Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Patient First 20_FINAL (1)

Patient First 20_FINAL (1)

Published by kamol.suksompuet, 2022-01-14 05:05:32

Description: Patient First 20_FINAL (1)

Search

Read the Text Version

เปน็ เลศิ เพฉ่อื บทับกุท่ีช2วี0ติ / มBกรeาคEมx-cมeีนllาeคnมt25fo64r ives “ทุกชวี ติ ของคนไข้คือหัวใจของเรา” www.chulabhornhospital.com | ChulabhornChannel | @Chulabhornhospital



สารจากเลขาธกิ าร นับเป็นพระกรุณาธคิ ุณอย่างหาท่ีสุดไม่ได้ท่ีองค์ประธานราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ์มีหนังสือขอบใจและพระราชทานกําลังใจ ให้แก่แพทย์ พยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ท่ีเป็นด่านหน้าในการต่อสู้กับสถานการณ์การระบาด ของโควดิ -๑๙ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ์ ขอน้อมนําพระปณิธานในการดูแลรกั ษาผู้ป่วยและคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ตามแนวคิด “ทกุ ชวี ติ ของคนไข้คือหัวใจของเรา” โดยมีมาตรการทเี่ ข้มงวดในการป้องกันการแพรร่ ะบาดเชอื้ ไวรสั โควดิ -๑๙ เพ่ือสรา้ งความมั่นใจ ใหผ้ ทู้ มี่ ารบั บรกิ าร ตลอดจนสนบั สนนุ มาตรการในการควบคมุ และยบั ยงั้ การแพรร่ ะบาดของรฐั บาลอยา่ งเครง่ ครดั รวมถงึ ส่อื สารขอ้ มลู ให้ความรูค้ ําแนะนําในการปฏิบัติและเป็นแบบอย่างที่ถูกต้องแก่ประชาชน และถือเป็นหน้าท่ีปฏิบัติของบุคลากรทุกคนของ ราชวทิ ยาลัยฯ ทั้งบุคลากรทางการแพทย์ คณาจารย์ และนักศึกษา รวมถึงเจ้าหน้าท่ีทุกคนที่จะรว่ มมือกันในทุกวถิ ีทางเพ่ือ ชว่ ยเหลือสังคมและควบคุมการระบาดให้อยูใ่ นวงจาํ กัด สถานการณ์ของโควดิ -๑๙ ในประเทศไทยกําลังก้าวสู่ขั้นวกิ ฤต วัคซีนเป็นอาวุธเพียงอย่างเดียวท่ีจะสามารถหยุดยั้ง การระบาด ซงึ่ วัคซนี ทุกชนิดท่ีมีในปัจจุบันสามารถสรา้ งภูมิคุ้มกันท่ีสามารถปกป้องให้ผู้ติดเชอื้ ไม่ป่วยหนักหรอื เสียชวี ติ และมี ผลขา้ งเคียงทร่ี นุ แรงเปน็ อนั ตรายนอ้ ยกวา่ ๐.๐๑ เปอรเ์ ซนต์ หากประชาชนได้รบั วคั ซนี ในจาํ นวนมากพอ หรอื มากกวา่ ๖๐ เปอรเ์ ซนต์ และได้รบั วัคซนี รวดเรว็ พอแก่การสรา้ งภูมิต้านทานในสังคม การระบาดของโควดิ -๑๙ ก็จะยุติลง วัคซนี ที่ดีท่ีสุดก็คือวัคซนี ท่ีมีอยู่ และสามารถฉีดได้ในเวลาที่เรว็ ที่สุด ดังนั้น ความรว่ มมือและความเสียสละของประชาชนทุกคนจงึ เป็นปัจจัยสําคัญที่จะทําให้ ประเทศไทยผ่านสถานการณ์น้ีไปได้ ผมขอขอบคุณและเป็นกําลังใจให้แพทย์ พยาบาลและบุคลากรทุกท่านที่ได้เสียสละรว่ มแรงรว่ มใจปฏิบัติหน้าท่ีอย่าง เต็มความสามารถ และเป็นกําลังสําคัญท่ีสนับสนุนให้ประเทศไทยก้าวผ่านวกิ ฤตครงั้ นี้ ขอบคุณครบั ศาสตราจารย์ นายแพทย์นิธิ มหานนท์ เลขาธกิ ารราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ์ และผู้อํานวยการโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ สารบญั 9 วทิ ยาวาไรต้ี 15 นางฟ้าชุดขาว 22 Special Focus 10 การแพทย์ก้าวหน้า 17 จติ อาสา CSR 23 รอบรวั้ จุฬาภรณ์ ฉบับที่ 20 / 2564 11 คุยกับหมอ 18 จรงิ หรอื ไม่? 24 Chulabhorn Society 12 Check in CRA 19 Talk to Physiotherapist 28 PCCMS News 3 สารจากผู้อํานวยการ 13 Happiness Health 20 Health Technology 30 CRA Rising Star 4 บทความพิเศษจากปก 14 มีค่าทางใจ 21 เก็บมาฝาก 6 Inside update 31 Pธaารtนieาใnจt First 03 7 VIP Room 8 สัตวป์ ลอดโรค คนปลอดภัย จดั ทาํ โดย ฝ่ายประชาสัมพันธแ์ ละการตลาด วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์เจา้ ฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ์

















Check in CRA ศูนย์ภาพวนิ ิจฉยั และรว่ มรกั ษาเพ่ือปวงชน Diagnostic Imaging and Image-Guided Therapy Centre for The People (DITP) นพ.ณัฐ วมิ ลศิร ิ รกั ษาการ ผู้อํานวยการศูนย์ภาพ วนิ ิจฉัยและรว่ มรกั ษาเพ่ือปวงชน (DITP) ศนู ยภ์ าพวนิ จิ ฉยั และรว่ มรกั ษาเพอ่ื ปวงชนเปน็ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการ ลกั ษณะพเิ ศษของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ใหบ้ รกิ ารตรวจวนิ จิ ฉยั โรค ด้วยภาพวนิ ิจฉัยทางรงั สีวทิ ยา (Diagnostic Imaging) รวมถึงให้ บรกิ ารดา้ นรงั สรี ว่ มรกั ษา (Interventional Radiology and Image -Guided Therapy) ด้วยเครอ่ ื งมือทท่ี ันสมัย มีประสิทธภิ าพ ได้ มาตรฐานสากล ครอบคลมุ การตรวจตัง้ แตข่ นั้ พน้ื ฐาน ไปจนถงึ ขนั้ สงู ศนู ยใ์ หบ้ รกิ ารโดยทมี บคุ ลากรสหวชิ าชพี ประกอบไปด้วย รงั สแี พทย์ 6. เอ็มอารไ์ อ หรอื การตรวจด้วยคล่ืนสะท้อนในสนามแม่เหล็ก ผู้เชยี่ วชาญเฉพาะทางในหลากหลายสาขา นักรงั สีการแพทย์ และ (Magnetic Resonance Imaging, MRI) เปน็ เครอ่ ื งตรวจด้วย พยาบาล เพอื่ ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั โรค ทถ่ี กู ตอ้ ง รวดเรว็ แมน่ ยาํ ปลอดภยั คลื่นสะท้อนในสนามแม่เหล็กกําลังสูง โดยเครอ่ ื งของศูนย์ฯ และเปน็ ทป่ี ระทบั ใจแก่ผู้มารบั บรกิ าร เปน็ เครอ่ ื งซงึ่ มกี าํ ลงั แมเ่ หลก็ ขนาด 3 เทสลา ใชเ้ ทคโนโลยชี นั้ สงู ประเภทการบรกิ ารของศูนย์ DITP ประกอบด้วย และทนั สมัยทส่ี ุด สําหรบั การตรวจทางคลินิกในปัจจุบัน 1. การตรวจเอกซเรย์ทัว่ ไประบบดิจทิ ัล (Digital Radiography) 7. รงั สีรว่ มรกั ษา (Interventional Radiology) ให้บรกิ าร เป็นการถ่ายภาพ ทางรงั สีทั่วไปสําหรบั อวัยวะทุกส่วนในรา่ งกาย รกั ษาโรคหลอดเลือด ของศีรษะและไขสันหลัง ตลอดจนระบบ โดยบันทกึ ภาพเป็นระบบดิจทิ ลั หลอดเลือดของลาํ ตัวโดยทมี แพทย์ทมี่ ีประสบการณ์ เชยี่ วชาญ 2. การตรวจฟลูออโรสโคป้ ีระบบดิจทิ ัล (Digital Fluoroscopy) ในการรกั ษาด้วยวธิ ี Minimal Invasive รว่ มกับการใชเ้ ครอ่ ื ง สําหรบั ตรวจ กระเพาะอาหาร ลําไส้ และทางเดินปัสสาวะโดยใช้ เอกซเรยห์ ลอดเลอื ด Angio-CT สง่ ผลให้ผปู้ ว่ ยมีแผลขนาดเล็ก รว่ มกับสารทบึ รงั สี และใชเ้ วลาพักฟ้ ืนหลังการรกั ษาทสี่ ั้น รวมทงั้ การรกั ษาโรคมะเรง็ 3. การตรวจคลนื่ เสียงความถ่ีสงู หรอื อัลตราซาวด์ (Ultrasound) และภาวะแทรกซอ้ นทเ่ี ก่ียวข้องกับมะเรง็ ต่าง ๆ อย่างครบวงจร เปน็ การใชค้ ลนื่ เสยี ง ความถสี่ งู ในการตรวจอวยั วะตา่ งๆเชน่ ชอ่ งทอ้ ง ด้วยเครอ่ ื งมือทที่ นั สมัยและมีประสิทธภิ าพทส่ี ุด เชน่ ระบบทางเดินปสั สาวะ ลาํ คอ เต้านม หรอื หลอดเลอื ด เปน็ การตรวจ - การรกั ษาด้วยมีดนาโน (Irreversible Electroporation) ท่ีมีความปลอดภัยสูง และปราศจากความเส่ียงจากการได้รบั รงั สี - การทาํ ลายมะเรง็ ด้วยความเยน็ (Cryoablation) 4. การตรวจเอกซเรยเ์ ต้านม หรอื แมมโมแกรม (Mammography) - การทาํ ลายมะเรง็ ด้วยความรอ้ น (Radiofrequency ablation, เปน็ การถา่ ยภาพ ทางรงั สีของเต้านมความละเอยี ดสงู ซงึ่ เปน็ ระบบ Microwave ablation) ดิจทิ ัลเชน่ เดียวกัน ชว่ ยในการค้นหารอยโรคขนาดเล็ก เพื่อการ - การรักษาด้วยสารกัมมันตรังสี Y-90 (Transarterial- วนิ ิจฉัยและรกั ษามะเรง็ เต้านมตั้งแต่ระยะแรกเรม่ ิ ได้เรว็ ยงิ่ ขนึ้ Radioembolization) นอกจากนยี้ งั รวมถงึ การเจาะชนิ้ เนอื้ เพอ่ื 5. เอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ หรอื ซที สี แกน (Computed Tomography, การวนิ จิ ฉยั โรค เพอื่ ใหไ้ ดก้ ารวนิ จิ ฉยั ทถ่ี กู ตอ้ ง พรอ้ มทงั้ ทาํ นายผล CT Scan) เป็นการถ่ายภาพวนิ ิจฉัยด้วยรงั สีเอกซ์ สรา้ งเป็นภาพ ของการรกั ษา และการตอบสนองต่อยาในอนาคต ในระนาบตา่ งๆ รวมถงึ การสรา้ งภาพเปน็ 3 มติ ิ โดยเครอ่ ื งของศนู ยฯ์ นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ใชเ้ ปน็ เครอ่ ื งเอกซเรยค์ อมพวิ เตอรแ์ บบ 2 คา่ พลงั งาน ซงึ่ เปน็ เทคโนโลยี ศนู ยภ์ าพวนิ จิ ฉยั และรว่ มรกั ษาเพอื่ ปวงชน ยงั เปน็ แหลง่ การเรยี นรู้ แบบใหม่ ทาํ ให้ผปู้ ว่ ยได้รบั รงั สีในปรมิ าณตาลง มคี วามละเอียดสงู และฝกึ งานของนักศึกษาโรงเรยี นนักอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ ตรวจได้รวดเรว็ และสามารถใชซ้ อฟต์แวรค์ อมพวิ เตอรร์ ว่ มประมวล และนักศึกษาโรงเรยี นรงั สีเทคนิค คณะเทคโนโลยวี ทิ ยาศาสตร์ ผล เพ่ือชว่ ยในการวนิ ิจฉัยโรคทแี่ ม่นยาํ และหลากหลายยิง่ ขนึ้ สุขภาพ วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยเ์ จา้ ฟ้าจุฬาภรณ์ อกี ด้วย ศูนย์ภาพวนิ ิจฉัยและรว่ มรกั ษาเพ่ือปวงชน (DITP) อาคารศูนยก์ ารแพทย์ อาคารศูนย์การแพทย์จุฬาภรณ์เฉลิมพระเกียรติ มะเรง็ วทิ ยาจุฬาภรณ์ โทร. 0-2765-5760 12 Patient First โทร. 0-2576-6298-99 06-4585-5262 เปดิ ให้บรกิ ารทกุ วนั ตลอด 24ชม. ไม่เวน้ วนั หยุดราชการ





















ทาํ ความรูจ้ กั กับ “กายอุปกรณ์” รอบรวั้ จุฬาภรณ์ คลนิ กิ กายอปุ กรณ์ เปน็ งานบรกิ ารทางการแพทยร์ ปู แบบหนงึ่ ทท่ี าํ หนา้ ทผ่ี ลติ สาํ หรบั ผปู้ ว่ ยทมี่ ปี ญั หาดา้ นเทา้ เชน่ ผปู้ ว่ ยเทา้ ชา อปุ กรณต์ า่ งๆ ใหก้ บั ผปู้ ว่ ย เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยมคี วามสามารถในการประกอบกจิ วตั รประจาํ วนั จากเบาหวาน เทา้ แบน เทา้ ผดิ รปู อน่ื ๆ ทางโรงพยาบาล ได้มากขึ้น การเข้ารว่ มทางสังคมให้มากขึ้น มีเป้าหมายมุ่งเน้นไปท่ีการฟ้ ืนฟู จุฬาภรณ์ มเี ครอ่ ื งมอื ในการประเมนิ การลงนาหนัก สมรรถภาพของผปู้ ว่ ยด้วยชนิ้ งานทางกายอุปกรณ์ ของฝ่าเทา้ ในท่ายืนและเดินด้วยเครอ่ ื งตรวจแบบ ดจิ ทิ ลั ซงึ่ ขอ้ มลู ทไี่ ดส้ ามารถนาํ มาใชใ้ นการออกแบบ ทาํ ไมชวี ติ เราต้องมีกายอุปกรณ์มารว่ มด้วย รองเท้า แผ่นรองในรองเท้า เพ่ือให้ผู้ป่วยมีการ ในคนปกติอาจไม่จําเป็น แต่ในกลุ่มผู้ป่วยบางกลุ่ม เช่น กลุ่มที่เท้าชา กระจายแรงกดใต้ฝ่าเท้าขณะเดินอย่างเหมาะสม ลดโอกาสเกดิ ตาปลา และแผลทฝ่ี า่ เทา้ จากแรงกด จากโรคเบาหวาน กลมุ่ ทเี่ ทา้ ชาจากเคมบี าํ บดั ผปู้ ว่ ยเหลา่ น้ีจะสูญเสียความรสู้ ึก เฉพาะจุดทผี่ ิดปกติ ปกปอ้ งตนเองทเี่ ทา้ เชน่ หากฝา่ เทา้ เหยยี บของเสี้ยนหนามหรอื เศษวตั ถแุ หลม ผปู้ ว่ ยจะเสยี่ งเกดิ แผลโดยไมร่ ตู้ ัว นาํ ไปสกู่ ารตัดขาเพราะการติดเชอ้ื หรอื ในกลมุ่ ซงึ่ วสั ดใุ นการผลติ แผน่ รองเทา้ ทางโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีการผิดรูป อุ้งเท้าแบน อุ้งเท้าสูง ผู้ป่วยเหล่านี้จะมีปัญหาในเรอ่ ื ง จุ ฬ า ภ ร ณ์ มี วั ส ดุ ห ล า ก ห ล า ย ทั้ ง ช นิ ด แ ล ะ ค ว า ม การเดิน จะปวดเท้าหรอื ขาได้งา่ ย หรอื เสียการทรงตัวได้งา่ ย ซงึ่ ปัญหาเหล่านี้ หนาแนน่ ของแผน่ โฟม เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยสวมใสอ่ ยา่ งสบาย สามารถปรบั ให้ดีขึ้นได้ด้วยการรกั ษาทางกายอุปกรณ์ท่ีเหมาะสม ทางคลินิกมี ในขณะเดยี วกนั ชว่ ยปรบั แรงกดใตฝ้ า่ เทา้ และทา่ เดนิ บรกิ ารรองเทา้ เพอื่ สขุ ภาพรวมถงึ อปุ กรณเ์ สรมิ ภายในรองเทา้ ทงั้ ชนดิ สงั่ ตดั เฉพาะราย ให้เหมาะสม และชนดิ สาํ เรจ็ รปู หลากหลายชนดิ ทจี่ ะชว่ ยเสรมิ ความมนั่ คงในการเดนิ ทส่ี าํ คญั คอื ปอ้ งกนั การหกลม้ เพราะการหกลม้ อาจทาํ ใหศ้ รี ษะกระแทกพนื้ จนเกดิ เลอื ดออก ผปู้ ว่ ยทม่ี ารบั บรกิ ารมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ อยา่ งไร ในสมอง หรอื กระดูกหักได้ นอกจากนี้ยงั ชว่ ยลดโอกาสการเกิดแผลทเ่ี ทา้ และ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าหากผู้ป่วยได้รบั ปกปอ้ งเทา้ ขณะเดิน กายอปุ กรณท์ เี่ หมาะสมและมกี ารใชง้ านอยา่ งสมาเสมอ กายอุปกรณ์ประกอบด้วยอะไรบ้าง อปุ กรณด์ งั กลา่ วจะสามารถทดแทน เสรมิ ความสามารถ 1. กายอุปกรณ์เทียม คืออุปกรณ์ท่ีสรา้ งขึ้นเพื่อทดแทนส่วนของรา่ งกายที่ขาด ข อ ง ผู้ ป่วยท่ีบกพรอ่ ง เมื่อผู้ป่วยมีความสามารถ มากขนึ้ แลว้ จะสง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยกลบั ไปประกอบกจิ วตั ร หายไป เชน่ แขนเทยี ม ขาเทยี ม ประจาํ วนั เรยี นหนงั สอื และทาํ งานได้ใกลเ้ คยี งปกติ 2. กายอุปกรณ์เสรมิ คืออุปกรณ์ที่ใชเ้ สรมิ การทําหน้าที่ของอวัยวะที่มีปัญหา มากขนึ้ ซงึ่ ทงั้ หมดจะสง่ ผลใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ผปู้ ว่ ยดขี นึ้ ในการทาํ งาน เชน่ แขนขาออ่ นแรง ปวด เสอ่ื มสมรรถภาพ ตวั อยา่ งเชน่ อปุ กรณ์ งานเวชศาสตรฟ์ ้ ืนฟูและแพทยท์ างเลือก ดามขอ้ เทา้ ในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองทมี่ ปี ญั หา เดนิ แลว้ ขอ้ เทา้ ตก/อปุ กรณ์ พยงุ หลงั ในผปู้ ว่ ยหลงั คดเพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หค้ ดเพมิ่ รองเทา้ และแผน่ รองรองเทา้ นพ.สฤษดิ์พงศ์ แซห่ ลี อาทติ ยา ดํารงโภคภัณฑ์ จากผู้ปว่ ยเทา้ ชาจากโรคเบาหวาน แพทย์หัวหน้างาน นักกายอุปกรณ์ ผู้เชยี่ วชาญทางด้านน้ีเรยี กว่านักกายอุปกรณ์ ขอบเขตการให้บรกิ ารของ คลนิ ิกกายอปุ กรณ์ ชนั้ 12 นักกายอุปกรณ์ท่ี โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ มีดังนี้ อาคารศนู ยก์ ารแพทยม์ ะเรง็ วทิ ยาจฬุ าภรณ์ โรงพยาบาลจฬุ าภรณ์ • ประเมินผู้ปว่ ย เวลาเปดิ ทาํ การ 08.00-16.00 น. (ในวนั และเวลาราชการ) • กาํ หนดเปา้ หมายในการรกั ษา โดยเปน็ เปา้ หมายทเี่ ปน็ ไปได้และสอดคลอ้ งกัน ติดต่อนัดหมายโทร. 0-2576-6485 ระหวา่ งผู้ป่วยและทมี รกั ษา Patient First 23 • เลอื กอปุ กรณส์ าํ เรจ็ รปู ออกแบบและผลติ อปุ กรณท์ เ่ี หมาะสมกบั ผปู้ ว่ ย ในปัจจุบันศักยภาพของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ สามารถทําอุปกรณ์ได้ ดังต่อไปนี้ • รองเทา้ • แผ่นรองในรองเทา้ แบบสั่งตัดเฉพาะราย • อุปกรณ์เสรมิ ในรองเท้า เชน่ อุปกรณ์รองส้นเท้าในผู้ป่วยโรครองชา ซลิ ิโคน คั่นนิ้วเทา้ สําหรบั ผู้ป่วยนิ้วเทา้ ผิดรูป • อุปกรณ์พยุงคอ ลาํ ตัว และหลังส่วนล่าง • อุปกรณ์ประคองเข่า • อุปกรณ์ดามขอ้ เทา้


















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook