Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาซียะห์1-4 (1)

อาซียะห์1-4 (1)

Published by อาซียะห์ ทองด้วง, 2019-11-28 02:59:20

Description: อาซียะห์1-4 (1)

Search

Read the Text Version

02 ระบบนิเวศ Ecology.

ความหมายของคาต่างๆ ในระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (ecosystem) หมายถึง ระบบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกลุม่ ส่ิงมีชวี ติ ที่อาศยั อยูร่ ว่ มกนั ใน บริเวณน้ัน และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกลุม่ สิ่งมีชีวติ กบั สภาพแวดลอ้ มของแหลง่ ที่อยู่ ไดแ้ ก่ ดิน น้า แสง ในระบบนิเวศจะ มีการถ่ายทอดพลงั งานระหวา่ งกลุม่ ส่ิงมีชีวติ กลุ่มต่างๆ และมีการหมุนเวียนสารตา่ งๆจากสิ่งแวดลอ้ มสู่สิ่งมีชีวิตและจาก สิ่งมีชีวิตสสู่ ่ิงแวดลอ้ ม ภาพประกอบ ระบบนิเวศบนบก

สิ่งมีชีวิต (Organism) หมายถึง ส่ิงท่ีตอ้ งใชพ้ ลงั งานในการดารงชวี ิต ซ่ึงมีลกั ษณะท่ีสาคญั ดงั น้ ี 1. ตอ้ งมีการเจริญเติบโต 2. เคล่ือนไหวไดด้ ว้ ยพลงั งานที่เกิดข้ นึ ในร่างกาย 3. สืบพนั ธุไ์ ด้ 4. ประกอบไปดว้ ยเซลล์ 5. มีการหายใจ 6. มีการขบั ถ่ายของเสียตา่ งๆ 7. ตอ้ งกินอาหาร หรือแร่ธาตุตา่ งๆ ประชากร (Population) หมายถึง สิ่งมีชีวติ ท้งั หมดที่เป็ นชนิดเดียวกนั อาศยั อยใู่ นแหล่งท่ีอยู่ เดียวกนั ณ ชว่ งเวลาเดียวกนั

กลุ่มสิ่งมีชวี ิต (Community) หมายถึง สิ่งมีชวี ิตต้งั แต่ สองชนิดมาอยใู่ นแหล่งที่อยู่ เดียวกนั ใน เวลาเดียวกนั สมาชิกแต่ ละหน่วยมีความสมั พนั ธ์ กนั โดยตรงหรือโดยทางอ อม และต่างมีความสาคญั ต่อกลุ่ม สิ่งมีชีวิตตามบทบาทหนา้ ที่ของตนเอง เชน่ กลุ มส่ิงมีชีวิตในสระน้า จะประกอบดว้ ยประชากรปลา หอย กบ ลกู อ๊อด สาหร่าย พืชน้า เป็ นตน้ ภาพประกอบ กลุ่มสิ่งมีชีวิตบรเิ วณสระนา้

โลกของส่ิงมีชีวิต (Biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกนั สิง่ แวดล้อม (Environment) หมายถึง 1. สง่ิ ทมี่ ผี ลต่อการดา้ รงชีวิตของสง่ิ มีชวี ิต ทา้ ใหส้ ง่ิ มชี ีวติ เจรญิ เติบโตหรือ ด้ารงชีวติ ได้ดหี รือไม่ 2. สงิ่ ทอ่ี ยู่รอบๆ ตัวเรา ทงั ที่มีชีวิตและไมม่ ชี วี ิต แหล่งที่อยู่ (Habitat) หมายถึง สถานที่ทส่ี ิ่งมชี วี ิตอาศยั อยู่กระจดั กระจาย อยู่ตามท่ีตา่ งๆ ท่วั ไปเพือ่ ใชเ้ ป็นแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศัยหาอาหาร หลบภยั จากศัตรู ผสม พันธุ์ วางไข่ เป็นตน้ แหลง่ ทีอ่ ยูอ่ าศยั นมี ขี อบเขตทแี่ น่นอน แตอ่ าจมีขนาดแตกต่าง กัน

โพรงไมเ้ ป็ นแหล่งที่อยอู่ าศยั ของกระรอก ตวั อยา่ งเช่น แหลง่ ที่อยอู่ าศัยบนบก (Terrestrial habitat) เป็นระบบนเิ วศท่ปี รากฏอยบู่ นพืนดินซ่ึงแตกตา่ งกนั ไปโดยใชล้ กั ษณะเด่นของพชื เป็น หลักแบง่ ซ่ึงขึนกับปจั จัยสา้ คัญ 2 ประการ คอื อณุ หภูมแิ ละปรมิ าณนา้ ฝน ท้าให้พชื พรรณต่างๆ แตกตา่ งกนั

แหล่งที่อยอู่ าศยั ในน้า (Aquatic habitat) - แหลง่ ที่อยอู่ าศยั ในทะเลหรือมหาสมุทร (Marine Ecosystem) เป็ นระบบนิเวศที่มีน้าเป็ นน้าเค็ม มีท้งั ท่ีเป็ นทะเลปิ ดและทะเลเปิ ด เน่ืองจากเป็ นหว้ งน้าขนาด ใหญ่ จึงนิยมแบ่งออกเป็ นระบบนิเวศยอ่ ยตามความลึกของน้าอีกดว้ ย - แหลง่ ที่อยทู่ ่ีเป็ นน้าจืด (Fresh water Ecosystem) เป็ นระบบท่ีน้าเป็ นน้าจืด และเป็ นสถานที่ๆส่ิงมีชวี ิตท่ีอาศยั อยู่ ตอ้ งมีการปรบั ตวั ในดา้ นตา่ งๆเชน่ มี ร่างกายแข็งแรงพอที่จะตา้ นกระแสน้าได้ หรือ มีพฤติกรรมวา่ ยทวนน้าฯลฯ ระบบนิเวศน้ากร่อย (Estuarine Ecosystem) เป็ นระบบนิเวศท่ีเกิดข้ ึนตรงรอยต่อระหวา่ งน้า จดื กบั น้าเค็ม มกั เป็ นบริเวณท่ีเป็ นปากแมน่ ้าตา่ ง ๆ จะมีตะกอนมากจึงมีป่ าไมก้ ลุม่ ป่ าชายเลนข้ นึ จึงเรียกวา่ ระบบนิเวศป่ าชายเลน แตบ่ างพ้ นื ที่อาจเป็ นแอง่ น้าขนาดใหญ่

ความสมั พนั ธข์ องสิ่งมีชีวิตและแหลง่ ท่ีอยู่ กลุม่ มีชีวิตในแหลง่ ที่อยเู่ ดียวกนั มีความสมั พนั ธซ์ ่ึงกนั และกนั และยงั มีความสมั พนั ธก์ บั ส่ิงไม่มีชวี ิตในแหลง่ ที่อยนู่ ้ัน กลุ่มสิ่งมีชีวติ มีความสมั พนั ธก์ บั แหลง่ ท่ีอยูห่ ลายดา้ นเพ่ือการดาเนินชีวิตอยา่ งเหมาะสม เชน่ ปา่ ชายเลน เปน็ แหล่งทอี่ ยอู่ าศยั ของสัตว์ตา่ งๆ

แมน่ ้า ลาธารเป็ นแหล่งอาหารของหมปี ่ า และส่ิงมีชีวติ ต่างๆ ดอกไมท้ ะเลและปะการงั แหล่งท่ีอยอู่ าศยั และเป็ นแหล่งหลบภยั ของ สิ่งมชี ีวติ ในทอ้ งทะเล ภาพประกอบ หมีป่ าจบั ปลาแซลม่อนท่ีลาธาร ภาพประกอบ ดอกไมท้ ะเล ปลาและปะการงั หาดทรายเป็ นแหลง่ วางไขท่ ่ีปลอดภยั ของเต่าทะเล เพ่ือใหเ้ ต่าทะเลได้ สืบพนั ธุแ์ ละดารงเผ่าพนั ธุต์ ่อไป ภาพประกอบ เต่าทะเลและหาดทราย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook