Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คอมพิวเตอร์พื้นฐาน

คอมพิวเตอร์พื้นฐาน

Published by jaturunknt, 2021-03-13 04:11:11

Description: คอมพิวเตอร์พื้นฐาน

Search

Read the Text Version

ความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ 1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ คอื อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีทำงำนตำมชุดคำสง่ั อยำ่ งอตั โนมตั ิ โดยจะทำกำรคำนวณเปรียบเทยี บ ทำงตรรกกบั ข้อมลู และให้ผลลพั ธ์ออกมำตำมต้องกำร โดยมนษุ ย์ไมต่ ้องเข้ำไปเก่ียวข้องในกำรประมวลผล 1.2 คณุ สมบัตขิ องคอมพวิ เตอร์ ปัจจุบนั นีค้ นสว่ นใหญ่นิยมนำคอมพิวเตอร์มำใช้งำนตำ่ ง ๆ มำกมำย ซึ่งผ้ใู ช้สว่ นใหญ่มักจะคิดวำ่ คอมพิวเตอร์ เป็ นเคร่ืองมือที่สำมำรถทำงำนได้สำรพัด แต่ผู้ที่มีควำมรู้ทำงคอมพิวเตอร์จะทรำบว่ำ งำนที่เหมำะกับกำรนำ คอมพิวเตอร์มำใช้อย่ำงย่ิงคือกำรสร้ำง สำรสนเทศ ซึ่งสำรสนเทศเหล่ำนนั้ สำมำรถนำมำพิมพ์ออกทำงเครื่องพิมพ์ สง่ ผำ่ นเครือขำ่ ยคอมพวิ เตอร์ หรือจดั เก็บไว้ใช้ในอนำคตก็ได้ เนือ่ งจำกคอมพวิ เตอร์จะมีคณุ สมบตั ิตำ่ ง ๆ คือ 1.2.1 ความเป็ นอตั โนมตั ิ (Self Acting) กำรทำงำนของคอมพวิ เตอร์จะทำงำนแบบอตั โนมตั ิภำยใต้คำสง่ั ทไ่ี ด้ ถกู กำหนดไว้ ทำงำนดงั กลำ่ วจะเริ่มตงั้ แตก่ ำรนำข้อมลู เข้ำสรู่ ะบบ กำรประมวลผลและแปลงผลลพั ธ์ออกมำให้อยใู่ น รูปแบบทม่ี นษุ ย์เข้ำใจได้ 1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจบุ นั นสี ้ ำมำรถทำงำนได้ถงึ ร้อยล้ำนคำสงั่ ในหนง่ึ วินำที 1.2.3 ความเช่ือถอื (Reliable) คอมพิวเตอร์ทกุ วนั นจี ้ ะทำงำนได้ทงั้ กลำงวนั และกลำงคนื อย่ำงไม่มีข้อผิดพลำด และไม่รู้จกั เหน็ดเหนือ่ ย 1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นนั้ จะให้ผลของกำรคำนวณที่ถูกต้องเสมอหำกผล ของกำรคำนวณผดิ จำกที่ควรจะเป็ น มกั เกิดจำกควำมผิดพลำดของโปรแกรมหรือข้อมลู ท่ีเข้ำสโู่ ปรแกรม 1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั จะมีท่ีเก็บข้อมลู สำรองที่มีควำมสงู มำกกวำ่ หนึ่งพนั ล้ำนตวั อักษร และสำหรับระบบคอมพวิ เตอร์ขนำดใหญ่จะสำมำรถ เก็บข้อมลู ได้มำกกวำ่ หนง่ึ ล้ำน ๆ ตวั อกั ษร 1.2.6 ย้ายข้อมูลจากทหี่ น่ึงไปยงั อกี ทีหนึง่ ได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้กำรตดิ ตอ่ สอื่ สำรผำ่ น ระบบเครือขำ่ ยคอมพวิ เตอร์ซงึ่ สำมำรถสง่ พจนำนกุ รมหนงึ่ เลม่ ในรูปของข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์ ไปยงั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ี อยไู่ กลคนซกี โลกได้ในเวลำเพยี งไม่ถึงหนงึ่ วินำที ทำให้มีกำรเรียกเครือขำ่ ยคอมพวิ เตอร์ทเ่ี ช่ือมกนั ทว่ั โลกในปัจจบุ นั วำ่ ทำงดว่ นสำรสนเทศ (Information Superhighway)

2 1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) ช่วยลดปั ญหำเร่ืองควำมอ่อนล้ำจำกกำรทำงำนของแรงงำนคน นอกจำกนีย้ ังลดควำมผิดพลำดต่ำงๆได้ดีกว่ำด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยำกหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตำม จะ สำมำรถคำนวณและหำผลลพั ธ์ได้อยำ่ งรวดเร็ว 1.3 ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ จำแนกหน้ำท่ีของฮำร์ดแวร์ต่ำงๆ สำมำรถแบ่งเป็ นส่วนสำคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้ำ (Input Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ์ แสดงผล (Output Device) รูปท่ี 1 แสดงวงจรกำรทำงำนของคอมพวิ เตอร์ 1.3.1 อุปกรณ์นาข้อมลู เข้า (Input Device) รูปท่ี 2 อปุ กรณ์นำเข้ำแบบตำ่ งๆ ที่พบเหน็ ในปัจจบุ นั

3 เป็ นอุปกรณ์ทเ่ี ก่ียวข้องกับกำรนำเข้ำข้อมลู หรือชุดคำสง่ั เข้ำมำยงั ระบบเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลตอ่ ไปได้ ซง่ึ อำจจะเป็ น ตวั เลข ตวั อกั ษร ภำพนิง่ ภำพเคลอื่ นไหว เสยี ง เป็ นต้น 1.3.2 อปุ กรณ์ประมวลผล (Processing Device) อปุ กรณ์ประมวลผลหลกั ๆ มีดงั นี ้ 1.3.2.1 ซพี ยี ู (CPU-Central Processing Unit) หนว่ ยประมวลผลกลำงหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนงึ่ วำ่ โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นบั เป็ นอุปกรณ์ทีม่ ีควำมสำคญั มำกทส่ี ดุ ของฮำร์ดแวร์ เพรำะมีหน้ำท่ีในกำร ประมวลผลข้อมลู ท่ีผ้ใู ช้ป้ อนเข้ำมำทำงอุปกรณ์นำเข้ำข้อมูลตำมชุดคำสง่ั หรือโปรแกรมท่ีผ้ใู ช้ต้องกำรใช้งำน หน่วย ประมวลผลกลำง 1.3.2.2 หน่ วยความจาหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่ำ หน่วยควำมจำภำยใน (Internal Memory) สำมำรถแบง่ ออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็ นหน่วยควำมจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สำมำรถเรียกออกมำใช้งำนได้แตจ่ ะไมส่ ำมำรถเขยี นเพิ่มเติมได้ และแม้วำ่ จะไม่มีกระแสไฟฟ้ ำไปเลยี ้ งให้แก่ระบบข้อมูล ก็ไม่สญู หำยไป - แรม (Random Access Memory) เป็ นหน่วยควำมจำที่สำมำรถเก็บข้อมูลได้ เมื่อมี กระแสไฟฟ้ ำหลอ่ เลยี ้ งเทำ่ นนั้ เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ ำมำเลยี ้ งข้อมลู ทอ่ี ยใู่ นหนว่ ยควำมจำชนดิ นจี ้ ะหำยไปทนั ที 1.3.2.3 เมนบอร์ด (Main board) เป็ นแผงวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรทำงำนของ คอมพิวเตอร์ทงั้ หมด ถือได้วำ่ เป็ นหวั ใจหลกั ของ พีซีทุกเครื่อง เพรำะจะบอกควำมสำมำรถของเคร่ืองวำ่ จะใช้ซีพียอู ะไร ได้บ้ำง มีประสทิ ธิภำพเพียงใด สำมำรถรองรับกบั อปุ กรณ์ใหมไ่ ด้หรือไม่ รูปท่ี 3 เมนบอร์ด หรือแผงวงจรหลกั

4 1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเป็ นชิปจำนวนหนึง่ หรือหลำยตัวที่บรรจุวงจรสำคญั ๆ ที่ช่วยกำร ทำงำนของซีพียู และติดตงั้ ตำยตวั บนเมนบอร์ดถอดเปลยี่ นไม่ได้ ทำหน้ำท่ีเป็ นตวั กลำงประสำนงำนและควบคุมกำร ทำงำนของหนว่ ยควำมจำรวมถงึ อุปกรณ์ต่อพว่ งต่ำงทงั้ แบบภำยในหรือภำยนอกทุกชนดิ ตำมคำสง่ั ของซพี ียู เชน่ SiS, Intel, VIA, AMD เป็ นต้น 1.3.3 หน่วยเกบ็ ข้อมลู สารอง (Secondary Storage Device) เนื่องจำกหน่วยควำมจำหลกั มีพืน้ ที่ไม่เพียงพอในกำรเก็บข้อมูลจำนวนมำกๆ อีกทงั้ ข้อมูลจะหำยไปเมื่อปิ ด เครื่อง ดงั นนั้ จำเป็ นต้องหำอุปกรณ์เก็บข้อมลู ทม่ี ีขนำดใหญ่ขนึ ้ เช่น 1.3.3.1 ฮาร์ ดดิสก์ (Hard Disk) เป็ นฮำร์ดแวร์ที่ทำหน้ำท่ีเก็บข้อมูลในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทัง้ โปรแกรมใช้งำนต่ำงๆ ไฟล์เอกสำร รวมทัง้ เป็ นท่ีเก็บระบบปฏิบัติกำรที่เป็ นโปรแกรมควบคุมกำรทำงำนของเครื่อง คอมพวิ เตอร์ด้วย 1.3.3.2 ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็ นอุปกรณ์บนั ทึกข้อมูลที่มีขนำด 3.5 นิว้ มีลกั ษณะเป็ นแผน่ กลมบำงทำจำกไมลำร์ (Mylar) สำมำรถบรรจขุ ้อมลู ได้เพยี ง 1.44 เมกะไบต์ เทำ่ นนั้ ีี 1.3.3.3 ซดี ี (Compact Disk - CD) เป็ นอุปกรณ์บนั ทกึ ข้อมลู แบบดิจิทลั เป็ นสอื่ ท่ีมีขนำดควำมจสุ งู เหมำะสำหรับบนั ทกึ ข้อมลู แบบมลั ติมีเดยี ซีดรี อมทำมำจำกแผน่ พลำสติกกลมบำงท่ีเคลอื บด้วยสำรโพลคี ำร์บอเนต (Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้ำเป็ นมนั สะท้อนแสง โดยมีกำรบนั ทกึ ข้อมลู เป็ นสำยเดียว (Single Track) มีขนำด เส้นผำ่ ศนู ย์กลำงประมำณ 120 มิลลเิ มตร ปัจจบุ นั มีซดี อี ยหู่ ลำยประเภท ได้แก่ ซดี เี พลง (Audio CD) วีซดี ี (Video CD - VCD) ซีด-ี อำร์ (CD Recordable - CD-R) ซีด-ี อำร์ดบั บลวิ (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวดี ี (Digital Video Disk - DVD) ส่ือเก็บข้อมลู อ่ืนๆ 1) รีมฟู เอเบลิ ไดร์ฟ (Removable Drive) เป็ นอุปกรณ์เก็บข้อมลู ทไ่ี ม่ต้องมีตวั ขบั เคลอ่ื น (Drive) สำมำรถ พกพำไปไหนได้โดยตอ่ เข้ำกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ด้วย Port USB ปัจจบุ นั ควำมจขุ องรีมฟู เอเบลิ ไดร์ฟ มีตงั้ แต่ 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถงึ 1024 เมกะไบต์ ทงั้ นยี ้ งั มีไดร์ฟลกั ษณะเดียวกนั เรียกในช่ืออ่ืนๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive 2) ซบิ ไดร์ฟ (Zip Drive) เป็ นสอ่ื บนั ทกึ ข้อมลู ทจ่ี ะมำแทนแผน่ ฟลอ็ ปปี ด้ ิสก์ มีขนำดควำมจุ 100 เมกะไบต์ ซง่ึ กำรใช้งำนซิปไดร์ฟจะต้องใช้งำนกบั ซปิ ดิสก์ (Zip Disk) ควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมลู ของซปิ ดสิ ก์จะเก็บข้อมลู ได้ มำกกวำ่ ฟลอ็ ปปี ด้ ิสก์ 3) Magnetic optical Disk Drive เ ป็ น สื่ อ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ข น ำ ด 3.5 นิ ้ ว ซ่ึ ง มี ข น ำ ด พ อ ๆ กั บ ฟลอ็ บปี ด้ ิสก์ แตข่ นำดควำมจุมำกกวำ่ เพรำะว่ำ MO Disk drive 1 แผ่นสำมำรถบันทึกข้อมูลได้ตงั้ แต่ 128 เมกะไบต์ จนถงึ ระดบั 5.2 กิกะไบต์

5 4) เทปแบค็ อัพ (Tape Backup) เป็ นอปุ กรณ์สำหรับกำรสำรองข้อมลู ซง่ึ เหมำะกบั กำรสำรองข้อมลู ขนำด ใหญ่มำกๆ ขนำดระดบั 10-100 กิกะไบต์ 5) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็ นอุปกรณ์บนั ทกึ ข้อมลู ที่มีขนำดเลก็ พฒั นำขนึ ้ เพ่ือนำไปใช้กบั อุปกรณ์ เทคโนโลยีแบบตำ่ งๆ เช่น กล้องดจิ ิทลั คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศพั ท์มือถือ 1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device) คืออุปกรณ์สำหรับแสดงผลลพั ธ์ท่ีได้จำกกำรประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และเป็ นอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทำหน้ำท่ีแสดงผลลพั ธ์เมื่อซีพยี ทู ำกำรประมวลผล รูปท่ี 4 แสดงอปุ กรณ์แสดงผลข้อมลู แบบตำ่ งๆ 1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เป็ นอุปกรณ์แสดงผลลพั ธ์ท่ีเป็ นภำพ ปัจจุบนั แบง่ ออกเป็ น 2 ชนิด คือ จอภำพ แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภำพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 1.3.4.2 เคร่ืองพิมพ์ (Printer) เป็ นอปุ กรณ์ท่ีทำหน้ำทีแ่ สดงผลลพั ธ์ในรูปของอกั ขระหรือรูปภำพทจ่ี ะไป ปรำกฏอยบู่ นกระดำษ แบง่ ออกเป็ น 4 ประเภท ได้แก่ เคร่ืองพิมพ์ดอตเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบ พน่ หมกึ (Ink-Jet Printer) เครื่องพมิ พ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และพลอ็ ตสเตอร์ (Plotter) 1.3.4.3 ลาโพ ง (Speaker) เป็ นอุปกรณ์ แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของเสียง สำมำรถเชื่อมต่อกับ คอมพิวเตอร์ผำ่ นแผงวงจรเก่ียวกบั เสยี ง (Sound card) ซงึ่ มีหน้ำที่แปลงข้อมลู ดจิ ิตอลไปเป็ นเสยี ง 1.4 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จำกกำรท่คี อมพิวเตอร์มีลกั ษณะเดน่ หลำยประกำร ทำให้ถกู นำมำใช้ประโยชน์ตอ่ กำรดำเนินชีวิตประจำวนั ใน สงั คมเป็ นอยำ่ งมำก ที่พบเห็นได้บอ่ ยท่ีสดุ ก็คือ กำรใช้ในกำรพิมพ์เอกสำรตำ่ งๆ เช่น พิมพ์จดหมำย รำยงำน เอกสำร ต่ำงๆ ซ่ึงเรียกว่ำงำนประมวลผล (Word processing) นอกจำกนีย้ งั มีกำรประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้ำนต่ำงๆ อีก หลำยด้ำน ดงั ตอ่ ไปนี ้

6 1.4.1 งานธรุ กิจ เช่น บริษทั ร้ำนค้ำ ห้ำงสรรพสินค้ำ ตลอดจนโรงงำนตำ่ งๆ ใช้คอมพวิ เตอร์ในกำรทำบญั ชี งำนประมวลคำ และตดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงำนภำยนอกผำ่ นระบบโทรคมนำคม นอกจำกนงี ้ ำนอตุ สำหกรรม สว่ นใหญ่ก็ใช้ คอมพวิ เตอร์มำชว่ ยในกำรควบคมุ กำรผลติ และกำรประกอบชิน้ สว่ นของอปุ กรณ์ตำ่ งๆ เช่น โรงงำนประกอบรถยนต์ ซง่ึ ทำให้กำรผลติ มีคณุ ภำพดขี นึ ้ บริษัทยงั สำมำรถรับ หรืองำนธนำคำร ทีใ่ ห้บริกำรถอนเงินผำ่ นต้ฝู ำกถอนเงินอตั โนมตั ิ (ATM) และใช้คอมพวิ เตอร์คดิ ดอกเบีย้ ให้กบั ผ้ฝู ำกเงิน และกำรโอนเงินระหวำ่ งบญั ชี เช่ือมโยงกนั เป็ นระบบเครือขำ่ ย 1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สำมำรถนำคอมพิวเตอร์มำใช้ในนำมำใช้ในสว่ น ของกำรคำนวณท่ีค่อนข้ำงซบั ซ้อน เช่น งำนศกึ ษำโมเลกุลสำรเคมี วิถีกำรโคจรของกำรสง่ จรวดไปสอู่ วกำศ หรืองำน ทะเบียน กำรเงิน สถิติ และเป็ นอุปกรณ์สำหรับกำรตรวจรักษำโรคได้ ซ่งึ จะให้ผลที่แม่นยำกว่ำกำรตรวจด้วยวิธีเคมี แบบเดิม และให้กำรรักษำได้รวดเร็วขนึ ้ 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ในสว่ นท่ีเก่ียวกบั กำรเดินทำง จะใช้คอมพิวเตอร์ในกำรจองวนั เวลำ ทีน่ ง่ั ซงึ่ มี กำรเช่ือมโยงไปยงั ทุกสถำนีหรือทุกสำยกำรบินได้ ทำให้สะดวกต่อผ้เู ดินทำงท่ีไม่ต้องเสียเวลำรอ อีกทงั้ ยงั ใช้ในกำร ควบคมุ ระบบกำรจรำจร เชน่ ไฟสญั ญำณจรำจร และ กำรจรำจรทำงอำกำศ หรือในกำรสอ่ื สำรก็ใช้ควบคมุ วงโคจรของ ดำวเทียมเพอื่ ให้อยใู่ นวงโคจร ซง่ึ จะช่วยสง่ ผลตอ่ กำรสง่ สญั ญำณให้ระบบกำรสอื่ สำรมีควำมชดั เจน 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถำปนิกและวิศวกรสำมำรถใช้คอมพิวเตอร์ในกำรออกแบบ หรือ จำลองสภำวกำรณ์ ต่ำงๆ เช่น กำรรับแรงสน่ั สะเทือนของอำคำรเมื่อเกิดแผน่ ดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณและ แสดงภำพสถำนกำรณ์ใกล้เคียงควำมจริง รวมทงั้ กำรใช้ควบคุมและติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรต่ำงๆ เช่น คนงำน เครื่องมือ ผลกำรทำงำน 1.4.5 งานราชการ เป็ นหนว่ ยงำนทม่ี ีกำรใช้คอมพิวเตอร์มำกท่สี ดุ โดยมีกำรใช้หลำยรูปแบบ ทงั้ นขี ้ นึ ้ อยกู่ บั บทบำทและหน้ำที่ของหนว่ ยงำนนนั้ ๆ เชน่ กระทรวงศกึ ษำธิกำร มีกำรใช้ระบบประชมุ ทำงไกลผำ่ นคอมพวิ เตอร์ , กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ได้จดั ระบบเครือขำ่ ยอินเทอร์เนต็ เพอ่ื เช่ือมโยงไปยงั สถำบนั ตำ่ งๆ, กรมสรรพำกร ใช้จดั ในกำรจดั เก็บภำษี บนั ทกึ กำรเสยี ภำษี เป็ นต้น 1.4.6 การศึกษา ได้แก่ กำรใช้คอมพิวเตอร์ทำงด้ำนกำรเรียนกำรสอน ซง่ึ มีกำรนำคอมพวิ เตอร์มำช่วยกำรสอน ในลกั ษณะบทเรียน CAI หรืองำนด้ำนทะเบียน ซง่ึ ทำให้สะดวกต่อกำรค้นหำข้อมลู นกั เรียน กำรเก็บข้อมูลยืมและกำร สง่ คืนหนงั สอื ห้องสมดุ 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร์ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ แบง่ ออกเป็ นหลำยประเภท ขนึ ้ อยกู่ บั เกณฑ์ท่ใี ช้ในกำรแบง่

7 เกณฑ์ท่ใี ช้จาแนก ประเภทคอมพวิ เตอร์ ตำมลกั ษณะกำรใช้งำน - แบบใช้งำนทว่ั ไป (General purpose computer) - แบบใช้งำนเฉพำะ (Special purpose computer) ตำมขนำดและควำมสำมำรถ - ซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ (Supercomputer) - เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer) - มินคิ อมพิวเตอร์ (Minicomputer) - ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) - คอมพวิ เตอร์มือถือ (Handheld computer) 1.5.1 ตามลักษณะการใช้งาน 1.5.1.1 แบบใช้งานท่วั ไป (General Purpose Computer) หมำยถงึ เคร่ืองประมวลผลข้อมลู ที่มีควำมยืดหยนุ่ ในกำรทำงำน (Flexible) โดยได้รับกำรออกแบบให้สำมำรถ ประยุกต์ใช้ในงำนประเภทตำ่ งๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทำงำนตำมคำสง่ั ในโปรแกรมที่เขียนขึน้ มำ และเมื่อผู้ใช้ ต้องกำรให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทำงำนอะไร ก็เพียงแตอ่ อกคำสงั่ เรียกโปรแกรมทเี่ หมำะสมเข้ำมำใช้งำน โดยเรำสำมำรถ เก็บโปรแกรมไว้หลำยโปรแกรมในเคร่ืองเดยี วกนั ได้ เช่น ในขณะหนงึ่ เรำอำจใช้เครื่องนใี ้ นงำนประมวลผลเกี่ยวกบั ระบบ บญั ชี และในขณะหนงึ่ ก็สำมำรถใช้ในกำรออกเช็คเงนิ เดอื นได้ เป็ นต้น 1.5.1.2 แบบใช้งานเฉพาะด้าน (Special Purpose Computer) หมำยถึง เครื่องประมวลผลข้อมลู ที่ถกู ออกแบบตวั เคร่ืองและโปรแกรมควบคมุ ให้ทำงำนอยำ่ งใดอยำ่ งหนง่ึ เป็ น กำรเฉพำะ (Inflexible) โดยทว่ั ไปมกั ใช้ในงำนควบคมุ หรืองำนอตุ สำหกรรมท่เี น้นกำรประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ควบคมุ สญั ญำณไฟจรำจร คอมพวิ เตอร์ควบคมุ ลฟิ ต์ หรือคอมพวิ เตอร์ควบคมุ ระบบอตั โนมตั ใิ น รถยนต์ เป็ นต้น 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ เป็ นกำรจำแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ทพ่ี บเห็นได้มำกที่สดุ ในปัจจุบนั ซงึ่ สำมำรถแบง่ ออกได้ดงั นี ้ 1.5.2.1 ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมำยถงึ เคร่ืองประมวลผลข้อมลู ทมี่ ีควำมสำมำรถในกำรประมวลผลสงู ทสี่ ดุ โดยทวั่ ไปสร้ำงขนึ ้ เป็ นกำรเฉพำะ เพื่องำนด้ำนวิทยำศำสตร์ท่ีต้องกำรกำรประมวลผลซบั ซ้อน และต้องกำรควำมเร็วสงู เช่น งำนวิจัยขีปนำวุธ งำน โครงกำรอวกำศสหรัฐ (NASA) งำนสอื่ สำรดำวเทียม หรืองำนพยำกรณ์อำกำศ เป็ นต้น 1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe computer)

8 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ ทำงำนร่วมกบั อปุ กรณ์หลำยๆ อยำ่ งด้วยควำมเร็วสงู ใช้ในงำนธุรกิจขนำดใหญ่ มหำวิทยำลยั ธนำคำรและโรงพยำบำลเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ สำมำรถเก็บข้อมลู ท่ีมีปริมำณ มำก ๆ เชน่ ในกำรสง่ั จองทีน่ งั่ ของสำยกำรบนิ ท่บี ริษัททวั ร์รับจองในแตล่ ะวนั นอกจำกนยี ้ งั สำมำรถเชื่อมโยงใช้งำนกบั เครื่องเทอร์มินลั (Terminal) หลำย ๆ เคร่ือง ในระยะทำงไกลกนั ได้ เช่น ระบบเอท่ีเอ็ม (ATM) กำรประมวลผลข้อมลู ของ ระบบเมนเฟรมนมี ้ ีผ้ใู ช้หลำย ๆ คนในเวลำเดียวกนั (Multi-user) สำมำรถประมวลผลโดยแบง่ เวลำกำรใช้ซีพียู (CPU) โดยผำ่ นเคร่ืองเทอร์มินลั กำรประมวลผลแบบแบง่ เวลำนเี ้รียกวำ่ Time sharing 1.5.2.3 มนิ ิคอมพวิ เตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงำนท่ีมี ขนำดเล็กไม่จำเป็ นต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ ขนำดเมนเฟรม ซึ่งมี รำคำแพ ง ผ้ผู ลติ คอมพิวเตอร์จึงพฒั นำคอมพิวเตอร์ให้มีขนำดเล็กและมีรำคำถกู ลง เรียกว่ำ เคร่ืองมินิคอมพวิ เตอร์ โดยมีลกั ษณะ พิเศษในกำรทำงำนร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้ำงที่มีควำมเร็วสูงได้ มีกำรใช้แผน่ จำนแม่เหลก็ ควำมจุสงู ชนิดแข็ง (Harddisk) ในกำรเก็บรักษำข้อมูล สำมำรถอ่ำนเขียนข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็ว หน่วยงำนและบริษัทท่ีใช้คอมพิวเตอร์ ขนำดนี ้ได้แก่ กรม กอง มหำวิทยำลยั ห้ำงสรรพสนิ ค้ำ โรงแรม โรงพยำบำล และโรงงำนอตุ สำหกรรมตำ่ งๆ 1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็กท่ีสุด รำคำถูกที่สุด ใช้งำนง่ำย และนิยมมำกท่ีสุดรำคำของเคร่ือง ไมโครคอมพิวเตอร์จะอยู่ในช่วงประมำณหมื่นกว่ำ ถึง แสนกวำ่ บำท ในวงกำรธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กบั งำนทุก ๆ อยำ่ ง ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนำดเล็กพอท่ีจะตงั้ บนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใสล่ งในกระเป๋ ำเอกสำร เช่น คอมพิวเตอร์วำง บนตกั (Lap top) หรือโน้ตบุ๊ก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สำมำรถทำงำนในลกั ษณะประมวลผลได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกบั คอมพวิ เตอร์เครื่องอ่ืนเรียกวำ่ ระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สำหรับใช้งำนสว่ นตวั จงึ เรียกเคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์ได้อีกช่ือหนง่ึ ว่ำ คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลหรือเคร่ืองพีซี (PC:Personal Computer) และ สำมำรถนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มำเช่ือมต่อกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืน ๆ หรือเช่ือมต่อกับเครื่อง เมนเฟรม เพอื่ ขยำยประสทิ ธิภำพเพ่มิ ขนึ ้ ทำให้เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นทนี่ ยิ มใช้กนั แพร่หลำยอยำ่ งรวดเร็ว 1.5.2.5 คอมพิวเตอร์มอื ถอื (Handheld Computer) เป็ นคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนำดเลก็ ท่ีสดุ เมื่อเทยี บกบั คอมพวิ เตอร์ประเภทอื่นๆ อีกทงั้ สำมำรถพกพำไปยงั ที่ต่ำงๆ ได้ งำ่ ยกวำ่ เหมำะกบั กำรจดั กำรข้อมลู ประจำวนั กำรสร้ำงปฏทิ ินนดั หมำย กำรดูหนงั ฟังเพลงรวมถึงกำรรับสง่ อีเมล์ บำง รุ่นอำจมีควำมสำมำรถเทียบเคียงได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปำล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็ นต้น นอกจำกนีโ้ ทรศพั ท์มือถือ บำงรุ่นก็มีควำมสำมำรถใกล้เคียงกบั คอมพวิ เตอร์มือถือในกลมุ่ นใี ้ นแงข่ องกำรรันโปรแกรมจดั กำรกบั ข้อมลู ทวั่ ไปโดยใช้ ระบบปฏบิ ตั กิ ำร Symbian หรือไม่ก็ Linux 1.6 องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรำเห็นๆ กันอยู่นีเ้ ป็ นเพียงองค์ประกอบสว่ นหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เท่ำนนั้ แต่ถ้ำ ต้องกำรให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครื่องสำมำรถทำงำนได้อยำ่ งมีประสทิ ธิภำพตำมท่เี รำต้องกำรนนั้ จำเป็ นต้องอำศยั

9 องค์ประกอบพืน้ ฐำน 4 ประกำรมำทำงำนร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพืน้ ฐำนของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บคุ ลำกร (People ware) ข้อมลู / สำรสนเทศ (Data/Information) 1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมำยถึง อุปกรณ์ตำ่ งๆ ที่ประกอบขนึ ้ เป็ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ มีลกั ษณะเป็ นโครงร่ำงสำมำรถมองเห็นด้วยตำ และสมั ผสั ได้ (รูปธรรม) เช่น จอภำพ คีย์บอร์ด เคร่ืองพิมพ์ เมำส์ เป็ นต้น ซ่ึงสำมำรถแบ่งออกเป็ นสว่ นต่ำงๆ ตำม ลกั ษณะกำรทำงำน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมลู (Input Unit) หนว่ ยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit: CPU) หนว่ ยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แตล่ ะหนว่ ยมีหน้ำท่ี กำรทำงำนแตกตำ่ งกนั 1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software) หมำยถึง สว่ นทมี่ นษุ ย์สมั ผสั ไม่ได้โดยตรง (นำมธรรม) เป็ นโปรแกรมหรือชุดคำสง่ั ที่ถกู เขียนขนึ ้ เพ่ือสง่ั ให้เคร่ือง คอมพิวเตอร์ทำงำน ซอฟต์แวร์จึงเป็ นเหมือนตวั เชื่อมระหว่ำงผู้ใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้ำไม่มี ซอฟต์แวร์เรำก็ไม่สำมำรถใช้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์สำมำรถแบง่ ได้ ดงั นี ้ 1.6.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คอื ชุดของคำสง่ั ทีเ่ ขยี นไว้เป็ นคำสง่ั สำเร็จรูป ซงึ่ จะทำงำนใกล้ชิดกบั คอมพิวเตอร์มำกท่สี ดุ เพือ่ คอยควบคมุ กำรทำงำนของฮำร์ดแวร์ทกุ อยำ่ ง และอำนวยควำม สะดวกให้กบั ผ้ใู ช้ในกำรใช้งำน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จกั กนั ดกี ็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทงั้ โปรแกรมแปลคำสงั่ ทเี่ ขียนในภำษำระดบั สงู เชน่ ภำษำ Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็ นต้น นอกจำกนี ้ โปรแกรมที่ใช้ในกำรตรวจสอบระบบเชน่ Norton’s Utilities ก็นบั เป็ นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกนั 1.6.2.2 ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมท่ีสงั่ คอมพิวเตอร์ ทำงำนตำ่ งๆ ตำมท่ีผ้ใู ช้ต้องกำร ไมว่ ำ่ จะด้ำนเอกสำร บญั ชี กำรจดั เก็บข้อมลู เป็ นต้น ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์สำมำรถ จำแนกได้เป็ น 2 ประเภท คอื - ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมซง่ึ เขียนขนึ ้ เพื่อกำรทำงำนเฉพำะอยำ่ งทเี่ รำต้องกำร บำงทีเ่ รียกวำ่ User’s Program เชน่ โปรแกรมกำรทำบญั ชีจำ่ ยเงินเดอื น โปรแกรมระบบเช่ำซอื ้ โปรแกรมกำรทำสนิ ค้ำ คงคลงั เป็ นต้น ซงึ่ แตล่ ะโปรแกรมก็มกั จะมีเง่ือนไข หรือแบบฟอร์มแตกตำ่ งกนั ออกไปตำมควำมต้องกำร หรือกฎเกณฑ์ ของแตล่ ะหนว่ ยงำนที่ใช้ ซง่ึ สำมำรถดดั แปลงแก้ไขเพ่ิมเติม (Modifications) ในบำงสว่ นของโปรแกรมได้ เพ่ือให้ตรงกบั ควำมต้องกำรของผ้ใู ช้ และซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ทเ่ี ขยี นขนึ ้ นีโ้ ดยสว่ นใหญ่มกั ใช้ภำษำระดบั สงู เป็ นตวั พฒั นำ - ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทว่ั ไป เป็ นโปรแกรมประยกุ ต์ท่ีมีผ้จู ดั ทำไว้ เพ่อื ใช้ในกำรทำงำนประเภทต่ำงๆ ทวั่ ไป โดยผ้ใู ช้คนอ่ืนๆ สำมำรถนำโปรแกรมนไี ้ ปประยกุ ต์ใช้กับข้อมลู ของตนได้ แตจ่ ะไม่สำมำรถทำกำรดดั แปลง หรือ แก้ไขโปรแกรมได้ ผ้ใู ช้ไม่จำเป็ นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซงึ่ เป็ นกำรประหยดั เวลำ แรงงำน และคำ่ ใช้จ่ำยในกำรเขียน โปรแกรม นอกจำกนี ้ยงั ไมต่ ้องใช้เวลำมำกในกำรฝึกและปฏบิ ตั ิ ซงึ่ โปรแกรมสำเร็จรูปนี ้มกั จะมีกำรใช้งำนในหนว่ ยงำน

10 ท่ขี ำดบุคลำกรทีม่ ีควำมชำนำญเป็ นพเิ ศษในกำรเขียนโปรแกรม ดงั นนั้ กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็ นสง่ิ ทอ่ี ำนวย ควำมสะดวกและเป็ นประโยชน์อยำ่ งยิง่ ตวั อยำ่ งโปรแกรมสำเร็จรูปที่นยิ มใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ตำ่ งๆ เป็ นต้น 1.6.3 บุคลากร (People ware) หมำยถึง บคุ ลำกรในงำนด้ำนคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ มีควำมรู้เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ สำมำรถใช้งำน สง่ั งำนเพอ่ื ให้ คอมพวิ เตอร์ทำงำนตำมทตี่ ้องกำร แบง่ ออกได้ 4 ระดบั ดงั นี ้ 1.6.3.1 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คอื ผ้วู ำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปตำม เป้ ำหมำยของหนว่ ยงำน 1.6.3.2 นักวเิ คราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผ้ทู ่ศี กึ ษำระบบงำนเดมิ หรืองำนใหม่และทำกำร วเิ ครำะห์ควำมเหมำะสม ควำมเป็ นไปได้ในกำรใช้คอมพวิ เตอร์กบั ระบบงำน เพอื่ ให้โปรแกรมเมอร์เป็ นผ้เู ขียนโปรแกรม ให้กบั ระบบงำน 1.6.3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คอื ผ้เู ขียนโปรแกรมสงั่ งำนเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพอื่ ให้ทำงำน ตำมควำมต้องกำรของผ้ใู ช้ โดยเขียนตำมแผนผงั ที่นกั วเิ ครำะห์ระบบได้เขียนไว้ 1.6.3.4 ผ้ใู ช้ (User) คอื ผ้ใู ช้งำนคอมพิวเตอร์ทว่ั ไป ซงึ่ ต้องเรียนรู้วธิ ีกำรใช้เคร่ือง และวิธีกำรใช้งำน โปรแกรม เพือ่ ให้โปรแกรมท่ีมีอยสู่ ำมำรถทำงำนได้ตำมที่ต้องกำร เน่อื งจำกเป็ นผ้กู ำหนดโปรแกรมและใช้งำนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ มนษุ ย์จึงเป็ นตวั แปรสำคญั ในอนั ทจ่ี ะทำให้ผลลพั ธ์มี ควำมนำ่ เช่ือถอื เนอื่ งจำกคำสง่ั และข้อมลู ทใ่ี ช้ในกำรประมวลผลได้รับจำกกำรกำหนดของมนษุ ย์ (People ware) ทงั้ สนิ ้ 1.6.4 ข้อมลู /สารสนเทศ (Data/Information) ขอ้ มูล (Data) เป็ นองค์ประกอบท่สี ำคญั อยำ่ งหนงึ่ กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์จะเก่ียวข้องกบั ข้อมลู ตงั้ แตก่ ำร นำข้อมูลเข้ำจนกลำยเป็ นข้อมลู ที่สำมำรถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือท่ีเรียกว่ำ สารสนเทศ (Information) ซ่ึงข้อมูลเหลำ่ นี ้ อำจจะเป็ นได้ทงั้ ตวั เลข ตวั อกั ษร และข้อมลู ในรูปแบบอื่นๆ เช่น ภำพ เสยี ง เป็ นต้น ข้อมลู ทจี่ ะนำมำใช้กบั คอมพิวเตอร์ได้นนั้ โดยปกติจะต้องมีกำรแปลงรูปแบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจ ก่อน จึงจะสำมำรถเอำมำใช้งำนในกำรประมวลผลตำ่ งๆ ได้เรำเรียกสถำนะนีว้ ่ำ สถานะแบบดิจิตอล ซงึ่ มี 2 สถำนะ เทำ่ นนั้ คือ เปิ ด(1) และ ปิ ด(0) ………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook