Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปกระตุ้นการเรียนรู้ตามรูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปกระตุ้นการเรียนรู้ตามรูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา

Published by t.kruyok004, 2021-01-17 01:38:02

Description: เรื่อง การส่งผลงานเข้ารับการคัดสรรรางวัล“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๑

Search

Read the Text Version

- ๒ - ค ำน ำ ผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนส าเร็จรูปกระตุ้นการเรียนรู้ตามรูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน าปลีกศึกษา การส่งผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม เป็นผลงานที่ไม่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา ประเภท การจัดการเรียนรู้ พฒนาโดยผู้บริหารัสถานศึกษา นายโชติชัย กิ่งแก้ว ต้าแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา , นายวิทยา ทรวงดอน รอง้ผู้อานวยการโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา และ้ นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพเศษ ิโรงเรียนน าปลีกศึกษา อ าเภอเมือง จังหวัดอ านาจเจริญ ส านักงานเขตพื นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้ที่สนใจศึกษาในการประเมินเพื่อรับรางวัล การส่งผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประเภทผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อจัดการเรียนการสอนในชั นเรียนให้มีคุณภาพต่อไป การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนส าเร็จรูปกระตุ้นการเรียนรู้ตาม รูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน าปลีกศึกษา Link : https://online.pubhtml5.com/ylqa/ukoo/

- ๓ - สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า 2 สารบัญ 3 แบบ นร. ๑4 1.หน้าปก 4 ๒. บทสรุป5 ๓. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ7 ๔. วัตถุประสงค์ 8๕. กระบวนกำรพัฒนำผลงำนหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม9 ๑) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา9 ๒) การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา 10 ๓) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา17 ๔) ผลงานที่เกิดจากการด้าเนินงาน19 ๕) สรุปสิ่งที่เรียนรู้และปรับปรุงให้ดีขึ น20 ๖) การขยายผลและเผยแพร่พัฒนา22 ๗) ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง24 ๘) จุดเด่น หรือลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม2๖ บรรณานุกรม ๒๘

- ๔ - แบบ นร. ๑ กำรน ำเสนอผลงำน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจ ำปี ๒๕๖๔ “” ๑. หน้ำปก ประกอบด้วย ๑) ชื่อผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนส าเร็จรูปกระตุ้นการเรียนรู้ตามรูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน าปลีกศึกษา๒) การส่งผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ที่ตรงกับผลงาน ) √ เป็นผลงานที่ไม่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา เป็นผลงานที่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา ปี ....... เรื่อง ........แต่ไม่ได้รับรางวัลของคุรุสภา เป็นผลงานที่เคยได้รับรางวัลของคุรุสภาและมีการน้ามาพัฒนาเพมเติม หรือต่อยอดนวัตกรรม ิ่(ต้องกรอกแบบ นร. ๒)๓) ประเภทผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ที่ตรงกับผลงาน)(เลือกได้เพียง ๑ ด้ำนเท่ำนั้น)√ การจัดการเรียนรู้ (A) สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ (B) การบริหารและการจัดการสถานศึกษา (C) การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ (D) การวัดและประเมินผล (E) อื่น ๆ โปรดระบุ (I) ..................................................................... ๔) ผู้บริหารสถานศึกษาชื่อผู้บริหารสถานศึกษา (นาย) โชติชัย นามสกุล กิ่งแก้ว เลขบัตรประชาชน 334160025800 ต้าแหน่ง ผู้อ้านวยการโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา วิทยะฐานะ ช้านาญการพิเศษ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 089-582-4763 E-mail : [email protected]๖) คณะผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม ( ครู /นักเรียน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จ้านวนตามจริง ) (นาย) วิทยา นามสกุล ทรวงดอน เลขบัตรประชาชน ๑๑๐๐๗๐๐๖๔๐๐๙๓ ต้าแหน่ง รองผู้อ้านวยการโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา วิทยะฐานะ ช้านาญการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 090-269-5321 .E-mail : [email protected]  (นาย) เถลิงศักดิ์ นามสกุล เถาว์โท เลขบัตรประชาชน 3341600254847 ต้าแหน่ง ผู้ช่วยผู้อ้านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ วิทยะฐานะ..ช้านาญการพิเศษ..โทรศัพท์เคลื่อนที่ 095-613-1257 E-mail : [email protected] ๗) ข้อมูลสถานศึกษาชื่อสถานศึกษา โรงเรียนน ้าปลีกศึกษา เลขที่…......-........ถนน................ ..................... -ต้าบล/แขวง น ้าปลีก อ้าเภอ/เขต เมือง. จังหวัด อ้านาจเจริญ รหัสไปรษณีย์ 37000 โทรศัพท์ โทรสาร............... ........................ -๘) สังกัด ๑. สพป. ..................เขต....... ๒. สพม. เขต. จังหวัด อุบลราชธานี – อ้านาจเจริญ√29๓. สอศ. ๔. สช. ๕. กทม. ๖. อปท. ............. ๗. กศน. ๘. การศึกษาพิเศษ ๙. อื่น ๆ (โปรดระบุ)............... เอกสำรแนบท้ำยประกำศ

- ๕ - ๒. บทสรุป กำรน ำเสนอผลงำน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจ ำปี ๒๕๖๔ “” ชื่อผลงำนหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวตกรรม ัการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนส าเร็จรูปกระตุ้นการเรียนรู้ตามรูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน าปลีกศึกษาจากผลการทดสอบระดับชาติขั นพนฐานฐาน (O-NET) มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ต่้าื กว่าระดับประเทศในทุกรายวิชา ซึ่งจากการวิเคราะห์ร่วมกันของคณะครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวังเพราะผู้เรียนจ้านวนมากมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ีต่้า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากผู้เรียนขาดความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการแก้ปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ ที่จะศึกษาศาสตร์ต่างๆ ที่ต้องอาศัยการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้เหตุผลในการแสดงความคิดอย่างมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม ดังนั นผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนฝึกท้ากิจกรรมต่าง ๆ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการลงมือปฏิบัติการทดลอง การแก้โจทย์ปัญหาต่าง ๆ เพอที่จะท้าให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักการ กฎ ื่ทฤษฎี และธรรมชาติของวิชานั นๆ เพอให้เกิดทักษะในกระบวนการแก้ปัญหา พร้อมทั งสามารถน้าหลักการื่ไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติได้ ครูจึงควรมีเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบแบบแผน กระชับ และเข้าใจง่าย ผ่านบทเรียนส้าเร็จรูปวัตถุประสงค์ 1. ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส้าเร็จรูป เพอใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามื่หลักวิชาการร้อยละร้อย 2. ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาใช้บทเรียนส้าเร็จรูปในการพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบอิงมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT ท้าให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติขั น () พื นฐานสูงขึ นทกกลุ่มสาระการเรียนรูุ้ค ำนิยำมศัพท์ ๑. นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาทุกระดับชั น ที่ก้าลังเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โรงเรียนน ้าปลีกศึกษา จังหวัดอ้านาจเจริญ ปีการศึกษา ๒๕๖๓-๒. บทเรียนส้าเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผู้สอนจัดท้าขึ นเพอใช้เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการื่เรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ในแต่ละสาระการเรียนรู้ที่ก้าหนดไว้ในแต่ละบทเรียน โดยเริ่มจากเนื อหาสาระที่ง่าย ๆ ไปสู่เนื อหาที่ยากขึ นไปตามล้าดับ เป็นบทเรียนที่สร้างขึ นโดยก้าหนดวัตถุประสงค์ เนื อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า และประเมินผลการเรียนด้วยตนเองตามขั นตอนที่ก้าหนดไว้ ทั งนี ให้รวมถึง บทเรียนส้าเร็จรูป แบบเรียนส้าเร็จรูป ชุดการเรียนการสอน บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมการสอน แบบเรียนด้วยตนเอง ที่ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาได้พัฒนาขึ นเพื่อใช้จัดการเรียนรู้ผลต่อกำรจัดกำรศึกษำ 1.ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาทุกคนสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส้าเร็จรูป เพื่อใช้จัดการเรียนรู้ได้ ถูกต้องตามหลักวิชาการ 2.ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาใช้บทเรียนส้าเร็จรูปในการพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบองมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา ิNamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT ผ่านขันตอนการด้าเนินงานดังนี ()

- ๖ - เมื่อครูสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป ผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบอิงมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT () 15 ขั นตอน ดังนี 1. จัดท า/ปรับโครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมมีก าหนดชัดเจน URL: http://gg.gg/Achievement-62 2. เมื่อครูวางแผนการสอนตามมาตรฐาน และตัวชี วัดแล้ว ให้โรงเรียนตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตรให้ตรงตามตัวชี วัด URL: http://pubhtml5.com/bookcase/gswo 3. วางแผนการสอนชั น ม. 3 และ ม.6 ให้จบ และครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ศึกษาข้อมูลผลสัมฤทธิ์ O-Net ที่กลุ่มงานวิชาการได้ท าการวิเคราะห์ ปีการศึกษา 59-62 URL: http://gg.gg/NP-O-NET59-61 4. สืบค้นสื่อ และ แบบทดสอบ เพื่อจัดท าบัญชีรายชื่อคลังสื่อ และแบบทดสอบ O-Net จาก Google และYoutube URL: http://gg.gg/Onet-test-48-61 5. เข้าพัฒนาความรู้การจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้และจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนปกติและสอนเสริมเติมเต็ม ตามแนวข้อสอบของ สทศ. ในห้องเรียน หรือ ก าหนดกิจกรรม วันเวลาให้ชัดเจน URL: http://gg.gg/TrainingOnet-NP 6. ครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนร่วมกันสร้างข้อสอบตามแนวข้อสอบของ สทศ. ข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ แล้วแลกเปลี่ยนข้อสอบผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ขั นตอนการสร้างข้อสอบ URL: http://online.pubhtml5.com/kccj/dwnl/ 7. น าแนวข้อสอบ O-NET ไปใช้แทรกในการเรียนการสอนปกติ และในการสอนเสริมเติมเต็ม ในชั นเรียนให้นักเรียนคุ้นเคยและมีประสบการณ์การท าข้อสอบ (รูปแบบข้อสอบ/กระดาษค าตอบ/การระบายค าตอบฯ) URL: http://gg.gg/Exam-Bank-NP 8. ผู้บริหารก าหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรียนเพอยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ชัดเจน (ก าหนดื่วันที่ กิจกรรมที่ต้องท า) URL: http://gg.gg/calendar-KRUYOK 9. ผู้บริหารติดตามการน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในสถานศึกษา การน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในชั นเรียน ติดตามผลการท างานของครูผู้รับผิดชอบทุกระยะอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ด าเนินงานบรรลุตามแผนงาน หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ทันเวลา URL: http://pubhtml5.com/bookcase/ohcp 10. จัดกิจกรรมสอนเสริมเติมเต็ม ให้ต่อเนื่องก่อนถึงวันสอบจริง O-NET สอบ เดือน 13-14 มีนาคม พ.ศ.2564 และ 27-28 มีนาคม พ.ศ.2564 URL: http://online.pubhtml5.com/ylqa/dysr/ 11. จัดสอบเสมือนจริง โดยใช้ข้อสอบ กระดาษค าตอบ การคุมสอบ เวลาสอบเสมือนจริงทุกประการ โดยใช้ข้อสอบในคลังข้อสอบ ซึ่งจัดท าขึ นตามแนวข้อสอบของ สทศ. บันทึกผลการสอบ ตรวจค าตอบ และวิเคราะห์ผลการทดสอบเพื่อปรับปรุงแก้ไขนักเรียนก่อนวันสอบจริง URL: http://gg.gg/O-Net62-1 12. จัดกิจกรรมเสริมแรงทางบวก (จัดอาหารว่างน าหวาน ขนมช่วงพักสอบ) สร้างบรรยากาศผ่อนคลาย ท าสมาธิก่อนเวลาสอบ 13. ประชาสัมพันธ์ความส าคัญของการสอบ O-NET ทุกสัปดาห์ URL: http://gg.gg/NP-develop62 14. ประกาศ/ป้าย นับเวลาถอยหลัง Count Down ทุกวัน URL: http://gg.gg/np-count-down 15. โรงเรียนให้รางวัลนักเรียนที่มีคะแนนสอบสูง/มีความก้าวหน้าสูง โดยก าหนดหนักเรียนที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศกษาวิชาละ 300บาท ในทุกรายวิชา URL: http://gg.gg/ST-62 ึ

- ๗ - ๓. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2545 หมวด ๔ มาตรา ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความส้าคัญ22ัที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ เน้นัความส้าคัญทั งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา ส่วนการจัดกระบวนการเรียนรู้นั นให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความสะดวกเพอให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้้ื่และมีความรอบรู้ ทั งนี ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อนๆ (คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,๒๕๔๒. : ๘ ๙) ื่–นอกจากนี มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั งส่งเสริมให้ัผู้สอนสามารถวิจัยเพอพฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาการจะส่งเสริมและื่ัพฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์จึงต้องอาศัยการวางรากฐานทางการศึกษาที่มีคุณภาพในหลักสูตรการศึกษาขั นัพนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยการจัดการเรียนรู้ในแต่ละช่วงชั นควรใช้รูปแบบวิธีการที่หลากหลาย มุ่งเน้นการจัดื กิจกรรมที่พฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีกระบวนการคิด ได้ลงมือปฏิบัติเพอสืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการัื่ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสารและความสามารถในการตัดสินใจ น้าความรู้ไปแก้ปัญหาในชีวิตประจ้าวันและมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั งเรียนอย่างมีความสุขด้วย (กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๔๐ : ๑) ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั นพื นฐาน (O-NET) ชั นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จ้าแนกตามระดับคุณภาพ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั นพนฐาน ื (O-NET) ชั นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๒จ้าแนกตามระดับคุณภาพ

- ๘ - วิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติขั นพื นฐาน URL:http://gg.gg/NP-O-NET59-61จากตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั นพนฐานฐาน (O-NET) ื มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ต่้ากว่าระดับประเทศในทุกรายวิชา ซึ่งจากการวิเคราะห์ร่วมกันของคณะครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวังเพราะผู้เรียนจ้านวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่้า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากผู้เรียนขาดความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการแก้ปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ ที่จะศึกษาศาสตร์ต่างๆ ที่ต้องอาศัยการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้เหตุผลในการแสดงความคิดอย่างมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม ดังนั นผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนฝึกท้ากิจกรรมต่าง ๆ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการลงมือปฏิบัติการทดลอง การแกโจทย์ปัญหาต่าง ๆ ้เพอที่จะท้าให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักการ กฎ ทฤษฎี และธรรมชาติของวิชานั นๆ เพอให้เกิดทักษะในื่ื่กระบวนการแก้ปัญหา พร้อมทั งสามารถน้าหลักการไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติได้ ครูจึงควรมีเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบแบบแผน กระชับ และเข้าใจง่าย ผ่านบทเรียนส้าเร็จรูป เพอให้เป็นไปตาม การื่จัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พทธศักราช ุ2545 หมวด มาตรา 422ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความส้าคัญที่สุด๔. วัตถุประสงค์ 1. ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส้าเร็จรูป เพอใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามื่หลักวิชาการร้อยละร้อย 2. ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาใช้บทเรียนส้าเร็จรูปในการพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบอิงมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน ้าปลีกศึกษา

- ๙ - NamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT ท้าให้ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติขั น () พื นฐานสูงขึ นทกกลุ่มสาระการเรียนรูุ้๕. กระบวนกำรพัฒนำผลงำนหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม - น้าเสนอข้อมูลพร้อมรูปภาพ /แผนภาพ /สื่อ ที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอยดของการพฒนาผลงาน ีัหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม การน้าไปใช้จริง และผลที่เกิดขึ นจริง ในหัวข้อต่อไปนี ๑) สภำพปัญหำก่อนกำรพัฒนำ ผลการทดสอบระดับชาติขั นพนฐานฐาน (O-NET) มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ต่้ากว่าื ระดับประเทศในทุกรายวิชา เป็นผลมาจากผู้เรียนขาดความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการแก้ปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ ที่จะศึกษาศาสตร์ต่างๆ ที่ต้องอาศัยการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้เหตุผลในการแสดงความคิดอย่างมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม ดังนั นผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนฝึกท้ากิจกรรมต่าง ๆ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการลงมือปฏิบัติการทดลอง การแก้โจทย์ปัญหาต่าง ๆ เพอที่จะท้าให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักการ กฎ ื่ทฤษฎี และธรรมชาติของวิชานั นๆ เพอให้เกิดทักษะในกระบวนการแก้ปัญหา พร้อมทั งสามารถน้าหลักการไปื่ประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติได้ ครูจึงควรมีเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบแบบแผน กระชับ และเข้าใจง่าย ผ่านบทเรียนส้าเร็จรูป

- ๑๐ - ๒) กำรออกแบบนวัตกรรมเพื่อกำรพัฒนำ กรอบแนวคิดในการพัฒนาที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างปัญหา แนวคิด หลักการและทฤษฎีที่ใช้ วิธีการพัฒนา และผลส้าเร็จที่พึงประสงค์

- ๑๑ - จากผลการวิเคราะห์ผู้เรียนจากครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงน้ามาพฒนาแนวคิด ๑L๓R เพอใช้พฒนาผู้เรียนัื่ัให้มีทักษะ การเรียนรู้ ผ่านแนวคิด ๑L๓R ซึ่งประกอบด้วย โดย ๑L๓R ขับเคลื่อนโดยใช้หลัก อิทธิบาท ๔ อันประกอบไปด้วย ๑. ฉันทะ การมีใจรัก ศรัทธาและเชื่อมั่นต่อสิ่งที่ท้า ๒. วิริยะ ความเพยร ความมุ่งมั่นทุ่มเท หมายถึงความเพยรพยายามอย่างสูง ที่จะท้าตามฉันทะหรือีีศรัทธาของตัวเอง ๓. จิตตะ ใจที่จดจ่อและรับผิดชอบ เมื่อมีใจที่จดจ่อแล้วก็จะเกิดความรอบคอบ ๔. วิมังสา สิ่งที่ท้าอนเกิดจากการมีใจรัก (ฉันทะ) แล้วท้าด้วยความมุ่งมั่น (วิริยะ) อย่างใจจดใจจ่อัและรับผิดชอบ (จิตตะ) โดยใช้วิจารณญาณอย่างรอบรู้และรอบคอบ จะต้องมีกระบวนการสุดท้ายคือ การทบทวนตัวเอง จำกแนวคิดน ำมำพัฒนำ เป็นบทเรียนส ำเร็จรูป บทเรียนส้าเร็จรูปเป็นสื่อส้าหรับเรียนด้วยตนเอง อาจใช้ส้าหรับศึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ซึ่งอาจจะพบว่ามีชื่อเรียกแตกต่างกันไป ตามลักษณะของการน้าไปใช้ เช่น บทเรียนส้าเร็จรูป แบบเรียนส้าเร็จรูป บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมการสอน แบบเรียนด้วยตนเอง เป็นต้น ถึงแม้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกัน แต่ลักษณะโดยทั่วไปของบทเรียนส้าเร็จรูปมีความคล้ายคลึงกัน คือเป็นวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้วิธีหนึ่งควำมหมำยบทเรียนส้าเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผู้สอนจัดท้าขึ นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ในแต่ละสาระการเรียนรู้ที่ก้าหนดไว้ในแต่ละบทเรียน โดยเริ่มจากเนื อหาสาระทง่าย ี่ๆ ไปสู่เนื อหาที่ยากขึ นไปตามล้าดับ เป็นบทเรียนที่สร้างขึ นโดยก้าหนดวัตถุประสงค์ เนื อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถศกษา ค้นคว้า และประเมินผลการเรียนด้วยตนเองตามขั นตอนที่ึก้าหนดไว้จุดมุ่งหมำยของบทเรียนส ำเร็จรูป 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ โดยครูคอยให้ค้าแนะน้าช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนมีปัญหา 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปตามล้าดับขั น จากง่ายไปหายาก 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประเมินตนเอง และทราบถึงพัฒนาการในการเรียนรู้ของตนเอง 4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจ เมื่อประสบความส้าเร็จในการเรียนรู้ หลักกำรเรียนรู้ด้วยบทเรียนส ำเร็จรูป 1. ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม หรือมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม 2. ผู้เรียนได้ประเมินตนเอง และรู้ค้าตอบได้ทันที 3. มีการเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจเมื่อสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง และมความพยายามที่จะีแก้ไขส่วนที่บกพร่อง 4. ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปที่ละล้าดับ จากง่ายไปยากตามศักยภาพและความสามารถของ แต่ละคน L = Listening = กำรฟัง R = Read = กำรอ่ำน R = Review = กำรทบทวน R = Remember = กำรจ ำ

- ๑๒ - ค ำนิยำมศัพท์ ๑. นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาทุกระดับชั น ที่ก้าลังเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โรงเรียนน ้าปลีกศึกษา จังหวัดอ้านาจเจริญ ปีการศึกษา ๒๕๖๓-๒. บทเรียนส้าเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผู้สอนจัดท้าขึ นเพอใช้เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการื่เรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ในแต่ละสาระการเรียนรู้ที่ก้าหนดไว้ในแต่ละบทเรียน โดยเริ่มจากเนื อหาสาระที่ง่าย ๆ ไปสู่เนื อหาที่ยากขึ นไปตามล้าดับ เป็นบทเรียนที่สร้างขึ นโดยก้าหนดวัตถุประสงค์ เนื อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า และประเมินผลการเรียนด้วยตนเองตามขั นตอนที่ก้าหนดไว้ ทั งนี ให้รวมถึง บทเรียนส้าเร็จรูป แบบเรียนส้าเร็จรูป ชุดการเรียนการสอน บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมการสอน แบบเรียนด้วยตนเอง ที่ครูโรงเรียนน ้าปลีกศึกษาได้พัฒนาขึ นเพื่อใช้จัดการเรียนรู้กิดานันท์ มลิทอง (2531 : 85) กล่าวว่า ชุดการเรียนการสอนประกอบด้วย ๑. คู่มือส้าหรับผู้สอนในการใช้ชุดการสอน และส้าหรับผู้เรียนในการใช้ชุดการเรียน ๒. ค้าสั่ง เพื่อก้าหนดแนวทางในการสอนหรือการเรียน ๓. เนื อหาบทเรียนจัดอยู่ในรูปของสไลด์ เทปบันทึกเสียง หนังสือบทเรียน ฯลฯ ๔. กิจกรรมการเรียน เป็นการี่ให้ผู้เรียนท้ารายงาน กิจกรรมที่ก้าหนดให้หรือค้นคว้าต่อจากการเรียนไปแล้ว เพื่อให้รู้กว้างมากขึ น ๕. แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบเกี่ยวกับบทเรียนนั น เพื่อการประเมิน จากแนวคิดที่นักการศึกษากล่าวไว้ ครูผู้สอนได้สังเคราะห์องค์ประกอบของชุดการเรียน การสอนไว้ดังนี ๑. คู่มือครูผู้สอนหรือชุดการสอน ประกอบด้วย ๑.๑ ค้าแนะน้าส้าหรับครู ๑.๒ แผนการสอน ๑.๓ แบบทดสอบ ๑.๔ เฉลยแบบทดสอบ ๑.๕ เฉลยใบงาน ๑.๖ แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้๒. คู่มือนักเรียนหรือชุดการเรียน ประกอบด้วย ๒.๑ ค้าชี แจงส้าหรับนักเรียน ๒.๒ ใบกิจกรรม ๒.๓ ใบงาน ๒.๔ แบบทดสอบ ขั้นตอนกำรพัฒนำและหำประสิทธิภำพของชุดกำรเรียนกำรสอน ในการสร้างและพัฒนาชุดการเรียนการสอนได้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ก้าหนดขั นตอน ไว้ดังนี วิชัย วงษ์ใหญ่ (2530 : 189-193) ได้เสนอขั นตอนการผลิตชุดการเรียน คือ1. จะต้องศึกษาเนื อหาสาระของวิชาที่จะน้ามาสร้างชุดการเรียนอย่างละเอียดว่าจะมุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้อะไรบ้างกับผู้เรียน น้ามาวิเคราะห์ แล้วแบ่งเป็นหน่วยการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะต้องมีหัวเรื่องรวมอยู่ อกทั งจะต้องศึกษาพจารณาให้ละเอยดชัดเจน เพอไม่ให้เกิดความซ ้าซ้อนในหน่วยอน ๆ อนจะีิีื่ื่ั

- ๑๓ - สร้างความสับสนให้กับผู้เรียนได้ การแบ่งหน่วยการเรียนการสอนของแต่ละวิชานั นควรเรียงล้าดับขั นตอนของเนื อหาสาระอะไรเป็นสิ่งจ้าเป็นที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ก่อน2. เมื่อศึกษาเนื อหาสาระแต่ละหน่วยการเรียนการสอนแล้ว ต้องพิจารณาตัดสินใจอีกครั งหนึ่งว่า จะท้าชุดการเรียนแบบใด โดยค้านึงถึงข้อก้าหนดว่าผู้เรียนคือใคร จะให้อะไรแก่ผู้เรียน จะให้ท้ากิจกรรมอย่างไร และจะท้าได้ดีอย่างไร สิ่งเหล่านี จะเป็นเกณฑ์ในการก้าหนดการเรียน 3. ก้าหนดหน่วยการเรียนการสอนโดยประมาณเนื อหาสาระที่เราก้าหนดขึ น จะต้องสอดคล้องกับหน่วยและหัวเรื่องโดยค้านึงถึงว่าเป็นหน่วยที่น่าสนุก น่าเรียนรู้ ให้ความชื่นบานแก่ผู้เรียน หาสื่อ การเรียนได้ง่าย พยายามศึกษาวิเคราะห์ให้ละเอยดอกครั งว่าหน่วยการเรียนการสอนนั นมีหลักการ หรือความคิดรวบีียอดอย่างไร และมีหัวข้อเรื่องย่อย ๆ อะไรอกบ้างที่จะต้องศึกษา พยายามดึงเอาแก่นของหลักการเรียนรู้ีออกมา 4. ก้าหนดความคดรวบยอด ความคดรวบยอดที่เราก้าหนดขึ นมาจะต้องสอดคล้องกับหน่วยและิิหัวเรื่อง โดยสรุปแนวคิด สาระและหลักเกณฑ์ เพอเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้องกัน ื่เพราะความคิดรวบยอดนั นเป็นเรื่องของความเข้าใจ อนเกิดจากประสาทสัมผัสกับสิ่งแวดล้อม เพอัื่ตีความหมายออกมาเป็นพฤติกรรมทางสมองแล้วน้าสิ่งใหม่ไปเชื่อมโยงเข้าด้วยกันกบประสบการณ์เดิม เกิดเป็นัความคิดรวบยอดได้ 5. จุดประสงค์การเรียน การก้าหนดจุดประสงค์การเรียนจะต้องให้สอดคล้องกับความคิด รวบยอด โดยก้าหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งหมายถึงความสามารถของผู้เรียนที่แสดงออกมาให้เห็นได้ในภายหลังจากการเรียนการสอนบทเรียนแต่ละเรื่องจบไปแล้ว โดยผู้สอนสามารถวัดได้ จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมนี ถ้าผู้สอนระบุ หรือก้าหนดให้ชัดเจนมากเท่าใด ก็มีทางประสบผลส้าเร็จ ในการสอนมากเท่านั น ดังนั นจึงควรใช้เวลาในการตรวจสอบจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อให้ถูกต้อง และครอบคลุมเนื อหาสาระการเรียนรู้ 6. การวิเคราะห์งาน คือ การน้าจุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละข้อมาท้าการวิเคราะห์งาน เพอหาื่กิจกรรมการเรียนการสอน แล้วจัดล้าดับกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม ถูกต้อง สอดคล้องกับจุดประสงค์ที่ก้าหนดไว้แต่ละข้อ 7. เรียงล้าดับกิจกรรมการเรียน ภายหลังจากที่เราน้าจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อมาวิเคราะห์งาน และเรียงล้าดับกิจกรรมของแต่ละข้อเพอให้เกิดการประสานกลมกลืนของการเรียนการสอน จะต้องน้าื่กิจกรรมการเรียนของแต่ละข้อที่ท้าการวิเคราะห์งาน และเรียงล้าดับกิจกรรมไว้แล้วมาหลอมรวมเป็นกิจกรรมการเรียนขั นที่สมบูรณ์ที่สุด เพอไม่ให้เกิดการซ ้าซ้อนในการเรียนโดยค้านึงถึงพฤติกรรมพนฐานของผู้เรียน ื่ื วิธีด้าเนินการให้มีการเรียนการสอนขึ น ตลอดจนติดตามผล และประเมินผลพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออกมาเมื่อมีการเรียนการสอนแล้ว 8. สื่อการสอน คือวัสดุอปกรณ์และกิจกรรมการเรียนที่ครูและนักเรียนจะต้องท้า เพอเป็นุื่แนวทางในการเรียนรู้ซึ่งครูจะต้องจัดท้าขึ นและจัดหาไว้เรียบร้อย ถ้าสื่อการเรียนเป็นของใหญ่โต หรือมีคุณค่าทจะต้องจัดเตรียมมาก่อน จะต้องเขียนบอกไว้ชัดเจนในคู่มือที่เกี่ยวกับการใช้ชุดการเรียนว่าไปจัดหา ณ ที่ใด ี่เช่น เครื่องฉายสไลด์ เครื่องบันทึกเสียง และพวกสิ่งที่เก็บไว้ไม่ทนทาน เพราะเกิดการเน่าเสีย เช่น ใบไม้ พช ืสัตว์ เป็นต้น 9. การประเมิน คือการตรวจสอบดูว่าหลังการเรียนการสอนแล้ว ผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามที่จุดประสงค์การเรียนก้าหนดไว้หรือไม่ จะวัดได้โดยวิธีใดก็ได้ แต่ต้องวัดพฤติกรรม ที่คาดหวังเป็นส้าคัญ พยายามออกแบบวัดผลให้ผู้เรียนวัดกันเองและตรวจค้าตอบได้เอง

- ๑๔ - 10. การทดลองชุดการเรียนเพอหาประสิทธิภาพ การหาประสิทธิภาพชุดการเรียนเพอปรับปรุงื่ื่ให้เหมาะสม ควรน้าไปทดลองกลุ่มเล็ก ๆ ดูก่อน เพอตรวจสอบหาข้อบกพร่องและการแก้ไขปรับปรุงอย่างดี ื่แล้วจึงน้าไปทดลองกับเด็กทั งชั น หรือกลุ่มใหญ่ โดยก้าหนดขั นตอนไว้ ดังนี 10.1 ชุดการเรียนนี ต้องการความรู้ดั งเดิมของผู้เรียนหรือไม่ 10.2 การน้าเข้าสู่บทเรียนของชุดการเรียนนี เหมาะสมหรือไม่ 10.3 การประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนมีความสับสนวุ่นวายกับผู้เรียนหรือไม่ 10.4 การสรุปผลการเรียนการสอนเพอเป็นแนวทางไปสู่ความคิดรวบยอด หรือหลักการื่ส้าคัญของการเรียนรู้ในหน่วยนั น ๆ ดีหรือไม่10.5 การประเมินผลหลังการเรียน เพอตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงื่เกิดขึ นนั นให้ความเชื่อมั่นได้มากน้อยแคไหนกับผู้เรียน ่ชม ภูมิภาค (2524 : 103-104) ได้ก้าหนดขั นตอนไว้ ขั นตอน คือ 111. วิเคราะห์และก าหนดความต้องการ 2. ก าหนดเป้าหมายและจุดประสงค์ 3. ออกแบบองค์ประกอบของระบบ 4. วิเคราะห์แหล่งวิทยาการที่ต้องการ แหล่งวิทยาการที่มีอยู่และจ ากัด 5. ปฏิบัติเพื่อขจัดหรือปรับปรุงข้อจ ากัด 6. เลือกหรือพัฒนาวัสดุการสอน 7. ออกแบบการประเมินผลการกระท าของนักเรียน 8. ทดลองใช้แบบประเมินเพื่อปรับปรุงและน าไปใช้ 9. ปรับปรุงและแก้ไขทุกส่วนที่บกพร่อง และหาประสิทธิภาพ 10. ประเมินเพื่อสรุป 11. สร้างเป็นชุดเพื่อติดตั ง เพื่อใช้ คณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ (2538 อางถึงใน บ้ารุง ใหญ่สูงเนิน 2536 : 40) ได้เสนอขั นตอน้ในการสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมครูตามโครงสร้างปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของครูประถมศึกษาไว้ ดังนี 1. ก าหนดวัตถุประสงค์ 2. ก าหนดเนื อหา 3. ก าหนดระยะเวลา 4. ก าหนดกิจกรรม 5. ก าหนดกระบวนการ 6. ก าหนดสื่อหลักและสื่อเสริม 7. ก าหนดการประเมินผล จากขั นตอนในการพฒนาชุดการเรียนการสอนที่นักการศึกษาได้กล่าวมาแล้วนั น ผู้รายงานได้ท้าการัสังเคราะห์เป็นขั นตอนในการพัฒนาชุดการสอนโดยใช้ ดังต่อไปนี ขั นตอนที่ การวิเคราะห์เนื อหา 1 ขั นตอนที่ 2 การวางแผนการสอน ขั นตอนที่ 3 การผลิตและจัดหาสื่อการสอน ขั นตอนที่ 4 การทดสอบประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอน เมื่อสร้างชุดการเรียนการสอนเสร็จ จ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องน้าไปทดสอบหาประสิทธิภาพ เพอเป็นื่หลักประกันว่าชุดการเรียนการสอนนั นมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอน โดยผู้สร้างต้องกาหนดเกณฑ์ขึ น ชัย้

- ๑๕ - ยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ (2521 อางถึงใน สุระ สนั่นเสียง : ้21-23) ได้ก้าหนดเกณฑ์ โดยยึดหลักการที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการเพอช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียน ื่ดังนั นการก้าหนดเกณฑ์ต้องค้านึงถึงกระบวนการและผลลัพธ์ โดยก้าหนดตัวเลขเป็นร้อยละของคะแนนเฉลี่ยมีค่าเป็น 21/E E1 E ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนจากชุดการเรียนการสอน คิดจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละจากการท้าแบบฝึกหัดระหว่างเรียน โดยมีการค้านวณค่าสถิติดังต่อไปนี สูตรที่ 1 1 E = 100 A N Xเมื่อ1 E หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการ X หมายถึง คะแนนรวมของแบบฝึกหัดหรืองานที่ท้า หมายถึง คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทุกแบบฝึกหัด A หมายถึง จ้านวนผู้เรียน N2 Eตัวหลัง หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลัพธ์จากชุดการเรียนการสอนคิดจากคะแนนเฉลี่ย ร้อยละจากคะแนนที่นักเรียนท้าได้จากการสอบหลังเรียน สูตรที่ 2 2 E = 100 B N Fเมื่อ แทน ประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนที่ได้จากคะแนนเฉลี่ยการท้าแบบทดสอบ2 Eวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Fแทน คะแนนรวมของนักเรียนที่ท้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนถูก แทน จ้านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่างทั งหมด N แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ Bที่มา : ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชา1 ฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32202 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ จากเว็บไซต์ 5Physicsnampreek เอกสารอ้างอิงURL: http://gg.gg/NP-PHYSICSNAMPREEK

- ๑๖ - เอกสำรให้ควำมรู้ในกำรพัฒนำบทเรียนส ำเร็จรูปและจัดท ำข้อสอบอิงมำตรฐำน เอกสารการพัฒนาบทเรียนส้าเร็จรูป และจัดท้าข้อสอบอิงมาตรฐาน URL:https://pubhtml5.com/bookcase/qhouตัวอย่าง บทเรียนส าเร็จรูปออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการเรียนรู้ออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ สามารถเข้าชมผลงานผ่าน URL:http://gg.gg/SCIPHY-M5

- ๑๗ - ๓) ขั้นตอนกำรด ำเนินงำนพัฒนำ ล้าดับขั นตอนการด้าเนินการพัฒนา และหาคุณภาพตั งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการพัฒนาน้าสู่ผลส้าเร็จตามเป้าหมาย โดยใช้บทเรียนส้าเร็จรูปลงสู่กระบวนการจัดการเรียนรู้ปกติภายในห้องเรียน และการจัดกิจกรรมซ่อมเสริม และการสอนเสริมเติมเต็ม ก าหนดแนวการด าเนินงานเป็น 15 ขั นตอน ดังนี 1. ปรับโครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมที่ก าหนด 2. เมื่อวางแผนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี วัดแล้ว ให้โรงเรียนตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตร การก าหนดหน่วยการเรียนรู้ว่าครอบคลุมหรือไม่ หากไม่ครอบคลุมให้สอนเพิ่มในส่วนที่ตกหล่นไปโดยเฉพาะ ม.3 และ ม.6 3. วางแผนการสอนชั น ม. 3 และ ม.6 ให้จบ และครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 4. สืบคนสื่อ และแบบทดสอบ ้เพื่อจัดท าบัญชีรายชื่อคลังสื่อ และแบบทดสอบ O-Net จาก Google และYoutube 5. จัดกิจกรรม Tutor ตามแนวข้อสอบของ สทศ. ในชั น หรือ ก าหนดกิจกรรม วันเวลาให้ชัดเจน 6. ครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนร่วมกันสร้างข้อสอบตามแนวข้อสอบของ สทศ. แล้วแลกเปลี่ยนข้อสอบผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 7. น าแนวข้อสอบ O-NET ของ สพม. ไปใช้แทรกในการเรียนการสอนปกติ และในการ Tutor ในชั นเรียนให้นักเรียนคนเคยุ้และมีประสบการณ์การท าข้อสอบ (รูปแบบข้อสอบ/ก ร ะ ด า ษ ค า ต อ บ /ก า ร ร ะ บ า ย ค า ต อ บ ฯ ) 8. ผู้บริหารก าหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ชัดเจน (ก าหนดวันที่ กิจกรรมที่ต้องท า) 9. ผู้บริหารติดตามการน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในสถานศกษา การน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในึชั นเรยน ติดตามผลการท างานของครูผู้รับผิดชอบทุกระยะีอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ด าเนินงานบรรลุตามแผนงาน หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ทันเวลา 10. จัดกิจกรรม Tutor ให้ต่อเนื่องก่อนถึงวันสอบจริง (O-NET มัธยมศกษาปีที่ 3 ึสอบ…17 18…-เดือน มีน าคม พ .ศ.2564 ) (O-NETมัธยมศกษาปีที่ 6 สอบึ…27 29…-เดือน มีนาคม พ.ศ.2564 ) 11. จัดสอบเสมือนจริง โดยใช้ข้อสอบ กระดาษคาตอบ การคมสอบ เวลาสอบเสมือนจริงทุกุประการ โดยใช้ข้อสอบของ สพม.29 ซงจัดท าขึ นตามึ่แนวข้อสอบของ สทศ. บันทึกผลการสอบ ตรวจคาตอบ และวิเคราะห์ผลการทดสอบเพื่อปรับปรุงแก้ไขนักเรียนก่อนวันสอบจริง 12. จัดกิจกรรมเสริมแรงทางบวก (จัดอาหารว่างน าหวาน ขนมช่วงพักสอบ) สร้างบรรยากาศผ่อนคลาย ท าสมาธิก่อนเวลาสอบ 13. ประชาสัมพันธ์ความส าคญของการสอบ O-NET ทุกสัปดาห์ 14. ัประกาศ/ป้าย นับเวลาถอยหลัง Count Down ทุกวัน 15. โรงเรียนให้รางวัลนักเรียนที่มีคะแนนสอบสูง/มีความก้าวหน้าสูง โดยก าหนดหนักเรียนที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศกษาึวิชาละ 300 บาท ในทุกรายวิชา

- ๑๘ - การด าเนินงานระบบการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรียนน าปลีกศึกษา Qr-code 1. จัดท า/ปรับโครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมมีก าหนดชัดเจน URL: http://gg.gg/Achievement-62 2. เมื่อครูวางแผนการสอนตามมาตรฐาน และตัวชี วัดแล้ว ให้โรงเรียนตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตรให้ตรงตามตัวชี วัด URL:http://pubhtml5.com/bookcase/gswo3. วางแผนการสอนชั น ม. 3 และ ม.6 ให้จบ และครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ศึกษาข้อมูลผลสัมฤทธิ์ O-Net ที่กลุ่มงานวิชาการได้ท าการวิเคราะห์ ปีการศึกษา 59-62 URL: http://gg.gg/NP-O-NET59-614. สืบค้นสื่อ และ แบบทดสอบ เพื่อจัดท าบัญชีรายชื่อคลังสื่อ และแบบทดสอบ O-Net จาก Google และYoutube URL: http://gg.gg/Onet-test-48-615. เข้าพัฒนาความรู้การจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้และจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนปกติและสอนเสริมเติมเต็ม ตามแนวข้อสอบของ สทศ. ในห้องเรียน หรือ ก าหนดกิจกรรม วันเวลาให้ชัดเจน URL: http://gg.gg/TrainingOnet-NP 6. ครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนร่วมกันสร้างข้อสอบตามแนวข้อสอบของ สทศ. ข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ แล้วแลกเปลี่ยนข้อสอบผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ขั นตอนการสร้างข้อสอบ URL: http://online.pubhtml5.com/kccj/dwnl/7. น าแนวข้อสอบ O-NET ไปใช้แทรกในการเรียนการสอนปกติ และในการสอนเสริมเติมเต็ม ในชั นเรียนให้นักเรียนคุ้นเคยและมีประสบการณการท าข้อสอบ (รูปแบบ์ข้อสอบ/กระดาษค าตอบ/การระบายค าตอบฯ) URL: http://gg.gg/Exam-Bank-NP8. ผู้บริหารก าหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรียนเพอยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการื่เรียนให้ชัดเจน (ก าหนดวันที่ กิจกรรมที่ต้องท า) URL:http://gg.gg/calendar-KRUYOK 9. ผู้บริหารติดตามการน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในสถานศกษา การน าข้อสอบ O-NET ึไปใช้ในชั นเรียน ติดตามผลการท างานของครูผู้รับผิดชอบทุกระยะอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ด าเนินงานบรรลุตามแผนงาน หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ทันเวลา URL: http://pubhtml5.com/bookcase/ohcp

- ๑๙ - การด าเนินงานระบบการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรียนน าปลีกศึกษา Qr-code 10. จัดกิจกรรมสอนเสริมเติมเต็ม ให้ต่อเนื่องก่อนถึงวันสอบจริง O-NET สอบ เดือน 13-14 มีนาคม พ.ศ.2564 และ 27-28 มีนาคม พ.ศ.2564URL: http://online.pubhtml5.com/ylqa/dysr/ 11. จัดสอบเสมือนจริง โดยใช้ข้อสอบ กระดาษค าตอบ การคุมสอบ เวลาสอบเสมือนจริงทุกประการ โดยใช้ข้อสอบในคลังข้อสอบ ซึ่งจัดท าขึ นตามแนวข้อสอบของ สทศ. บันทึกผลการสอบ ตรวจค าตอบ และวิเคราะห์ผลการทดสอบเพอปรับปรุงื่แก้ไขนักเรียนก่อนวันสอบจริง URL: http://gg.gg/O-Net62-1 12. จัดกิจกรรมเสริมแรงทางบวก (จัดอาหารว่างน าหวาน ขนมช่วงพักสอบ) สร้างบรรยากาศผ่อนคลาย ท าสมาธิก่อนเวลาสอบ URL:13. ประชาสัมพันธ์ความส าคัญของการสอบ O-NET ทุกสัปดาห์ URL: http://gg.gg/NP-develop62 14. ประกาศ/ป้าย นับเวลาถอยหลัง Count Down ทุกวัน URL: http://gg.gg/np-count-down 15. โรงเรียนให้รางวัลนักเรียนที่มีคะแนนสอบสูง/มีความก้าวหน้าสูง โดยก าหนดหนักเรียนที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศกษาวิชาละ 300บาท ในทุกึรายวิชา URL: http://gg.gg/ST-62กลุ่มงานวิชาการได้ท าการวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติขั นพื นฐาน O-Net ของโรงเรียนน าปลีกศึกษา ปีการศึกษา 59-62URL: http://gg.gg/NP-O-NET59-61คู่มือการตรวจสอบผลการเรียนปัจจุบันผ่านระบบออนไลน์ ของนักเรียน โรงเรียนน ้าปลีกศึกษาURL:https://online.pubhtml5.com/ylqa/txqd/๔) ผลงำนที่เกิดขึ้นจำกกำรด ำเนินงำน ผลงานที่เป็นชิ นงานนวัตกรรม และผลการใช้นวัตกรรมที่เกิดขึ นกับผู้เรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษาชุมชน หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านพฤติกรรม พัฒนาการหรือ การเรียนรู้ เช่น

- ๒๐ - ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ิว 32202 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ครูผู้สอนสร้างขึ นมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 75 ตัวหลังที่ตั งไว้ ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ิว 32202 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ครูผู้สอนสร้างขึ น ประสิทธิภาพ 78.10/76.24 ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำหรือพัฒนำสอดคล้องตำมวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยที่ระบุได้ครบถ้วน การสอนวิชาฟสิกส์ในโรงเรียนมีปัญหา กล่าวคือ นักเรียนขาดความกระตือรือร้นไม่สนใจเรียน ท าให้ิขาดความรู้ความเขาใจในเนื อหา หลักการ ทฤษฎี ตลอดจนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจาก้การอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบหลายๆ ส่วนโดยแต่ละส่วนจะมีความสัมพนธ์กัน และเขียนอยู่ในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์จึงท าให้วิชาฟสิกส์มีความซับซ้อน ท าให้ัินักเรียนขาดความสนใจและเกิดความรู้สึกว่าวิชาฟสิกส์เป็นวิชาที่เข้าใจยาก มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อวิชาฟสิกส์ เกิดิิความท้อแท้เบื่อหน่าย ไม่อยากเรียน ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ิว 32202 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ครูผู้สอนสร้างขึ น ช่วยส่งผลผู้เรียนสามารถเรียนโดยได้เรียนรู้เนื อหาได้ครบถ้วนตรงตามหลักสูตรผ่านชุดการเรียนรู้ที่ง่ายต่อความเข้าใจและการท าซ าๆ ส่งผลต่อกระบวนการจัดเก็บความรู้ และการแก้ปัญหาโจทย์ปัญหาได้เป็นอย่างดี ดังแสดงในผลการหาประสิทธิภาพของ ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32202 ชั นิิ่มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ครูผู้สอนสร้างขึ นมี ประสิทธิภาพ 78.10/76.24 ๕) สรุปสิ่งที่เรียนรู้และกำรปรับปรุงให้ดีขึ้น - ข้อคิด ประสบการณ์ องค์ความรู้ที่ได้จากการพฒนา รวมทั งปัญหาที่เกิดและการแก้ไข ปรับปรุงพฒนาััผลงานนวัตกรรมให้ดีขึ น มีการปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมให้มีความน่าสนใจในการเรียนยิ่งขึ น ปรับปรุงรูปแบบของนวัตกรรมให้ง่ายต่อความเข้าใจ เพิ่มสีสันของแบบฝึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดท าข้อสอบให้สามารถจัดเก็บข้อมูลมาเพอใช้วิเคราะห์ผู้เรียนให้หลากหลายรอบด้าน โดยผู้จัดท าได้ท าการศกษารูปแบบการจัดท าข้อสอบื่ึของ สทศ. เพื่อน ามาใช้ในการจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานของโรงเรียน จากการศึกษาค้นคว้าจึงได้จัดท าเป็นคู่มอ ืเพื่อพัฒนาครูภายในโรงเรียนน าปลีกศึกษา ดังตัวอย่าง ที่มา : ขั นตอนการสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโรงเรียนน าปลีกศึกษา URL : http://online.pubhtml5.com/ylqa/aypx/

- ๒๑ -

- ๒๒ - ๖) กำรขยำยผลและเผยแพร่ผลกำรพัฒนำ น้ารูปแบบ วิธีการพฒนาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายอน ๆ ภายใต้บริบทเดียวกัน เผยแพร่ผลการพฒนาในัื่ัรูปแบบต่าง ๆ สู่เพื่อนร่วมวิชาชีพ วิธีการ และผลการเผยแพร่นวัตกรรม น ำไปประยุกต์ใช้ในสภำพบริบทที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน นวัตกรรมที่จัดสร้างขึ นนี สามารถน้าไปประยุกต์ใช้ในสภาพบริบทที่ใกล้เคียงกันในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ทั งในระดับเดียวกันแต่ต่างห้องเรียน ต่างระดับชั น และประยุกต์ใช้ได้กับเนื อหาอน ๆ ในบทเรียน ตลอดจนข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เช่น กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ และได้เผยแพร่ื่งานวิจัยให้กับเพอนครูในโรงเรียน และโรงเรียนใกล้เคียงที่มีสภาพบริบทที่มีลักษณะใกล้เคียงกนได้น้าไปศึกษา ื่ัและประยุกต์ใช้กับสภาพการจัดการเรียนการสอนต่อไป ขยำยผลไปยังโรงเรียนที่มสภำพบริบททมีลักษณะใกล้เคียงกัน ีี่๑) วิทยากรการใช้สื่อเทคโนโลยีลงสู่กระบวนการเรียนการสอน ณ โรงเรียนพนาศึกษา ๑) วิทยากรการประชุมพัฒนาวิชาชีพครูโดยเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) ณ โรงเรียนนาเวียงจุลดิศวิทยา

- ๒๓ - ๓) วิทยากรการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ณ โรงเรียนน ้าปลีกศึกษาได้รับรำงวัลยกย่องเชิดชูเกียรติจำกหน่วยงำนภำครัฐ เอกชน เป็นที่ยอมรับในวชำชีพ และสังคม ิเป็นผู้น้าเสนอรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภายใต้โครงการ TFE ในพื นที่ด้าเนินงานของส้านักศึกษาธิการภาค ๑๔

- ๒๔ - ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทำงกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ระบุข้อเสนอแนะและแนวทางการพฒนาที่เป็นผลสืบเนื่องจากข้อค้นพบ ผลกระทบที่เกิดจากการคิดค้น ัหรือพัฒนาผลงานนวัตกรรมในครั งนี เมื่อครูผู้สอนน าชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา มีข้อควรปฏิบัติดังนี ครูผู้สอนจะต้องศึกษารายละเอยดของชุดการสอนทุกชุด ดังนี ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ละเอยด ศึกษาชุดการสอน พร้อมทั งีีตรวจสอบอปกรณ์ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ หากกิจกรรมใดเป็นกิจกรรมการทดลอง ครูผู้สอนจะต้องุตรวจสอบ อุปกรณ์ และทดลองทากิจกรรมการทดลองก่อนน าไปใช้จริงบทบาทของคุณครูผู้ท าการสอนด้วยชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32202 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดที่ 1 การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกลจัดเตรียมเอกสารและอปกรณ์การสอนให้พร้อม ุจัดเตรียมชั นเรียน ให้พร้อม ในกิจกรรมกลุ่ม ครูผู้สอนจะต้องจัดกลุ่มผู้เรียนกลุ่มละ 6-7 คน พร้อมทั งเตรียมอปกรณ์ให้เพยงพอ ด าเนินการควบคุมกิจกรรมให้เป็นไปตามชุดการสอนโดยใช้กลวิธี อภิปัญญา และต้องุีควบคุมเวลาให้เป็นไปตามที่ก าหนด ด าเนินการจัดกิจกรรมโดยคอยควบคุมดูแล และให้ความช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถด าเนินกิจกรรมตามค าชี แจงของชุดการสอนโดยเฉพาะในกิจกรรมทดสอบก่อนเรียน และการทดสอบหลังเรียน ครูจะต้องด าเนินการให้เป็นไปตามระเบียบการควบคุมห้องสอบโดยเคร่งครัด การจัดท าน าเสนอที่พร้อมใช้งานทั งแบบออฟไลน์ และออนไลน์ โดยในกรณีอินเตอร์เน็ตไม่พร้อมผู้เรียนจะเรียนผ่านชุดเอกสารที่ได้จัดพิมพ์ไว้ในแบบรูปเล่มซึ่งมีจ านวน 6 เล่ม หรือใช้งานผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยแบ่งเป็นรูปแบบ ดังนี รูปแบบที่ 1 เรียนผ่านชุดเอกสารที่ได้จัดพิมพไว้ในแบบรูปเล่ม ซึ่งมีจ านวน 6 เล่ม ชุดการสอนโดยใช้์กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32202 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดการสอนทั งสิ น 6 ชุดดังนี

- ๒๕ - รูปแบบที่ 2 เรียนผ่าน E-Book ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติมรหัสวิชา ว32202 ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งสะดวกในการใช้งานอานผ่านสมาร์ทโฟน ่ส าหรับนักเรียนอ่านเพิ่มเติม ที่มา เว็บไซต์ Physicsnampleek ผ่าน URL: http://pubhtml5.com/bookcase/ldtwรูปแบบที่ 3 เข้าเรียนผ่านชุดการเรียนฉบับออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ Physicsnampreek ที่ผู้จัดท าขึ นซึ่งจะสะดวกในการเข้าใจงานพร้อมทั งสมารถสอบก่อนเรียน และหลังเรียนผ่านระบบซึ่งผู้เรียนจะสามารถทราบผลทดสอบหลังเรียนได้ทันท ี

- ๒๖ - วีดีทัศน์การแนะน าขั นตอนการใช้งานชุดการเรียนฉบับออนไลน์ผ่าน URL : http://gg.gg/explain-APIPANYA อกช่องทางที่สะดวกคือ เข้าีผ่านระบบสารบัญออนไลน์ที่ผู้จัดท าเป็นช่องทางเชื่อมต่อเพอื่อ านวยความสะดวก การน าเสนอชุดการเรียนมีรูปแบบที่หลากหลาย สามารถปรับการใช้งานได้ตามสถานการณ์ และตามความเหมาะสมบริบทของผู้เรียน มีการล าดับขั นตอนอย่างเป็นระบบ เหมาะสมและสะดวกต่อการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง โดยมีครูคอยกระตุ้นความสนใจ และควบคุมให้เป็นไปตามเวลาที่ก าหนด เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ๗. จุดเด่น หรือลักษณะพิเศษของผลงำนนวัตกรรม ผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนฝึกท้ากิจกรรมต่าง ๆ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการลงมือปฏิบัติการทดลอง การแก้โจทย์ปัญหาต่าง ๆ เพอที่จะท้าให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักการ กฎ ทฤษฎี และื่ธรรมชาติของวิชานั นๆ เพอให้เกิดทักษะในกระบวนการแก้ปัญหา พร้อมทั งสามารถน้าหลักการไปประยุกต์ใช้ื่ในเชิงปฏิบัติได้ ครูจึงควรมีเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบแบบแผน กระชับ และเข้าใจง่าย ผ่านบทเรียนส้าเร็จรูป เพอให้เป็นไปตาม การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง ื่พุทธศักราช 2545 หมวด มาตรา ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒนาตนเองได้422ัและถือว่าผู้เรียนมีความส้าคัญที่สุด โดยได้เป็นผู้น าเสนอรูปแบบหรือแนวทางการพฒนาการจัดการเรียนรู้ัภายใต้โครงการ TFE ในพื นที่ด าเนินงานของส านักศึกษาธิการภาค ๑๔ วีดีทัศน์การแนะน าขั นตอนการใช้งานชุดการเรียนฉบับออนไลน์ผ่าน URL : http://gg.gg/explain-APIPANYA

- ๒๗ -

- ๒๘ - ๘. บรรณำนุกรม บรรณานุกรม กรมวิชาการ. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2544. . หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2545. .ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ พัฒนาการเรียนการสอนส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2541.(อัดส าเนา) กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด. 2551. กิดานันท์ มะลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, ส านักงาน. การปฏิรูปการเรียนตามแนวคิด 5 ทฤษฎี. กรุงเทพ ฯ : ไอเดียสแควร์, 2542. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544). กรุงเทพฯ: ส านักงานพัฒนาหลักสูตร, 2539. ชม ภูมิภาค. เทคโนโลยีการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร, 2524. บ ารุง ใหญ่สูงเนิน. การพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมความรู้เกี่ยวกับการสอน ทักษะการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ของประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์, 2535. ลักขณา หมื่นจักษ์. การสร้างชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการ พลเรือน, ม.ป.ป. ลัดดา ศุขปรีดี. เทคโนโลยีการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพมพ, 2524. ิ์วาสนา ชาวหา. เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: อักษรสยามการพมพ, 2525. ิ์วิชัย วงศ์ใหญ่. วิธีการสร้างชุดการเรียนด้วยตนเอง. ในเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การสอนทางไกล. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน, 2530.

- ๒๙ -