่าประถมศึกษา มากท่สี ุด คือ มีจานวน 66,577 คน (ร้อยละ 32.84) รองลงมาคือระดับประถมศึกษา จานวน 52,824 คน (ร้อยละ 26.05) และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 36,512 คน (รอ้ ยละ 18.01) ตามลาดับ (แผนภูมิท่ี 21) แผนภูมิท่ี 21 แรงงานนอกระบบในจงั หวดั สระแก้ว จาแนกตามระดับการศึกษา ปี 2564 มัธยมศึกษาตอน อดุ มศึกษา ไมท่ ราบ ต่ากวา่ ปลาย 6% 0% ประถมศึกษา 14% 34% มัธยมศกึ ษา ตอนต้น 19% ประถมศึกษา 27% ทีม่ า : สานกั งานสถติ ิจังหวัดสระแกว้ การสารวจแรงงานนอกระบบ ปี 2563 รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 24

พิจารณาแรงงานนอกระบบจาแนกตามอาชีพ พบว่ามีงานทาในอาชีพต่างๆ สูงสุด 5 อันดับแรก คือ 1) ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือด้านเกษตรและประมง จานวน 97,964 คน (ร้อยละ 48.31) 2) พนักงานบริการ และ พนกั งานในร้านคา้ และตลาด 45,716 คน (รอ้ ยละ 22.54) 3) อาชีพขนั้ พื้นฐานต่างๆ ด้านการขาย และบรกิ าร 30,128 คน (ร้อยละ 14.85) 4) ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือ และธรุกิจการค้าที่เก่ียวข้อง จานวน 21,519 คน (ร้อยละ 10.61) และ 5) ผู้ปฏิบัติงานโรงงาน เครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 2,954 คน (ร้อยละ 1.46) (แผนภมู ิที่ 22) แผนภูมทิ ี่ 22 ผู้แรงงานนอกระบบในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามอาชีพ (5 อนั ดบั แรก) ปี 2564 หนว่ ยนบั : คน อาชีพข้ันพนื้ ฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขายและการใหบ้ ริการ 30,128 ผ้ปู ฏบิ ตั กิ ารโรงงานและเครือ่ งจักรและผ้ปู ฏิบตั ิงานด้านการประกอบ 2,954 ผปู้ ฏิบัตงิ านดา้ นความสามารถทางฝมี อื และธรุกิจการคา้ ที่เกย่ี วข้อง 21,519 ผู้ปฏิบตั งิ านทีมฝีมอื ในดา้ นการเกษตรและการประมง 97,964 พนักงานบรกิ ารและพนักงานในร้านค้าและตลาด 45,716 0 20,000 40,000 60,000 80,000 100,000 120,000 ท่มี า : สานกั งานสถติ จิ งั หวดั สระแกว้ การสารวจแรงงานนอกระบบ ปี 2563 2. การส่งเสรมิ การมงี านทา 2.1 การจดั หางานในประเทศ ภารกิจการส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทา เป็นภารกิจหลักของกระทรวงแรงงาน ซ่ึงดาเนินการโดย สานักงานจัดหางานจังหวัดสระแก้ว การส่งเสริมการมีงานทาในรูปแบบการจัดหางานมีท้ังการหางาน ในประเทศ และ ต่างประเทศ โดยการจัดหางานในจังหวัดสระแก้ว ในช่วงไตรมาสท่ี 2 (เมษายน – มิถุนายน 2564) มีตาแหน่งงานว่างท่ีแจ้งผ่านสานักงานจัดหางานจังหวัดสระแก้ว 1,244 อัตรา ซ่ึงลดลงจากไตรมาส ที่แล้วท่ีมีจานวนตาแหน่งงานว่าง 308 อัตรา ในส่วนของผู้ลงทะเบียนสมัครงาน ไตรมาสนี้ พบว่ามี 534 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสท่ีแล้วท่ีมีจานวน 220 คน ขณะท่ีผู้ได้รับการบรรจุงานในไตรมาสนี้ มีจานวน 922 คน เพ่มิ ข้นึ จากไตรมาสที่ 1 ท่มี ีจานวน 221 คน (แผนภูมิที่ 23) รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 25

แผนภูมิที่ 23 ตาแหนง่ งานว่าง/ผู้สมัครงาน/การบรรจุงาน จงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 2,500 2,273 ตาแหน่งงานวา่ ง (อตั รา) รวม ผูล้ งทะเบียนสมคั รงาน (คน) รวม บรรจุงาน (คน) รวม 2,000 ้รอยละ 1,500 134 211 570 627 308 220 221 1,244 ัอตรา/คน 274 922 1,000 3/2563 1/2564 500 346 274 309 4/2563 534 ไตรมาส/ปี 0 2/2564 2/2563 ที่มา : สานกั งานจัดหางานจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 สาหรับตาแหน่งงานว่างไตรมาสน้ีพบว่า เป็นชาย 116 อัตรา หญิง 29 อัตรา และ ไม่ระบุเพศ 1,099 อัตรา การท่ีตาแหน่งงานว่างกว่าคร่ึงไม่ได้ระบุเพศแสดงให้เห็นว่า สถานประกอบการหรือนายจ้าง พิจารณาเห็นว่างานโดยท่ัวไปไม่ว่าชายหรือหญิงก็สามารถทาได้เช่นกัน หรือไม่มีความแตกต่างในเร่ืองเพศ ในอีกประการหนึ่งนายจ้างพิจารณาเห็นว่าการไมร่ ะบุจะมีผลดีในด้านโอกาสการคัดเลือกมากกว่าการระบุเพศ (แผนภูมิท่ี 24) เม่ือพิจารณาถึงจานวนผู้มาลงทะเบียนสมัครงานในไตรมาสนี้ท่ีพบว่า มีจานวนทั้งส้ิน 534 คน เป็นชาย 247 คน และเป็นหญิง 287 คน และการบรรจุงานมีผู้ได้รับการบรรจุให้มีงานทาทั้งสิ้น 922 คน โดยสัดส่วนของเพศหญิงจะได้รับการบรรจุงานมากกว่าเพศชาย กล่าวคือผู้บรรจุงานท่ีเป็นเพศหญิง 503 คน ขณะท่ีเพศชาย 419 คน ซ่ึงเป็นสัดส่วนท่ีสอดคล้องกับจานวนผู้สมัครงานที่มีเพศหญิงมากกว่าชาย (แผนภมู ทิ ี่ 24) แผนภมู ิที่ 24 ตาแหนง่ งานว่าง/ผ้สู มัครงาน/การบรรจงุ าน จังหวัดสระแกว้ จาแนกตามเพศ ไตรมาส 2 ปี 2564 1200 1099 1000 800 600 503 419 400 247 287 200 116 29 0 ชาย หญิง ไม่ระบุ ชาย หญิง ชาย หญิง ตาแหน่งงานวา่ ง (อัตรา) ผลู้ งทะเบียนสมคั รงาน (คน) บรรจงุ าน (คน) ทม่ี า : สานกั งานจัดหางานจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 26

ช่วงอายุที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานในไตรมาสน้ีส่วนใหญ่จะมีอายุระหว่าง 18 – 39 ปี โดยที่อายุ 18 – 24 ปี ตลาดแรงงานมีความต้องการสูงสุดโดยมีตาแหน่งงานว่าง 323 อัตรา (ร้อยละ 25.97) รองลงมาคืออายุ 25 – 29 ปี 310 อัตรา (ร้อยละ 24.92) และอายุ 30 – 39 ปี 268 อัตรา (ร้อยละ 21.54) ขณะเดียวกันผู้สมัครงานส่วนใหญ่จะมีอายุ 30 – 39 ปี มีจานวน 174 คน (ร้อยละ 32.58) รองลงมาเป็น ผู้สมัครงานท่ีมีอายุ 18 – 24 ปี และ 25 – 29 ปี มีจานวน 161 คน ร้อยละ 30.15 และ 132 คน (ร้อยละ 24.72) ตามลาดับ ขณะท่ีผู้มีอายุ 30 - 39 ปี ได้รับการบรรจุงานสูงสุด จานวน 401 คน (ร้อยละ 43.49) รองลงมาคือช่วงอายุ 25 – 29 ปี จานวน 224 คน (ร้อยละ 24.29) และ 18 – 24 ปี จานวน 189 คน (ร้อย ละ 20.50) (แผนภมู ทิ ี่ 25) และ (ตารางท่ี 27) (ภาคผนวก) แผนภูมิที่ 25 ตาแหน่งงานว่าง/ผู้สมัครงาน/การบรรจุงาน จังหวัดสระแก้ว จาแนกตามช่วงอายุ ไตรมาส 2 ปี 2564 ตาแหน่งงานว่าง (อตั รา) 500 ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน (คน) 401 บรรจงุ าน (คน) 400 323 310 300 268 อัตรา/คน 224 241 200 161 189 132 174 100 78 97 000 41 11 16 5 15 14 0 15-17 18-24 25-29 30-39 40-49 50-59 60 ปขี ้ึนไป ช่วงอายุ ทีม่ า : สานกั งานจดั หางานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 สาหรับตาแหน่งงานว่างตามระดับการศกึ ษาไตรมาสนพี้ บวา่ ตาแหน่งงานว่างมากกวา่ ร้อยละ 88.34 เป็นตาแหน่งงานในระดับต่ากว่าระดับปวช. – ปวส./อนุปริญญา สาหรับระดับปริญญาตรีข้ึนไป มีความต้องการน้อยมาก เม่ือพิจารณารายละเอียดพบว่า ตาแหน่งงานว่างระดับท่ีต้องการสูงสุด คือ มัธยมศึกษา มีความต้องการ ร้อยละ 32.07 (399 อัตรา) รองลงมาเป็นระดับประถมศึกษาและต่ากว่า โดยมีสัดส่วน ร้อยละ 18.89 (235 อัตรา) ตาแหน่งงานว่างระดับปริญญาตรีมีสัดส่วน ร้อยละ 11.65 (145 อัตรา) สาหรับระดับปริญญาโทข้ึนไป มีสัดส่วนน้อยท่ีสุด แสดงให้เห็นว่าขณะนี้ตลาดแรงงานในจังหวัด สระแก้ว มีความต้องการคนในระดับปริญญาโทน้อยมาก ขณะท่ีผู้สมัครงานไตรมาสนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีมี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาสูงสุด ร้อยละ 55.05 (294 คน) รองลงมาเป็นระดับประถมศึกษาและต่ากว่า ร้อยละ 12.73 (68 คน) ซึ่งมีสัดส่วนใกล้เคียงกับปริญญาตรี คือ ร้อยละ 11.61 (62 คน) และผู้บรรจุงาน ระดับมัธยมศึกษา มีการบรรจุงานมากท่ีสุด ร้อยละ 53.36 (492 คน) เมื่อเทียบกับระดับการศึกษาอ่ืนๆ รองลงมาเป็นระดับประถมศึกษาและต่ากว่า ร้อยละ 14.20 (131 คน) และปริญญาตรี ร้อยละ 11.06 (102 คน) ตามลาดับ (ตารางที่ 28) (ภาคผนวก) รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 27

ประเดน็ ทนี่ ่าสงั เกต คอื ตาแหน่งงานว่างทุกระดับการศกึ ษามีสดั ส่วนสูงกว่าผู้สมคั รงาน แสดงให้เห็น ว่าตลาดแรงงาน มีความต้องการแรงงานในระดับปวช. ปวส. อนุปริญญา ฉะน้ัน ระบบการศึกษาต้องเร่งผลิต คนในระดับ ปวช. ปวส. อนุปริญญา รองรับตลาดแรงงานควบคู่กับการสร้างค่านิยมในเร่ืองการศึกษาให้ เยาวชนเห็นคุณค่าของการศึกษาระดับปวช. ปวส. อนุปริญญา ว่าไม่ได้ด้อยไปกว่าระดับปริญญาตรี และ ยังสามารถหางานได้มากและง่ายกว่า เนื่องจากเป็นท่ีต้องการของตลาดแรงงานมากกว่านั่นเอง ที่ผ่านมา เยาวชน มีค่านิยม และให้ความสาคัญกับการศึกษาต่อระดับปริญญาตรีสูงมาก เมื่อตาแหน่งงานว่าง ไม่สอดคล้องกบั ระดับการศึกษาของผสู้ มคั รงานที่จบ จึงสง่ ผลต่อการทางานต่าระดบั การศึกษาตามมา ดา้ นอาชพี พบว่าไตรมาสน้ีอาชีพทีม่ ีตาแหน่งงานวา่ งสงู สุด 5 อันดบั แรกคอื 1) อาชพี งานพืน้ ฐาน ได้แก่ อาชีพด้านการขายและการให้บริการ เช่น ผู้จาหน่ายสินค้า อาหาร ผู้ส่งเอกสาร เป็นต้น 388 อัตรา (ร้อยละ 31.18) 2) ช่างเทคนิคผู้ปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้อง 305 อัตรา (ร้อยละ 24.51) 3) เสมียน/เจ้าหน้าท่ี 227 อัตรา (ร้อยละ 18.24) 4) พนักงานบริการ พนักงานขาย 96 อัตรา (ร้อยละ 7.72) และ 5) ผู้ปฏิบัติงาน โดยใช้ฝมี ือในธรุ กิจตา่ งๆ มี 65 อัตรา (ร้อยละ 5.22) สาหรบั อาชพี ท่ีมีผู้สมัครงานสูงสดุ คอื อาชพี งานพื้นฐาน จานวน 248 คน (ร้อยละ 46.44) รองลงมาคือ ช่างเทคนิคผู้ปฏิบัติงานที่เก่ียวข้อง 115 คน (ร้อยละ 21.53) และเสมียน/เจ้าหน้าท่ี มีจานวน 81 คน (ร้อยละ 15.16) ส่วนการบรรจุงานมีการบรรจุงานในอาชีพงาน พ้ืนฐานสูงสุด เช่นกัน จานวน 355 คน (ร้อยละ 38.50) รองลงมาคือ อาชีพ ช่างเทคนิคผู้ปฏิบัติงาน ท่ีเกี่ยวข้อง มี 201 คน (ร้อยละ 21.80) เสมียน/เจ้าหน้าที่ มีจานวน 179 คน (ร้อยละ 19.41) (ตารางท่ี 29) (ภาคผนวก) หากศึกษาในด้านอุตสาหกรรมพบว่า อุตสาหกรรมที่มีตาแหน่งงานว่างสูงสุด 5 อันดับแรก ในไตรมาส 2 ปี 2564 คือ 1) การขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ 588 อัตรา (ร้อยละ 47.26) 2) การผลิต 345 อัตรา (ร้อยละ 27.73) 3) ไม่ระบุประเภทอุตสาหกรรม 108 อัตรา (ร้อยละ 8.68) 4) เกษตรกรรมการล่าสัตว์และการป่าไม้ 79 อัตรา (ร้อยละ 6.35) และ 5) การบริการด้านสุขภาพและงาน ด้านสังคมสงเคราะห์ 60 อัตรา (ร้อยละ 4.82) ซึ่งสอดคล้องกับการบรรจุงานที่พบว่าอุตสาหกรรมท่ีบรรจงุ าน ได้ สูงสุด คือ การขายส่ง ขายปลีก ซ่อมแซมยานยนต์ฯ 381 คน (ร้อยละ 41.32) รองลงมาคือ การผลิต 343 คน (รอ้ ยละ 37.20) และ ไม่ระบปุ ระเภทอุตสาหกรรม 62 คน (ร้อยละ 6.72) (ตารางท่ี 30) (ภาคผนวก) รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 28

2.2 แรงงานตา่ งดา้ ว 2.2.1 คนต่างด้าวในจังหวัดสระแก้วท่ีได้รับอนุญาตทางานตาม พรก.การบริหารจัดการ การทางานของคนตา่ งด้าว พ.ศ. 2560 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2561 จานวนคนต่างด้าวท่ีไดร้ ับอนุญาตทางาน คงเหลือจานวน 5,868 คน จาแนกเปน็ กลุ่มต่าง ๆ ดังน้ี 1. คนต่างด้าวมาตรา 59 ประเภท ตลอดชีพ ได้แก่ คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญ าตให้อยู่ ในราชอาณาจักร และทางานตาม ประกาศของคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 322 ลงวัน ท่ี 13 ธันวาคม 2515 ไม่มใี นไตรมาสน้ี 2. คนต่างด้าวมาตรา 59 ประเภททั่วไป ได้แก่ คนต่างด้าวที่มีถ่ินที่อยู่ในราชอาณาจักร หรือได้รับ อนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองโดยมิใช่ได้รับอนุญาตให้ เข้ามาในฐานะนักท่องเที่ยว หรือผู้เดินทางผ่าน และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จานวน 143 คน 3. คนต่างด้าวมาตรา 59 พิสูจน์สัญชาติ ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ท่ีหลบหนีเข้าเมืองได้รับผ่อนผันให้ทางานและอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว ตามมติคณะรัฐมนตรี ไดผ้ ่านการพสิ ูจนส์ ญั ชาตแิ ละปรับสถานะการเขา้ เมอื งถกู กฎหมายเรียบร้อยแลว้ ไมม่ ีในไตรมาสน้ี 4. คนต่างด้าวมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ที่เขา้ มาทางานตามความตกลงระหวา่ งรฐั บาลไทย กับ รฐั บาลประเทศต้นทาง จานวน 2,413 คน 5. คนต่างด้าวมาตรา 62 ประเภทส่งเสริมการลงทุน ได้แก่ คนต่างด้าวท่ีเข้ามาทางาน ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน กฎหมายปิโตเลียม หรือกฎหมายอ่ืน ไม่มีในไตรมาสนี้ 6. คนต่างด้าวมาตรา 63 ประเภทชนกลุ่มน้อย ได้แก่ คนต่างด้าวที่ไม่ได้รับสัญชาติไทยตาม กฎหมายว่าด้วยสัญชาติ และกระทรวงมหาดไทยได้ออกเอกสารเพ่ือรอพิสูจน์สถานะย่ืนขอใบอนุญาตทางาน จานวน 27 คน 7. คนต่างด้าวมาตรา 64 ได้แก่ คนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ที่เข้ามาทางาน บริเวณชายแดน ในลักษณะไป-กลับ หรือตามฤดูกาลในพ้ืนท่ีความตกลงว่าด้วยการสัญจรข้ามแดน ระหวา่ งราชอาณาจักรไทย ที่ติดกับราชอาณาจักรกัมพูชา จานวน 3,285 คน คนต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) ตามมติ ครม. จดทะเบยี น แรงงานต่างด้าว ณ ศนู ยบ์ รกิ ารจดทะเบยี นแรงงานต่างด้าว (One Stop Service : OSS) จังหวัดสระแก้ว จานวนทั้งส้ิน 1,400 คน จาแนกเป็นแรงงานต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา 1,400 คน (แผนภมู ิที่ 26) รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 29

แผนภูมิท่ี 26 แรงงานต่างด้าว จาแนกตามลักษณะการเข้าเมืองและประเภทคนต่างด้าว ไตรมาส 2 ปี 2564 ประเภททว่ั ไป 2% ประเภทคนตา่ ง ประเภทนาเขา้ ดา้ วท่ีเข้ามาทางาน ตาม MOU ในลกั ษณะไป-กลบั 41% หรอื ตามฤดูกาล 56% ประเภทชนกลมุ่ นอ้ ย 1% ทม่ี า : สานกั งานจัดหางานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 แผนภูมิท่ี 27 แรงงานด้าวประเภททั่วไป (มาตรา 59) และส่งเสริมการลงทุน (มาตรา 62) จังหวัดสระแก้ว จาแนกตาม สญั ชาติที่เข้ามาทางานมากท่สี ดุ ไตรมาส 2 ปี 2564 สัญชาตอิ ่ืนๆ จีน 24% 13% อนิ เดีย องั กฤษ 4% 1% อเมรกิ า 1% ฟิลปิ ปินล์ 57% ท่มี า : สานกั งานจัดหางานจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 เม่ือศึกษาแรงงานต่างด้าวเฉพาะประเภทนาเข้าตาม MOU และประเภทคนต่างด้าวที่เข้ามาทางาน ในลักษณะไป-กลับ หรือตามฤดูกาล มีจานวนรวม 155 คน อาชีพที่คนต่างด้าวทามากท่ีสุด 5 อาชีพ ได้แก่ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ จานวน 107 คน รองลงมาเป็นอาชีพงานพื้นฐาน จานวน 21 คน ผู้ปฏิบัติงาน โดยใช้ฝีมือในธุรกิจต่างๆ จานวน 12 คน พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จานวน 11 คน ผู้ปฏิบัติงานฝีมือด้านการเกษตรและประมง จานวน 2 คน ตัวเลขดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในการส่งเสริม การลงทุนจากต่างประเทศนั้น ประเทศท่ีเป็นเจ้าของทุนจะส่งผู้บริหาร ผู้ประกอบวิชาชีพ (ผู้เชี่ยวชาญ) ช่างเทคนิค ภาครัฐจึงควรส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ แรงงานไทย ซึ่งจะทาให้แรงงานไทย สามารถพัฒนาศักยภาพให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน เพ่ิมข้ึนได้ (แผนภูมิท่ี 28) และ (ตารางที่ 32) (ภาคผนวก) รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 30

แผนภูมิที่ 28 แรงงานด้าวประเภททั่วไป (มาตรา 59) และส่งเสริมการลงทุน (มาตรา 62) จังหวดั สระแกว้ จาแนกตาม อาชพี ท่เี ข้ามาทางานมากทส่ี ุด (5 อนั ดบั แรก) ไตรมาส 2 ปี 2564 อาชพี งานพน้ื ฐาน 21 ผู้ปฏิบตั งิ านในโรงงาน ผคู้ วบคุมเคร่อื งจกั รและผปู้ ฏิบตั ิงาน 1 ดา้ นการ ประกอบการ ผู้ปฏบิ ัติงานโดยใชฝ้ ีมอื ในธรุ กิจตา่ ง ๆ 12 พนักงานบรกิ าร พนกั งานขายใน ร้านคา้ และตลาด 11 ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นตา่ ง ๆ 107 0 20 40 60 80 100 120 หน่วยนับ : คน ท่มี า : สานกั งานจดั หางานจงั หวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 2.2.2 แรงงานต่างด้าวท่ีย่ืนขอจดทะเบียน ณ ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (OSS) จาแนกตาม สัญชาติ คนต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) ตามมติ ครม. จดทะเบียนแรงงานต่างด้าว ณ ศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว (One Stop Service : OSS) จังหวัดสระแก้ว จานวนทั้งสิ้น 1,400 คน จาแนกเป็นแรงงานต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา จานวน 1,400 คน ไม่มีต่างด้าวสัญชาติอ่ืน (แผนภมู ทิ ่ี 29) แผนภูมิที่ 29 แรงงานต่างด้าวที่ยื่นขอจดทะเบียน ณ ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (OSS) จังหวัดสระแก้ว จาแนกตาม สัญชาติ ไตรมาส 2 ปี 2564 กมั พชู า 100% ท่มี า : สานักงานจัดหางานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2464 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 31

2.3 แรงงานไทยในตา่ งประเทศ 2.3.1 การแจ้งความประสงค์เดินทางไปทางานต่างประเทศผ่านสานกั งานแรงงานจงั หวดั สระแก้ว ผู้แจ้งความประสงค์ไปทางานต่างประเทศ จานวน 51 คน เป็น เพศชาย จานวน 34 คน เพศหญิง จานวน 17 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้มีการศึกษา ระดับปริญญาตรี จานวน 18 คน (ร้อยละ 35.29 ของผู้แจ้งความประสงค์ ท้ังหมด) รองลงมา คือ มัธยมศึกษา จานวน 14 คน (คิดเป็นร้อยละ 27.45) ขณะท่ีระดับปวช. ปวส. อนปุ รญิ ญา มีจานวนนอ้ ยที่สดุ จานวน 8 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 4) (แผนท่ี 30 ) แผนภูมิท่ี 30 แรงงานไทยจังหวัดสระแก้ว ที่แจ้งความประสงค์เดินทางไปทางานต่างประเทศ จาแนกตามระดับการศกึ ษา ไตรมาส 2 ปี 2564 ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 0% 0% ประถมศกึ ษา 22% ปริญญาตรี 35% ปวช. ปวส. ปวท. มัธยมศึกษา อนุปรญิ ญา 27% 16% ท่ีมา : สานกั งานจดั หางานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2464 2.3.2 แรงงานไทยที่ได้รับอนุมัติไปทางานต่างประเทศ ในส่วนของการอนุญาตให้ไปทางาน ต่างประเทศไตรมาส 2 ปี 2564 พบวา่ มีจานวนทั้งสิ้น 5 คน (คดิ เป็นร้อยละ 100) ของผูแ้ จ้งความประสงค์ไป ทางานต่างประเทศ และหากพิจารณาตามวิธีการ เดินทางพบว่าเป็นประเภท Re-Entry จานวน 4 คน (ร้อยละ 80 ) และเดนิ ทางดว้ ยตนเอง จานวน 1 คน (ร้อยละ 20 ) (แผนภูมิท่ี 31) รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 32

แผนภมู ิท่ี 31 แรงงานไทยจงั หวัดสระแก้ว ที่ได้รบั อนุมตั ิเดนิ ทางไปทางานต่างประเทศ จาแนกตามวิธกี าร เดนิ ทาง ไตรมาส 2 ปี 2564 20% บรษิ ัทจัดหางานจัดสง่ เดินทางดว้ ยตนเอง Re-Entry เดินทางด้วยตัวเอง 80% นายจา้ งพาไปฝึกงาน Re-Entry นายจ้างพาไปทางาน กรมการจดั หางานจัดสง่ ท่ีมา : สานกั งานจัดหางานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 เมอื่ พิจารณาเปรียบเทียบกบั ไตรมาสทแี่ ลว้ พบว่าผ้ไู ดร้ ับอนุญาตให้ไปทางานต่างประเทศในภาพรวม ไตรมาสนี้มีสัดส่วนสูงข้ึนจากไตรมาสที่แล้วท่ีมีจานวน 1 คน โดยประเภท Re-Entry มีจานวน 4 คน ขณะทีก่ ารไปด้วยวธิ อี ่นื ๆ คอื เดินทางดว้ ยตนเอง จานวน 1 คน แรงงานไทยเดินทางไปทางานตามที่ไดร้ ับอนุญาตในไตรมาส 2 ปี 2564 สว่ นใหญจ่ ะไปทางานใน ภูมิภาคอื่น (สหรัฐ และรัสเซีย) มีจานวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 60 ของแรงงานไทยที่ไปทางานต่างประเทศ ทั้งหมด) รองลงมา คือ ภมู ิภาคเอเชีย (มาเลเซยี ) จานวน 1 คน (ร้อยละ 20) ภูมภิ าคแอฟริกา (ซูดาน) จานวน 1 คน (ร้อยละ 20) (แผนภูมิที่ 32) แผนภูมิที่ 32 แรงงานไทยจังหวัดสระแก้ว ท่ีได้รับอนุมัติเดินทางไปทางานต่างประเทศ จาแนกตาม ภูมภิ าค ท่ไี ปทางาน ไตรมาส 2 ปี 2564 เอเชีย , 20 ภูมภิ าคอน่ื ๆ , 60 แอฟริกา , 20 ทมี่ า : สานกั งานจัดหางานจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 33

3. การพฒั นาศกั ยภาพแรงงาน ในรอบไตรมาส 2 ปี 2564 (เดือนเมษายน – มิถนุ ายน 2564) สานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานสระแก้ว ได้ดาเนนิ การฝึกอบรมพัฒนาผ้ใู ช้แรงงานในรูปแบบตา่ งๆ ไดแ้ ก่ การฝกึ เตรียมเขา้ ทางาน การฝึกยกระดับฝีมือ แรงงาน และการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพฝีมือแรงงานไทยให้มีมาตรฐานฝีมือ ทัดเทียมประเทศต่างๆ ขณะเดียวกันเป็นการพัฒนาทักษะให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยภาพรวมของการฝกึ ต่างๆ (ตารางท่ี 37) (ภาคผนวก) หากพิจารณาตามกลุ่มอาชีพพบว่า มีผู้เข้ารับการฝึกเตรียมเข้าทางาน จานวน 18 คน กลุ่มอาชีพ ท่ีมีการฝึกเตรียมเข้าทางานสูงสุดในไตรมาสน้ี คือ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ จานวน 10 คน (คิดเป็นร้อยละ 55.56 ของจานวนผู้เข้ารับการฝึก) รองลงมาคือ ช่างอุตสาหการ จานวน 8 คน (ร้อยละ 44.44) ทั้งน้ี เม่ือพิจารณาทั้งจานวนผู้ผ่านการฝกึ พบว่ามี จานวน 6 คน ผู้เข้ารับการฝึกเตรียมเข้าทางานอาจ มากกว่า ผู้ผา่ นการฝึกเตรยี มเขา้ ทางานได้ เนอ่ื งจากบางหลักสูตรอาจ เป็นการฝกึ ตอ่ เน่ืองมาจากไตรมาสก่อน แตม่ าจบการฝึกในไตรมาสนี้ จงึ ไม่ควรนามาคิดรอ้ ยละของผู้ผ่านการฝึกต่อผู้เข้ารบั การฝกึ (แผนภูมทิ ่ี 33) แผนภูมิที่ 33 การฝึกเตรียมเข้าทางานและผ่านการฝึกในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามกลุ่มอาชีพ ไตรมาส 2 ปี 2564 12 ผู้เข้ารับการฝึกเตรียม เข้าทางาน (คน) ผผู้ ่านการฝกึ เตรยี ม เข้าทางาน (คน) 10 8 10 ห ่นวยนับ : คน 8 6 6 4 2 00 00 0 00 00 00 0 ชา่ งกอ่ สร้าง ช่างอุตสาหการ ชา่ งเครอื่ งกล ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนกิ ส์ ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ เกษตรอตุ สาหกรรม ธุรกิจและบริการ ทีม่ า : สานกั งานพัฒนาฝีมอื แรงงานสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 34

สาหรับการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานในไตรมาส 2 ปี 2564 พบว่ามีผู้เข้ารับการฝึกยกระดับฝีมือ แรงงานท้ังส้ิน 498 คน พิจารณาตามกลุ่มอาชีพท่ีฝึก พบวา่ ช่างก่อสร้าง มีการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานสูงสุด จานวน 191 คน (คิดเป็นร้อยละ 38.35 ของผู้เข้ารับการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน) รองลงมาได้แก่ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ จานวน 136 คน (ร้อยละ 27.31) และช่างอุตสาหการ จานวน 60 คน (ร้อยละ 12.05) ผู้ผ่านการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานในไตรมาสน้ี จานวน 464 คน พบว่ากลุ่มอาชีพท่ีมีผู้ผ่าน การฝึกยกระดับฝีมอื แรงงานสูงสดุ คือ ช่างก่อสร้าง จานวน 191 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 41.16 ของผผู้ ่านการฝึก ยกระดับฝีมือแรงงานท้ังหมด) รองลงมาได้แก่ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ จานวน 125 คน (ร้อยละ 26.94) ช่างอตุ สาหการ 58 คน (รอ้ ยละ 12.5) (แผนภูมิที่ 34) แผนภูมิท่ี 34 การฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและผ่านการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามกลุ่มอาชีพ ไตรมาส 2 ปี 2564 250 ผูเ้ ขา้ รบั การฝึก ยกระดับฝมี อื แรงงาน (คน) 200 191 191 ผู้ผ่านการฝึก ยกระดบั ฝมี ือ แรงงาน (คน) ห ่นวยนับ : คน 150 136 125 100 60 58 59 57 52 33 50 00 00 0 ช่างก่อสร้าง ชา่ งอุตสาหการ ชา่ งเคร่ืองกล ชา่ งไฟฟา้ อิเล็กทรอนิกส์ ชา่ งอุตสาหกรรมศิลป์ เกษตรอุตสาหกรรม ธรุ กิจและบรกิ าร ท่มี า : สานกั งานพัฒนาฝมี ือแรงงานสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 ส่วนการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานซึ่งพบว่า ในไตรมาสนี้ มีผู้เข้ารับการทดสอบ 10 คน พบว่า กลุ่มอาชีพท่ีมีการทดสอบมากที่สุด คือ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ 10 คน (คิดเป็นร้อยละ 100 ของจานวนผู้เข้ารับการทดสอบทั้งหมด) ผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน จานวน 6 คน กลุ่มอาชีพ ท่ีผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานสูงสุด คือ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ จานวน 6 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ของจานวนผูผ้ ่านการทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงาน) (แผนภูมทิ ี่ 35) รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 35

หน่วย ันบ : คนแผนภูมิท่ี 35 การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานใน 10จงั หวดั สระแกว้ จาแนกตามกลมุ่ อาชีพ ไตรมาส 2 ปี 2564 6 ผ้เู ข้ารบั การ ทดสอบ (คน) 12 ผผู้ า่ นการ ทดสอบ (คน) 0 0 10 0 08 0 06 0 04 0 02 0 00 ช่างกอ่ สรา้ ง ช่างอุตสาหการ ช่างเคร่ืองกล ช่างไฟฟ้า อเิ ล็กทรอนิกส์ ช่างอุตสาหกรรมศลิ ป์ เกษตรอุตสาหกรรม ธรุ กจิ และบรกิ าร ทมี่ า : สานกั งานพัฒนาฝมี อื แรงงานสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 4. การคมุ้ ครองแรงงานและสวัสดกิ าร 4.1 การตรวจแรงงาน กระทรวงแรงงานนอกจากจะมีภารกิจด้านการส่งเสริมการมีงานทา การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพ่ือยกระดับฝีมือให้เป็นท่ียอมรับของตลาดแรงงาน และทัดเทียมมาตรฐานสากลแล้ว อีกภารกิจหนึ่ง ที่เกิดขึ้นต่อเน่ืองภายหลังการส่งเสริมให้คนมีงานทาแล้วคือ ภารกิจด้านการคุ้มครองลูกจ้าง ให้ได้รับความ เป็นธรรม ในการทางานโดยสานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว เป็นหน่วยงานท่ีมี บทบาทในการคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความเป็นธรรมจากการทางาน ภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครอง แรงงาน เพ่ือไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายจ้างโดยมีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ ให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ขณะเดียวกัน ในอีกด้านหนึ่งก็ต้องผดุงไว้ซึ่งความยุติธรรมกับฝ่ายนายจ้าง กล่าวคือไม่โอนเอียงไปด้านใด ด้านหนึ่ง ท้ังน้ี มาตรการท่ีจะช่วยให้ผู้ใช้แรงงานได้รับรายได้และสวัสดิการท่ีเป็นธรรมเพียงพอ ต่อการดารงชีวิต รวมถึง ได้รับการคุ้มครองแรงงานให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ได้คือการตรวจสถานประกอบ กิจการ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้แรงงานได้รับการปฏิบัติและดูแลตามกฎหมาย ขณะเดียวกันจะเป็นมาตรการ ในการกระต้นุ ใหส้ ถานประกอบกิจการเอาใจใสด่ ูแลลกู จ้างของตนให้มากขน้ึ อีกด้วย สาหรับในไตรมาส 2 ปี 2564 สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สระแก้ว ได้ดาเนินการตรวจสถานประกอบกิจการท้ังส้ิน 21 แห่ง มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจหรือได้รับการคุ้มครองรวม 410 คน จาแนกเป็นชาย 216 คน (ร้อยละ 52.68 ของลูกจ้างที่ตรวจท้ังหมด) และหญิง 194 คน (ร้อยละ 47.32 ของลูกจ้างท่ีตรวจท้ังหมด) ไม่มีลูกจ้างเด็กในไตรมาสน้ี ซึ่งสถานประกอบกิจการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็น สถานประกอบกิจการขนาด 10 – 49 คน (คิดเป็นร้อยละ 85.71) (18 แห่ง) รองลงมาเป็น สถานประกอบ กิจการขนาดเล็ก คือ ต่ากว่า 10 คน (ร้อยละ 14.29) (3 แห่ง) ไม่มีการตรวจสถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ ตั้งแต่ 300 คนข้ึนไป ในไตรมาสนี้ ผลการตรวจพบว่าสถานประกอบกิจการส่วนใหญ่ จานวน 11 แห่ง รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 36

ร้อยละ 52.38 ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ขณะท่ีสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย มีร้อยละ 47.62 (จานวน 10 แหง่ ) (ตารางท่ี 39) (ภาคผนวก) เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานจาแนกตาม ขนาด สถานประกอบกิจการ พบว่า สถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องสูงสุด ได้แก่ ขนาด 10 – 19 คน มีอตั ราการปฏิบัติไม่ถกู ตอ้ งฯ (ร้อยละ 54.55) รองลงมาไดแ้ ก่ ขนาด 20 – 49 คน (รอ้ ยละ 36.36) ขนาด 5 – 9 คน (รอ้ ยละ 9.09) (ตารางที่ 39) (ภาคผนวก) สาหรับสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานจานวน 11 แห่ง ซึ่งมีบางแห่งมีเร่ืองที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องหลายเร่ือง โดยพบว่า เร่ืองที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องมีท้ังส้ิน 5 เร่ือง และ พบว่าเร่ืองท่ีปฏิบัติไม่ถูกต้องสูงสุดเม่ือเปรียบเทียบกับเรื่องปฏิบัติไม่ถูกต้องทั้งหมดคือ เรื่องข้อบังคับ มีถึง 6 แห่ง (ร้อยละ 42.86 ของเรื่องที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องท้ังหมด) เร่ืองวันหยุด 4 แห่ง (ร้อยละ 28.57) เร่ืองค่าจ้าง 2 แห่ง (ร้อยละ 9.52) ค่าจ้างขั้นต้า 1 แห่ง (ร้อยละ 4.76 ) และค่าล่วงเวลาค่าทางาน 1 แห่ง (ร้อยละ 4.76) ซ่ึงความผิดเร่ืองการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับในการทางานมักพบว่าเป็นเพราะสถานประกอบ กจิ การ ส่วนใหญ่มิได้ติดประกาศข้อบังคับการทางาน ซ่ึงได้แก่ การกาหนดวนั หยุด เวลาทางาน เวลาพัก ฯลฯ ให้ลูกจ้างทราบทั่วกัน ซ่ึงตามระเบียบปฏิบัติของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน กาหนดให้นายจ้างต้อง ตดิ ประกาศขอ้ บังคบั การทางานให้ลูกจ้างทราบ พร้อมส่งสาเนาประกาศให้กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ทราบด้วย แต่ในทางปฏิบัติ นายจ้างบางรายมิได้ติดประกาศหรือติดประกาศแต่มิได้ทาสาเนาแจ้งสานักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว ทราบจึงถือว่าปฏิบัติไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ในเร่ืองการปฏิบัติ ไม่ถูกต้องสาหรับข้อบังคับ ยังรวมถึงการไม่จัดทาระเบียบข้อบังคับการทางานอีกด้วย สาหรับเรื่องที่ปฏิบัติ ไม่ถูกต้อง ได้แก่ ข้อบังคับ วันหยุด การจ่ายค่าจ้าง ค่าจ้างข้ันต่า ค่าล่วงเวลาค่าทางาน 11 แห่ง (ร้อยละ 52.38) (แผนภูมทิ ่ี 36) และ (ตารางท่ี 39) (ภาคผนวก) แผนภูมิท่ี 36 เร่ืองท่ีสถานประกอบกิจการในจังหวัดสระแก้ว ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครอง แรงงาน (5 อันดบั แรก) ไตรมาส 2 ปี 2564 7 6 6 ห ่นวยนับ : แห่ง 5 2 การจ่ายค่าจา้ ง 4 11 4 3 ค่าจา้ งข้ันต่า คา่ ล่วงเวลาและคา่ ทางาน ขอ้ บังคบั 2 1 0 วนั หยดุ ท่ีมา : สานักงานสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 37

เมื่ อ พิ จ า ร ณ าต า ม ป ร ะ เภ ท อุ ต ส า ห ก ร ร ม พ บ ว่ า อุ ต ส าห ก ร ร ม ท่ี ป ฏิ บั ติ ไม่ ถู ก ต้ อ ง ต าม ก ฎ ห ม า ย ได้แก่ 1) การขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ฯ (ร้อยละ 71.43) (10 แห่ง) 2) การก่อสร้าง (ร้อยละ 21.43) (3 แห่ง) 3) งานด้านสุขภาพ งานด้านสังคมฯ (ร้อยละ 7.14) (1 แห่ง) (แผนภูมิที่ 37) (ตารางที่ 40) (ภาคผนวก) แผนภูมิท่ี 37 ประเภทอุตสาหกรรมในจังหวัดสระแก้ว ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน (5 อนั ดับแรก) ไตรมาส 2 ปี 2564 12 10 10 8 หน่วยนับ : แห่ง 6 4 0 3 1 2 การผลิต การกอ่ สรา้ ง การขายสง่ ขายปลกี การซ่อมแซมยานยนต์ฯ งานด้านสขุ ภาพ งานด้านสงั คมฯ 0 0 เกษตรกรรม และปา่ ไม้ ทม่ี า : สานักงานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 เม่ือสานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว ตรวจพบว่า สถานประกอบกิจการ ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน จะมีการดาเนินการเพื่อให้สถานประกอบกิจการน้ันปฏิบัติให้ถูกต้อง ตามกฎหมายแรงงาน เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ลูกจ้าง ได้แก่ การแนะนาให้ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง การออกหนังสือเชิญพบ การออกคาสั่งให้ดาเนินการ การเปรียบเทียบปรับ หรือการส่งเรื่องดาเนินคดี ทั้งนี้ การจะดาเนินการในลักษณะใดจะพิจารณาตามความรุนแรงของปัญหา จากตัวเลขข้างต้นพบว่าเรื่องที่ปฏิบัติ ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย 11 แห่ง อัตราปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถานประกอบ กิจการ (ร้อยละ 52.38) ส่วนใหญ่เป็นเร่ืองออกคาส่ังให้ดาเนินการซ่ึงมักจะ ได้แก่ ข้อบังคับการทางาน วันหยุด การจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาและค่าทางาน ตามลาดับ การดาเนินการของเจ้าหน้าที่สาหรับสถาน ประกอบกิจการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ส่วนใหญ่จึงเป็นไปในทางให้คาแนะนา แก่เจ้าของสถานประกอบกิจการเพื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายต่อไปโดยมีสัดส่วน ร้อยละ 71.43 (ขอ้ บังคบั ร้อยละ 42.86 วนั หยดุ ร้อยละ 28.57) (แผนภมู ิท่ี 38) รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 38

แผนภูมิที่ 38 การดาเนินการของเจ้าหน้าท่ีสาหรับสถานประกอบการท่ีปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ในจงั หวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 ออกคาสัง่ ให้ ดาเนินการ 100% ท่ีมา : สานกั งานสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 4.2 การตรวจความปลอดภัยในการทางาน สาหรับการตรวจความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งเป็นเครื่องมือในการคุ้มครองดูแลความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของลูกจ้าง นอกจากน้ีการตรวจความปลอดภัยในการทางาน ยงั เป็นอีกมาตรการหนึ่งทด่ี าเนินการเพื่อกระตนุ้ สง่ เสรมิ ให้เจ้าของสถานประกอบกิจการเหน็ ความสาคัญ และ ตระหนักถึงเรื่องความปลอดภัยในการทางาน เพราะหากการทางานมีความปลอดภัยย่อมส่งผลถึงคุณภาพ ชีวิตที่ดีของผู้ใช้แรงงานตามมา เม่ือคนงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี จะทางานอย่างมีความสุขและจะส่งผล ต่อผลผลิตที่เพ่ิมสูงขึ้นของสถานประกอบกิจการอันนาไปสู่ผลกาไรตามมาน่ันเอง ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 สานกั งานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวดั สระแก้ว ได้ดาเนินการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบ กิจการ ทั้งสิ้น 19 แห่ง ลูกจ้างท่ีผ่านการตรวจท้ังส้ิน 620 คน โดยในไตรมาสนี้ มีการตรวจสถานประกอบ กิจการลดลงจากไตรมาสท่ีแล้ว 71 คน (ไตรมาส 1/64 ตรวจ 20 แห่ง ลูกจ้าง 691 คน) แสดงให้เห็นว่า ในไตรมาสนี้การตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการขนาดเล็กมีสัดส่วนท่ีสูงขึ้นจึงทาให้ จานวน ลูกจา้ งลดลง เนอ่ื งจากสถานประกอบกจิ การมลี กู จ้างน้อย (ตารางท่ี 41) (ภาคผนวก) ประเภทอุตสาหกรรมท่ีมีการตรวจความปลอดภัยในการทางานสูงสุดในไตรมาส 2 ปี 2564 ได้แก่ ประเภทกิจการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่า มีจานวน 8 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 42.11 ของสถานประกอบ กิจการที่ตรวจท้ังหมด) รองลงมาคอื การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ ของใช้ ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือนจานวน 4 แห่ง (ร้อยละ 21.05) การก่อสร้าง 3 แห่ง (ร้อยละ 15.79) การผลิต 3 แห่ง (ร้อยละ 15.79) เกษตรกรรม และป่าไม้ 1 แห่ง (ร้อยละ 5.26) ตามลาดับ (แผนภูมิท่ี 39) และ (ตารางที่ 41) (ภาคผนวก) รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 39

แผนภมู ทิ ี่ 39 ประเภทอุตสาหกรรมในจังหวัดสระแก้ว ที่มกี ารตรวจปลอดภัยในทที่ างาน (5 อนั ดับแรก) ไตรมาส 2 ปี 2564 8 หน่วย ันบ : แ ่หง 10 3 4 9 3 8 การผลิต 7 การกอ่ สรา้ ง การขายส่ง การขายปลกี การ กิจการด้านอสงั หารมิ ทรพั ย์ การให้ 6 5 ซอ่ มแซมยานยนต์ ฯลฯ เชา่ และกิจกรรมทางธุรกิจ 41 3 เกษตรกรรม การล่าสตั ว์ และการปา่ ไม้ ท่ีมา : สานกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 ประเภทอุตสาหกรรมท่ีมีอัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางานสูงสุด ในไตรมาส 2/64 ได้แก่ การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ (ร้อยละ 33.33) (3 แห่ง) และการผลิต (ร้อยละ 33.33) (3 แห่ง) รองลงมาได้แก่ การก่อสร้าง (ร้อยละ 22.22) (2 แห่ง) กิจการดา้ นสงั หารมิ ทรพั ย์ การใหเ้ ช่า (รอ้ ยละ 11.11) (ตารางท่ี 42) (ภาคผนวก) การดาเนินการของเจ้าหน้าที่ในส่ วนของสถานประกอบ กิจการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎ หมาย ความปลอดภัยในการทางาน ประกอบไปด้วยการให้คาแนะนาในวิธีการปฏิบัติท่ีถูกต้อง การออกคาสั่งให้ ส่งเอกสาร เรียกพบ ปรับปรุง หรือหยุดการใช้เครอ่ื งจักร รวมท้ังการส่งเรือ่ งดาเนินคดี ทั้งนี้ ในบางแห่งอาจมี การดาเนินการมากกว่า 1 กรณี สาหรับไตรมาส 2 ปี 2564 ซ่ึงพบว่า มีสถานประกอบการปฏิบัติไม่ถูกต้อง ตามกฎหมายความปลอดภัยจานวน 9 แห่ง ส่วนใหญ่จะดาเนินการโดยให้คาแนะนาเพื่อให้มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัยมากยิ่งขึ้นโดยด้านออกคาสั่งให้ปรับปรุงมากท่ีสุด มีจานวน 9 แห่ง (คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ของการดาเนินการทัง้ หมด) (แผนภูมิที่ 40) รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 40

แผนภูมิท่ี 40 การดาเนินการของเจ้าหน้าท่ีสาหรับสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ความปลอดภยั ในทีท่ างาน ไตรมาส 2 ปี 2564 ปรบั ปรงุ 100% ทมี่ า : สานกั งานสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 4.3 การแรงงานสัมพันธ์ 4.3.1 องค์การนายจา้ ง/ลูกจ้าง นอกเหนือจากภารกิจด้านการคุ้มครองแรงงานและดูแลด้านความปลอดภัย ทั้งแก่ลูกจ้างและ นายจ้างแล้ว กระทรวงแรงงานโดยสานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว ยังมีภารกิจ ในการส่งเสริมและพัฒนาระบบแรงงานสัมพันธ์ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคม เพ่ือป้องกัน ความขัดแย้ง และเสริมสร้างความร่วมมือท่ีดีต่อกันระหว่างนายจ้าง ลูกจ้าง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมาย หลักเพื่อสร้างสันติสุขในวงการแรงงาน ให้นายจ้างและลูกจ้างมีทัศนคติที่ดีต่อกัน ในการทางานเพราะหากนายจ้าง ลูกจ้างมีความเข้าใจกันเป็นอย่างดีย่อมไม่เกิดปัญหาขัดแย้งข้ึน เม่ือปัญหา ข้อขัดแย้งไม่มีพลังในการขับเคล่ือนงานหรือทีมงานก็จะดีนาไปสู่การเพ่ิมผลผลิตหรือเพ่ิมผลิตภาพ ในการปฏิบัติงาน ลูกจ้างหรือ ผู้ใช้แรงงานมีความสุขในการทางานคุณภาพชีวิตย่อมดีขึ้น ขณะเดียวกัน นายจ้างก็มีความสุขเน่ืองจากมีผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็นผลกาไรตามมา ท้ังนี้ ในกลุ่มของนายจ้างและลูกจ้าง จะมีการต้ังองค์การเพื่อทาหน้าท่ีเป็นตัวแทนตนเอง โดยไตรมาส 2 ปี 2564 จังหวัดสระแก้ว ไม่มีองค์กร นายจา้ ง/องค์การลกู จา้ ง (แผนภมู ิที่ 41) (แผนภูมทิ ี่ 42) แผนภมู ทิ ี่ 41 องค์การนายจ้างจังหวดั สระแก้ว แผนภมู ิท่ี 42 องค์การลูกจา้ งจังหวัดสระแก้ว หนว่ ยนบั : องค์การ สภาองค์การนายจ้าง 0 สภาองค์กรลกู จา้ ง 0 สหพันธน์ ายจ้าง 0 สหพนั ธ์แรงงาน 0 สมาคมนายจา้ ง 0 สหภาพแรงงานในกจิ การเอกชน 0 สหภาพแรงงานรฐั วสิ าหกจิ 0 ท่มี า : สานกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 41

4.3.2 ข้อเรียกร้อง/ขอ้ พิพาท/ขอ้ ขัดแย้ง ในจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 สาหรับการเกิดข้อเรียกร้อง/ข้อพิพาทแรงงานและข้อขัดแย้งในรอบไตรมาส 2/64 พบว่า ไมม่ ขี อ้ เรยี กร้อง/ข้อพิพาทแรงงาน และข้อขัดแย้งแรงงาน (ตารางท่ี 43) (ภาคผนวก) 4.4 สวัสดิการแรงงาน กิจกรรมท่ีช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ใช้แรงงานมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นนอกเหนือจากการตรวจ สถานประกอบกิจการเพ่ือให้การคุ้มครองให้ผู้ใช้แรงงานตามที่ได้กล่าวมาแล้ว สานักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว ยังมีการส่งเสริมการจัดสวัสดิการแรงงานในสถานประกอบกิจการ โดยในไตรมาส 2 ปี 2564 ได้ดาเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการจัดสวัสดิการในรูปแบบต่างๆ แก่ลูกจ้างหรือผู้ใช้แรงงาน ดังน้ี 1) ส่งเสริมการให้บริการด้านสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากท่ีกฎหมาย กาหนด 16 แห่ง ลูกจ้างท่ีได้รับการส่งเสริม 827 คน 2) มีการดาเนินการพัฒนาเด็กปฐมวัยศูนย์เด็กเล็ก ไม่มีในไตรมาสนี้ 3) ให้บริการเงินกู้กองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงานในสถานประกอบกิจการ 16 แห่ง ลูกจ้างที่ได้รับ การส่งเสริม 827 คน 4) มีการส่งเสริมความรู้เก่ียวกับสวัสดิการแรงงานโดยการอบรมให้ความรู้แก่นายจ้าง ลูกจ้าง ผู้ใช้แรงงาน ไม่มีในไตรมาสนี้ และ 5) มีการจัดคาราวานแก้จนเพ่ือให้บริการด้านสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน ไม่มใี นไตรมาสน้ี (ตารางที่ 44) (ภาคผนวก) 4.5 การเลิกจ้าง สานักงานประกันสังคมจังหวัดสระแก้ว รายงานสถานการณ์เลิกจ้าง ไตรมาส 2 ปี 2564 การเลิกจ้างงานในสถานประกอบการ จานวน 36 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง 59 คน เป็นสถานประกอบการ ขนาดเล็ก คือขนาด 1 – 9 คน จานวน 34 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง 35 คน ขนาด 10 คนขึ้นไป จานวน 2 แห่ง ลกู จ้างทถี่ กู เลกิ จา้ ง 24 คน (แผนภมู ทิ ่ี 43 และ 44) แผนภูมิท่ี 43 สถานประกอบการท่ีเลิกกิจการ และลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้างในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตาม ขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 2 ปี 2564 สถานประกอบการทีเ่ ลิกกจิ การ (แหง่ ) 40 34 35 ลูกจ้างท่ีถูกเลิกจ้าง (คน) 35 30 24 25 แ ่หง/คน 20 15 10 52 0 1-9 คน 10 คน ขึ้นไป ขนาดสถานประกอบการ ทม่ี า : สานกั งานประกันสังคมจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 42

แผนภูมิที่ 44 สถานประกอบการที่เลิกกิจการ และลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้างในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตาม ประเภทกจิ การ ไตรมาส 2 ปี 2564 อนื่ ๆ 18 34 สถาบนั การเงิน บรกิ ารด้านธุรกิจ 14 8 การก่อสร้าง รา้ นขายอาหาร โรงแรม ห้องเชา่ 11 จานวนผูถ้ ูกเลิกจา้ ง (คน) รา้ นสินคา้ เบด็ เตลด็ การคา้ อนื่ ๆ 44 จานวนสถานประกอบการ (แห่ง) การค้าเคร่ืองไฟฟา้ ยานพาหนะ 44 12 ที่มา : สานกั งานประกนั สังคมจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 4.6 การประสบอนั ตราย/เจ็บป่วยในการทางาน (กองทุนเงนิ ทดแทน) สาหรับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทางานในรอบไตรมาส 2 ปี 2564 พบว่า การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องมาจากการทางานมีท้ังส้ิน 36 คน โดยสถานประกอบการ ท่ีมีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยสูงสุด คือ สถานประกอบการขนาดกลางที่มีลูกจ้าง 51 - 100 คน และ 101 - 200 คน มีจานวน 8 คน (คิดเป็นร้อยละ 22.22) รองลงมาคือขนาด 11 - 20 คน จานวน 6 คน (ร้อยละ 16.67) ซึ่งมีสัดส่วนใกล้เคียงกับขนาด 10 คน ลงมา 201 - 500 คน มากกว่า 1,000 คน กล่าวคือ มจี านวน 4 คน (ร้อยละ 11.11) ตามลาดับ ส่วนสถานประกอบการขนาด 21 - 50 คน มีการประสบอนั ตราย หรือเจ็บป่วยเน่ืองจากการทางานน้อยท่ีสุดคือ จานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 5.56) เท่าน้ัน (แผนภูมิที่ 45) และ (ตารางท่ี 48) (ภาคผนวก) รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 43

แผนภูมิท่ี 45 ผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทางาน จาแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 2 ปี 2564 9 88 8 ห ่นวย ันบ : คน 7 6 44 6 2 5 11 -20 คน 21 -50 คน 51 - 100 คน 101 - 200 คน 201- 500 คน 501 - 1000 คน 1,000 คน ขน้ึ ไป 4 ขนาดสถานประกอบการ 4 3 2 1 0 10 คน ลงมา ทมี่ า : สานกั งานประกันสงั คมจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 เมื่อพิจารณาผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทางาน 36 คน ตามประเภทความร้ายแรง พบว่าส่วนใหญ่จะหยุดงานไม่เกิน 3 วัน กล่าวคือมีจานวน 18 คน (คิดเป็นร้อยละ 50) รองลงมาเป็น ผู้หยุดงานเกิน 3 วัน จานวน 17 คน (ร้อยละ 47.22) และผู้ที่เสียชีวิตมีจานวน 1 คน (คิดเป็นร้อยละ 2.78) ส่วนสูญเสียอวัยวะบางส่วน และผู้ประสบอันตรายจนถึง ทุพพลภาพ ไม่มีในไตรมาสน้ี ซึ่งเมอื่ เปรียบเทียบกับ จานวนผู้ประสบอันตรายท้ังหมดพบว่า จานวน ดังกล่าวไม่สามารถคานวณหาค่าร้อยละได้เนื่องจากมีจานวน นอ้ ยมากนั่นเอง (แผนภูมิที่ 46) แผนภมู ทิ ี่ 46 ผู้ประสบอนั ตรายหรือเจบ็ ป่วยเนอื่ งจากการทางานจังหวัดสระแกว้ จาแนกตาม ความรา้ ยแรง การประสบอันตราย ไตรมาส 2 ปี 2564 ตาย 3% หยุดงานไม่เกิน 3 วัน50% หยดุ งานเกนิ 3 วนั 47% ทม่ี า : สานกั งานประกันสงั คมจังหวดั สระแก้วไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 44

สาหรับสาเหตุการประสบอันตรายเนื่องจากการทางานพิจารณาใน 5 อันดับแรก สรุปได้ดังนี้ 1) วัตถุ/ส่ิงของกระแทก/ชน มีจานวน 9 คน (คิดเป็นร้อยละ 25 ของสาเหตุการประสบอันตรายทั้งหมด) 2) วัตถุหรือส่ิงของตัด/บาด/ทิ่มแทง มีจานวน 7 คน (ร้อยละ 19.44) 3) ตกจากที่สูง จานวน 4 คน (ร้อยละ 11.11) 4) พังทลายหล่นทับและวัตถุหนีบดึง มีจานวน 3 คน (ร้อยละ 8.33) และ 5) วัตถุ/ส่ิงของ/ สารเคมี กระเด็นเข้าตา และประสบอันตรายจากท่าทางการทางาน จานวน 2 คน (ร้อยละ 5.56) (แผนภูมิ 49) และ (ตารางท่ี 49) (ภาคผนวก) แผนภูมิที่ 47 ผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเน่ืองจากการทางานจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามสาเหตุ ประสบอันตราย (5 อนั ดบั แรก) ไตรมาส 2 ปี 2564 59 4 7 3 ห ่นวยนับ : คน 24 3 3 1 0 ตกจากท่สี ูง วัตถหุ รอื ส่ิงของพังทลายหล่นทบั วัตถุหรือสิ่งของกระแทก/ชน วัตถุหรอื ส่ิงของหนบี /ดงึ วตั ถหุ รอื สิง่ ของตัด/บาด/ท่มิ แทง ทมี่ า : สานกั งานประกนั สังคมจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 5. การประกันสังคม ภารกิจด้านการประกันสังคมเป็นอีกภารกิจท่ีกระทรวง โดยสานักงานประกันสังคมจังหวัดสระแก้ว มหี นา้ ทีต่ ้องดแู ลผู้ใช้แรงงาน เพื่อใหม้ ีคณุ ภาพชีวิตท่ีดขี ึ้นและมีหลักประกันชวี ิตท่ีม่ันคงเม่ือยามแก่ชราอีกด้วย ข้อมูล ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2564 พบว่า ในจังหวัดสระแก้ว มีผู้ประกันตนทั้งสิ้น 69,114 คน จาแนกเป็น มาตรา 33 จานวน 22,551 คน มาตรา 39 จานวน 7,599 คน และมาตรา 40 38,994 คน (แผนภูมิท่ี 48) และมีสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมท้ังสิ้น 1,542 แห่ง โดยส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการ ขนาดต่ากว่า 10 คน คือมีจานวน 1,130 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 73.28) สาหรบั ผู้ประกันตนทั้งส้ิน 22,551 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกันตนในสถานประกอบการขนาด 100 - 199 คน 3,682 คน (คิดเป็นร้อยละ 16.33) (แผนภูมิที่ 49) รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 45

แผนภูมทิ ี่ 48 ผ้ปู ระกนั ตนในจงั หวดั สระแก้ว จาแนกตามมาตรา ไตรมาส 2 ปี 2564 ห ่นวย ันบ : คน 45,000 22,551 38,994 40,000 มาตรา 33 มาตรา 40 35,000 7,599 30,000 มาตรา 39 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0 ทีม่ า : สานกั งานประกันสังคมจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 แผนภูมิที่ 49 สถานประกอบการและผู้ประกันตนในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามมาตรา ไตรมาส 2 ปี 2564 4,000 816 2,893 สถานประกอบกจิ การ (แห่ง) 3,682 3,300 900 3,500 800 ผปู้ ระกันตน (คน) 700 3,000 3,379 2,500 2,796 600 2,000 500 คน แ ่หง 2,000 1,739 1,500 314 400 1,437 300 1,000 211 1,325 200 116 500 42 27 13 100 2 1 00 1 - 4 คน 5 - 9 คน 10 - 19 คน 20 - 49 คน 50 - 99 คน 100 - 199 คน 200 - 499 คน 500 - 999 คน 1,000 คน ขึ้นไป ท่มี า : สานกั งานประกนั สังคมจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 ปัจจุบันจังหวัดสระแก้ว มีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมท่ีเป็นสถานพยาบาลของรัฐบาล จานวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลทั้งหมด และสถานพยาบาลเอกชน ไม่มีในไตรมาสน้ี (แผนภมู ทิ ่ี 50) รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 46

แผนภมู ทิ ี่ 50 สถานพยาบาลในระบบประกนั สงั คมในจงั หวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 เอกชน 0% รัฐบาล 100% ทมี่ า : สานกั งานประกนั สงั คมจงั หวัดสระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 จานวนการใช้บริการของกองทุนประกันสังคม พิจารณาตามประเภทของประโยชน์ทดแทน ซ่ึงมี 7 กรณีได้แก่ เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน พบว่า จานวน ผู้ใช้บริการมีท้ังสิ้น 50,042 ราย ซึ่งจานวนผู้ใช้บริการในไตรมาสน้ีเพิ่มข้ึนจากไตรมาสที่แล้วท่ีมีจานวน 32,946 คน สาหรับประเภทประโยชน์ทดแทน ที่ผู้ประกันตนใช้บริการสูงสุดในไตรมาสน้ีได้แก่ กรณีสงเคราะห์บุตร มีผู้ประกันตนใช้บริการ 33,013 ราย (คิดเป็นร้อยละ 65.97 ของผู้ใช้บริการทั้งหมด) รองลงมาได้แก่กรณีว่างงาน ชราภาพ และเจ็บป่วย โดยมีสัดส่วน (ร้อยละ 15.05, 11.38 และ 5.26) ตามลาดบั (แผนภูมิที่ 51) แผนภูมิที่ 51 ผู้ประกันตนที่ใช้บริการกองทุนประกันสังคมในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามประเภท ประโยชน์ทดแทน ไตรมาส 2 ปี 2564 35,000 33,013 30,000 ราย 25,000 20,000 15,000 2,630 552 530 5,693 7,533 10,000 เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ วา่ งงาน 5,000 91 ตาย สงเคราะหบ์ ตุ ร ชราภาพ 0 ทมี่ า : สานกั งานประกันสังคมจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 47

หากพิจารณ าตามปริมาณ การจ่ายเงินประโยชน์ทดแทน จะพบว่ามีการจ่ายเงินท้ังสิ้น 148,216,767.96 ล้านบาท โดยกรณีว่างงานมีการจ่ายเงินสูงสุดถึง 39,658,451.75 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 26.76 ของเงินประโยชน์ทดแทนที่จ่าย) รองลงมาคอื กรณีชราภาพ จ่ายเงินประโยชน์ทดแทน 37,624,441.62 ล้านบาท (ร้อยละ 25.38) และกรณีสงเคราะห์บุตร 27,559,600 ล้านบาท (ร้อยละ 18.59) ตามลาดับ (แผนภมู ิท่ี 52) แผนภูมิท่ี 52 การจ่ายเงินประโยชน์ทดแทนในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามประเภทประโยชน์ทดทน ไตรมาส 2 ปี 2564 45,000,000 37,624,442 39,658,452 40,000,000 35,000,000 30,000,000 27,559,600 ล้านบาท 25,000,000 20,282,244 20,000,000 15,000,000 13,781,563 10,000,000 6,408,396 5,000,000 2,902,072 0 คลอดบุตร ทพุ พลภาพ ตาย สงเคราะหบ์ ุตร ชราภาพ วา่ งงาน เจบ็ ปว่ ย ทมี่ า : สานกั งานประกันสงั คมจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 6. ปัญหาด้านแรงงานทีส่ าคญั การวิเคราะห์ปัญหาแรงงานที่สาคัญตามสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนในพื้นที่ ในไตรมาสน้ียังไม่พบปัญหา แรงงานในพนื้ ท่จี งั หวัดสระแก้วแต่อยา่ งใด 7. ผลการดาเนินงานทส่ี าคัญตามนโยบายรฐั บาล/นโยบายกระทรวงแรงงาน (การรายงานผลการดาเนินงานที่สาคัญตามภารกิจที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล หรือนโยบาย กระทรวงแรงงาน เช่น การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน , การแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานเด็ก การต่อต้านยาเสพติด , To Be Number One , ส่งเสริม คุ้มครอง พัฒนา และสร้างหลักประกันทางสังคม สูแ่ รงงานนอกระบบ เป็นต้น) ตวั อยา่ งเชน่ ดาเนินการเพื่อให้ประชาชนวัยแรงงานในพื้นที่มีอาชีพและ/หรือรายได้เพ่ิมข้ึน โดยการแก้ไขปัญหา และพัฒนาจังหวัด เพ่ือให้ประชาชนวัยแรงงานในพ้ืนท่ีมีอาชีพ และ/หรือมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยให้อาสาสมัคร แรงงาน เป็นสื่อกลางในการนาภารกิจของกระทรวงแรงงานไปสู่ประชาชน ในพื้นท่ีท่ีมีความต้องการมีงานทา การพัฒนาทักษะฝีมือ การได้รับความคุ้มครองด้านแรงงาน ตลอดจนได้รับสิทธิประโยชน์จากการเป็น ผู้ประกันตน ทั้งน้ี อาสาสมคั รแรงงานประจาตาบลจงั หวัดสระแก้ว จานวน 59 คน สามารถเพ่ิมประสทิ ธิภาพ การให้บริการด้านแรงงานในจังหวัดสระแก้ว และเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านแรงงานระดับตาบล อาเภอ ตลอดจนการจัดกจิ กรรมต่างๆ ให้กับประชาชนวัยแรงงานในพื้นที่ เช่น การฝึกอบรมทักษะฝีมือกาลังแรงงาน ให้เป็นแรงงานคุณภาพ ผลการฝึกอบรมทักษะอาชีพ โครงการแก้ปัญหาความเดือดร้อนด้านอาชีพ รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 48

จานวน 9 รุ่น 180 คน และโครงการส่งเสริมการจ้างงานเด็กจบใหม่ สาหรับผู้จบการศึกษาใหม่ เป็นต้น โดยผู้จบการศึกษาใหม่ สมัคร 492 ราย และนายจ้าง สมัคร 37 ราย ผู้จบการศึกษาใหม่ได้รับการบรรจุงาน จานวน 52 ราย 8. เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษสระแกว้ (SEZ) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสระแก้วอยู่ในกลุ่มเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะท่ี 1 ใน 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดตาก จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดสงขลา จังหวัดตราดและจังหวัดสระแก้ว โดยในส่วนของ จังหวัดสระแก้ว ได้ดาเนินการในพื้นที่ 4 ตาบล ของ 2 อาเภอ ได้แก่ตาบลผักขะ อาเภอวัฒนานคร ตาบล บ้านด่าน ตาบลปา่ ไรแ่ ละตาบลทา่ ข้าม อาเภออรญั ประเทศ รวมพืน้ ท่ี 207,500 ไร่ หรอื คิดเป็น 332 ตร.กม. ทมี่ า : SEZ เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษสระแกว้ การคมนาคมขนสง่ - สามารถเชอ่ื โยงกบั ท่าเรอื แหลมฉบงั ระยะทางประมาณ 250 กโิ ลเมตร - มีเสน้ ทางถนนเช่ือมโยงกบั ทางหลวงหมายเลข 6 ของประเทศกัมพชู า และเชอ่ื มโยงกับเสน้ ทางหมายเลข 71 เข้าสูก่ รุงพนมเปญ ประเทศกมั พูชา มีการพัฒนาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 3 แห่ง ได้แก่ ปอยเปต-โอเนยี ง ซันโค-ปอยเปต และบริเวณ เมอื งศรโี สภณ สิทธิประโยชน์ด้านต่างๆ สิทธิประโยชน์สาหรับการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนของไทย จัดอยู่ในระดับสูงสุด ของประเทศและเพียงพอท่ีจะแข่งขันกับเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศเพื่อนบ้าน เม่ือรวมกับการที่ไทย มีความได้เปรียบด้านท่ีตั้งและมีศักยภาพพัฒนาเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค มีโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีครอบคลุม และได้มาตรฐานมีวัตถุดิบ และทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพ รวมท้ังมีการอานวยความสะดวกการลงทุน ในรปู แบบตา่ งๆ ทาให้มคี วามได้เปรียบในการดงึ ดดู การลงทนุ มายงั พ้นื ท่ีเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษชายแดน รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 2 ปี 2564 49

การบริหารจัดการดา้ นแรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน (SEZ) 1) โครงการเพม่ิ ทกั ษะกาลงั แรงงานในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ สานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานสระแก้วได้ดาเนินการฝึกอบรม หลักสูตรเทคนิคการสร้างร้านค้าและขาย สินค้าออนไลน์ (ผ่านระบบ Zoom meeting) ระหวา่ งเดอื น เมษายน – มถิ ุนายน 2564 จานวน 52 คน 2) การตรวจความปลอดภัยในการทางานสถานประกอบกิจการในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ สานกั งานสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานดาเนินการตรวจความปลอดภยั ในการทางาน สถานประกอบกจิ การในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ จานวน 6 แหง่ 3) ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคลตัง้ ใหม่ (เม.ย.-ม.ิ ย.64) -จานวนนิตบิ ุคคลตั้งใหม่ จานวน 4 แห่ง ทุนจดทะเบยี นจดทะเบยี น 6 ล้านบาท -ธรุ กิจจัดตั้งสงู สดุ 3 อันดับแรก *กรณีท่ีจานวนนิตบิ ุคคลเท่ากันจะเรยี งลาดับตามทุนจดทะเบยี น* 1) การขายส่ง ขายปลกี และจาหน่ายสง่ ออก-นาเขา้ ยงั ตา่ งประเทศ สินคา้ ตามวัตถุประสงค์ จานวน 1 แหง่ ทุนจดทะเบยี น 3.00 ล้านบาท 2) การขนสง่ /สถานทเ่ี ก็บสนิ คา้ จานวน 1 แห่ง ทนุ จดทะเบยี น 1.00 ลา้ นบาท 3) การรับซื้อวัสดุ สิ่งของไมใ่ ชแ้ ลว้ มาจาหนา่ ย และมาแปรสภาพจาหนา่ ย จานวน 1 แหง่ ทนุ จดทะเบียน 1.00 ลา้ นบาท 9. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จงั หวัดสระแก้ว การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นับตั้งแต่ต้นปี 2563 จนถึงปัจจุบัน ท่ีประเทศไทยและทั่วโลกประสบปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เป็นเวลา 2 ปีกว่าแล้ว โดยเฉพาะ ต่างประเทศ ที่กาลังประสบปัญหาผู้ติดเช้ือเพิ่มขึ้น บางประเทศเพ่ิมขึ้นนับแสนรายต่อวัน จานวนผู้เสียชีวิต เพิ่มขนึ้ จนเปน็ เรื่องที่เหน็ ได้เปน็ ปกติ (ระลอกเมษายน 2564) สาหรับประเทศไทยกาลังเผชญิ วิกฤตโควิดระบาดระลอกท่ีสาม ตั้งแต่ต้นเดือนเมษายนปนี ี้จนปัจจุบัน และคาดว่าอาจต้องใช้เวลาท่ียืดยาวกว่าการควบคุมในสองระลอกที่ผ่านมา จากการแพรร่ ะบาดของไวรัสโควิด 19 ระลอกสาม ซ่ึงเป็น “โควิดกลายพันธุ์” สายพันธ์ุอังกฤษ และอีกอันดับ (เดลต้า) ตัวเลขผู้ติดเช้ือโควิด รายวันพุ่งขึ้นไม่หยุดจนถึงขณะนี้เป็นตัวเลขจากความรุนแรง พบจานวนผู้ติดเช้ือรายใหม่เพิ่มขึ้นหลักพันคน ต่อวัน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสระแก้ว รายงานการดาเนินการศูนย์ประสานงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศปค.รง.จังหวัดสระแก้ว ข้อมูล ณ วันท่ี 1 เมษายน – 30 มิถุนายน 2564 (ในห้วงไตรมาส 2/2564) พบผู้ติดเช้ือรายใหม่ 9 ราย ผู้ติดเช้ือสะสม 1,448 ราย เสียชีวิต 9 ราย ในสถานประกอบการ ยังไม่พบผู้ประกันตน เป็นผู้ติดเช้ือรายใหม่ การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก สานักงานแรงงาน จังหวัดสระแก้ว บูรณาการตรวจตรวจประเมินมาตรการ Bubble & Seal โรงงานขนาด 200 คนขึ้นไป จาน วน 3 แ ห่ ง (100% ) แรงงาน 908 ค น พ ร้อ ม ท้ั งป ระช าสั ม พั น ธ์ม าต รการ D-M-H-T-T ของกรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข ใหส้ ถานประกอบการทกุ แห่งปฏบิ ัตติ ามอยา่ งเครง่ ครดั ถึงแม้จะ รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสระแกว้ ไตรมาส 2 ปี 2564 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook