Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนักเรียน

งานนักเรียน

Published by Napat Yatahi, 2021-01-12 07:13:21

Description: เอาไว้อ่านเพื่อสอน

Search

Read the Text Version

หน่วยท1ี่ ระบบหน่อยSIและความเค้น 1.หัวข้อเร่ือง 1.1ระบบหน่วย Si และความเคน้ 2.จุดประสงค์ทวั่ ไป มีความรู้ความเขา้ จาสมารถนาไปใชแ้ ละมีเจตคติท่ีดีในเร่ืองความแขง็ แรงของวสั ดุ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 .บอกชื่อหน่วยรากฐานของระบบหน่วย SI ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกความหมายของความเคน้ ดึง ได้ ถูกตอ้ ง 3.มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 4.เนื้อหาสาระ ในยคุ ปัจจุบนั ไดม้ ีการคิดหน่วยส่ิงของมากมากและมีการบอกคา่ ไดม้ ากมายอาจจะทาให้ สื่อสารไดไ้ ม่ตรงกนั ในการบอกขนาดจึงจาเป็นอยา่ งยงิ่ ที่ผบู้ อกและผเู้ ป็นช่างเทคนิคผปู้ ฏิบตั ิงาน จะตอ้ งศึกษารายลพเอียดและทาความเขา้ ใจกบั หน่วยทีเป็ นมาตรฐานอยา่ งถูกตอ้ ง

หน่วย SI หน่วย SI ยอ่ มาจาก International Units System ประกอบดว้ ย หน่วยรากฐาน 7 หน่วย 1. ความยาว เมตร ( m ) 2. มวล กิโลกรัม ( kg ) 3. เวลา วนิ าที ( s) 4. กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ (A) 5. อุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิกส์ เคลวนิ (K) 6. ความเขม้ แห่งการส่องสวา่ ง แคนเดลา (cd) 7. ปริมาณสาร โมล (mol) ความเคน้ (Stress) ตามความเป็นจรงิ ความเค้นหมายถงึ แรงต้านทานภายในเน้ือวสั ดทุ ่มี ตี ่อแรงภายนอกทม่ี ากระทาต่อ หนง่ึ หนว่ ยพื้นท่ี แต่เนื่องจากความไมเ่ หมาะสมทางปฏบิ ตั ิ และความยากในการวัดหาคา่ นี้ เราจงึ มักจะพูดถึงความเคน้ ในรปู ของแรงภายนอกที่มากระทาต่อหน่งึ หนว่ ยพื้นท่ีดว้ ยเหตุผลทีว่ า่ แรง กระทาภายนอกมีความสมดุลกับแรงตา้ นทานภายใน การหาคา่ ความเค้นสามารถเขยี นเป็นสมการได้ ดงั น้ีคือ คอื ความเค้นทเ่ี กิดขึ้น มหี น่วยเปน็ N/mm2 F คอื แรงที่กระทามีหนว่ ยเป็น N A คือ พน้ื ทห่ี นา้ ตดั ทร่ี บั แรง มีหน่วยเป็นmm2

ความเค้นแบง่ เป็น 3 ชนดิ คอื 1. ความเค้นดึง (Tensile stress) 2. ความเค้นอดั (Compressive stress) 3. ความเค้นเฉอื น ( Shear stress) 1. ความเค้นแรงดงึ (Tensile Stress) เกิดขน้ึ เม่ือมีแรงดึงมากระทาตงั้ ฉากกบั พื้นท่ภี าคตดั ขวาง โดยพยายามจะแยกเน้ือวัสดุให้แยกขาดออกจากกัน 2. ความเค้นแรงอัด (Compressive Stress) เกิดขนึ้ เมื่อมีแรงกดมากระทาตั้งฉากกับพ้นื ที่ ภาคตดั ขวาง เพ่ือพยายามอดั ให้วสั ดมุ ีขนาดสั้นลง ดงั รูปที่

3. ความเคน้ แรงเฉือน (Shear Stress) ใช้สญั ลักษณ์ เกิดขน้ึ เม่ือมีแรงมากระทาให้ทศิ ทางขนาน กับพ้ืนทภ่ี าคตดั ขวาง เพอื่ ให้วสั ดเุ คล่อื นผา่ นจากกนั ดังรูปที่ มีคา่ เท่ากบั แรงเฉือน (Shear Force) หารดว้ ยพนื้ ทภ่ี าคตัดขวาง A ซง่ึ ขนานกบั ทิศทางของแรงเฉือน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook