Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้สหกรณ์ออมทรัพย์...สร้างความมั่นคงให้กับชีวิต 1

การใช้สหกรณ์ออมทรัพย์...สร้างความมั่นคงให้กับชีวิต 1

Published by kuscco, 2020-05-01 05:00:09

Description: หลากมุมมอง หลายความคิดของสมาชิก สอ.มก. ในเรื่องสหกรณ์

Search

Read the Text Version

ISBN 978-616-7522-23-4 เจ้าของ สหกรณ์ออมทรพั ย์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จำ�กดั 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 www.coop.ku.ac.th E-mail : [email protected] พมิ พ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2554 จ�ำ นวนพิมพ์ 10,000 เลม่ จดั ท�ำ โดย คณะกรรมการการศึกษาและประชาสัมพนั ธ์ ปี 2553 และ 2554 ปี 2553 คณะกรรมการการศกึ ษาและประชาสมั พนั ธ์ ประธานกรรมการ ผศ.ดร.ทววี ฒั น์ ทศั นวฒั น์ กรรมการ ผศ.สชุ นิ ปลหี ะจนิ ดา, นายพงศพ์ นั ธ์ เหลอื งวไิ ล, นายชาญชยั ไลเ้ ลศิ , นายวเิ ชยี ร ไลเ้ ลศิ , นายสมนกึ ตง้ั สวุ รรณเสมา กรรมการและเลขานกุ าร นางพนู ทรพั ย์ บญุ ร�ำ พรรณ สมาชกิ สมั พนั ธ์ นางสาวสดใส ศรเี จรญิ สขุ , นางสาวจารพุ ฒั น์ เอย่ี มพมุ่ ปี 2554 คณะกรรมการการศกึ ษาและประชาสมั พนั ธ์ ประธานกรรมการ ผศ.ดร.ทววี ฒั น์ ทศั นวฒั น์ กรรมการ ดร.จีรศักดิ์ พงษ์พิษณุพิจิตร์, นายชาญชัย ไล้เลิศ, ผศ.ภัคพร วงษ์สิงห์, นายบญุ ช่วย เอ่ียมประพัฒน์, นายอรรถพงศ์ ค�ำ อาจ กรรมการและเลขานกุ าร ดร.ปรีชา สทิ ธิกรณ์ไกร สมาชกิ สมั พันธ์ นางสาวสดใส ศรเี จริญสุข, นางสาวจารพุ ฒั น์ เอ่ียมพมุ่ ภาพปก นายเกียรติณรงค์ ถนอมทรพั ย์ พมิ พท์ ี่ อกั ษรสยามการพิมพ์ 16 ซอยบางแวก 2 แยก 4 แขวงคูหาสวรรค์ เขตภาษเี จริญ กรงุ เทพฯ 10160 โทร. 0-2410-8795-6 โทรสาร 0-2410-7813 E-mail : [email protected] นายประพล รุ่งรุจโิ รจน์ ผู้พมิ พ์ผู้โฆษณา 2554

บทนำ� “การใช้สหกรณ์ออมทรัพย์สร้างความม่ันคงให้กับชีวิต” เป็นหนังสือที่เกิดขึ้นจากด�ำริของท่าน รศ.วฒุ ิชัย กปิลกาญจน์ อดตี ประธานกรรมการด�ำเนนิ การและอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ตัง้ แต่ ปลายปี 2552 ทเี่ หน็ วา่ สอ.มก. ควรมกี ารจดั ท�ำหนงั สอื เกยี่ วกบั คณุ ประโยชนต์ า่ งๆ ของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ ซ่ึงนอกจากเป็นการเผยแพร่หลักการและอุดมการณ์สหกรณ์ให้แก่สมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจแล้ว ยงั สามารถใช้หนังสอื ดังกล่าว “ขับเคลอ่ื น” สอ.มก. ไปส่เู ป้าหมายทว่ี างไว้ได้ คณะกรรมการด�ำเนินการ ชุดท่ี 52 ประจ�ำปี 2553 ได้มอบหมายให้คณะกรรมการการศึกษา และประชาสัมพันธ์ ปี 2553 รวบรวมบทความ ข้อคิดเห็น ที่เก่ียวข้องกับสหกรณ์ออมทรัพย์ซ่ึงตีพิมพ์ใน “ข่าว สอ.มก.” ”รายงานกิจการประจ�ำปี สอ.มก.” และเพ่ือใหเ้ หน็ ภาพของการใช้สหกรณ์ออมทรพั ย์พัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ไดช้ ดั ขนึ้ ใหร้ วบรวมความเหน็ ของสมาชกิ ทพ่ี มิ พ์ใน “หนงั สอื ทรี่ ะลกึ งานเกษยี ณอายรุ าชการ” ดว้ ย เนอ้ื หาของหนงั สอื “การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ย์ สรา้ งความมน่ั คงใหก้ บั ชวี ติ ” นอกจากมที ม่ี าดงั กลา่ ว แลว้ ยงั มบี ทความจากสมาชกิ ทชี่ นะการประกวดหวั ขอ้ “การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั พฒั นาคุณภาพชีวติ ” และ “สหกรณ์ออมทรัพยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ที่สมาชิกอยากเหน็ ” และเพอื่ ให้หนังสือมีขนาดพอเหมาะจงึ แบ่งการจดั พิมพ์ออกเป็น 2 เล่ม สอ.มก. ขอขอบคุณผูเ้ ขียนบทความทกุ ท่านทม่ี ีสว่ นร่วมท�ำให้หนงั สอื เล่มนี้เสรจ็ สมบูรณ์ ขอขอบคณุ คณะกรรมการด�ำเนินการ ชุดที่ 52 ประจ�ำปี 2553 ที่รเิ ริ่มใหจ้ ัดท�ำหนงั สอื และผทู้ ่ใี หก้ ารสนบั สนุนการ จัดพิมพ์ ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็ม เอฟ ซี จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรอี ยุธยา จ�ำกดั (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกดั (มหาชน) ธนาคารฮอ่ งกง และเซยี่ งไฮ้แบงก้ิง คอร์ปอเรชน่ั จ�ำกดั บรษิ ทั เอส อนิ เตอรแ์ อสโซซิเอส จ�ำกดั บรษิ ัท ไทยมารกู ิ จ�ำกดั บรษิ ัท แคนดูคอนสตรัคช่ัน จ�ำกดั สอ.มก. หวงั ว่าหนงั สอื เลม่ น้ีจะเปน็ ประโยชน์พอสมควรต่อสมาชกิ และผสู้ นใจ ขออภัยในความ ลา่ ช้าและความผิดพลาดท่เี กิดขึน้ (นายนิพนธ์ ล้มิ แหลมทอง) ประธานกรรมการ สอ.มก.

สารบญั หนา้ ความทัว่ ไปเกี่ยวกับสหกรณ์ • สหกรณอ์ อมทรัพยน์ ้ันคืออะไร? 2 • ระบบคดิ ภารกิจเป้าหมาย และสวัสดกิ าร สอ.มก. 11 • นยั ยะของ “การช่วยเหลือตนเอง และการช่วยเหลือซ่ึงกนั และกันในสหกรณ์ออมทรพั ย์ 18 • การใชส้ หกรณ์ออมทรพั ย์ใหเ้ กิดประโยชน์ 20 • เงนิ ทนุ ของ สอ.มก. บริหารอย่างไร? 21 • อัตราเงินปนั ผล เงินเฉล่ียคนื ควรสงู ตำ่� เพยี งใด 24 • สว่ นแบ่ง เฉลยี่ คืนและเงนิ ปนั ผล ส�ำหรับสมาชกิ สหกรณ์ 28 • สหกรณ์เปน็ ตลาดรูปแบบพิเศษ 30 • สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ ..นั้น เป็นอะไรได้หลายอยา่ ง 33 • สหกรณ์ออมทรพั ยห์ รือสหกรณ์ออมหน้ีของสมาชิก 34 • บทบาทหนา้ ทข่ี องกรรมการและผ้ตู รวจสอบกิจการสหกรณอ์ อมทรพั ย์ : กรณศี กึ ษา สอ.มก. 36 • งานบริหารก�ำไรสุทธปิ ระจ�ำปี ของ สอ.มก. 41 • สหกรณอ์ อมทรัพยท์ �ำใหช้ วี ติ เราดขี นึ้ อยา่ งไร 52 • ความเป็นอิสระของสหกรณ ์ 54 • การออมเพอ่ื คุณภาพชีวิตที่ดยี ามเกษยี ณ 55 • ถ้าไม่เรมิ่ ออมวนั น้ี...ล�ำบากแน ่ 57 • ออม...ออม...ออม 58 • วางแผนทางการเงนิ ...เพ่อื ใคร 60 • ถกู บังคับใหอ้ อม 61 • ศัตรูของเงนิ ออม 62 • วนิ ยั ทางการเงินและการออม : ทางออกของปญั หาการเงนิ ระดบั บคุ คล 63 • วางแผนออมดี รวยก่อน สบายกว่า 65 • อิทธิฤทธ์ิของการทบตน้ ดว้ ย เงินปนั ผล 67 • มเี งินเหลอื วนั ละหนึง่ บาท...ลงทนุ อะไรด?ี 69 • หนุ้ ทีเ่ กบ็ ออม แบง่ ออกมาใชบ้ ้างได้ไหม? 71 • ลดรายจ่ายเกินจ�ำเป็น ด้วย บญั ชคี รัวเรือน 72 • สญั ญาณอนั ตรายจากปัญหาเรือ่ งเงนิ 74 • ความตอ้ งการเงนิ จากสหกรณข์ องสมาชกิ 75 • สนิ เช่อื เพ่ือการพฒั นา 77

หนา้ • การออมและการบริการการออมท่ีแจง้ วตั ถปุ ระสงคล์ ว่ งหน้าในสหกรณ์ออมทรัพย์ : 79 กรณี สอ.มก. 80 • กอู้ ย่างไรเพอ่ื การบ�ำบัดทุกข์-บ�ำรงุ สขุ 83 • กองทนุ ช่วยเหลอื ผคู้ ำ�้ ประกนั : แนวคดิ และวิธกี ารบรรเทาความเดอื ดร้อนของผ้คู �้ำ 85 • วกิ ฤตเิ งินบาทแข็งคา่ สร้างปัญหาใหส้ หกรณ์หรอื เปล่า? 86 • ท�ำไม? สอ.มก. จงึ มเี สถยี รภาพ 88 • ความม่นั คงอย่างย่ังยืนของ สอ.มก. 90 • คิดเห็นอยา่ งไรเมื่อไดร้ ่วมสัมมนากับ สอ.มก. 92 • ความเส่ียงทางการเงนิ (Financial Risk) 94 • บทบาทของสมาชกิ ต่อความย่ังยืนของสหกรณ ์ 96 • ผนู้ �ำทพ่ี งึ ปรารถนาของสหกรณ ์ 98 • สหกรณ์เป็นของใคร? 100 • คณะกรรมการด�ำเนินการ...คนส�ำคัญในธุรกิจสหกรณ ์ 103 • นักสหกรณ์ คนกล่มุ นอ้ ยผ้จู ดุ พลงั ความร่วมมือ 105 • ประโยชน์ของทุนส�ำรองของสหกรณ ์ 107 • ทุนส�ำรองของสหกรณค์ ืออะไร รู้ให้จริง 108 • สวสั ดกิ ารในสหกรณอ์ อมทรพั ย์ : ควรจะพอดสี กั แคไ่ หน 116 134 บทความชนะการประกวดปี 2552 142 144 • การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สมาชกิ 145 จากประสบการณข์ องสมาชิก สอ.มก. • จากประสบการณข์ องสมาชิก สอ.มก. • จรรยาบรรณของกรรมการด�ำเนนิ การ เจา้ หนา้ ท่ี และสมาชิกสหกรณ ์ • คณะผบู้ รหิ ารสหกรณ์ออมทรัพยม์ หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ประจ�ำปี 2553 • คณะผบู้ รหิ ารสหกรณ์ออมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ประจ�ำปี 2554



ความทว่ั ไป....เก่ยี วกับสหกรณอ์ อมทรัพย์ “สหกรณ์ออมทรัพย์จะมีประโยชน์อย่างย่ิงส�ำหรับผู้ท่ีประสงค์จะออมทรัพย์ จะมีประโยชน์มาก ส�ำหรับผู้ท่ีรู้จักกู้ไปท�ำประโยชน์ แตจ่ ะมีโทษกับผทู้ ีก่ ู้ไปใชใ้ นทางสุรยุ่ สรุ า่ ย” ศาสตราจารย์อินทรี จนั ทรสถติ ย์ อดีตประธานกรรมการ สอ.มก. คนแรก

สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ .....นน้ั คอื อะไร? (1)* ทววี ัฒน์ ทศั นวฒั น์ (2210) สหกรณ์ออมทรัพย์เป็นองค์กรท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของ บรรดาสมาชิกโดยวิธีช่วยตนเองและช่วยเหลือซ่ึงกันและกันตามหลักการสหกรณ์ ซึ่งเม่ือได้รับการจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 แลว้ จะมีฐานะเปน็ นติ บิ คุ คล (ม. 33 และ ม. 37) เนอ่ื งจากสหกรณอ์ อมทรพั ยเ์ ปน็ สถาบนั การเงนิ ประเภทหนง่ึ ตามประกาศกระทรวงการคลงั ดงั นนั้ สหกรณ์ ออมทรพั ย์ คอื นติ ิบุคคลท่ดี �ำเนินธรุ กจิ ทางการเงิน บนพื้นฐานของหลกั การสหกรณ์ ด�ำเนนิ ธุรกจิ บนพืน้ ฐานของหลกั การสหกรณ์ แตกตา่ งกับ ด�ำเนนิ ธรุ กิจบนพน้ื ฐานของทุนนิยม ธรุ กจิ แบบทนุ นยิ มน้ัน ก�ำไรและการงอกเงยของก�ำไรคอื ภารกจิ หลกั ของธรุ กจิ สิทธิในการบรหิ ารจัดการ ธุรกิจและก�ำไร เกือบทั้งหมดจะเป็นของผู้ถือหุ้นใหญ่ แต่บนหลักการสหกรณ์นั้น อ�ำนาจในการเลือกผู้ที่จะมา บริหารจัดการสหกรณ์น้ันเป็นของสมาชิกเท่าเทียมกัน โดยการใช้สิทธิผ่านขบวนการเลือกต้ัง “คณะกรรมการ ด�ำเนินการ” ซ่ึงมีการเลือกตั้งเป็นประจ�ำทุกปี ส�ำหรับการจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีน้ันจะต้องเป็นไปตามความ เห็นชอบ ท่ีถูกหลักเกณฑ์ของสมาชิกในท่ีประชุมใหญ่ ก�ำไรจะถูกจัดสรรตามข้อบังคับของสหกรณ์แต่ละแห่ง ซึ่งอยู่ในกรอบของหลกั การสหกรณ์ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 โดยนัยน้ี ก�ำไรจะถูก “กระจาย” ไปตามการมี ส่วนร่วมของสมาชิกอย่างเหมาะสม รวมทั้งการกระจายไปที่ “เป้าหมาย” เพื่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกันของ สหกรณ์แตล่ ะแห่งไม่ “กระจุก” อยทู่ ่ผี ู้ใดผหู้ น่ึงแบบทุนนยิ ม สาเหตุของการรวมตัวกันเพ่ือจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ออมทรัพย์มีหลายอย่าง ซึ่งรวมถึงความท่ีรู้สึกว่า เวลาที่เอาสินค้า (เงิน) ไปขาย (เปิดบัญชีเงินฝาก) กับสถาบันการเงิน อัตราที่เขารับซ้ือ (ดอกเบี้ย) ต�่ำเกินไป หลายครั้งท่ีต่�ำกวา่ อัตราเงนิ เฟ้อ แต่เวลาทจี่ ะไปขอซือ้ (ก้)ู สถาบนั การเงินขายแพงกว่าตอนรับซือ้ คอ่ นขา้ งเยอะ ด้วยแรงจูงใจดังกล่าว สหกรณ์ออมทรัพย์เมื่อจัดตั้งขึ้นใหม่ๆ จึง “รับซื้อ” สินค้าจากสมาชิกด้วยราคาที่สูงกว่า และ “ขาย” ให้สมาชกิ ด้วยราคาท่ตี ่ำ� กว่าท้องตลาด ทนุ ของสหกรณ์จะอยู่ในรปู ของ “หุ้น” สนิ ค้าทสี่ หกรณ์รับซอ้ื สว่ นใหญ่จะอยู่ในรูปของ “เงินฝาก” ส่วนสินคา้ ทส่ี หกรณ์ขายเรียกว่า “การใหส้ นิ เชอ่ื ” วถิ กี าร “รบั ซ้ือ” แพง และ “ขาย” ถูกกวา่ ทอ้ งตลาด ท�ำให้สมาชิกส่วนใหญ่ มองเหน็ ภาพลกั ษณข์ อง สหกรณอ์ อมทรพั ยว์ า่ เปน็ แหลง่ เงนิ กดู้ อกเบย้ี ถกู กงู้ า่ ย ไมย่ งุ่ ยากเหมอื นสถาบนั การเงนิ อนื่ ซงึ่ “กลบ” ภาพลกั ษณ์ การเปน็ แหลง่ ออมทรพั ย์ของสมาชกิ จนเกอื บมดิ สมาชิกสว่ นใหญ่จะ “ออมหุ้น” ในลกั ษณะ “ไดอ้ อม” ตามกติกา ของสหกรณ์ออมทรพั ยน์ ัน้ ๆ เพื่อรอการใชส้ ทิ ธิของตนเองในการ “ขอซื้อ” สินคา้ หากเปรยี บเทยี บ “การออม” กบั “การออกก�ำลงั กาย” การออกก�ำลงั กายทีเ่ ปน็ คณุ ตอ่ รา่ งกายคอื ต้อง ออกก�ำลงั ใหเ้ หง่ือโทรมกาย การทร่ี า่ งกายไดเ้ คลื่อนไหว ออกก�ำลังแตเ่ หง่ือไมอ่ อก เปน็ แค่ “การซอ่ มบ�ำรุง” ไม่ใช่ “การเสรมิ สร้าง” ใหร้ ่างกายแข็งแรง การ “ไดอ้ อม” เปรยี บแลว้ ก็เหมือนการท่รี ่างกายได้เคลอ่ื นไหว การตัง้ เปา้ การออมและ “ออมได้” ตามศักยภาพของตนเอง กเ็ หมอื นกบั การออกก�ำลังกายใหเ้ หง่อื โทรมกาย ท้งั ๆ ท่ีรูว้ า่ ออกก�ำลังใหเ้ หงือ่ โทรมกายนัน้ “เปน็ คุณ” ต่อรา่ งกาย แต่คนส่วนใหญก่ ็ยงั ละเลย ด้วย เหตผุ ลเดียวกันจึงท�ำใหส้ หกรณอ์ อมทรัพยเ์ ป็น “ของดี” ทีส่ มาชิกยังใช้ไม่คุ้ม อย่างนั้นหรอื ? 2 * ขา่ ว สอ.มก. ปที ี่ 24 ฉบับท่ี 3 เดอื นเมษายน 2550

สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ .....นนั้ คอื อะไร? (2)* ทววี ฒั น์ ทัศนวฒั น์ (2210) “สินค้า” ท่ีสหกรณ์ออมทรัพย์ น�ำมา “ขาย” ให้กับสมาชิกนั้นมีคุณภาพดีไม่แพ้สินค้าจากสถาบันการ เงินอื่น แต่ “ราคาและวธิ กี ารซ้ือ” ถูกและงา่ ยกวา่ ดงั นน้ั ในสหกรณอ์ อมทรัพยท์ ่จี ัดตัง้ ใหม่ “ทุน” ซง่ึ ถกู น�ำมาเป็น สนิ คา้ จงึ มีไม่เพยี งพอต่อความตอ้ งการของสมาชิก สมาชิกนอกจากต้อง “เขา้ ควิ ” แลว้ ยังอาจได้รับสินคา้ จ�ำกดั ไม่เต็มจ�ำนวนตามท่ีต้องการ คณะกรรมการด�ำเนินการของสหกรณ์ออมทรัพย์นั้นๆ ส่วนใหญ่จะแก้ปัญหาน้ีด้วย 2 วิธีควบคู่กันคือ ประกาศ “รบั ซื้อ” สนิ คา้ จากสมาชกิ ดว้ ยกัน และไป “ขอซือ้ ” จากสหกรณ์ออมทรพั ยอ์ นื่ ท่ีมสี นิ คา้ เหลือ ในการด�ำเนินการทง้ั สองวิธีดังกล่าว คณะกรรมการต้อง “สร้างความเชอื่ มั่น” ใหเ้ กดิ ขึ้นทงั้ ในมวลสมาชิก และสหกรณ์ออมทรัพย์ทจี่ ะไปขอซอ้ื การท�ำให้สมาชิกเชื่อมั่นจนกล้าน�ำ “สินค้า” มาขายให้น้ันใช้เวลานาน แต่ความเชื่อมั่นจากสหกรณ์ ออมทรัพยอ์ นื่ น้นั ใช้เวลาน้อยกวา่ การสาละวนอยกู่ ับการหา “สนิ ค้า” มา “ขาย” ใหก้ บั สมาชกิ ด้วยวิธีดงั กล่าว เปน็ การตอกยำ�้ ภาพลกั ษณ์ มิติเดียวของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ใหส้ มาชิกทราบวา่ เปน็ แหลง่ เงนิ กู้ ดอกเบีย้ ถกู อยู่ตลอดเวลา สมาชิกจะได้ประโยชน์จากสหกรณ์ออมทรัพย์อย่างมากหากเป็นการขอสินเชื่อเพื่อเพิ่มทรัพย์ (“หนี้เพิ่ม ทรพั ย์”) (อาบ นคะจัด ข่าว สอ.มก. ส.ค. 2547) ในทางกลับกันกจ็ ะเป็นอันตรายอยา่ งยิ่งส�ำหรับสมาชกิ ทข่ี อสินเช่ือ เพอื่ ความสรุ ุ่ยสรุ า่ ย (“หน้ีเพิ่มหน้”ี ) (ศาสตราจารย์อนิ ทรี จันทรสถิตย์ รายงานประจ�ำปี สอ.มก. 2545) สหกรณอ์ อมทรพั ยต์ าม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 นน้ั มหี ลายมติ ิ มติ ทิ สี่ มาชกิ สว่ นใหญร่ บั รคู้ อื เปน็ แหลง่ เงินก้ทู ี่กู้ง่าย นอกจากดอกเบ้ียแรกคดิ จะถกู แลว้ ดอกเบย้ี สุทธยิ ง่ิ ถกู มาก เน่อื งจากเงนิ เฉล่ยี คืนทีไ่ ด้รบั ปลายปี คณะกรรมการสหกรณอ์ อมทรพั ย์ใช้เวลาสว่ นใหญ่ไปกับมิตินี้ ท�ำให้ไม่มเี วลาส�ำหรบั การสอื่ สารหรือ ผลักดันมิติทางด้านการออม และการเป็นแหล่งสวัสดิการส�ำหรับสมาชิก ซึ่งเป็นมิติที่เป็นคุณต่อสมาชิก อยา่ งมาก เพราะอยู่บนพืน้ ฐานของการช่วยเหลือตนเอง และการชว่ ยเหลือซึง่ กันและกัน อยา่ งแทจ้ รงิ การออมนอกจากเป็นมิติท่ีส�ำคัญมิติหน่ึงของสหกรณ์ออมทรัพย์แล้ว ยังเป็นมิติส�ำคัญมิติหน่ึงของชีวิต 3 คนท�ำงานทุกคน หากนับช่วงชวี ติ ต้ังแต่เร่มิ ต้นท�ำงานจนถงึ เกษียณของแต่ละคน ซงึ่ เปน็ ชว่ งเวลาหลายสบิ ปนี ั้น จะเหน็ วา่ บางชว่ งของชีวิต “รายรบั นอ้ ย-รายจา่ ยมาก” บางชว่ ง “รายรบั -รายจา่ ยพอๆ กัน” และบางชว่ ง “ราย รบั มาก-รายจา่ ยน้อย” * ขา่ ว สอ.มก. ปที ่ี 24 ฉบับท่ี 4 เดอื นพฤษภาคม 2550

ชวี ิตในแต่ละชว่ งดงั กลา่ วของแตล่ ะคนจะไมเ่ ท่ากัน หลายคนใชเ้ วลาอยู่ใน 2 ชว่ งแรกนานเกินไป บางคน มีเวลาในช่วงทีส่ ามไม่ทันไรกเ็ กษยี ณแล้ว เราจะจัดการ “รายจา่ ย” ในแต่ละช่วงชวี ติ อยา่ งไรเพ่อื ทจ่ี ะให้มเี งินเหลอื ออม? เราจะน�ำ “เงนิ เหลอื ออม” ไป “ลงทนุ เพมิ่ ” อยา่ งไร จงึ จะท�ำใหเ้ งนิ ออมนี้ “ดแู ล” เราไดพ้ อควรหลงั เกษยี ณ สหกรณ์เป็นชุมชนท่ีมีความหลากหลายของสมาชิกทั้งสถานะทางการเงิน ความรู้ ความสามารถ การ ถา่ ยทอดความรู้ ความสามารถ และการช่วยเหลอื ระหว่างสมาชกิ ดว้ ยกนั เปน็ หน้าทข่ี องสมาชิกทกุ คน มิใชห่ รอื ? 4

สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ .....นน้ั คอื อะไร? (3)* 5 ทววี ัฒน์ ทัศนวัฒน์ (2210) หากมองชีวติ ย้อนกลบั ไปในสมัยเป็นเดก็ นกั เรียน หลายๆ คนจะคนุ้ เคยกับเสียงของคุณครูท�ำนองนวี้ ่า “...เงินทคี่ ุณพ่อคณุ แม่ให้มาซ้ืออาหารทานทโ่ี รงเรยี นน้นั เหลอื ให้ไปหยอดกระปุกออมสนิ ไว้...” เราถูกปลูกฝังเร่ืองการออมมาตั้งแต่เป็นเด็กนักเรียนแล้วครับว่า “เหลือแล้วออม” ซึ่งดูจะเหมาะส�ำหรับ ชีวิตในช่วงน้นั ในชีวิตการท�ำงานหลักการ “เหลอื แล้วออม” แมจ้ ะดแี ตก่ ็เป็นคุณน้อยกว่า “ออมก่อนใช”้ การออม ท้ังสองแบบน้นั เกิดข้นึ ในวนั ติดกันแต่ต่างกัน 30 วนั แบบหนึง่ นัน้ เกดิ ขนึ้ ปลายเดอื น อกี แบบหน่งึ เกดิ ขนึ้ ตน้ เดือน แบบหน่ึงน้นั ไป “ท�ำงาน” แล้ว 30 วัน อีกแบบหนงึ่ เพ่ิงจะงวั เงยี ไปหางานท�ำ การออมหุ้นของสหกรณ์ออมทรัพย์เป็นระบบ “ออมก่อนใช้” ซ่ึงเป็นภาคบังคับส�ำหรับสมาชิกทุกคน เนอื่ งจากห้นุ ของ สอ.มก. น้ันสมาชิกไม่สามารถถอนออกมาใช้ได้ (ข้อบังคบั ขอ้ 23) โดยนยั นี้ หุ้นของแต่ละคนใน สอ.มก. จงึ เป็นกองทนุ ส่วนตัวทแ่ี ต่ละคนเตรียมไว้เพอื่ ใช้หลงั เกษยี ณ ซงึ่ เป็นชว่ งเวลาทน่ี อกจากรายได้ทเี่ คยได้ ประจ�ำจะหายหรือลดลงไปอย่างมีนัยส�ำคัญแล้ว ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับสุขภาพจะเร่ิมมากขึ้น ระบบการออมหุ้นใน สอ.มก. จงึ เปน็ ระบบการสร้างกองทนุ บ�ำเหน็จบ�ำนาญดว้ ยตนเอง หากความเข้าใจว่าสหกรณ์ออมทรัพย์คือระบบสร้างกองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญด้วยตนเองประเภทหน่ึงนั้น ถูกตอ้ ง เราจะวางแผนออมหุ้นอย่างไรท่ีไม่กระทบรายจา่ ยอ่นื ? เราจะจดั การกับรายจ่ายอย่างไร ถงึ จะออมหนุ้ เพมิ่ ได้? เราจะน�ำเงินปันผลไป “ลงทนุ ตอ่ ” หรอื ไมอ่ ยา่ งไร? เพอ่ื วา่ ปนั ผลจากมูลคา่ หนุ้ ท่มี ี ณ วันเกษยี ณนน้ั สามารถดูแลตวั เราไดพ้ อควรตามสถานะ ตารางทีแ่ นบมาคือตวั อย่างการออมหุ้น 35 ปี (เรมิ่ ออมเมอ่ื อายุ 25 ปี) ดา้ นซา้ ยคือการออมหนุ้ รายเดอื น เดอื นละ 500 บาทเท่ากันทุกปี ด้านขวาคอื การออมเพมิ่ ขึ้นวนั ละ 1 บาทในปีถัดไปทุกปี เม่ือครบ 35 ปใี นกรณีที่ น�ำเงนิ ปันผลไปใชท้ ุกปี กองทุนฯ ทีส่ รา้ งขน้ึ ต่างกันเทา่ ตัว (210,000 เทยี บกบั 424,200) หากน�ำเงินปันผล (6%) ทไี่ ด้ท้ังหมดในแต่ละปี ไปลงทนุ เพิ่ม เมื่อครบ 35 ปี การออมหุน้ เพม่ิ ขึ้นวันละ 1 บาทในปถี ดั ไปทกุ ปีท�ำใหผ้ อู้ อมมี หุ้นเปน็ ล้านได้เหมอื นกันครับ (690,342 เทียบกับ 1,163,853) คุณเกยี รตณิ รงค์ ถนอมทรัพย์ เจ้าหน้าทค่ี อมพิวเตอร์ สอ.มก. ไดป้ รบั ปรงุ โปรแกรม “ค�ำนวณเงินออม จากการซื้อหุ้น” วางไว้ที่เว็บไซต์ www.coop.ku.ac.th สมาชิกและผู้สนใจสามารถตรวจสอบและวางแผนสร้าง กองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญได้ดว้ ยตนเอง ขอ้ มลู ทกุ ช่องเปลย่ี นแปลงไดต้ ามความต้องการครบั การจดั สรรเงนิ ไดร้ ายเดอื นเพอื่ จะออมหนุ้ เพมิ่ วนั ละบาทในปถี ดั ไปทกุ ปจี นเกษยี ณให้ไดน้ น้ั หากใช้โปรแกรม “ค�ำนวณเงนิ ออมจากการซอ้ื หุ้น” เปน็ แรงจูงใจ รว่ มกับคาถา “พออยู่ พอกนิ พอควรตามสถานะ” ซ่ึงเป็นคาถา “ควบคุมความอยาก” เพื่อลดรายจา่ ยเกนิ จ�ำเปน็ จะท�ำใหถ้ งึ เป้าหมายได้ดีขน้ึ ลองดเู ถดิ ครบั สหกรณอ์ อมทรพั ยน์ อกจากจะเปน็ แหลง่ เงนิ กดู้ อกเบยี้ ถกู เขา้ ถงึ งา่ ยแลว้ ยงั เปน็ องคก์ รทม่ี รี ะบบใน การให้สมาชิกสรา้ ง “กองทุนบ�ำเหนจ็ บ�ำนาญ” ดว้ ยตนเอง ซ่ึงหากสมาชกิ ได้เรยี นรู้ ซมึ ซับ ระบบคดิ ในการ * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 24 ฉบับท่ี 5 เดอื นมถิ ุนายน 2550

ครองชพี ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งกบั การจดั การเรอื่ งเงนิ และการจดั การเรอ่ื งใจเพม่ิ ขน้ึ แลว้ มลู คา่ หนุ้ ทสี่ รา้ งขนึ้ มาตลอดชวี ติ การท�ำงานจะท�ำให้ชวี ติ หลงั เกษียณมีความสขุ พอควรตามสถานะ ออมหนุ้ เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งนอ้ ยวนั ละบาทในปถี ดั ไปทกุ ปี ยงิ่ เรมิ่ เรว็ ยงิ่ ดคี รบั เพราะนคี่ อื ประสทิ ธผิ ล (Outcome) จากมิติทางด้านการออมของสหกรณอ์ อมทรัพย์ ท่ีสมาชกิ สอ.มก. ทุกท่านควรจะไดร้ บั อานสิ งส์ ใชไ่ หมครบั ? สง่ หุ้นรายเดือน 500 บาท อตั ราเงนิ ปันผล 6.00% ออมจากปันผล 100.00% ระยะเวลาการออม 35 ปี ป ที ่ี ห ุ้นราย อ อมหุ้นเท่าๆ กนั ทุกปี ออมห้นุ เพม่ิ วันละ 1 บาทในปถี ดั ไปทุกๆ ปี เดือน หนุ้ ตส่อะปส ี ม เง นิ ปนั ผล ออมปนั ผล ยอดหนุ้ สะสม ห้นุ ราย หุ้นตส่อะปส ี ม เง ินปนั ผล ออ1ม0ป0นั%ผ ล ยอดทหง้ั หนุ้ มสดะสม 100% ท้ังหมด เดอื น 1 500 6,000 195 195 6,195 500 6,000 195 195 6,195 2 500 6,000 567 567 12,762 530 6,360 578 578 13,133 3 500 6,000 961 961 19,723 560 6,720 1,006 1,006 20,859 4 500 6,000 1,378 1,378 27,101 590 7,080 1,482 1,482 29,421 5 500 6,000 1,821 1,821 34,922 620 7,440 2,007 2,007 38,868 6 500 6,000 2,290 2,290 43,212 650 7,800 2,586 2,586 49,254 7 500 6,000 2,788 2,788 52,000 680 8,160 3,220 3,220 60,634 8 500 6,000 3,315 3,315 61,315 710 8,520 3,915 3,915 73,069 9 500 6,000 3,874 3,874 71,189 740 8,880 4,673 4,673 86,622 10 500 6,000 4,466 4,466 81,655 770 9,240 5,498 5,498 101,360 11 500 6,000 5,094 5,094 92,749 800 9,600 6,394 6,394 117,354 12 500 6,000 5,760 5,760 104,509 830 9,960 7,365 7,365 134,679 13 500 6,000 6,466 6,466 116,975 860 10,320 8,416 8,416 153,415 14 500 6,000 7,214 7,214 130,189 890 10,680 9,552 9,552 173,647 15 500 6,000 8,006 8,006 144,195 920 11,040 10,778 10,778 195,465 16 500 6,000 8,847 8,847 159,042 950 11,400 12,098 12,098 218,963 17 500 6,000 9,738 9,738 174,780 980 11,760 13,520 13,520 244,243 18 500 6,000 10,682 10,682 191,462 1,010 12,120 15,048 15,048 271,411 19 500 6,000 11,683 11,683 209,145 1,040 12,480 16,690 16,690 300,581 20 500 6,000 12,744 12,744 227,889 1,070 12,840 18,452 18,452 331,873 21 500 6,000 13,868 13,868 247,757 1,100 13,200 20,341 20,341 365,414 22 500 6,000 15,060 15,060 268,817 1,130 13,560 22,366 22,366 401,340 23 500 6,000 16,324 16,324 291,141 1,160 13,920 24,533 24,533 439,793 24 500 6,000 17,663 17,663 314,804 1,190 14,280 26,852 26,852 480,925 25 500 6,000 19,083 19,083 339,887 1,220 14,640 29,331 29,331 524,896 26 500 6,000 20,588 20,588 366,475 1,250 15,000 31,981 31,981 571,877 27 500 6,000 22,184 22,184 394,659 1,280 15,360 34,812 34,812 622,049 28 500 6,000 23,875 23,875 424,534 1,310 15,720 37,834 37,834 675,603 29 500 6,000 25,667 25,667 456,201 1,340 16,080 41,059 41,059 732,742 30 500 6,000 27,567 27,567 489,768 1,370 16,440 44,499 44,499 793,681 31 500 6,000 29,581 29,581 525,349 1,400 16,800 48,167 48,167 858,648 32 500 6,000 31,716 31,716 563,065 1,430 17,160 52,077 52,077 927,885 33 500 6,000 33,979 33,979 603,044 1,460 17,520 56,243 56,243 1,001,648 34 500 6,000 36,378 36,378 645,422 1,490 17,880 60,680 60,680 1,080,208 35 500 6,000 38,920 38,920 690,342 1,520 18,240 65,405 65,405 1,163,853 รวม 210,00 480,342 480,342 424,200 739,653 739,653 6

สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ .....นน้ั คอื อะไร? (4)* ทวีวฒั น์ ทศั นวฒั น์ (2210) สหกรณอ์ อมทรพั ยเ์ ป็น นติ บิ คุ คลทางการเงนิ ทดี่ �ำเนินธรุ กิจบน พืน้ ฐาน หลกั การของสหกรณ์ (ขา่ ว สอ.มก. เม.ย. 50) นิติบุคคลใดๆ กต็ ามจะสามารถด�ำรงท้งั สถานะและกิจกรรมตา่ งๆ ในสงั คมได้ การด�ำเนิน “ธรุ กจิ ” ของ นติ ิบคุ คลนัน้ ตอ้ ง “มกี �ำไร” สหกรณ์ออมทรัพย์กเ็ ช่นเดยี วกัน ไมอ่ ยู่ในข่ายยกเว้น แตห่ ลกั การพ้นื ฐานอย่างหนงึ่ ของสหกรณ์คอื “การไมแ่ สวงหาก�ำไรจากสมาชิก” จึงเปน็ ทม่ี าของรายการ “เงนิ เฉลี่ยคืน” ปรากฏในการจัดสรร ก�ำไรสทุ ธิประจ�ำปีตามขอ้ บงั คับสหกรณซ์ ง่ึ ออกตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 (ม. 60) ดังนั้นโดยหลกั การธรุ กิจ หลังจากหักเงินเฉลี่ยคืนแล้ว ดอกเบี้ยสุทธิที่สมาชิกจ่ายให้กับสหกรณ์จึงควรสูงกว่า “ต้นทุน + ค่าด�ำเนินการ” ของสหกรณ ์ ค�ำถามมวี า่ “จดั สรรก�ำไรสทุ ธฯิ อยา่ งไร?” จงึ จะท�ำใหส้ หกรณน์ นั้ สามารถด�ำรงทง้ั สถานะและกจิ กรรม ตา่ งๆ อย่างก้าวหนา้ มนั่ คงบนหลักการช่วยเหลอื ตนเองและชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกันของสหกรณอ์ ยา่ งแทจ้ ริง การจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีตามขอ้ บงั คับขอ้ 65 ของ สอ.มก. นั้นประกอบด้วยรายการหลักๆ ดงั น้คี อื ทุนส�ำรอง ค่าบ�ำรุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย เงินปันผล เงินเฉลี่ยคืน ทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผล ทนุ สวสั ดกิ าร ทนุ สาธารณประโยชน์ และโบนัสกรรมการเจ้าหนา้ ท่ี ในองคป์ ระกอบเหล่าน้ีนอกจากสะท้อนให้เห็น เจตนาการชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกันผ่าน “กองทุนสวสั ดกิ าร” แลว้ ยังเหน็ เจตนาการเก้ือกลู สังคมของ สอ.มก. ผา่ น “กองทนุ สาธารณประโยชน”์ อกี ดว้ ย “ทุนส�ำรอง” เป็นของสหกรณ์โดยส่วนรวม สมาชิกจะแบ่งปันหรือเรียกร้องแม้ส่วนใดส่วนหนึ่งก็ไม่ได้ (ขอ้ บงั คบั ฯ ขอ้ 67) แต่ผลประโยชน์ (เงนิ ปันผล) อนั พงึ จะเกดิ ข้นึ จาก “ทนุ ส�ำรอง” สามารถน�ำมาจดั สวัสดิการ ให้กบั สมาชกิ ผา่ น “ทุนสวัสดกิ าร” ได้ เน่อื งจากสหกรณเ์ ป็นนิติบคุ คลทีไ่ ดร้ ับการสนับสนุนจากรฐั บาล ไมต่ ้องเสีย ภาษเี งนิ รายได้ ประกอบกับขนาดธุรกจิ ของ สอ.มก. หากต้องเสยี ภาษี จะอยู่ท่ี 30% ดังนน้ั การจัดสรรก�ำไรสทุ ธิ ประจ�ำปขี อง สอ.มก. เป็น “ทุนส�ำรอง” และ “ทุนสวสั ดกิ าร” รวมกนั แลว้ ไม่ควรต่�ำกวา่ 30% “ทุนสวสั ดกิ าร” จ�ำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรไม่ควรนอ้ ยกว่า อตั ราปันผล x ทุนส�ำรอง “เงนิ ปันผล” เป็นผลตอบแทนในการ “ลงทนุ ออม” ในรูปของหุ้น เนอ่ื งจากเปน็ การลงทุนระยะยาว ถอน 7 ออกมาใช้ไม่ได้ อตั ราเงินปนั ผลทจ่ี ะจดั สรร ตอ้ งมากกวา่ อตั ราเงินฝากเฉลย่ี ของ สอ.มก. และหากมองว่า การ ออมหุ้นคอื การสร้าง “กองทนุ บ�ำเหนจ็ /บ�ำนาญ” ดว้ ยตนเอง (ข่าว สอ.มก. มิ.ย. 50) ดงั นน้ั เพอ่ื เปน็ การสรา้ งแรง จงู ใจอีกทางหน่งึ หากเป็นไปได้ อัตราเงินปนั ผลทุกปคี วรจะสูงกว่าอัตราเงนิ เฟอ้ * ขา่ ว สอ.มก. ปที ี่ 24 ฉบบั ที่ 6 เดือนกรกฎาคม 2550

“เงนิ เฉล่ียคืน” เป็นเงนิ จา่ ยคืนให้สมาชิกตามสว่ นจ�ำนวนรวมแห่งดอกเบ้ียเงินกูท้ ส่ี มาชิกผูน้ ้นั ไดจ้ า่ ยให้ แก่ สอ.มก. อตั ราเฉล่ยี คืน เม่ือจัดสรรแลว้ ดอกเบยี้ สทุ ธขิ องผู้กู้ไม่ควรตำ่� กว่า ต้นทุนเฉลี่ยของ สอ.มก. + 1 “โบนสั กรรมการและเจา้ หน้าท”่ี เกณฑท์ ่ใี ช้คิดคือ “อัตราที่ใกล้เคยี งกับปีทีแ่ ล้ว” ซ่งึ ไม่น่าจะเปน็ เกณฑ์ ทถ่ี ูกตอ้ ง โดยหลกั การโบนสั กรรมการและเจา้ หนา้ ทีค่ วรขึน้ อยกู่ ับผลประกอบการและควรจา่ ยเปน็ ขั้นบนั ได หากหา อตั ราทพี่ อเหมาะพอควรไม่สงู หรอื ตำ่� เกนิ ไปส�ำหรบั ก�ำไรแต่ละ 100 ลา้ นบาทได ้ จะเป็นผลดีตอ่ การด�ำเนนิ งานของ สอ.มก. แนวคดิ ในการจดั สรรก�ำไรสทุ ธปิ ระจ�ำปขี อง สอ.มก. บนหลกั การ “ชว่ ยเหลอื ตนเองและชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกนั ” มีได้หลายแนวคดิ โปรดอย่าลังเลทีจ่ ะเสนอความเหน็ เพราะ สอ.มก. เป็นของเราทกุ คน ไม่ใช่ ของคนใดคนหนงึ่ ครับ 8

สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ ....นนั้ คอื อะไร? (5)* ทววี ัฒน์ ทศั นวัฒน์ (2210) สหกรณ์ออมทรัพย์เป็นนิติบุคคลทางการเงินประเภทหน่ึงที่ด�ำเนินธุรกิจบนหลักการ “ช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ” แต่แปลกนะครับที่ธุรกรรมส่วนมากของสหกรณ์ออมทรัพย์ที่สมาชิกส่วนใหญ่ “เห็นและสัมผัสได้” คือ การเปน็ “แหล่งเงนิ ก”ู้ ดอกเบ้ยี ถกู เข้าถึงง่าย ไมย่ ุ่งยาก เหมอื นสถาบนั การเงนิ อ่ืน เปน็ มติ ิ “ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกัน และกัน” ทเ่ี ปน็ “แรงขับเคลอื่ น” สูงมากในการจดทะเบยี นจัดตัง้ หรือการสมัครเขา้ เป็นสมาชกิ สหกรณ์ออมทรพั ย์ สอ.มก. ซ่ึงก่อตั้งมา 48 ปีแล้วก็เช่นกัน สมาชิกส่วนใหญ่ รับรู้อยู่แค่ว่า สอ.มก. เป็นแหล่ง “ให้สินเชื่อ” “ให้ สวสั ดิการ” และ “ให้ออมหุ้น” เทา่ นนั้ มิติ “ช่วยเหลือตนเอง” ตามศกั ยภาพ เปน็ มิตทิ ่ไี ด้รับความสนใจจากสมาชกิ คอ่ นขา้ งนอ้ ย ท�ำใหส้ หกรณ์ ออมทรัพยเ์ ปน็ “ของดี” ท่ีสมาชกิ ส่วนใหญ่ใช้ไมค่ ุม้ ใช้สหกรณ์เพื่อ “ขอสินเช่ือ” แต่ไม่ได้ใช้สหกรณ์เพื่อ “สร้างความมั่นคงให้กับชีวิตหลังเกษียณ” ควบคู่กนั ไป บนหลักการ “ช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน” ของสหกรณ์ออมทรัพย์น้ัน สมาชิกจะมี ธรุ กรรมอยา่ งนอ้ ย 3 เร่อื งดว้ ยกนั คือ สินเชอ่ื การออม และ สวัสดกิ าร สนิ เชอ่ื และการออม เป็นเร่อื งทเ่ี กี่ยวกับสมาชกิ แต่ละคน ส�ำหรบั สวสั ดกิ ารนน้ั เก่ียวข้องกบั สมาชิกทุกคน สหกรณอ์ อมทรพั ยแ์ ตล่ ะแหง่ นน้ั จะประกอบดว้ ยสมาชกิ ทม่ี คี วามหลากหลาย แตกตา่ งกนั ทงั้ ความคดิ ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ตลอดจนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ท�ำอย่างไรองค์ความรู้เก่ียวกับ “การจัดการ” สินเชื่อและการออมส่วนบุคคลตลอดจนระบบคิดของ สวสั ดกิ าร “ซึง่ ม”ี ในสมาชิกส่วนหน่งึ จะสามารถกระจายไปยังสมาชกิ ทั้งมวลได้ เพ่อื วา่ ขอสินเชื่อกเ็ พอื่ เป็นการ เพิม่ ทรพั ย์ หรอื บรรเทาปญั หาเฉพาะหน้า ออมก็จะมกี ารตั้งเป้าหมายในการออมและขับเคลอ่ื นไปหาเป้าหมายนน้ั ตามศกั ยภาพของตน เพอ่ื วา่ หลงั เกษยี ณแล้ว “เงนิ ทอ่ี อม” ไว้น้นั สามารถ “ดูแล” เจา้ ของได้พอควร สวสั ดิการก็ จะมกี ารจดั การอย่างเปน็ ระบบ ถกู ต้อง เปน็ ธรรม และมั่นคงย่ิงข้นึ “การจัดการ” สนิ เชือ่ การออม และสวัสดกิ าร “เป็นศาสตร์และศิลป์” ทีส่ มาชกิ สหกรณ์ออมทรพั ยท์ กุ 9 คนควรจะได้เรยี นรู้ ซมึ ซับและน�ำไปปฏบิ ตั ิ เพื่อที่จะท�ำใหท้ ั้งสมาชกิ และชมุ ชนท่ีสมาชิกอาศัยอย่มู ีความสขุ ตาม อตั ภาพตลอดไป * ขา่ ว สอ.มก. ปีท่ี 24 ฉบบั ที่ 9 เดือนตุลาคม 2550

สหกรณ์ออมทรัพย์นั้นเป็นนิติบุคคลทางการเงินประเภทหน่ึงท่ีด�ำเนินธุรกิจบนหลักการ “ช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึง่ กนั และกนั ” ภารกิจเป้าหมายของสหกรณ์ออมทรัพย์คือการท�ำให้สมาชิกเข้าใจในศาสตร์และศิลป์ของการจัดการ สินเชอ่ื และการออมส่วนบุคคล ตลอดจนการเก้ือกูลกันผา่ นระบบสวัสดิการสหกรณ์ ซึ่งการจดั การดังกลา่ ว จะท�ำได้ผลดี พ้ืนฐานของ “การจดั การเร่อื งเงินและใจ” จะต้องดกี ่อน “...สกุ รน้ันไซร.้ ..คือหมาน่อยธรรมดา หมานอ่ ยๆ ธรรมดา....” เสยี งของ “ผู้ใหญ่ลี” ตอบ ตาสี หัวคลอน ที่ถามวา่ “สุกรนั้นคอื อะไร?” ลอยมาเข้าหู ท�ำให้ตอ้ งรบี จบ เพราะขืนเขยี นตอ่ ไป เดย๋ี ว “สหกรณ์ออมทรพั ย์นน้ั ไซร้...(ก็จะ) คือหมาน่อยธรรมดา หมานอ่ ยๆ ธรรมดา ..” เหมือนเพลงผู้ใหญ่ลี มนั จะยุ่งเอาครบั 10

ระบบคดิ ภารกจิ เปา้ หมาย และสวสั ดกิ าร สอ.มก. (1)* ทววี ัฒน์ ทัศนวฒั น์ (2210) สหกรณเ์ ปน็ คณะบคุ คล ซง่ึ รว่ มกนั ด�ำเนนิ กจิ การเพอ่ื ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ และสงั คมของบรรดาสมาชกิ บนหลกั การ “ช่วยเหลือตนเอง และ ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน” ซง่ึ เม่อื จดทะเบยี นตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 แลว้ จะมีสถานะเปน็ นิตบิ คุ คล (พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542) เนอ่ื งจากสหกรณม์ หี ลายประเภท ดงั นั้นแนวทางในการ “ชว่ ยเหลอื ตนเองและชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกนั ” จึงแตกต่างกนั ในสหกรณ์แต่ละประเภท ส�ำหรบั สหกรณอ์ อมทรพั ย์ โดยเฉพาะ สอ.มก. การท�ำใหฐ้ านะและความม่นั คงทางเศรษฐกจิ ของสมาชิก ดขี ้ึนน้ัน “ระบบคดิ ” ของการ “ชว่ ยเหลอื ตนเองและช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกัน” ทตี่ อ้ งชว่ ยกนั “ขบั เคล่ือน” ให้ เกดิ เป็นรูปธรรม คอื อะไร? ทุนสำ�รองของ สอ.มก. ความม่ังคง่ั ย่ังยืน สวสั ดกิ ารต่างๆ ของ สอ.มก. ตลอดชีวิต สมาชกิ การแบง่ ปนั ให้สงั คม ชวี ิตทดี่ ีข้นึ กรรมการ ฝ่ายจดั การ ผตู้ รวจสอบ การออมตามสถานะ ชีวิตท่พี อเพียง ของสมาชกิ ตามสถานะ ระบบคดิ ของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ ผงั ระบบคดิ ของสหกรณอ์ อมทรพั ยท์ เ่ี สนอใหพ้ จิ ารณาขา้ งบนนแ้ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความส�ำคญั ของ ทนุ ส�ำรอง ท่ีมีต่อความม่ังค่ัง ย่ังยืนขององค์กร การแบ่งปันให้สังคม และการจัดสวัสดิการต่างๆ ตลอดชีวิตให้กับสมาชิก บทบาทของ “ทุนส�ำรอง” เปน็ บทบาทหน่ึงของ “การช่วยเหลือซ่งึ กนั และกัน” สว่ น “การออมของสมาชิก” นัน้ เป็น “การชว่ ยเหลอื ตนเอง” ตามสถานะ จากผังข้างบน มองอกี มุมหนงึ่ ไดว้ า่ สหกรณ์ออมทรัพยน์ ัน้ แทจ้ ริงแล้วเป็นองค์กรสวสั ดิการส�ำหรบั สมาชกิ ทุกคน สามารถท�ำให้สมาชิกทุกคนมีชวี ติ ทีด่ ขี น้ึ ไดผ้ ่านระบบ “ชว่ ยเหลอื ตนเอง และ ช่วยเหลือซงึ่ กนั และกนั ” ดงั นนั้ “ทุนส�ำรอง” และ “การออมตามสถานะของสมาชิก” จึงเป็นเร่ืองที่ตอ้ งท�ำใหม้ วลสมาชกิ ของ สหกรณอ์ อมทรัพยเ์ ข้าใจตรงกัน และต้อง “ขับเคลอ่ื น” ใหเ้ กิดขน้ึ ไดจ้ รงิ ความสามารถในการเพิม่ ทนุ ส�ำรองน้นั ไม่ใชป่ ัญหาใหญ่เพราะขอ้ บังคบั ก�ำหนดไว้ การเพมิ่ ความสามารถ ในการออมตา่ งหากท่เี ปน็ งานทา้ ทายส�ำหรบั สมาชิกทุกคน งาน “ท้าทาย” แบบนจี้ ะส�ำเรจ็ ได้ ก็ด้วยฝีมอื ของสมาชกิ ทกุ คน ไม่ใช่คนใดคนหนง่ึ ครบั 11 * ขา่ ว สอ.มก. ปีท่ี 23 ฉบับท่ี 7 เดอื นสิงหาคม 2549

ระบบคดิ ภารกจิ เปา้ หมาย และสวสั ดกิ าร สอ.มก. (2)* ทววี ัฒน์ ทศั นวฒั น์ (2210) ระดบั ความเข้าใจในเร่ือง “การจัดการเกย่ี วกับเงนิ และการจัดการเก่ยี วกบั ใจ” มีผลตอ่ ความสามารถ ในการออมของแต่ละคนไมน่ ้อย การออมของบางคนอยบู่ นแนวคดิ ทว่ี า่ “เงนิ ออมคอื เงนิ ทเี่ หลอื จากการจา่ ย (เงนิ ออม = รายรบั - รายจา่ ย)” แต่หลายคนใช้หลัก “ออมกอ่ นจา่ ย (รายจ่าย = รายรบั – เงนิ ออม)” หากใชเ้ งนิ ออมจากแนวคิดทง้ั สองไป “ท�ำงาน” แบบเดียวกันจะเห็นไดช้ ดั ว่าแนวคดิ “ออมกอ่ นจา่ ย” จะให้ผลตอบแทนดีกวา่ เน่อื งจากมีเวลาในการท�ำงานมากกวา่ การ “ออมกอ่ นจ่าย” อยา่ งเดยี ว โดยไมไ่ ดน้ �ำ “ปนั ผล” หรอื “ดอกเบีย้ ” ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากเงินออมนัน้ ไป “ลงทนุ ตอ่ ” ผลลัพธท์ ไ่ี ด้ก็ธรรมดา ยอดรวมของเงินออมจะมากหรือนอ้ ยขึ้นอย่กู บั จ�ำนวนเงนิ ท่ีออมในแต่ละเดอื น การลงทุนตอ่ จะให้ผลลัพธ์ทีม่ หัศจรรย์แก่เจ้าของอย่างยงิ่ สมมตุ ิว่าเราเป็นพ่อค้ารายยอ่ ย ประเภท “ซ้ือมา-ขายไป” “ก�ำไร” ทเี่ กดิ ข้ึนหากใชห้ มดทุกครั้ง กิจการของเรากจ็ ะมขี นาดคงท่ไี ปตลอดไม่มีวนั ทีจ่ ะเตบิ โตขึน้ แตห่ ากแบ่ง “ก�ำไร” มา “ลงทุนตอ่ ” กิจการก็จะใหญโ่ ตและมนั่ คงข้ึน เงินปนั ผลที่เกดิ ข้ึนจากหนุ้ ท่ีออมไวก้ เ็ ชน่ กนั หากแบง่ มา ลงทุนตอ่ เนือ่ งจนกว่าจะเกษียณจะได้ผลลพั ธท์ ่แี ตกตา่ งกนั ดังตวั อย่างข้างลา่ งน้ี ราส( ยบ่งเาหดทุ้นอื ) น 2 5 จำ�น0วย นอปดี ร3ว5ม ของมูลคา่2ห5นุ้ จำ�(บน2าว5ทน )ปต ี 3า5ม % ของเงินปันผลท่นี �ำ มา “ลงทนุ ตอ่ ” (%) 50 100 35 จำ�นวนป ี จ�ำ นวนปี 25 35 25 500 150,000 210,000 181,844 275,775 222,310 368,668 339,886 690,338 1,000 300,000 420,000 363,687 551,550 444,621 737,335 679,771 1,380,677 จากตารางขา้ งบน เงินทอี่ อมในรูปของหนุ้ สอ.มก. เดือนละ 500 บาท หาก “ใช”้ ปนั ผลสมมุติว่าได้มา 6% หมดไปทุกปี เม่อื ครบ 25 หรอื 35 ปมี ูลค่าของห้นุ ที่มีจะเทา่ กับ 150,000 หรือ 210,000 บาทตามล�ำดับ เทา่ น้นั แตห่ าก “เจยี ด” เงนิ ปนั ผลทไ่ี ด้ มาลงทุนในห้นุ ตอ่ เนือ่ ง สมมตุ ิว่า แบ่งมา 25% หรอื 50% เมื่อครบ 35 ปี จาก 210,000 จะกลายเป็น 275,775 หรือ 368,668 บาท เพม่ิ ข้ึน 65,775 หรอื 158,668 บาทตามล�ำดบั ถ้าวางแนวคิดไว้ว่าหุ้นที่ออมแต่ละเดือนคือส่วนที่เตรียมไว้ใช้หลังเกษียณ เงินปันผลที่ได้ทั้งหมดใน แตล่ ะปจี งึ น�ำไปลงทนุ ตอ่ ดงั นนั้ จาก 150,000 หรอื 210,000 จะเปน็ 339,886 หรอื 690,338 บาท ตามล�ำดบั ในปที ่ี เกษยี ณหากปนั ผลอยู่ท่ี 6% หุ้นทอี่ อมไว้ 25 หรือ 35 ปี ดงั กลา่ วจะท�ำให้ “เจา้ ของ” มีรายได้จาก สอ.มก. เฉลย่ี ประมาณเดอื นละ 1,700 หรือ 3,450 ตามล�ำดับ 12 * ขา่ ว สอ.มก. ปที ี่ 23 ฉบับท่ี 8 เดือนกนั ยายน 2549

“การลงทุนตอ่ ” ย่ิงนานสดั ส่วนผลตอบแทนยงิ่ ดีกวา่ ตวั เลขการสง่ หนุ้ นนั้ สามารถปรบั เปลยี่ นได้โดยใช้โปรแกรม “ค�ำนวณเงนิ ออมจากการซอ้ื หนุ้ ” และโปรแกรม “ค�ำนวณเงินออมวันเกดิ ” ซงึ่ สอ.มก. แขวน ไวท้ ี่ www.coop.ku.ac.th ส�ำหรบั ใช้วางแผนการเงนิ ตามสถานะ ของแต่ละคน เพอ่ื วา่ หลงั เกษยี ณแล้วทกุ คนจะสามารถ “ชว่ ยเหลอื ตนเอง” ได้ตามสมควร “การลงทุนตอ่ ” และ “การรู้จกั พอ” ตามสถานะ เป็นสองปัจจัยส�ำคญั ท่ีเพม่ิ ความสามารถในการออม ของแตล่ ะคนได้ “การลงทนุ ตอ่ ” จะเกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง “การรู้จักพอตามสถานะ” ต้องเกิดขึ้นพร้อมกันดว้ ย ชีวิตจะสมดุลตลอดอายุขัยหากท�ำให้ “การลงทุนต่อ” และ “การรู้จักพอ” เกิดขึ้นต่อเน่ืองได้ใน ชีวิตจรงิ ครับ 13

ระบบคดิ ภารกจิ เปา้ หมาย และสวสั ดกิ าร สอ.มก. (3)* ทววี ัฒน์ ทศั นวัฒน์ (2210) สหกรณ์เป็น “ชมุ ชน” ทีเ่ กิดข้นึ โดยมีเปา้ หมายหลักในการท�ำใหช้ ีวิตความเป็นอยูข่ องสมาชิกดีข้ึนผ่าน การประกอบกจิ การอยา่ งใดอย่างหนึง่ ร่วมกัน โดยความหมายเชน่ น้ี สหกรณ์จึงเป็น วิสาหกจิ ชุมชน ประเภทหน่ึง ซงึ่ ส�ำหรับสหกรณอ์ อมทรพั ย์นน้ั “เงิน” คอื สินคา้ ทสี่ มาชิกผลติ บริโภค และซือ้ ขายรว่ มกนั เมือ่ สิ้นรอบปบี ญั ชี จะจัดสรรก�ำไรสุทธอิ ยา่ งไร? จงึ จะท�ำใหช้ ีวติ ความเป็นอยขู่ องสมาชิกดขี น้ึ ข้อบังคับ สอ.มก. ข้อ 65 ว่าด้วยการจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีนั้น ก�ำหนดให้จัดสรรเป็นทุนส�ำรอง ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละสิบ และเปน็ ค่าบ�ำรงุ สนั นิบาตสหกรณ์แหง่ ประเทศไทยไมเ่ กนิ รอ้ ยละห้า (ปจั จุบนั สงู สดุ ไม่เกิน 10,000 บาท) เป็นล�ำดับแรก ก�ำไรสุทธิสว่ นทีเ่ หลอื ที่ประชมุ ใหญ่อาจจัดสรรเป็น เงนิ ปันผล ดอกเบีย้ เฉลย่ี คนื โบนสั ทนุ รกั ษาระดบั อตั ราเงนิ ปนั ผล ทนุ สาธารณประโยชน์ ทนุ สมทบสรา้ งส�ำนกั งาน และทนุ สวสั ดกิ าร โดยทกุ รายการ ยกเวน้ รายการดอกเบ้ียเฉลยี่ คนื จะมอี ตั ราสูงสดุ ก�ำหนดไว้ เม่อื จัดสรรตามเกณฑ์ดังกลา่ วแล้ว หากยังมกี �ำไรสุทธิ เหลอื อกี ใหส้ มทบเปน็ ทนุ ส�ำรองทง้ั สนิ้ (รายละเอยี ดของขอ้ บงั คบั ดงั กลา่ วดไู ดท้ เ่ี มนหู ลกั www.coop.ku.ac.th ข้อบังคบั ฯ ใหค้ วามส�ำคัญกบั “ทนุ ส�ำรอง” ไวส้ ูงมาก เน่ืองจากเป็นดชั นีหนง่ึ ท่สี ะท้อนถงึ ความมน่ั คง และการเตบิ โตขององค์กร (ข้อ 65 และ 66) นอกจากนี้ยงั ก�ำหนดไว้วา่ ทนุ ส�ำรองนนั้ เปน็ ของสมาชิกทกุ คนแต่ สมาชกิ จะน�ำมาแบ่งปนั กนั หรือเรียกร้องจากทนุ ส�ำรองไมไ่ ด้ (ข้อ 67) “ทนุ ส�ำรอง” นั้นย่งิ มากยิ่งเป็นคณุ ตอ่ องคก์ ร แต่การจัดสรรโดยมุ่งท่ีการเตบิ โตขององคก์ รอยา่ งเดียว โดยคนในองค์กรไมด่ ขี นึ้ ดว้ ย การเติบโตน้นั จะมีความหมายอะไร? ผังการจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีทเี่ สนอมาให้พิจารณานั้น เคยเสนอในขา่ ว สอ.มก. ฉบับเดือนตลุ าคม 2548 มาแลว้ ครงั้ หนึ่ง ในคราวนนั้ เพอ่ื ที่จะใหเ้ ห็นภาพการจัดสรรก�ำไรสุทธิชัดเจนขึ้นได้ใหค้ วามเหน็ ว่า เงนิ ปันผล เจ้าของ ดอกเบย้ี เฉลี่ยคนื ลกู ค้า กำ�ไร แบง่ ปนั ให้สงั คม ทุนสวสั ดกิ ารต่างๆ ทนุ สำ�รอง เงินออมของทุกคน 14 * ขา่ ว สอ.มก. ปที ี่ 23 ฉบบั ท่ี 10 เดือนพฤศจิกายน 2549

“เงินปนั ผล” คือผลตอบแทนท่ี “เจ้าของ” พึงได้รบั จากการ “ลงทนุ ” ส�ำหรบั “ดอกเบีย้ เฉลีย่ คนื ” คือ ส่วนลดทใี่ ห้กบั ลกู คา้ สว่ น “ทุนส�ำรอง” นัน้ คอื เงินออมของทกุ คน แล้วมันใหผ้ ลตอบแทนทเ่ี ปน็ รปู ธรรมแก่ “เจา้ ของ” และ “ชุมชน” อย่างไร? หากที่ประชุมใหญ่สามารถจัดสรรก�ำไรสุทธิได้ดุลกันทุกส่วนโดยยังคงเป้าหมายหลักขององค์กรอยู่ นอกจากองคก์ รจะเติบโตอย่างมัน่ คงแล้ว สมาชิกทกุ คนกจ็ ะมคี ณุ ภาพชวี ิตทีด่ ขี น้ึ ด้วย “ความเขา้ ใจ” ในการจดั สรรก�ำไรสทุ ธปิ ระจ�ำปี จงึ เปน็ สง่ิ จ�ำเปน็ อยา่ งหนง่ึ ทสี่ มาชกิ ทกุ คนตอ้ งเรยี นรู้ ไม่น่าเช่ือนะครับว่า “การจัดสรรก�ำไรสุทธิ” ในแต่ละปีของสหกรณ์ออมทรัพย์น้ัน หากจัดการได้ถูกต้อง จะมสี ่วนส�ำคัญไม่นอ้ ยในการ “ช่วยเหลือซง่ึ กันและกัน” ตามแนวคิดของสหกรณ์ 15

ระบบคดิ ภารกจิ เปา้ หมาย และสวสั ดกิ าร สอ.มก. (4)* ทวีวัฒน์ ทัศนวฒั น์ (2210) ค�ำวา่ “สหกรณ”์ นน้ั เรม่ิ ปรากฏในกฎหมายไทยมาประมาณ 90 ปแี ลว้ (พ.ร.บ. สมาคมเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2459) และตอ่ มามกี ารปรบั ปรงุ นยิ ามและบทบาทของสหกรณห์ ลายครงั้ (พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2471, พ.ร.บ. สหกรณ์ แก้ไข เพิม่ เติม 2476, พ.ร.บ. สหกรณ์ แก้ไขเพม่ิ เติม 2477 (ฉบับที่ 2), พ.ร.บ. สหกรณ์ 2511, พ.ร.บ. สหกรณ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2524 และ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542) ผ่านไปเกือบหนึ่งร้อยปีแล้ว ไม่น่าเช่ือนะครับว่า สมาชิกส่วนใหญ่ของสหกรณ์แต่ละแห่งยังไม่เข้าใจ วัตถปุ ระสงค์หลักของการจัดตัง้ สหกรณน์ ัน้ ๆ สหกรณ์ที่จัดต้ังขึ้นตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 นัน้ มหี ลายประเภท ซง่ึ ภารกิจเปา้ หมายในการรวม กลุม่ เพอื่ ตงั้ เปน็ สหกรณ์แต่ละชนดิ แตล่ ะแหง่ นน้ั จะแตกต่างกัน อะไรคือ “ภารกิจเป้าหมาย” ของสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด? และ “ภาพลักษณ์ขององคก์ ร” ที่ สอ.มก. ต้องพัฒนาใหส้ มาชิกและชุมชนไดป้ ระจักษ์ควรเป็นอยา่ งไร? “ภารกิจเป้าหมาย” และ “ภาพลักษณ์ขององค์กร” เป็นสิ่งท่ีสมาชิก สอ.มก. ควรจะได้เห็นพ้องร่วมกัน เพอ่ื ท่ีจะได้ใชแ้ ละขับเคลอื่ น สอ.มก. ในการสร้างความมนั่ คงใหก้ ับชีวิตตามศักยภาพของแตล่ ะคน ตามระบบคดิ ของสหกรณ์ คณะกรรมการด�ำเนนิ การ สอ.มก. ไดต้ กลงรว่ มกนั วา่ การท�ำให้ “ระบบคดิ ในการครองชพี ของสมาชกิ ดขี น้ึ ” จะเปน็ ภารกิจเป้าหมายของ สอ.มก. และจะพฒั นา สอ.มก. ใหร้ ับรู้เปน็ การทว่ั ไปวา่ เป็น “องคก์ รที่สง่ เสรมิ ฐานะ และความม่ันคงทางเศรษฐกิจของสมาชิกบนพื้นฐานของการช่วยเหลือตนเอง การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และเป็นองค์กรทีเ่ กือ้ กลู สังคม” “ระบบคิดในการครองชีพดีข้ึน” หมายความวา่ เมือ่ เกษียณแล้วสมาชกิ สามารถพ่งึ พาตวั เองได้จากหุ้นและ เงินที่ออมเอาไว้ในช่วงทีท่ �ำงาน ซง่ึ การท่จี ะมีเงินเหลือออมได้น้นั ตอ้ ง “ประหยดั เป็น” และใช้ชวี ิตแบบ “พออยู่ พอกิน พอประมาณ” ตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง มีเงินออมแต่ไม่รู้จักน�ำเงินที่มีไป “ลงทุนต่อ” จะเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีท�ำให้มูลค่าของเงินที่มีในปัจจุบันลดลง ได้ในอนาคต เนื่องจากอัตราเงนิ เฟอ้ และดชั นคี า่ ครองชีพทเี่ พ่มิ ขน้ึ ดงั น้ันความเข้าใจใน “การจดั การเร่อื งเงิน” จะตอ้ งท�ำใหเ้ กิดข้นึ ในมวลสมาชิกให้ได้ สว่ นการทีจ่ ะสามารถ “พออยู่ พอกนิ พอประมาณ” ได้น้ัน แตล่ ะคนต้อง รูจ้ ักจัดการกับ “ความอยาก” ของตนเอง การจัดการกับความอยาก เป็นการจดั การเรือ่ งใจอยา่ งหน่ึง การจัดการเรอ่ื งเงินกับใจเป็นส่ิงท่ีตอ้ งด�ำเนินการควบคู่กันไปเสมอ หากทกุ คนสามารถ “จัดการเรอื่ งเงิน และใจ” ได้ดีขน้ึ “ระบบคดิ ในการครองชพี ” ของแต่ละคน จะดขี ึ้นอยา่ งแน่นอน 16 * ข่าว สอ.มก. ปที ่ี 23 ฉบับที่ 11 เดอื นธันวาคม 2549

การจัดการเร่อื งเงนิ ได้ถูกตอ้ งจะเปน็ พ้นื ฐานท่ีส�ำคัญของการพงึ่ ตนเอง การจดั การเรื่องใจ “ใหร้ ”ู้ ความ พอดี พออยู่ พอกิน พอประมาณ การมีไมตรีจิตต่อกัน จะเป็นพ้ืนฐานท่ีส�ำคัญของการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และการเกอ้ื กลู สังคม สวัสดกิ ารต่างๆ ที่เกดิ ขน้ึ ใน สอ.มก. คอื รปู ธรรมของการ “ช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ” การ “เจยี ด” เงนิ ปันผล ท่ีได้รบั ในแตล่ ะปีมาออมเป็นหนุ้ เพ่ิมขึ้น เปน็ การ “ลงทุนตอ่ ” ที่งา่ ยทส่ี ุดทีใ่ ห้ ผลตอบแทนพอประมาณ การจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปใี ห้ “พอดี พอประมาณ” กับทุกฝา่ ย จะมีอทิ ธพิ ลตอ่ การ ช่วยเหลือซึ่งกนั และกันมาก การ “เจยี ด” เงนิ ปันผลฯ และ “จัดสรรก�ำไรฯ” ให้ พอดี พอประมาณ กับทุกฝา่ ย เปน็ ระบบคิดของ สหกรณ์ออมทรัพย์ ครับ 17

นยั ยะของ “การชว่ ยเหลอื ตนเอง และการชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ” ในสหกรณอ์ อมทรพั ย์ (1)* ทววี ัฒน์ ทศั นวัฒน์ (2210) หลกั การส�ำคัญของสหกรณค์ อื “การช่วยเหลอื ตนเองและการช่วยเหลือซง่ึ กนั และกัน” ซึง่ เมอื่ น�ำมา พิจารณาร่วมกบั ข้อบงั คับของสหกรณ์ออมทรพั ย์ เช่นการหกั เปน็ เงนิ ออมหุน้ กอ่ นจา่ ยเงินเดือน ซ่ึงหุน้ น้จี ะจา่ ยคืน เมอื่ ลาออกหรอื พน้ สภาพการเปน็ สมาชกิ รวมทง้ั การจดั สรรก�ำไรสทุ ธใิ หเ้ ปน็ ทนุ ส�ำรองกอ่ นการจดั สรรเปน็ อยา่ งอนื่ แลว้ จะท�ำใหเ้ หน็ แนวคิดหรือเปา้ หมายของ “การชว่ ยเหลือตนเอง” และ “การชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกัน” เปน็ รูปธรรม ได้ชัดเจนขึน้ ขอ้ บงั คบั ของสหกรณอ์ อมทรพั ยท์ �ำใหก้ ารออมหนุ้ ของสมาชกิ แตล่ ะคนเปน็ การออมระยะยาว (30-35 ป)ี เพื่อวา่ หากลาออกจะได้เงนิ ทอ่ี อมในรูปของหุน้ กอ้ นหนง่ึ ออกมาใช้ หรือ หลังเกษียณจะไดม้ เี งนิ ปนั ผลเปน็ แหลง่ รายได้ใหม่ทดแทนเงินเดือนท่หี ายไปหรือลดลง (ส�ำหรับสมาชิกที่รบั บ�ำเหน็จหรือรับบ�ำนาญตามล�ำดับ) ดังนน้ั เปา้ หมายหลกั ของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ในการออมหุ้นของสมาชกิ คอื การออมตามศักยภาพใหถ้ ึงระดับท่ีเงนิ ปนั ผล ท่ไี ด้รบั หลงั เกษียณสามารถ “ดแู ล” สมาชิกผู้ออมไดต้ ามควรแก่สถานะ การออมตามศักยภาพจะใหผ้ ลตอบแทนดมี าก หากน�ำ “เงินปันผล” ท่ีได้รับแตล่ ะปไี ปเปล่ียนเป็นหนุ้ เพม่ิ ขนึ้ ตามภาวะการเงนิ ของแตล่ ะคนในแตล่ ะปี เรยี กวา่ เปน็ การลงทนุ ตอ่ การ “ลงทนุ ตอ่ ” แบบนจี้ ะใหผ้ ลตอบแทน สงู สดุ หากเป็นการลงทนุ ตอ่ ด้วยเงินปนั ผลทงั้ จ�ำนวน และจะไดผ้ ลตอบแทนลดลงตามการ “ลงทุนต่อ” ทีล่ ดลง ในทางตรงกนั ข้าม หากน�ำเงินปันผลท่ไี ด้ไปใช้หมดทง้ั จ�ำนวนมลู ค่าของหุน้ ณ วนั เกษยี ณ น่าจะลดลง เนอื่ งจากอัตราเงนิ เฟอ้ ทสี่ ูงข้นึ ไอน์สไตน์ นกั วทิ ยาศาสตรช์ ื่อดงั ของโลกบอกว่า การน�ำเงนิ ปันผลไป “ลงทนุ ตอ่ ” เป็น “ส่งิ มหัศจรรย์” สงิ่ หนง่ึ ในศตวรรษท่ีแล้ว แต่การออมตามศกั ยภาพ แล้วลงทนุ ตอ่ ดว้ ยเงนิ ปนั ผลท่ไี ดร้ บั ในแต่ละปี รว่ มกับการ ออมเพมิ่ อย่างน้อยวันละหนึง่ บาทในปีถดั ๆ ไป ต่อเนอ่ื งทุกปี เปน็ “สิ่งมหัศจรรยก์ วา่ ” ท่ีสมาชกิ ทุกคนสามารถ ท�ำใหเ้ กดิ ขน้ึ ไดด้ ว้ ย “มอื ” ของตนเอง แต่ต้องใช้เวลาหน่อยนะครับ การออมตามศักยภาพเปน็ “การช่วยเหลือตนเอง” ของสมาชิกแตล่ ะคน แต่มสี มาชกิ จ�ำนวนไมน่ ้อยท่ี ออมหุ้นต�่ำกว่าศกั ยภาพ ไม่เห็นความมหศั จรรย์ของการน�ำเงินปันผลไป “ลงทุนต่อ” และไม่เห็นอิทธิฤทธิข์ องการ ออมหุ้นเพิ่มวันละหนง่ึ บาทในปีถัดไปทุกปี สมาชิกทีร่ ู้ควรจะ “แนะ” คือบอกให้รู้ (โปรแกรม ค�ำนวณเงนิ ออมจาก การสะสมหุน้ ท่ี เว็บไซต์ www.coop.ku.ac.th) และ “น�ำ” คือท�ำให้ดูด้วยแผนการออมของตัวเอง เพอ่ื ทีส่ มาชกิ สหกรณค์ นอน่ื จะไดม้ ีชวี ิตหลงั เกษยี ณพอควรแก่อตั ภาพ เปน็ “การช่วยเหลือซงึ่ กันและกนั ” ตามหลกั การส�ำคญั ของสหกรณ์ กรรมการ/เจา้ หน้าท่ี อย่าเอาแต่ “แนะ” อยา่ งเดยี ว ตอ้ ง “น�ำ” ด้วยนะครับ 18 * ข่าว สอ.มก. ปที ี่ 25 ฉบบั ท่ี 9 เดือนตุลาคม 2551

นยั ยะของ “การชว่ ยเหลอื ตนเอง และการชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ” ในสหกรณอ์ อมทรพั ย์ (2)* ทวีวัฒน์ ทัศนวฒั น์ (2210) กจิ การของสหกรณน์ นั้ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากรฐั บาลอยา่ งนอ้ ยในเรอื่ งภาษี กลา่ วคอื ก�ำไรจากการด�ำเนนิ งาน ของสหกรณ์ และเงินปันผลท่สี มาชกิ ได้จากหุ้นได้รบั การยกเวน้ ไม่ต้องน�ำมาค�ำนวณเพื่อเสียภาษี เงินรายได้ ประจ�ำปี โดยรฐั บาลมเี งื่อนไขว่าในการจดั สรรก�ำไรสทุ ธิประจ�ำปีต้องจดั สรรเปน็ “ทุนส�ำรอง” ก่อน และทนุ ส�ำรองน้ี จะน�ำมาจ�ำแนก แจกจ่ายกนั ในหมสู่ มาชิกไมไ่ ด้ เป็นทย่ี อมรับกันว่า ทนุ ส�ำรองยิ่งมาก สหกรณ์ออมทรพั ยย์ งิ่ มั่นคง จดั สรรเปน็ ทนุ ส�ำรองมากๆ ก็กระทบ ต่ออัตราปันผล/เงินเฉล่ยี คนื ทจี่ ะไดร้ ับ ท�ำอยา่ งไรสมาชกิ ถึงจะยินดีในการจดั สรรฯ เป็นทุนส�ำรองในอัตราท่ี สงู กวา่ กฎหมายก�ำหนด? การใช้ “ทุนส�ำรอง” มาจัดต้ัง “กองทุนสวสั ดิการ และกองทุนตา่ งๆ” และสร้างระบบสวสั ดิการขึน้ มา เปน็ สิง่ ทที่ ้ังองคก์ รและสมาชิก “ได้” ด้วยกนั ทงั้ คู่ สหกรณ์ไดค้ วามม่ันคง ในขณะท่สี มาชกิ ได้สวัสดิการ ระบบสวสั ดกิ ารของ สอ.มก. ประกอบดว้ ยสวสั ดกิ ารหลกั และสวสั ดกิ ารเสรมิ สวสั ดกิ ารหลกั คอื สวสั ดกิ าร ท่ีสมาชิกทุกคนจะได้รับตามระเบียบ ประกอบด้วยสวัสดิการวันเกิด สวัสดิการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ สวสั ดิการครองชีพ ส�ำหรบั สวัสดกิ ารเสรมิ นน้ั สมาชกิ จะได้รับตามเงอื่ นไขเช่น แตง่ งาน คลอดบตุ ร ยังเป็นโสด เมื่อเกษยี ณ เปน็ ตน้ ในอัตราสวัสดิการปจั จุบนั ณ ปีท่ีเกษยี ณ (อายกุ ารเป็นสมาชิก 35 ป)ี จะไดร้ บั สวสั ดกิ ารวันเกดิ ประมาณ 1,300 บาท และ สวัสดิการส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ 45,000 บาท [ค�ำนวณจากอายหุ นุ้ (ไมเ่ กนิ 30 ปี) x 3000/2] สวัสดิการต่างๆ ดังกล่าวในวรรคก่อนสามารถปรับเพิ่มขึ้นได้ หากทุนส�ำรองได้รับการจัดสรรมากข้ึน เท่าท่ี ค�ำนวณดู ทุกๆ 100 ล้านบาทของทุนส�ำรองที่เพิ่มขึ้น สวัสดิการวันเกิดสามารถปรับเพิ่มข้ึนได้ และหาก สะสมมากเข้าสามารถเพม่ิ อายหุ ุ้นเป็น 35 ปี และเปลี่ยนตวั คณู จาก 3000/2 ไดอ้ กี ด้วย เนอ่ื งจากสมาชิกสหกรณอ์ อมทรพั ยม์ สี ถานะทางการเงินแตกต่างกนั บา้ งไมม่ ี บ้างพอมี บ้างมีมง่ั และ บา้ งมง่ั มี คละเคล้ากันไป ท�ำให้เกิดความแตกตา่ งในการออมหนุ้ ของสมาชกิ แต่ละคน การปรับเพ่ิมสวัสดิการผ่านการเพิ่มทุนส�ำรองดังกล่าวนอกจากจะช่วยท�ำให้สมาชิกท่ีออมหุ้นได้น้อยมี คณุ ภาพชีวิตหลังเกษยี ณดขี ึน้ แล้วยงั เป็นการ “เพิม่ มูลค่า” ใหก้ ับระยะเวลาของสมาชกิ ทกุ คนท่ีออมหนุ้ มา เปน็ เวลาค่อนชีวติ ดว้ ยครับ การ “ขบั เคลื่อน” ใหส้ มาชกิ ออมหุน้ ตามศกั ยภาพ ให้ถงึ ระดับท่ีดูแลตัวเองตามสถานะหลังเกษยี ณได้ และการปรับเพิ่มสวัสดิการ ผ่านการเพ่ิมทุนส�ำรอง เป็นกิจกรรมท่ีอยู่บนหลักการ “ช่วยเหลือตนเองและ ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกนั ” หากท�ำให้เกิดข้ึนอยา่ งเปน็ รปู ธรรมใน สอ.มก. ได้.....จะเยี่ยมมาก แต.่ ...ต้อง “ออกแรง” มากหนอ่ ยนะครบั 19 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 25 ฉบับที่ 10 เดอื นพฤศจิกายน 2551

การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยใ์ หเ้ กดิ ประโยชน*์ ผศ.สชุ ิน ปลีหะจนิ ดา (7315) สหกรณอ์ อมทรพั ยเ์ ปน็ องคก์ รในรปู สถาบนั การเงนิ ทจี่ ดั ตงั้ ขนึ้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ในการสง่ เสรมิ การออม และการใหบ้ รกิ ารเงินก้แู ก่สมาชกิ ตามความจ�ำเป็น ส่วนสวสั ดกิ ารและบรกิ าร/กจิ กรรมด้านอ่ืนๆ สหกรณ์แต่ละแหง่ อาจจัดเพิ่มข้ึนได้ตามความเหมาะสม ทั้งน้ีเพื่อให้สมาชิกได้ใช้สหกรณ์ออมทรัพย์เป็นเครื่องมือช่วยเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว โดยอาศัยพ้ืนฐานแห่งการช่วยตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามอดุ มการณส์ หกรณ์ ในกรณีของการส่งเสริมการออม สหกรณอ์ อมทรัพยจ์ ัดใหม้ ีการออม 2 ประเภท คอื (1) การออมระยะยาวเพอื่ ให้สมาชิกสะสมเงนิ ไว้ใช้ในอนาคตในรปู การถือหุ้น การออมประเภทนี้ เกดิ ขนึ้ จากการรว่ มมอื กนั ระหวา่ งสมาชกิ กบั สหกรณ์ โดยสมาชกิ ตอ้ งยนิ ยอมใหส้ หกรณห์ กั สว่ นหนง่ึ ของเงนิ เดอื น ถอื หนุ้ ในสหกรณเ์ ปน็ ประจ�ำทกุ เดอื น การถอื หนุ้ ในลกั ษณะน้ี นอกจากจะชว่ ยใหส้ มาชกิ สรา้ งวนิ ยั การออมใหต้ นเอง ไดแ้ ลว้ ยงั เปน็ หนทางหนงึ่ ทชี่ ว่ ยใหส้ มาชกิ มเี งนิ ออมกอ้ นใหญไ่ ว้ใช้ในอนาคตไดด้ ว้ ย และเพอื่ ชว่ ยใหส้ มาชกิ สามารถ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคแ์ หง่ การออมดังกลา่ ว สหกรณจ์ ึงก�ำหนดกติกาไวว้ า่ ในระหวา่ งทีเ่ ป็นสมาชกิ อยู่ จะถอนหุ้นออก จากสหกรณแ์ ละงดส่งคา่ หนุ้ เกนิ กวา่ 2 งวด (ขนึ้ อยู่กับข้อบงั คบั ) ตดิ ตอ่ กนั ไม่ได้ นอกจากน้ัน หากสมาชิกรายใด เห็นว่าจ�ำนวนเงินออมจากการถอื หนุ้ รายเดอื นนอ้ ยเกินไป ยังสามารถถือหุ้นเพ่ิมเป็นกรณีพเิ ศษเปน็ คราวๆ ตามท่ี สหกรณ์ก�ำหนดเง่ือนไขไว้ไดอ้ กี ด้วย การออมดว้ ยวธิ ีน้ี สมาชกิ จะไดร้ บั ผลตอบแทนตามสมควรในรปู เงนิ ปันผล (ไม่เสียภาษีเงินได้) อย่างไรก็ตามการออมเงินในรูปหุ้นมีข้อจ�ำกัดว่า ในระหว่างที่ยังเป็นสมาชิกอยู่จะไม่สามารถ ถอนเงินมาใช้ได้ สมาชิกจึงตอ้ งวางแผนการออมใหร้ ดั กมุ เหมาะสมกับตนเอง (2) การออมระยะสั้นเพือ่ เกบ็ เงินไว้ใช้ในยามฉกุ เฉนิ หรือพกั เงินไว้ส�ำหรับเพือ่ ใช้จ่ายในกรณีตา่ งๆ ในอนาคตทไี่ มน่ านมากนกั การออมรปู แบบน้ี สมาชกิ สามารถฝากเงนิ ไว้ในสหกรณ์ไดห้ ลากหลายประเภท ทงั้ ประเภท ออมทรพั ย์ ออมทรพั ยพ์ เิ ศษ ฝากประจ�ำ และการถอื ตวั๋ สญั ญาใชเ้ งนิ เชน่ เดยี วกนั กบั การฝากเงนิ ในธนาคารพาณชิ ย์ ทั่วๆ ไป แตก่ ารฝากเงนิ ในสหกรณ์จะไดร้ บั ความสะดวกมากกวา่ และไดร้ ับดอกเบย้ี เงินฝากสงู กว่า รวมท้งั ได้รบั การยกเวน้ ภาษดี อกเบย้ี เงนิ ฝากจากบญั ชปี ระเภทออมทรพั ยแ์ ละออมทรพั ยพ์ เิ ศษดว้ ย การออมดว้ ยความสมคั รใจน้ี สมาชกิ ตอ้ งวางแผนการออมและการใชเ้ งนิ ในชว่ งเวลาตา่ งๆ ใหด้ ี โดยตอ้ งพจิ ารณารว่ มกนั ทง้ั ดอกเบย้ี ทจ่ี ะไดร้ บั และช่วงเวลาทีส่ ามารถน�ำเงินฝากออกไปใช้ได้ ส�ำหรบั การใชบ้ รกิ ารเงนิ กจู้ ากสหกรณน์ น้ั เพอื่ ให้ไดป้ ระโยชนจ์ ากการกเู้ งนิ มากทสี่ ดุ สมาชกิ จะตอ้ งก�ำหนด วัตถุประสงคข์ องการน�ำเงนิ ไปใช้ใหช้ ัดเจนและสอดคล้องกบั จ�ำนวนเงินกู้ทีจ่ �ำเป็นต้องใชจ้ ริง สมาชิกควรมีการ วางแผนการกู้เงินและการช�ำระคืนเงินกู้ให้สอดคล้องกับความสามารถช�ำระหนี้ของตนเอง โดยคาดการณ์ถึง ความพรอ้ มและความเส่ียงในอนาคตด้วย เงนิ กู้ท่สี หกรณ์ให้บรกิ ารมี 3 ประเภท คอื เงนิ ก้เู พือ่ เหตฉุ ุกเฉิน เงินกู้ สามญั และเงนิ กพู้ เิ ศษ แตล่ ะประเภทมวี ตั ถปุ ระสงคแ์ หง่ การน�ำเงนิ ไปใชท้ แี่ ตกตา่ งกนั แตท่ เี่ หมอื นกนั คอื สมาชกิ ต้องรบั ภาระค่าดอกเบีย้ ส่งใหส้ หกรณท์ ุกเดือน การกเู้ งนิ ทุกครัง้ จงึ ต้องมีความรอบคอบและระมัดระวงั 20 * ข่าว สอ.มก. ปที ่ี 25 ฉบับท่ี 10 เดือนพฤศจกิ ายน 2551

เงนิ ทนุ ของ สอ.มก. บรหิ ารอยา่ งไร?* ผศ.สชุ ิน ปลหี ะจินดา (7315) สหกรณ์ออมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกดั (สอ.มก.) เป็นสหกรณอ์ อมทรัพยข์ นาดใหญ่มาก (ตามเกณฑ์การจัดขนาดของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์) แม้ว่าสหกรณจ์ ะมสี มาชิก เพยี ง 6,171 คน (ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2550) ซึง่ เปน็ จ�ำนวนท่ีไม่มากนักเมอ่ื เปรยี บเทียบกบั สหกรณ์ออมทรัพย์ในขนาดเดยี วกนั แตเ่ มื่อพจิ ารณา จากทนุ ด�ำเนนิ งานของสหกรณ์ พบว่ามีจ�ำนวนมากถึง 12,604,921,842.22 บาท จ�ำนวนเงินทุนทีม่ ากระดบั นี้ จ�ำเป็น ตอ้ งไดร้ บั การบรหิ ารจดั การทเี่ หมาะสม เพอื่ สามารถสรา้ งความมนั่ ใจแกส่ มาชกิ ซง่ึ เปน็ เจา้ ของสหกรณ์ไดว้ า่ เงนิ ออม ทมี่ ีอยู่ในสหกรณ์ จะอยูอ่ ยา่ งปลอดภัยและได้รบั ผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทนุ ด�ำเนนิ งานของสหกรณม์ าจาก 2 สว่ น คอื หนส้ี นิ และสว่ นของเจา้ ของ (อาจเรยี กวา่ ทนุ ) โดยเงนิ รบั ฝาก จากสมาชิก (จัดเป็นส่วนหน้ีสินของสหกรณ์) มีสัดส่วนสูงสุด คือร้อยละ 68.41 รองลงมาเป็นทุนเรือนหุ้นซึ่งเป็น เงินออมระยะยาวของสมาชิก ร้อยละ 20.90 ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 10.69 เป็นหน้ีสินและทุนรายการอ่ืนๆ ที่มี สดั ส่วนแต่ละรายการเพียงเล็กนอ้ ย จากทนุ ด�ำเนนิ งานกวา่ หนึ่งหมืน่ สองพันลา้ นบาท สหกรณ์ได้น�ำไปฝากและ ลงทนุ ในสินทรพั ยต์ า่ งๆ โดยมยี อดคงเหลือ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2550 ดังน้ี (1) เงินสดและเงนิ ฝากธนาคาร 55 ล้านบาท รอ้ ยละ 0.44 ร้อยละ 3.49 (2) เงินฝากสหกรณ์อื่น 440 ลา้ นบาท ร้อยละ 40.14 รอ้ ยละ 19.92 (3) เงินลงทุนต่างๆ 5,059 ลา้ นบาท ร้อยละ 29.90 ร้อยละ 4.04 (4) ให้สมาชกิ ก ู้ 2,510 ลา้ นบาท รอ้ ยละ 0.99 (5) ให้สหกรณอ์ นื่ ก้ ู 3,769 ลา้ นบาท ร้อยละ 1.08 ร้อยละ 100.00 (6) โครงการลงทุนพิเศษ มก. 509 ล้านบาท (7) ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์/ 125 ลา้ นบาท สิทธกิ ารใชป้ ระโยชน์ในอาคารฯ (8) สนิ ทรัพย์อ่นื ๆ 137 ล้านบาท รวม 12,605 ล้านบาท การน�ำเงินทุนด�ำเนินงานของสหกรณ์ไปฝากและลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ ดังกล่าว มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้าง 21 ผลตอบแทนให้แก่สหกรณ์และสหกรณ์น�ำไปจัดสรรให้สมาชิกทงั้ ในรูปเป็นรายคน เช่น เงนิ ปันผลตามหุ้น และ เงนิ เฉล่ยี คนื ตามสว่ นปรมิ าณธุรกจิ ทสี่ มาชกิ ท�ำกับสหกรณ์ (ตามจ�ำนวนดอกเบีย้ จา่ ย) รวมทงั้ จดั สรรให้สมาชกิ ใน รปู ส่วนรวมทงั้ สหกรณ์ เชน่ เงินส�ำรอง เงินสะสมตามขอ้ บังคับ ระเบียบ และอนื่ ๆ (ส่วนใหญจ่ ัดเป็นสวสั ดิการให้ สมาชิก) แต่การฝากและลงทุนอาจมีความเส่ียงเกิดข้ึน ดังน้ัน การเลือกที่จะน�ำเงินทุนของสหกรณ์ไปฝากและ ลงทุนในสนิ ทรพั ย์ใด จ�ำนวนเทา่ ใดนนั้ โดยหลกั การบริหารการเงนิ จะต้องค�ำนึงถงึ สภาพคลอ่ ง ผลตอบแทนทีจ่ ะ ไดร้ บั และความเส่ียงจากการฝากและลงทุนควบคู่กนั เสมอ ส�ำหรับสหกรณ์เมื่อเปรยี บเทียบระหว่างผลตอบแทน กับความเสี่ยงแล้ว จะให้ความส�ำคัญกับความเส่ียงท่ีมีระดับต่�ำสุดเป็นล�ำดับแรก เพราะสหกรณ์ตระหนักอยู่ * รายงานกิจการประจ�ำ ปี 2550 วันที่ 24 มกราคม 2551

เสมอวา่ เงินทกุ บาททุกสตางค์ในสหกรณ์เป็นของสมาชิกทีเ่ ก็บออมไว้ใช้ในยามเกษยี ณ เมื่อใดที่สมาชกิ ประสงค์ จะถอนเงนิ คา่ หนุ้ และเงนิ ฝากคนื สหกรณต์ อ้ งสามารถจา่ ยคนื ไดเ้ ตม็ จ�ำนวนทงั้ ตน้ เงนิ และดอกเบย้ี (เพราะสหกรณ์ เป็นองคก์ รธุรกจิ ไม่ใช่องคก์ รการกศุ ล) การเลือกชนดิ และสดั สว่ นสินทรัพย์ที่สหกรณจ์ ะน�ำเงนิ ไปฝากและลงทุน ทง้ั ในรปู เงินฝาก เงนิ ให้สมาชกิ กู้ และเงินลงทุนอื่นๆ นอกจากต้องพิจารณาด้วยความระมัดระวัง รอบคอบแล้วยังต้องเป็นไปตามข้อบังคับและ ระเบยี บตา่ งๆ ของสหกรณ์อย่างเคร่งครัด ยงิ่ ไปกว่านั้นการฝากและลงทุนของสหกรณย์ งั ต้องอย่ภู ายในกรอบที่ กฎหมายสหกรณ์ (พระราชบญั ญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2542) ก�ำหนดไว้ในมาตรา 62 โดยมาตรานี้ก�ำหนดวา่ สหกรณ์ อาจฝากหรือลงทนุ ได้ ดงั น้ี (1) ฝากในชุมนุมสหกรณ์หรอื สหกรณ์อ่นื (2) ฝากในธนาคาร หรือในสถาบันการเงินท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ (3) ซ้อื หลกั ทรัพยข์ องรฐั บาลหรือรัฐวสิ าหกจิ (4) ซื้อหุ้นของธนาคารทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ใหค้ วามชว่ ยเหลือทางการเงนิ แก่สหกรณ์ (5) ซอื้ หนุ้ ของชมุ นมุ สหกรณ์หรอื สหกรณอ์ นื่ (6) ซอ้ื หนุ้ ของสถาบนั ทป่ี ระกอบธรุ กจิ อนั ท�ำใหเ้ กดิ ความสะดวก หรอื สง่ เสรมิ ความเจรญิ แกก่ จิ การสหกรณ์ โดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ (7) ฝากหรือลงทุนอยา่ งอนื่ ตามทีค่ ณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แหง่ ชาติ (คพช.) ก�ำหนด ในกรณขี องการลงทนุ ตามมาตรา 62 (7) นน้ั คพช. ไดอ้ อกประกาศ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์ แหง่ ชาติ เรื่อง ข้อก�ำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอืน่ ของสหกรณ์ พ.ศ. 2550 ซงึ่ ได้ก�ำหนดประเภทและเงือ่ นไข ของหลักทรัพย์ท่ีสหกรณ์อาจน�ำเงนิ ไปฝากหรือลงทนุ ไว้ดว้ ย อย่างไรก็ตาม การฝากและลงทุนของสหกรณ์ มีทั้งส่วนท่ีสหกรณ์ด�ำเนินการเอง และส่วนท่ีมอบให้ บรษิ ทั หลกั ทรัพยจ์ ดั การกองทนุ (บลจ.) ด�ำเนนิ การให้ เนือ่ งจากเงินทนุ ด�ำเนนิ งานของสหกรณ์ทีม่ จี �ำนวนมากถงึ หนึ่งหมื่นสองพันล้านบาทเศษนั้น แม้ว่าจะให้สมาชิกกู้ยืมไปตามระเบียบของสหกรณ์แล้วกว่าสองพันล้านบาท แต่ยังมีเงินทุนเหลืออยู่อีกจ�ำนวนหน่ึงซ่ึงหากไม่ได้รับการบริหารจัดการที่เหมาะสม นอกจากอาจท�ำให้ได้รับ ผลตอบแทนไมค่ ้มุ คา่ แล้ว ยังอาจเกดิ ความเส่ียงที่สูงเกนิ ไปได้ สหกรณ์จึงกระจายเงินทนุ สว่ นหนึ่งประมาณ 1,000 ล้านบาทมอบให้ บลจ. 5 แห่ง เปน็ ผ้บู ริหารจดั การแทนในลกั ษณะกองทุนสว่ นบคุ คล เนื่องจากเห็นวา่ บลจ. เหลา่ นั้น มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีการบริหารเงินลงทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีข้อมูล ข่าวสาร และมีผู้ติดตามดูแล การลงทุนได้ใกล้ชิดกว่าสหกรณ์ การลงทุนในลักษณะนี้สหกรณ์ยังมสี ิทธทิ จี่ ะเข้าไปดูแลการลงทุนได้เช่นเดียวกับ การลงทุนเอง ซ่ึงในปี 2550 ที่ผ่านมา การลงทุนท่ีให้ บลจ. ด�ำเนินการสามารถสร้างผลตอบแทนเฉลี่ยสูงกว่า ร้อยละ 6 ต่อปี 22

การน�ำเงินทุนของสหกรณ์ไปฝากและลงทุนในปัจจุบันและอนาคต ไม่ว่าจะเป็นไปในลักษณะใดก็ตาม จะ ประสบกบั ความยงุ่ ยากอนั เกดิ จากปจั จยั ทอ่ี ยนู่ อกเหนอื การควบคมุ ซงึ่ อาจเกดิ ขน้ึ ได้ในบางครงั้ เชน่ นโยบายของ ภาครฐั สถานการณ์ทางเศรษฐกจิ ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศมากขนึ้ การตดั สินใจเพอ่ื ฝากและลงทุนของสหกรณ์ จึงต้องกระท�ำด้วยความรอบคอบ โดยอาศัยทั้งทฤษฎีและหลักการทางวิชาการ รวมทั้งข้อมูลท่ีถูกต้องและเป็น ปจั จบุ นั ชว่ ยในการบรหิ ารมากขนึ้ ตามไปดว้ ย นอกจากนน้ั การลงทนุ ของสหกรณ์ อาจตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ความเสย่ี งมากขนึ้ นัน่ หมายความวา่ การบริหารเงนิ ทุนของสหกรณ์ไมอ่ าจหวังผลตอบแทนจากการลงทุนในอตั ราสงู เสมอไป ดงั นั้น หากผู้ท�ำหน้าที่รับผิดชอบการบริหารเงินทุนและสมาชิกในฐานะเจ้าของเงิน ได้เข้าใจเหตุและผลของการบริหาร เงินทุนของสหกรณด์ ังกล่าวอย่างถูกตอ้ ง ตรงกนั แลว้ เชื่อว่าการท�ำงานรว่ มกนั ของบุคคลทกุ ฝา่ ยในสหกรณ์รวม ทั้งสมาชกิ จะเปน็ ไปอย่างราบรนื่ และมีประสิทธิภาพ ทงั้ นีเ้ พื่อบรรลุเป้าหมายของการจัดตั้งสหกรณร์ ่วมกนั 23

อตั ราเงนิ ปนั ผล เงนิ เฉลย่ี คนื ควรสงู ตำ่� เพยี งใด* ผศ.สุชิน ปลหี ะจนิ ดา (7315) ในช่วงเวลาใกล้วันประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีของสหกรณ์ วงสนทนาของสมาชิกส่วนใหญ่คงหนีไม่พ้น การคาดการณ์อตั ราเงินปนั ผลและเงนิ เฉลยี่ คืนทีจ่ ะได้รับ ซึง่ ดูเหมอื นจะเปน็ ชว่ งเวลาแห่งการรอคอยเพ่อื ลนุ้ รางวัล ที่สหกรณ์มอบให้ สมาชิกบางรายอาจให้ข้อเสนอแนะผสมการเรียกร้องไปในตัวให้สหกรณ์จ่ายเงินปันผลและเงิน เฉลีย่ คืนในอัตราทส่ี งู ขึน้ กวา่ ปกี ่อน ท้งั ๆ ทีโ่ ดยข้อเท็จจรงิ นน้ั สมาชกิ น่ันแหละคือผมู้ ีอ�ำนาจในการพิจารณาจัดสรร ก�ำไรสุทธปิ ระจ�ำปีของสหกรณ์ในฐานะเจา้ ของสหกรณ์ ในการก�ำหนดอตั ราเงนิ ปนั ผลและเงนิ เฉลย่ี คนื มกี ลมุ่ บคุ คลเขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง 2 กลมุ่ คอื (1) คณะกรรมการ ด�ำเนนิ การท�ำหน้าท่ีก�ำหนดอัตราทเ่ี หมาะสมและน�ำเสนอใหท้ ่ีประชุมใหญพ่ จิ ารณา และ (2) สมาชิกท�ำหนา้ ท่ีผ่าน ที่ประชุมใหญ่พิจารณาให้ความเหน็ ชอบอัตราตามที่คณะกรรมการด�ำเนนิ การเสนอ สมาชิกหลายทา่ นอาจมีค�ำถาม อยู่ในใจว่าอัตราสูงสดุ ของเงินปนั ผลและเงนิ เฉลย่ี คนื อยูต่ รงไหน อัตราทเี่ หมาะสมนน้ั คอื อะไร และอตั ราที่สมาชกิ ไดร้ บั กนั อยู่ในปนี ส้ี งู หรอื ตำ่� เกนิ ไป ซงึ่ ถา้ สมาชกิ ไดร้ บั ค�ำตอบทด่ี ี อาจสง่ ผลใหก้ ารพจิ ารณาจดั สรรก�ำไรสทุ ธปิ ระจ�ำปี ในทปี่ ระชุมใหญ่มเี หตมุ ีผลมากขึ้น กอ่ นทจี่ ะหาค�ำตอบเกย่ี วกบั ค�ำถามเหลา่ น้ี ขอใหท้ า่ นท�ำความเขา้ ใจกบั ค�ำวา่ อตั ราเงนิ ปนั ผลและเงนิ เฉลย่ี คนื ให้ตรงกนั กอ่ น ค�ำวา่ “เงินปนั ผล” หมายถงึ ผลตอบแทนท่สี หกรณจ์ ่ายให้สมาชิกในฐานะผู้ถอื หุ้นในสหกรณ์ ซ่งึ จะแตกต่าง จากการถือหุ้นในบริษัท เพราะการถือหุ้นในสหกรณ์มุ่งเน้นการสะสมเงินออมเพื่อไว้ใช้ในอนาคต ไม่ใช่การลงทุน เพ่อื แสวงผลตอบแทน หุ้นท่ีอยู่ในสหกรณค์ ล้ายกับเงินลงขนั ทส่ี มาชิกน�ำมารวมกันเพือ่ ใช้เปน็ ทุนด�ำเนินงานส�ำหรบั ด�ำเนนิ กจิ กรรมทางธรุ กจิ รว่ มกนั และเมอื่ พจิ ารณารว่ มกบั หลกั การทางสหกรณท์ ใ่ี หค้ วามส�ำคญั กบั คนมากกวา่ เงนิ แลว้ นักสหกรณ์บางท่านจึงให้ข้อคิดไว้ว่า หากสหกรณ์จะให้ผลตอบแทนแก่หุ้นก็ควรให้ในอัตราจ�ำกัด อย่างไรก็ตามใน ทางปฏิบัติสหกรณ์บางแห่งจะให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกผู้ถือหุ้น โดยเทียบเคียงว่าหากน�ำเงินค่าหุ้นไปฝากไว้ใน ธนาคารก็จะได้รับดอกเบี้ยเงินฝากจ�ำนวนหน่ึง ด้วยหลักคิดน้ีจึงมีผู้เสนอว่าอัตราเงินปันผลตามหุ้น ควรเท่ากับ อตั ราดอกเบ้ียเงินฝากประจ�ำหนึ่งปี เชน่ หากเงินฝากประจ�ำหน่ึงปีของธนาคารพาณิชยเ์ ทา่ กับรอ้ ยละ 1 อัตรา เงินปันผลก็ควรเท่ากบั รอ้ ยละ 1 เช่นเดยี วกนั แตห่ ลักคดิ นี้ก็มีผู้โต้แยง้ วา่ เงนิ ฝากธนาคารมสี ภาพคลอ่ งสูงกว่า การถอื หนุ้ ในสหกรณม์ าก เพราะจะถอนเมอื่ ไรก็ได้หากไม่ค�ำนงึ ถงึ เงื่อนไขของการคิดดอกเบย้ี แตห่ ุ้นในสหกรณ์ สมาชกิ จะถอนออกไมไ่ ดต้ ราบใดท่ยี ังเปน็ สมาชกิ อยู่ ดงั น้นั อตั ราเงินปนั ผลควรชดเชยสภาพคลอ่ งทน่ี ้อยลงไปดว้ ย เชน่ หากองิ กบั อตั ราดอกเบย้ี เงนิ ฝากประจ�ำหนงึ่ ปกี ค็ วรบวกดว้ ยรอ้ ยละ 2-3 แตไ่ มว่ า่ จะคดิ ดว้ ยวธิ ใี ดกต็ ามในปจั จบุ นั กฎหมายก�ำหนดไว้ว่า หากปใี ดสหกรณม์ ีก�ำไรสทุ ธใิ หจ้ ดั สรรก�ำไรนั้นเป็นเงินปันผลตามหนุ้ ได้ไม่เกินร้อยละ 10 สว่ น “เงินเฉลย่ี คืน” หรือเรยี กใหเ้ ต็มว่า เงินเฉล่ียคนื ตามส่วนธรุ กจิ หมายถึง เงินทีส่ หกรณจ์ ่ายกลับคนื ใหส้ มาชกิ ในฐานะผรู้ ว่ มท�ำธรุ กจิ และสรา้ งรายได้ใหก้ บั สหกรณ์ เพราะโดยปกตแิ ลว้ สหกรณจ์ ะท�ำธรุ กจิ และคดิ คา่ 24 * ขา่ ว สอ.มก. ปีท่ี 26 ฉบบั ท่ี 11 เดือนธนั วาคม 2552

บรกิ าร (ดอกเบยี้ ) จากสมาชกิ ในราคาตลาด แตเ่ มอื่ สหกรณม์ สี ว่ นเกนิ (ก�ำไร) เพยี งพอแลว้ กจ็ ะจา่ ยกลบั คนื เพอื่ ให้ สมาชิกมีรายจ่ายลดลง โดยการจ่ายกลับคืนนี้จะจ่ายตามสัดส่วนปริมาณธุรกิจท่ีสมาชิกท�ำกับสหกรณ์ระหว่างปี เช่น สมาชกิ รายใดจา่ ยดอกเบีย้ เงินกู้ใหก้ บั สหกรณม์ าก กจ็ ะไดร้ บั เงนิ เฉลี่ยคืนกลบั ไปมากเป็นสดั ส่วนกัน แตอ่ ตั รา การจา่ ยจะสูงต�ำ่ เพียงใดขน้ึ อย่กู บั ความเหมาะสมของแต่ละสหกรณ์ จากทีก่ ล่าวขา้ งตน้ จริงอยแู่ มว้ ่าเพดานอัตราเงนิ ปันผลตามหุน้ ทีก่ ฎหมายก�ำหนดจะไม่เกนิ รอ้ ยละ 10 ส่วนเงินเฉล่ยี คนื ไม่มีการก�ำหนดเพดานไว้ก็ตาม แต่เราควรตระหนกั อยู่เสมอว่า สหกรณ์เป็นองคก์ รธุรกจิ รปู พิเศษ ซ่ึงเกิดจากการท่ีสมาชิกเข้ามารวมกันเพ่ือช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ท�ำกิจกรรมบางอย่างท่ี สมาชกิ แต่ละคนไมส่ ามารถท�ำได้หรอื ท�ำได้ไม่ดี โดยไม่มีวตั ถุประสงค์ในการแสวงก�ำไรมาแบง่ ปันกนั บนพืน้ ฐาน การเคารพความเปน็ มนษุ ยท์ ต่ี อ้ งพง่ึ พาอาศยั กนั มากกวา่ การบชู าเงนิ ตรา สหกรณห์ นง่ึ ๆ มสี มาชกิ ทม่ี ฐี านะแตกตา่ งกนั มคี วามเดอื ดร้อนจ�ำเปน็ และโอกาสทแ่ี ตกตา่ งกัน สว่ นเกนิ (ก�ำไร) ทีส่ หกรณ์ได้รบั แตล่ ะปีนน้ั ควรกระจายกลบั คืนสู่สมาชกิ ทงั้ ในรูปสว่ นตนและส่วนรวมอยา่ งไร และควรจัดสรรไว้ส�ำหรับการพัฒนาสหกรณ์ทง้ั ในปัจจบุ นั และ อนาคตอย่างไร น่าจะเป็นประเด็นที่ควรร่วมกันคิดควบคู่ไปกับการพิจารณาอัตราเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนที่ สมาชกิ แตล่ ะคนจะไดร้ บั ในแตล่ ะปีด้วย ทกุ วนั นี้ สหกรณ์ไดร้ ับการยกเวน้ ภาษกี �ำไร (ภาษีนิตบิ คุ คล) สูงถงึ ร้อยละ 30 ภาษีรายได้จากการฝากและ การลงทนุ ร้อยละ 15 รวมทั้งค่าธรรมเนียมการท�ำนติ ิกรรมบางอย่างอกี จ�ำนวนหนึง่ ดว้ ยรฐั บาลเห็นว่าสหกรณเ์ ปน็ องคก์ รทไ่ี มไ่ ดแ้ สวงก�ำไรเพอ่ื มาแบง่ ปนั กนั และยงั เหน็ วา่ สหกรณ์ไม่ใชข่ องคนรวย โดยหวงั วา่ เมอ่ื สหกรณม์ สี ว่ นเกนิ (ก�ำไร) พอสมควรแล้ว ก็ควรจะจัดสรรก�ำไรน้ันกระจายไปสู่สมาชิกท้ังส่วนตนและส่วนรวมพอสมควร รวมท้ัง กลับคนื สสู่ งั คมและชุมชนดว้ ยความยุตธิ รรม อัตราเงนิ ปันผลและเงนิ เฉลี่ยคืน ควรสูงหรอื ต�่ำจึงไม่อาจแยกส่วนพิจารณาตามล�ำพังได้ สมาชิกในฐานะ เจา้ ของสหกรณ์ กรรมการด�ำเนินการในฐานะผ้รู บั อาสาจากสมาชิกให้มาบริหารสหกรณ์ อาจต้องมีแนวทางการ จัดสรรสว่ นเกนิ (ก�ำไร) ที่เหมาะสม โดยค�ำนึงถงึ วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั ต้ังสหกรณ์ การมองอนาคตของสหกรณ์ ในระยะยาว และท่ีส�ำคัญท่สี ุดคือความเห็นอกเหน็ ใจกนั ในฐานะสมาชิกทมี่ คี วามไม่เทา่ เทยี มกันดว้ ย 25

อตั ราเงนิ ปนั ผล เงนิ เฉลย่ี คนื ควรสงู ตำ�่ เพยี งใด ศาสตราจารยพ์ ิเศษ อาบ นคะจัด (77) ผศ.สชุ นิ ปลหี ะจนิ ดา เขยี นบทความชอ่ื เรอ่ื งเดยี วกนั กบั ทผ่ี มเขยี น ลงใน “ขา่ ว สอ.มก. ธนั วาคม 2552” ไดเ้ ปิดประเดน็ เชิงสรา้ งสรรค์ไวว้ ่า “...สมาชิกในฐานะเจ้าของสหกรณ์ กรรมการด�ำเนนิ การในฐานะผูร้ ับอาสา สมาชิกใหม้ าบริหารสหกรณ์ อาจต้องมแี นวทางจัดสรรส่วนเกิน (ก�ำไร) ทเ่ี หมาะสม โดยค�ำนึงถงึ วัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งสหกรณ์ อนาคตของสหกรณ์ในระยะยาว และความเห็นอกเห็นใจกันในฐานะสมาชกิ ท่ีมคี วามไม่ เท่าเทยี มกันดว้ ย” โดยค�ำนงึ ถงึ เรอ่ื งตา่ งๆ ท่ี อ.สชุ นิ ระบไุ วข้ า้ งตน้ ผมมคี วามเหน็ เรอ่ื งอตั ราเงนิ ปนั ผลและเงนิ เฉลย่ี คนื เพ่อื เปน็ แนวทางจัดสรรก�ำไรหรอื สว่ นเกินประจ�ำปีการบญั ชขี องสหกรณ์ออมทรัพย์ เช่น สอ.มก. ดงั นี้ (1) อตั ราเงนิ ปนั ผลตามหนุ้ ควรจดั สรรให้ไมเ่ กนิ หนง่ึ เทา่ ตวั ของอตั ราดอกเบยี้ เงนิ ฝากประจ�ำ (เงนิ ฝาก ทีก่ �ำหนดเวลาถอน) โดยเฉลี่ยประจ�ำปขี องสหกรณน์ ั้นๆ เช่น อัตราดอกเบ้ียเงินฝากเฉลยี่ ดงั กลา่ ว เท่ากับ 2.65% หากบวกให้อีกเทา่ ตัวกจ็ ะเปน็ 5.30% ท่ี สอ.มก. คิดให้ 6.25% ในปี 2552 สูงไป กว่าที่ควร เพราะค่าเสียโอกาสและค่าความเส่ียงในการลงทุนในรูปหุ้น(1) ไม่น่าจะเกินหน่ึงเท่าตัว ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากโดยเฉล่ียดังกล่าวใน สอ.มก. ด้วยกันเอง ซึ่งควรต้องมีค่าเสียโอกาส และมคี า่ ความเสย่ี งในการลงทนุ ในรปู เงนิ ฝากเหมอื นกนั แตก่ ค็ วรจะนอ้ ยกวา่ ของหนุ้ ประมาณหนง่ึ เท่าตวั หรอื ไมเ่ กนิ หนง่ึ เทา่ ตัว โดย พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 86 ห้นุ ของสมาชิกสหกรณ์ จะไม่มีมูลค่าสูงขึ้นกว่าเดิม (capital gain) เหมือนหุ้นของบริษัทท่ีอาจสูงกว่ามูลค่าหน้าหุ้นได้ตาม ราคาตลาดหนุ้ หรือฐานะของบรษิ ัท (2) อตั ราเงนิ เฉลยี่ คนื ดอกเบย้ี เงนิ กู้ ควรตง้ั อยู่ในแนวทางเพอ่ื ปรบั ใหอ้ ตั ราดอกเบย้ี เงนิ กู้ ไมส่ งู กวา่ หรือ ตำ�่ กวา่ ทค่ี วรเมอื่ เทยี บกบั อตั ราเงนิ กซู้ งึ่ เปน็ อตั ราตลาดทว่ั ไป รวมทง้ั อตั ราของสหกรณอ์ อมทรพั ยอ์ นื่ ในเครือขา่ ย หรือนอกเครอื ข่าย แต่มีขนาดเท่ากันหรอื ใกล้เคียงกัน และอยู่ในชมุ ชนประเภทเดยี วกนั เชน่ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ในมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ดว้ ยกนั รวมทงั้ เทยี บกบั อตั ราดอกเบยี้ เงนิ กขู้ องธนาคาร พาณิชย์ตา่ งๆ ทต่ี ั้งอยู่ในเกษตรกลางบางเขน ในปี 2552 สอ.มก. มีอัตราดอกเบย้ี เงนิ กู้เฉลี่ย 5.43% ตอ่ ปี เฉลี่ยคืนให้ร้อยละ 33 ของดอกเบย้ี เงนิ ให้กู้ เท่ากบั ลดลง 1.79% ตอ่ ปี เหลือดอกเบ้ยี เงินกู้ร้อยละ 3.64% ต่อปี แตไ่ มม่ ีฐานเทียบให้รูว้ ่าต�่ำหรอื สงู กวา่ สถาบัน การเงินอ่ืนในรูปสหกรณอ์ อมทรพั ย์ หรอื ในรปู ธนาคารพาณชิ ย์ต่างๆ ดังกล่าวขา้ งตน้ จึงบอกไมไ่ ดว้ ่าเปน็ อตั ราที่ เหมาะสม โดยทางทฤษฎี comparative advantage. * ขา่ ว สอ.มก. ปที ี่ 27 ฉบบั ที่ 2 เดือนมนี าคม 2553 (1) ท่านท่สี นใจรายละเอียดทางวชิ าการเร่อื ง การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งในการลงทนุ อาจดไู ดท้ ห่ี นังสือ “Analysis for Financial Mangement, Chapter 8 : Risk Analysis in Investment Decisions” by Robert C. Higgins, Eighth Edision, 2007, McGraw-Hill, International Edition, Boston, Seoul, Singapore. 26

(3) หุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิก รวมกันเป็นทุนด�ำเนินงานของสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์น�ำไปใช้ให้ เกดิ ผลเปน็ การชว่ ยตนเองและช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกันของสมาชิกตามวัตถปุ ระสงค์ของการจัดตั้ง สหกรณ์ (4) ดตู ารางอตั ราเงนิ ปนั ผลและเงนิ เฉลยี่ คนื ทเ่ี ปลย่ี นแปลงมา 12 ปี (พ.ศ. 2541 - 2552) ทา้ ยบทความน้ี สรปุ : เพ่ือนสมาชิก สอ.มก. ควรแสดงความคิดเห็นในเรื่องนีใ้ ห้มีจ�ำนวนมากๆ เพือ่ ใหค้ ณะกรรมการ ด�ำเนนิ การ สอ.มก. พจิ ารณาหาแนวทางในการจดั สรรก�ำไรแตล่ ะปใี นอตั ราทเี่ หมาะสมส�ำหรบั เงนิ ปนั ผลและเงนิ เฉลยี่ คนื ตามหลกั การและวธิ ีการสหกรณ์ ซง่ึ ตั้งอย่บู นพ้นื ฐานเศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ต์ ตารางขอ้ มูลอตั ราเงินปันผลและเฉล่ยี คนื ของ สอ.มก. 12 ปี (2541 – 2552) ป ี อ ตั ราเงินปันผลตามหุน้ (%) อตั ราเงินเฉลย่ี คืนตามสว่ นแบ่ง ดอกเบีย้ เงนิ กทู้ ชี่ �ำระแล้ว 2541 13.00 12.00 2542 11.00 15.00 2543 7.00 15.00 2544 7.00 25.00 2545 6.50 25.00 2546 5.50 25.00 2547 5.50 25.00 2548 5.75 30.00 2549 6.00 30.00 2550 6.50 30.00 2551 6.25 33.00 2552 6.25 33.00 ทมี่ า : (1) ตวั เลขขอ้ มูลจาก สอ.มก. รายงานกจิ การประจ�ำปีต่างๆ (2) จดั รูปตารางโดย อาบ นคะจัด 27

สว่ นแบง่ เฉลย่ี คนื และเงนิ ปนั ผล สำ� หรบั สมาชกิ สหกรณ*์ ดร.ชาญชัย เพ็ชรประพนั ธ์กุล ภาควชิ าสหกรณ์ (8647) ในสหกรณท์ กุ ๆ แห่ง สมาชิกซงึ่ เปน็ เจ้าของสหกรณ์จะลงทนุ กบั สหกรณ์ด้วยการซอื้ หุน้ ต้งั แตส่ มัครเข้า เป็นสมาชิกในสหกรณ์ออมทรัพย์ สมาชิกอนุญาตให้สหกรณ์หักเงินเดือนของตนเป็นค่าหุ้น หรือน�ำเงินสดมาซ้ือหุ้น เพิ่มเติมตามที่สหกรณ์อนญุ าต เงินคา่ หุ้นของสมาชกิ จึงถอื เป็นเงนิ ลงทุนของเจ้าของกจิ การสหกรณ์ เงนิ ลงทุน จ�ำนวนน้ีจะไปรวมอยู่ในส่วนของเจ้าของ (Equity) และกลายเป็นส่วนหน่ึงของทุน (Capital) หากเงินทุนส่วนนี้ ยังไม่เพียงพอต่อการด�ำเนินงาน สหกรณ์ก็จะท�ำการกู้ยืมเงินทุนจากภายนอก เพื่อน�ำมาใช้หมุนเวียนหรือขยาย การลงทุนในกิจการ เพ่อื ใหเ้ กดิ ผลตอบแทน (Return) เมือ่ หกั รายจา่ ยทงั้ หมดแลว้ จะได้ก�ำไรขั้นตน้ ของกจิ การ พระราชบญั ญตั สิ หกรณ์ใหส้ ทิ ธแิ์ กส่ หกรณไ์ มต่ อ้ งเสยี ภาษกี �ำไรสทุ ธขิ องนติ บิ คุ คลในอตั รา 30% ตามสมมตฐิ านวา่ สหกรณท์ กุ ประเภทเปน็ องค์การทางเศรษฐกจิ ธรุ กจิ และสงั คมภาคประชาชน ทม่ี ิไดม้ ุ่งเอาก�ำไรจากสมาชิก (Not for profit organization) แตอ่ าจมีสว่ นเหล่ือม (Surplus) จากการด�ำเนนิ กิจการ เพื่อใหส้ หกรณม์ สี ว่ นเหลื่อมมากพอ ทจี่ ะจดั สรรสวัสดิการและใหบ้ รกิ ารสมาชกิ ได้ รฐั จงึ ยกเว้นภาษีส่วนน้ใี ห้ สมาชิกท่ลี งทุนซือ้ หุ้นยอ่ มเห็นวา่ การลงทนุ ซอ้ื หุ้นของสหกรณ์ไม่ตอ้ งรบั ความเส่ียงทางธุรกจิ (Business risk) เหมอื นการลงทนุ ในภาคการผลติ ทแ่ี ทจ้ รงิ (Real sector) แมว้ า่ อาจจะมคี วามเสย่ี งทางการเงนิ (Financial risk) อยู่บ้างแต่กอ็ ยู่ในระดบั ที่พอรบั ได้ เม่อื คณะกรรมการน�ำเงนิ ทุนของสมาชกิ ไปลงทุนในตลาดการเงิน สมาชิกจงึ คาดหวังที่จะได้รับผลตอบแทนท่ีคุ้มค่า โดยมีคณะกรรมการเป็นผู้บริหารพอร์ตการลงทุนให้ เวลาจัดสรรก�ำไร สทุ ธิตอนสิน้ ปกี ารเงนิ อัตราเงินปนั ผลทสี่ มาชกิ ได้รับ หากน้อยกว่าผลตอบแทนท่ีสมาชิกคาดหวงั สมาชกิ อาจหนั ไป ลงทนุ หรือหนั ไปออมกับสถาบนั การเงินอืน่ ๆ หรือออมในรปู แบบอ่ืนหรอื ออมนอ้ ยลงก็ได้ คณะกรรมการจึงต้อง บริหารการเงินท้ังสามด้านให้เหมาะสมระหว่างเป้าหมาย/วัตถุประสงค์และนโยบายของการหาได้มาซึ่ง แหล่งเงนิ ทุน เป้าหมายวตั ถปุ ระสงคแ์ ละนโยบายการใช้ไปซึง่ เงนิ ทุนในการลงทุนและด�ำเนินกิจการ เปา้ หมาย สดุ ทา้ ยคอื การก�ำหนดอตั ราเงนิ ปันผลและสว่ นแบ่งเฉลย่ี คนื ที่เหมาะสม ทง้ั 3 เปา้ หมาย ตอ้ งค�ำนึงถึงสภาพ คลอ่ งของเงินทนุ หมนุ เวยี น (Working capital) ตลอดเวลาท่ีด�ำเนนิ กจิ การ ดังภาพที่ 1 พ้นื ท่ี A แสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างอตั ราต้นทุนของเงนิ ทุนทงั้ “ทนุ ” และ “หนี้สนิ ” กบั อตั ราผลตอบแทน จากการลงทุนทมี่ ากกว่าอัตราตน้ ทนุ ของเงนิ ทนุ ทีค่ ณะกรรมการสามารถหามาได้ พน้ื ท่ี A จงึ แสดงถึงความสามารถ ของคณะกรรมการในการบรหิ ารการเงนิ พน้ื ท่ี B แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราต้นทุนของเงินทุนกับอัตราเงินปันผลท่ีสมาชิกคาดหวัง พ้ืนที่ B จึงแสดงถึงความรักและความรว่ มมือทสี่ มาชกิ มตี ่อองค์การสหกรณท์ ี่ตนเป็นสมาชิก พืน้ ที่ C แสดงความสมั พันธ์ระหว่างอตั ราผลตอบแทนจากการลงทนุ ทีส่ หกรณ์ได้รบั กับอตั ราผลตอบแทน ทสี่ มาชิกจะไดร้ บั จากอัตราปันผล พน้ื ท่ี C แสดงถงึ ระดบั ความอยู่รอดขององค์การสหกรณ์ (ทต่ี ้องรบั ผดิ ชอบตอ่ ตน้ ทนุ ของเงนิ ทุน คอื ปนั ผล และตน้ ทุนของหน้ี คือ ดอกเบยี้ ) กบั ความอยรู่ อดของสมาชกิ (ท่ตี ้องการผลตอบแทน 28 * ข่าว สอ.มก. ปที ่ี 27 ฉบบั ที่ 6 เดือนกรกฎาคม 2553

ของเงินลงทุน) หากคณะกรรมการบริหารได้ดี สหกรณ์ก็จะมีระดับของพัฒนาการท่ียั่งยืนท้ังทางด้านเศรษฐกิจ คือเป็นทพ่ี ึ่งของสมาชิก ท้ังทางธุรกจิ คือความอยู่รอดของสมาชิกและองคก์ ารสหกรณ์ และทางสังคมคือคณุ ภาพ ชีวิตท่ีดขี นึ้ ของสมาชิก ภาพท่ี 1 นโยบายหลกั 3 ด้าน ในการบรหิ ารการเงนิ นโยบายการหาแหล่งเงินทนุ (Financing policy) AB Z นโยบายการลงทุน C นโยบายจา่ ยปันผล (Investment policy) (Dividend policy) พ้นื ที่ Z แสดงถงึ ระดับสภาพคล่องและความสมั พนั ธ์ของนโยบายท้ัง 3 ด้าน ทค่ี ณะกรรมการจะต้อง บรหิ ารให้ดีและหาจุดเหมาะสม ระหว่างเปา้ หมายทางเศรษฐกิจ ธรุ กจิ และสงั คม ตามตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 : มติ ขิ องเปา้ หมาย/วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารสหกรณก์ บั ผลตอบแทนและรางวลั ตอบแทน กล่มุ คนท่ีไดร้ บั ไดร้ บั เปน็ มติ ิทางเศรษฐกจิ มิตทิ างธุรกจิ มิติสังคม ผล สมาชิก: ในการ ส่วนแบง่ เฉล่ยี คืน ลดปัญหาความเหล่ือมล�ำ้ ด�ำเนนิ ธุรกิจโดยไม่ สรา้ ง ตอบ ร่วมท�ำธุรกจิ กบั (Patronage ทางเศรษฐกิจ ลดช่องวา่ ง หวังผลก�ำไรจาก สวสั ดกิ าร แทน สหกรณ์ refund) ระหว่างคนรวย/จน สมาชิก แต่มสี ว่ น ทางสังคม (Return) สมาชิก: ส�ำหรบั ปันผล ไดร้ ับผลตอบแทนของ เหล่ือมหรือส่วนเกิน พัฒนาสงั คม เงินลงทนุ ของ (Dividend) “เงินทุน” ท่ีลงทุนไปใน จากคา่ ธรรมเนยี ม ชมุ ชน สมาชิก การร่วมด�ำเนินกจิ การ การให้บรกิ าร ส่งเสริม รางวลั คณะกรรมการ: โบนัส ท�ำให้สมาชกิ ลดปญั หา ผลตอบแทนการ คณุ ภาพชวี ติ ตอบ ทบ่ี ริหารงานบรรล ุ ทางเศรษฐกจิ ลงได้ ท�ำงานเพอ่ื องคก์ าร ประชาชน แทน ประสทิ ธิผล (Reward) ฝ่ายจัดการ: โบนสั ท�ำให้สหกรณด์ �ำเนิน ผลตอบแทนการ ท่ที �ำงานบรรล ุ งานโดยใชท้ รพั ยากรได ้ ท�ำงานเพ่ือองค์การ ประสิทธิภาพ มีประสิทธิภาพสูงสุด 29

สหกรณเ์ ปน็ ตลาดรปู แบบพเิ ศษ (1)* ศาสตราจารย์พเิ ศษ อาบ นคะจัด (77) องคป์ ระกอบของสหกรณท์ เี่ ปน็ ตลาดรปู พเิ ศษ (Formal market) ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 4 มาตรา 33 และมาตรา 37 มีดงั ตอ่ ไปนี้ ถา้ ขาดองค์ประกอบอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ย่อมขาดความเปน็ ตลาดสหกรณ์ (1) เป็นคณะบุคคล (จ�ำนวนตามที่กฎหมายก�ำหนดและมีจ�ำนวนมากพอดีจะท�ำให้เกิด “การประหยัด โดยขนาด” (Economics of scale) ในการซ้อื สินค้าหรือขายสินคา้ ตามหลักเศรษฐศาสตรส์ หกรณ์) (2) ซ่งึ รวมกนั ด�ำเนินกิจการ (3) เพื่อประโยชนท์ างเศรษฐกิจและสงั คม (4) โดยช่วยตนเองและช่วยเหลือซงึ่ กนั และกันตามหลักการสหกรณ์ (5) ไดจ้ ดทะเบยี นเปน็ นิติบุคคล ตาม พ.ร.บ. สหกรณแ์ ล้ว คณะบุคคลท่ีรวมกันได้ขนาดเป็นตลาดพิเศษในรูปสหกรณ์ตามกฎหมายดังกล่าวนั้น ต้องมีค่านิยมทาง คุณธรรมประจ�ำใจเพือ่ ก�ำกบั ความประพฤติของสมาชิกตลาดรูปพเิ ศษ (cooperative values)* คา่ นยิ มดงั กล่าวน้ี คือความเช่ือในหลักการและวิธีการปฏิบัติ ที่ยึดคุณธรรมของสหกรณ์ 7 ประการคือ ยึดถือการช่วยตนเองโดย รวมกนั ท�ำการเปน็ คณะบุคคล ยดึ ถอื ระบบประชาธิปไตย ยดึ ถอื ประสิทธภิ าพทางเศรษฐกจิ ยดึ ถอื เสรีภาพ ยดึ ถอื ความเสมอภาค ยึดถือความเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อ่ืน และยึดถือการท�ำให้สังคม (ของพวกตน) ก้าวหน้าโดย ให้การศกึ ษาอบรม คา่ นยิ มทางเศรษฐกิจและสังคมของสหกรณ์ ดังได้กล่าวน้ัน บูรพาจารย์ด้านสหกรณ์ของไทยได้น�ำมาบรรจุไว้ใน พ.ร.บ. สหกรณ์ฉบับต่างๆ และทั้ง ก�ำหนดไว้ในขอ้ บังคับ และระเบยี บของสหกรณป์ ระเภทตา่ งๆ อยแู่ ล้ว เพื่อใหส้ หกรณ์เป็นตลาดรปู พเิ ศษ สหกรณเ์ ปน็ ตลาดรูปพเิ ศษ เพราะท�ำหนา้ ทก่ี ารตลาดเพื่อใหบ้ ริการแก่สมาชกิ ค�ำวา่ “ตลาด” หมายความ 2 ประการ คอื (1) สถานที่ ซึง่ สมาชิกจะมาท�ำธรุ กจิ หรอื ธุรกรรมกับสหกรณ์ได้ สถานทีด่ งั กล่าวนี้ เรยี กว่า ตลาด หรือ เขตแดนของตลาดรูปพิเศษ ซึ่งอาจเป็นเขตทางพื้นดิน หรือเขตงานขององค์กรท่ีสมาชิกสังกัด ตามท่ีก�ำหนดไว้ ในขอ้ บงั คบั (2) จ�ำนวนลูกค้า ซ่ึงเป็นเจ้าของสหกรณ์ด้วย เรียกว่า สมาชิกและสมาชิกเท่าน้ันจึงจะมีสิทธิท�ำธรุ กิจ หรือธรุ กรรมกับสหกรณ์ได้ และไดร้ ับสิทธแิ ละประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสงั คมจากสหกรณ์ได้ ค�ำว่า “การตลาด” หมายความวา่ การท�ำหน้าทีก่ ารตลาดสนิ ค้าของสหกรณ์ใหเ้ กดิ อรรถประโยชนแ์ ก่ สมาชิกผู้อุปโภคหรือบริโภคสินค้าในด้านรูปร่าง (form) ในด้านสถานที่ (place) ในด้านเวลา (time) และใน ด้านการครอบครองเป็นเจ้าของ (possession) 30 * ขา่ ว สอ.มก. ปที ่ี 25 ฉบบั ท่ี 2 เดือนมนี าคม 2551 * Prof.Dr.Hans H.Munkner, Change of cooperatives in the Future, contribution to ICA.centenial 1895-1995,Marburg 1995, Germany.

สหกรณเ์ ปน็ ตลาดรปู แบบพเิ ศษ (2)* ศาสตราจารย์พิเศษ อาบ นคะจดั (77) ค�ำ วา่ “หนา้ ทก่ี ารตลาด” (marketing functions) ประกอบดว้ ย 3 หมวดและ 9 หนา้ ท่ี (ก) หนา้ ทแ่ี ลกเปลย่ี น  ซ้อื  ขาย (ข) หนา้ ทเ่ี กีย่ วกับตัวสนิ ค้า  ขนสง่  แปรรปู  เกบ็ รักษา (ค) หน้าที่อ�ำ นวยความสะดวก  จัดมาตรฐานสนิ คา้  จัดหาทุนมาดำ�เนนิ งาน  เสยี่ งภัยในการด�ำ เนนิ ธรุ กิจ และ  ให้ขา่ วสารการตลาด แกล่ กู คา้ คือ สมาชิก ตวั อย่างสหกรณ์ออมทรพั ยม์ หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำ กดั (สอ.มก.) เป็นตลาดรูปพิเศษ 1. ตลาด สอ.มก. คือทที่ �ำ การของสหกรณ์ ณ อาคาร สอ.มก. 36 ปี และสมาชกิ จ�ำ นวน 6,171 คน และ สมาชิกสมทบ 1,661 คน ( ณ 31 ธ.ค. 2550) 2. สอ.มก. เป็นนติ ิบคุ คลต่างหากจากบคุ คลทั้งหลายซง่ึ รวมกนั เปน็ สอ.มก. คือเป็นเจ้าของ ผู้ถอื หุ้นและ เป็นลูกค้าผู้ใชบ้ รกิ ารของ สอ.มก. 3. สนิ คา้ ทจ่ี �ำ หน่ายหรอื ซอ้ื ขายใน สอ.มก. คอื เงินและเงินทุน (เงิน ผ้กู ู้ยืมตอ้ งสง่ คืนภายในหน่ึงปี และ เงินทนุ ผู้กูย้ ืมต้องสง่ คืนภายในเวลามากกว่าหนง่ึ ปที ่ีกำ�หนด) 4. สอ.มก. ซอ้ื เงนิ ออมจากสมาชกิ ในรูปหนุ้ และในรปู เงินรับฝาก ราคาซ้อื เรยี กวา่ ดอกเบีย้ เงนิ รับฝาก หรือเงินปันผลตามหุ้น และ สอ.มก. ขายเงินออมแก่สมาชิกหรือผู้กฎหมายอนุญาต ราคาขายเรียกว่า ดอกเบี้ย เงนิ กู้ การตง้ั ราคาซอ้ื หรอื ขายเงนิ และเงนิ ทนุ ของ สอ.มก. กต็ อ้ งเปน็ ไปตามราคาตลาดเงนิ และตลาดทนุ ของประเทศ ทกุ รอบปกี ารบัญชี สอ.มก. ต้องจดั ทำ�งบการเงิน งบดลุ งบกำ�ไรขาดทนุ งบกระแสเงินสดใหผ้ ้สู อบบญั ชี ของกรมตรวจบญั ชีสหกรณต์ รวจรับรอง ท้งั นีเ้ พ่อื ประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งานและฐานะการเงนิ ของ สอ.มก. ในฐานะ ผ้ปู ระกอบการรูปพิเศษคนหนึง่ ในระบบเศรษฐกิจการตลาดของประเทศไทย เมือ่ มีเงินสว่ นเกินสุทธิ (net surplus) ตามภาษาวชิ าการสหกรณ์ หรอื ก�ำ ไรสุทธิ (net profit) ตามภาษา วิชาการบัญชี ตอ้ งจัดสรรกำ�ไรสทุ ธินน้ั ไปตามที่ พ.ร.บ. สหกรณ์ ขอ้ บงั คับ และระเบียบของสหกรณก์ �ำ หนดไวแ้ ละ โดยความเห็นชอบของที่ประชมุ ใหญ่ วา่ จะเห็นชอบตามท่คี ณะกรรมการเสนอหรอื ไม่ หากไมเ่ หน็ ชอบรายการใด เช่น เร่ืองเงินปันผลตามหุ้น หากที่ประชุมใหญ่ขอเพิ่ม เช่นจากร้อยละ 6 เป็น ร้อยละ 7 ประธานในที่ประชุมต้อง ถอนเรื่องไปเสนอคณะกรรมการใหพ้ ิจารณาปรับปรุงแก้ไขและเรียกประชุมใหญว่ สิ ามญั ใหพ้ ิจารณาขอ้ เสนอ เรือ่ งเงินปันผลตามหุ้นอกี คร้งั หนงึ่ ไม่ใช่ปล่อยไปตามเสียงทป่ี ระชุมใหญข่ ณะนัน้ ได้เลย (ค�ำ วินจิ ฉัยของนาย ทะเบยี นสหกรณ์ หนงั สอื ท่ี กษ 0216/4588 วันที่ 12 เม.ย. 2545 เร่ืองวนิ ิจฉัยการลงมตขิ องที่ประชมุ ใหญส่ หกรณ์) เอกสทิ ธิทางกฎหมายบางประการของสหกรณ์ในฐานะเปน็ ตลาดรปู พิเศษ 1. เอกสิทธิตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ส่วนที่ 7 แนวนโยบายด้านเศรฐกิจ 31 มาตรา 84 (9) ว่า “รัฐต้องดำ�เนินการตามแนวนโยบายด้านเศรษฐกิจดังต่อไปนี้...ส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง ระบบสหกรณ์ให้เป็นอสิ ระ...” * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 เดือนเมษายน 2551

2. เอกสทิ ธติ าม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 6 มาตรา 21 และมาตรา 42 3. เอกสทิ ธิตามประมวลรัษฎากร ไม่ตอ้ งเสยี ภาษเี งินได้นติ ิบคุ คล ไม่ต้องเสยี ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีธุรกิจ เฉพาะ) สมาชิกไม่ต้องเสียภาษีดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์หรือออมทรัพย์พิเศษ สมาชิกไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ ส�ำ หรับเงินปนั ผลและเงนิ เฉล่ียคืน ได้รบั ยกเว้นเกยี่ วกับอากรแสตมปห์ ลายประการ (มาตรา 118) 4. เอกสิทธติ ามประมวลกฎหมายทด่ี ิน ม. 31 5. เอกสทิ ธติ าม พ.ร.บ. คมุ้ ครองแรงงาน ม. 76 6. เอกสทิ ธิตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวนั ท่ี 21 พ.ย. 2526 คดิ ดอกเบย้ี เกนิ รอ้ ยละ เจด็ ครึ่งได้ หากลกู หนผ้ี ิดนดั ตาม ป.พ.พ. มาตรา 224 7. เอกสิทธติ ามมติ ค.ร.ม. เมื่อ 11 ก.ย. 2545 8. เอกสิทธติ ามระเบยี บสำ�นกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 32

สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ ..นน้ั เปน็ อะไรไดห้ ลายอยา่ ง* พบิ ลู ศลิ ป์ วัฑฒนะพงศ์ (1283) ดฉิ นั ขอเรยี นวา่ เมื่อแรกเข้าเปน็ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์นน้ั เราจะไดร้ บั การเชิญชวนวา่ สหกรณเ์ ปน็ ที่พ่ึงทางการเงนิ เวลาสมาชกิ ขัดสนหรือจะสรา้ งฐานะ เช่น จะกู้เงินสร้างบา้ น ซื้อรถยนตห์ รือท�ำกจิ กรรมอะไร กต็ ามจะสะดวกสบายมาก ทุกคนเอ่ยถึงด้วยความช่นื ชมว่า กู้ง่าย ดอกเบ้ยี ถกู กวา่ ธนาคารทว่ั ไป แถมยังอบอ่นุ เมอ่ื ไปใช้บริการ นอกจากนีส้ หกรณ์ยังมีเงินปนั ผลให้สมาชกิ อกี ดว้ ย พวกเราในวัยท�ำงาน (40 กว่าปีลว่ งมาแล้วค่ะ) จึงพอใจที่จะเป็นสมาชิก เพราะเห็นประโยชน์และพอใจมากหลังจากเป็นสมาชิก เพราะได้รับเงินปันผลปลายปี แม้จะน้อยนดิ แตเ่ ป็นวัยสนุกสนานชว่ งหนึ่ง เพราะตอ่ จากนน้ั ก็มีงานเกษตรแฟร์ เราได้ใช้เงินอันเปน็ ผลพลอยได้ ซื้อสงิ่ ของต่างๆ ท้งั ท่ีควรซ้อื หรอื ไมจ่ �ำเป็น แตเ่ ปน็ ความสุขใจในงานเกษตรแฟร์ อันเป็นกจิ กรรมที่ท�ำให้มหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์มีเสน่ห์และเป็นที่ช่ืนชอบของคนทั่วไปท่ีได้มีโอกาสมาเดินเล่นในรั้วมหาวิทยาลัย ประโยชน์ทางอ้อม เปน็ การประชาสมั พันธ์มหาวิทยาลยั ไปในตัว ระยะแรกๆ ที่เป็นสมาชิกเราไม่เคยได้ยินค�ำพูดว่า “สหกรณ์มีหลักการช่วยเหลือตนเองและช่วย เหลอื ซึง่ กันและกนั ” “สหกรณ์สรา้ งความม่นั คงใหช้ วี ิตหลงั เกษยี ณ” หรือ “ใชเ้ งินให้หาเงนิ ต่อให้เรา” แมจ้ ะ มีการเชียร์หรือชักชวนให้ซ้ือห้นุ แตเ่ ราไมค่ ่อยสนใจ ร้แู ต่ว่าพอมเี งนิ เดอื นสูงขน้ึ (ตามวันเวลาท่ีผ่านไป) สหกรณ์ จะมีเกณฑ์พิจารณาหักค่าหุ้นเพิ่ม แม้จะรับรู้ว่าเป็นการออมทรัพย์อย่างหน่ึง แต่สมาชิกส่วนใหญไ่ มไ่ ดส้ นใจวา่ นี่คอื เงินตอ่ เงนิ หรือใหเ้ งินท�ำงานให้พวกเราอยา่ งไร ดิฉันท่ึงและได้ความรู้เพ่ิมข้ึน เม่ือได้อ่านบทความของผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านซึ่งร่วมกันให้ความรู้แก่ สมาชกิ ในระยะหลังๆ โดยเฉพาะ ดร.ทววี ฒั น์ ทัศนวฒั น์ ท่ีได้เขียนบทความอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพ่อื บอกกล่าวกระตุ้น ให้สมาชกิ รจู้ กั การออมเงนิ หรือเพมิ่ เงนิ ใหม้ คี ่ายิ่งขนึ้ ฯลฯ ควบคไู่ ปกบั ขา่ วคราวทั้งวิทยุ โทรทัศน์ สิง่ พมิ พต์ ่างๆ ในระยะหลังๆ ทใี่ หค้ วามรู้เร่ืองการลงทนุ หนุ้ กองทุน ฯลฯ ท�ำให้คนท่วั ไปไดร้ บั ความรู้ยิ่งขึ้น ซึ่งสมยั กอ่ นพูดถงึ เรอ่ื งเหล่าน้นี อ้ ยมาก บทความ “สหกรณอ์ อมทรพั ย.์ ..นนั้ คอื อะไร” ของ ดร.ทววี ฒั น์ ทศั นวฒั น์ ในขา่ ว สอ.มก. ปที ี่ 24 ฉบบั ที่ 9 เดือนตุลาคม 2550 จึงไม่ใช่ค�ำร�ำพันว่า “สหกรณ์ออมทรัพย์น้ันไซร้ (ก็จะ) คือ หมาน่อยธรรมดา...ธรรมดา” เพราะสหกรณเ์ ปน็ ท่พี ่งึ ของสมาชกิ ทุกระดบั ไมว่ า่ ในยามขัดสนหรือมง่ั มีกต็ าม สหกรณย์ งั เป็นเพอ่ื นในทุกยาม อาทิ เจ็บไข้ วันเกิด วันเกษียณ ฯลฯ เพราะช่วยผ่อนความกังวลใจให้คลายทุกข์ ผู้ร่�ำรวยก็มีสุขกับเงินเพ่ิมต่อไป ขอขอบคณุ และขอใหก้ �ำลงั ใจคณะกรรมการสหกรณอ์ อมทรัพย์และผูเ้ ก่ยี วขอ้ งทุกท่าน สหกรณอ์ อมทรัพยน์ ้นั เปน็ อะไรได้หลายอย่าง ทั้งนีข้ ึ้นอย่กู บั ประสบการณ์ของแตล่ ะทา่ น * ข่าว สอ.มก. ฉบับที่ 11 เดือนธนั วาคม 2550 33

สหกรณอ์ อมทรพั ยห์ รอื สหกรณอ์ อมหนข้ี องสมาชกิ * ศาสตราจารย์พเิ ศษ อาบ นคะจัด (77) นักสหกรณ์แห่งชาติ สาขาวชิ าการสหกรณ์ (1) ความเบอื้ งต้นและวตั ถุประสงค์ เมือ่ ผมน�ำนกั ศึกษาปรญิ ญาโท สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ ไปดงู านสหกรณ์ใน ท้องที่จงั หวดั ต่างๆ มผี ู้เกย่ี วข้องกบั สหกรณ์ถามว่า สหกรณอ์ อมทรัพยส์ ่งเสริมให้สมาชกิ ออมทรัพย์ หรือส่งเสรมิ ให้สมาชิกเป็นหนี้กนั แน่ เพราะว่าโดยท่ัวไปประมาณรอ้ ยละ 70 ของจ�ำนวนสมาชกิ สหกรณ์ออมทรพั ย์แต่ละแห่ง ล้วนเป็นหน้ีสหกรณ์ออมทรพั ย์ สว่ นจ�ำนวนหนม้ี ากนอ้ ยตา่ งกันไป บางคนเป็นสมาชกิ มา 20 กว่าปี กเ็ ป็นหนส้ี หกรณ์ มา 20 ปี ไมข่ าดไมเ่ กิน บทความน้ี ประสงค์จะพูดเก่ียวกบั ข้อสงสัยขา้ งตน้ แบง่ เป็น 2 ประเดน็ คือ (1) สหกรณอ์ อมทรัพย์เป็น อะไร ท�ำหน้าท่ีอะไร และ (2) การเป็นหนีส้ หกรณ์ คือการออมทรัพย์วธิ หี น่งึ ของสมาชกิ เรือ่ งอ่นื ที่เกย่ี วกับค�ำถาม ดงั กลา่ ว จะเขยี นเป็นบทความอกี เมือ่ มีโอกาส (2) สหกรณ์ออมทรัพย์เปน็ อะไรและท�ำหนา้ ทีอ่ ะไร สหกรณ์ออมทรัพย์เป็นสถาบันการเงินส่วนบุคคลในรูปสหกรณ์ ท�ำหน้าที่เก่ียวกับการธนาคารพาณิชย์ เพือ่ ประโยชนข์ องสมาชิกตามกฎหมายสหกรณ์ อนึ่ง สหกรณ์ออมทรัพย์เป็นสถาบันการตลาดส่วนบุคคลในรูปสหกรณ์ ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการตลาด การเงินและตลาดทนุ เพื่อประโยชนข์ องสมาชกิ ตามกฎหมายสหกรณ์ สมาชิกสหกรณอ์ อมทรัพย์เป็นท้งั เจ้าของและเปน็ ลูกค้าของสหกรณ์ ดังนั้น สหกรณ์ย่อมไมห่ าก�ำไรจาก สมาชกิ หา้ มไม่ใหส้ หกรณท์ �ำการเกง็ ก�ำไร หา้ มไม่ใหส้ หกรณท์ �ำธรุ กจิ กบั บคุ คลผู้ไมเ่ ปน็ สมาชกิ เวน้ แตก่ รณที ก่ี ฎหมาย อนุญาต แต่ก็จะน�ำรายไดจ้ ากผู้ไมเ่ ปน็ สมาชิกมาจัดเป็นเงนิ ปันผลและเงินเฉลี่ยคนื เกินกวา่ ร้อยละ 20.00 ของ จ�ำนวนรายได้ทัง้ หมดจากผู้ไม่เปน็ สมาชกิ ไม่ได้ อีกร้อยละ 80.00 ตอ้ งจดั เปน็ ทุนส�ำรองและทนุ อนื่ ๆ เช่น เป็นทุน ช่วยการด�ำรงชีพของสมาชิกอาวุโส ตามระเบียบของสหกรณ์เป็นต้น เพราะถ้าไม่ท�ำเช่นนั้นก็จะเป็นการกระท�ำ เยย่ี งบริษัททีม่ วี ัตถุประสงคห์ าก�ำไรจากบคุ คลภายนอกมาแบ่งปันกัน สหกรณ์ออมทรพั ย์เปดิ ตลาดไว้ 2 ตลาด ส�ำหรบั บริการสมาชกิ คอื (ก) ตลาดปัจจัยการผลติ (Factors market) คือตลาดรับฝากเงินออมประเภทต่างๆ จากสมาชิก รวมทั้งเงินออมเป็นหุ้นโดยก�ำหนดอัตราดอกเบ้ีย เงนิ รับฝากไว้ต่างกัน คอื ราคาซื้อและ (ข) ตลาดผลผลติ (Product market) คือตลาดขายผลผลิตคือเงินท่อี อม ได้ของสมาชิก แก่สมาชิกผู้กู้ยืม (ซ้ือ) เงินและเงินทุน อน่ึงสหกรณ์จะก�ำหนดอัตราเงินกู้ยืม (ราคาขาย) แต่ละ ประเภทของเงนิ กู้ยมื ไว้ต่างกนั 34 * ขา่ ว สอ.มก. ปีท่ี 21 ฉบบั ที่ 7 เดือนสงิ หาคม 2547

สมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ยแ์ ตล่ ะคนกเ็ ปน็ ทงั้ ผผู้ ลติ (ผอู้ อมทรพั ย)์ และเปน็ ผบู้ รโิ ภค (ผซู้ อ้ื /เงนิ ออม) สมาชกิ ผู้ผลิตเงินออมก็มอบให้สหกรณ์เป็นตัวแทนขายผลิตผลของตน สมาชิกผู้บริโภคก็มอบให้สหกรณ์เป็นตัวแทนซื้อ หรือจัดหาเงินและเงินทนุ มาขายให้ตน เงินรายได้จากการซื้อและการขายสินค้าคือเงินและเงินทุน เม่ือหักค่าใช้จ่ายในปีการบัญชีหนึ่งแล้วมี สว่ นเหลอื เรียกสว่ นเหลอื นัน้ ตามภาษาสหกรณว์ ่า “เงนิ ส่วนเกินสุทธิ (net surplus)” เงินสว่ นเกินสทุ ธิหรือก�ำไร (ซ่ึง พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 60 ใช้ตามภาษาวิชาการบัญชี) ท่ีเกิดจากบริหารจัดการของตัวแทนคือ สหกรณ์ออมทรพั ย์น้นั ไม่ใช่เปน็ ของตวั แทนแต่เปน็ ของมวลสมาชกิ สหกรณ์ ดังนั้น กฎหมายสหกรณ์และข้อบงั คับ ของสหกรณ์จึงให้สหกรณ์โดยคณะกรรมการด�ำเนินการน�ำเสนอท่ีประชุมใหญ่ประจ�ำปีเป็นผู้พิจารณาจัดสรรตาม เกณฑท์ ่ีกฎหมายสหกรณแ์ ละขอ้ บงั คับสหกรณก์ �ำหนดไว้ (3) การเปน็ หนสี้ หกรณ์เพ่ือเพ่ิมทรัพย์สนิ คือการออมทรพั ยอ์ ยา่ งหนง่ึ ของสมาชิก การเข้าเปน็ สมาชิกสหกรณ์ออมทรพั ยน์ น้ั สมาชิกทกุ คนต้งั ใจทีจ่ ะออมทรัพย์ และตั้งใจทีจ่ ะกยู้ มื เงนิ หรือ เงนิ ทนุ จากสหกรณ์ไปซอ้ื ทรพั ย์สินทีต่ นตอ้ งการ หรอื น�ำไปใช้หนีเ้ ก่าทดี่ อกเบยี้ สงู กว่าเงินกจู้ ากสหกรณ์ หรอื น�ำไป ใชจ้ ่ายรกั ษาโรคภัยท่ีต้องใช้เงนิ มาก เป็นตน้ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์ลว้ นเปน็ ผ้มู ีเงินได้รายเดือนจากหนว่ ยงานต่างๆ ทเี่ ป็นนายจา้ ง1 เม่ือเร่มิ ท�ำงาน อายุยังไม่มาก ต้องการท่ีอยู่อาศัยเป็นของตนเองในราคาที่ตนจะกันเงินได้รายเดือนส่วนหนึ่งผ่อนส่งเงินกู้จาก สหกรณ์ได้ จึงกู้เงินจากสหกรณ์ซ้ือบ้านที่อยู่อาศัยโดยผ่อนส่งและน�ำบ้านท่ีอยู่อาศัยน้ันมาจ�ำนองประกันเงินกู้กับ สหกรณ์ หรอื เมอ่ื สมาชกิ กเู้ งนิ ซอื้ รถยนตเ์ กง๋ ยอ่ มผอ่ นสง่ สหกรณ์ หรอื เมอ่ื สมาชกิ กเู้ งนิ ไปใชจ้ า่ ยสง่ ลกู เรยี นหนงั สอื โดยผอ่ นสง่ สหกรณจ์ นลูกเรียนในระดับปรญิ ญาตรี โท หรือเอกส�ำเรจ็ เปน็ ต้น ดังกล่าวมาน้ันก็ต้องถือเป็นวิธีการออมทรัพย์อย่างหน่ึงของสมาชิก เพราะหน้ีท�ำให้สมาชิกได้ทรัพย์สิน มาโดยน�ำเงินได้รายเดือนส่วนหน่งึ ของตน ผ่อนสง่ ต้นเงนิ และดอกเบย้ี ใหส้ หกรณ์ เพราะหากสมาชิกจะออมเอง ไม่ใชเ้ งินออมของผอู้ น่ื ก่อนกต็ ้องใช้เวลานานมากจึงจะมเี งินพอซ้อื บา้ น หรือรถยนต์ หรือส่งลกู ให้ไดร้ บั การศึกษา สูงขน้ึ ดังกลา่ ว จึงต้องเรียกวา่ “หนีเ้ งินกู้จากสหกรณอ์ อมทรัพย์คือการออมทรพั ยอ์ ยา่ งหนงึ่ ของสมาชกิ ” 1 กฎหมายสหกรณ์ของประเทศญี่ปุ่นจึงเรียกสหกรณ์ออมทรัพย์ว่า “ธนาคารแรงงาน” (Labor Bank) เพราะเป็นตลาดออมทรัพย์ของผู้ขาย 35 แรงงาน

บทบาทหนา้ ทขี่ องกรรมการและผตู้ รวจสอบกจิ การ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ กรณศี กึ ษา สอ.มก. ศาสตราจารย์พิเศษ อาบ นคะจดั (77) นักสหกรณ์แห่งชาติ สาขาวชิ าการสหกรณ์ 1. ความน�ำ ผมได้รับเชิญจากประธานคณะกรรมการการศึกษาและประชาสัมพันธ์ของ สอ.มก. คือ ดร.ทวีวัฒน์ ทัศนวัฒน์ ขอให้ผมเป็นวิทยากรบรรยายเร่ือง “บทบาทหน้าท่ีของกรรมการและผู้ตรวจสอบกิจการ” เป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการอบรมสมาชิกผ้สู นใจเป็นกรรมการหรอื ผตู้ รวจสอบกิจการของ สอ.มก. ท่จี ดั ใหม้ ขี น้ึ ระหว่างวันเสาร์ และวันอาทิตย์ที่ 21 และ 22 พ.ศ. 2547 ตามล�ำดับ 2. วัตถุประสงค์ การบรรยายเรื่อง บทบาทหน้าที่ของกรรมการและผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ โดยเฉพาะสหกรณ์ ประเภทออมทรพั ยน์ ี้ ผมขอใช้สหกรณอ์ อมทรัพย์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกัด หรือช่ือย่อวา่ “สอ.มก.” ของ พวกเราทเี่ ปน็ สมาชกิ นี้เป็นกรณีตัวอย่าง หรือกรณีศึกษา (Inductive Method of Research) เพื่อหาข้อสรปุ จาก ข้อเทจ็ จรงิ เฉพาะตวั อยา่ ง (particular facts) ซงึ่ อาจน�ำไปใช้ไดแ้ ก่ สหกรณ์อื่นโดยเฉพาะสหกรณอ์ อมทรัพย์อื่น โดยอนุโลม ดังน้นั การบรรยายเรื่องทก่ี ล่าวนี้โดยสรปุ มวี ัตถปุ ระสงค์ ดังนี้ (1) ศึกษาบทบาทหนา้ ทข่ี องกรรมการและผู้ตรวจสอบกิจการของ สอ.มก. (2) วิเคราะหผ์ ลการศกึ ษาตาม (1) ข้างตน้ และ (3) สรุปและเสนอแนะ 3. ค�ำศัพท์ทีใ่ ช้ในการบรรยายน(ี้ 1) “บทบาท” หมายความวา่ ท�ำท่าตามบท, ร�ำตามบท “บท” หมายความว่า ขอ้ ความ, ความข้อหนงึ่ เชน่ ธรรมบท, บทบญั ญตั ิ “หน้าท”่ี หมายความวา่ วงแห่งกิจการ, กจิ ท่คี วรท�ำ, กิจทจี่ ะต้องท�ำ “อ�ำนาจ” หมายความว่า สิทธิ, ความสามารถ, ก�ำลงั , ความรนุ แรง, ความบังคบั บัญชา, การบงั คับ 4. บทบาทหนา้ ทข่ี องกรรมการ สอ.มก. เมื่อพิจารณาความหมายของค�ำศัพท์ที่ใช้ในการบรรยายน้ีแล้ว ก็จะสรุปได้ว่าบทบาทหน้าท่ีของกรรมการ สอ.มก. เกดิ ขึ้นจาก (ก) บทบัญญัตขิ องกฎหมายสหกรณ์ คือ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 51 ทีว่ า่ “ให้ คณะกรรมการด�ำเนินการสหกรณ์เป็นผู้ด�ำเนินกิจการและเป็นผู้แทนสหกรณ์ในกจิ การอันเก่ยี วกบั บุคคลภายนอก เพอื่ การน้คี ณะกรรมการด�ำเนนิ การสหกรณจ์ ะมอบหมายให้กรรมการคนหน่งึ หรอื หลายคน หรือผจู้ ดั การท�ำการ แทนก็ได้ (ข) ขอ้ บังคับของ สอ.มก. ข้อ 48 (1) ถงึ (26) และ (ค) ระเบยี บต่างๆ ของ สอ.มก. 36 (1) จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493

ค�ำวา่ บทบาทหนา้ ทที่ เ่ี ราพจิ ารณาอยนู่ ตี้ อ้ งขยายความใหเ้ ตม็ วา่ บทบาท อ�ำนาจหนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ ตามหนา้ ที่ของคณะกรรมการ สอ.มก. 5. การวเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ที่ของกรรมการ สอ.มก. ดังน้ัน เมื่อสรุปว่า บทบาทหน้าที่ของกรรมการเกิดจาก “บท” หรือข้อความต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องที่มีไว้ใน กฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบ รวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางวิชาการด้านอ่ืนๆ ท่ีต้องน�ำมาประยุกต์ใช้กับ สอ.มก. โดยเฉพาะอ�ำนาจหนา้ ทีข่ องกรรมการ สอ.มก. ท่ีก�ำหนดไว้ในขอ้ บงั คับขอ้ 48 (1) ถึง (26) ของ สอ.มก. แล้วก็ อาจจะตอ้ งมีความรูห้ รอื มศี ักยภาพท่ีจะแสวงหาความรวู้ ชิ าการดา้ นตา่ งๆ เชน่ - วชิ าสหกรณ ์ : อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการของสหกรณ์ (ส่วนใหญ่อยู่ในบทบัญญัติของ พ.ร.บ. สหกรณ์อย่แู ลว้ ) - เศรษฐศาสตร์ : เศรษฐศาสตร์ที่ประยุกต์ใช้กับสหกรณ์และเศรษฐศาสตร์อื่นที่เก่ียวข้องกับ อาชพี ของสมาชกิ สหกรณ์ - การบญั ชี : การบัญชที ่ีประยกุ ต์ใชก้ ับกจิ การสหกรณแ์ ละการบญั ชที วั่ ไป - กฎหมาย : กฎหมายสหกรณ์ และกฎหมายท่วั ไปท่ีตอ้ งน�ำมาใช้ประกอบการด�ำเนินกจิ การ สหกรณ์ - การบรหิ ารจัดการ : หลักการบริหารจัดการทั่วไป และหลักการบริหารจัดการท่ีน�ำมาประยุกต์ใช้กับ กจิ การสหกรณ์ เชน่ หลักการบรหิ ารจดั การ 3 M (man, momey, material) - การตลาด : หลักการตลาดทวั่ ไปและหลกั การตลาดทปี่ ระยกุ ต์ใช้กับสหกรณอ์ อมทรัพย์ ความรอบรวู้ ชิ าการพื้นฐานดงั กลา่ วข้างตน้ จะท�ำให้ผ้เู ปน็ กรรมการ สอ.มก. มศี กั ยภาพทเ่ี หมาะสม ทีจ่ ะ ด�ำเนนิ บทบาท อ�ำนาจหน้าท่ี ตามที่บัญญัตใิ นมาตรา 51 แหง่ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ซ่งึ สรปุ ได้ดงั นี้คือ (1) ใหก้ รรมการเป็นผดู้ �ำเนินกจิ การสหกรณ์ (สอ.มก.) (2) ให้กรรมการเปน็ ผู้แทนสหกรณ์ (สอ.มก.) ในกจิ การอันเกยี่ วกับบุคคลภายนอก (3) ให้กรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน หรือผู้จัดการ เป็นผู้ท�ำการแทน ตามที่คณะกรรมการด�ำเนินการ มอบหมายในกจิ การอันเกีย่ วกับบุคคลภายนอก 6. หวั ข้ออภิปรายเพ่ือประกอบค�ำบรรยาย ทก่ี ลา่ วไว้ใน 4 และ 5 ข้างต้น โดยมีเอกสารแจกส�ำหรับอ้างอิงการอภปิ รายแล้ว ดงั น้ี (1) ตัวอยา่ งเร่อื งใดเร่ืองหน่ึงในข้อบงั คบั ของ สอ.มก. ข้อ 48 (1) ถงึ (26) (2) แผนธุรกิจของ สอ.มก. (3) การบริหารก�ำไรสทุ ธปิ ระจ�ำปี 2546 ของ สอ.มก. (4) ความส�ำเร็จของ สอ.มก. 3 ดา้ น มาจากบุคคลกล่มุ ใด (5) สรุปอุดมการณ์ หลกั การ และวิธีการปฏบิ ัติของสหกรณ์ (สอ.มก.) 37

7. บทบาทหนา้ ที่ของผ้ตู รวจสอบกิจการของ สอ.มก. บทบาทหน้าท่ีของผู้ตรวจสอบกิจการ สอ.มก. ให้มีความหมายรวมกันว่า บทบาท อ�ำนาจหน้าท่ี และ ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี ในลักษณะเดียวกันกับของกรรมการ สอ.มก. ดังกล่าวด้วย ท้ังนี้ภายใต้ “บท” คือ บทบญั ญัติของกฎหมาย ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ รวมทง้ั ความรู้ และศกั ยภาพทจี่ ะแสวงหาความรู้ วชิ าการดา้ นต่างๆ ดังกลา่ วใน 5. ซง่ึ จะท�ำให้บทบาทหนา้ ทขี่ องผ้ตู รวจสอบกิจการ สอ.มก. มีประสิทธิภาพอยา่ งเหมาะสม ใน พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 53 บญั ญตั วิ า่ “ใหส้ หกรณม์ ผี ตู้ รวจสอบกิจการ ซง่ึ ทีป่ ระชมุ ใหญ่ เลือกตั้งจากสมาชกิ หรือบุคคลภายนอก เพอ่ื ด�ำเนินการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์แล้วท�ำรายงานเสนอต่อท่ี ประชุมใหญ่ จ�ำนวนผู้ตรวจสอบกิจการตามวรรคหนึง่ ให้เปน็ ไปตามทนี่ ายทะเบียนก�ำหนด” อน่ึง มีค�ำบัญญัติที่ใช้ใน พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ซึ่งเป็นอ�ำนาจหน้าที่ของนายทะเบียน สหกรณเ์ ป็นผแู้ ตง่ ตง้ั คือค�ำว่า “ผสู้ อบบัญชี” “ผตู้ รวจการสหกรณ์” และ “ผู้ช�ำระบญั ชี” และนายทะเบยี นสหกรณ์ อาจออกค�ำสง่ั ให้มี “การตรวจสอบหรือไต่สวน” เกยี่ วกับการจดั ตั้ง การด�ำเนินงาน หรอื ฐานะการเงินของสหกรณ์ ผูแ้ ปล พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 เป็นฉบับภาษาองั กฤษ ใช้ค�ำว่า “cooperative inspector” แทนค�ำภาษาไทย ค�ำวา่ “ผตู้ รวจการสหกรณ”์ ตามมาตรา 16 ของ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 และใชค้ �ำภาษาองั กฤษวา่ “cooperative supervisor” แทนค�ำภาษาไทยที่วา่ “ผ้ตู รวจสอบกิจการ” ตามมาตรา 53 ของ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2493 ให้ความหมายค�ำว่า “ตรวจ” และค�ำว่า “สอบ” ไว้ดงั น้ี “ตรวจ” : สอบสวน, สอบด,ู ดูใหถ้ ูกตอ้ ง, สอดสอ่ ง “สอบ” : ตรวจ, ไลเ่ ลยี ง, เทยี บด,ู ทดลองด ู ข้อบังคับของ สอ.มก. ข้อ 58 และข้อ 59 ได้ก�ำหนดคุณสมบัติและอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการไว้ ตามล�ำดบั คือผูต้ รวจสอบกจิ การของ สอ.มก. ตอ้ งมคี ุณวฒุ ิ ความรู้ ความสามารถ ในดา้ นธรุ กิจ การเงิน การบัญชี การเศรษฐกิจ กฎหมายท่ีเหมาะสม และผู้ตรวจสอบกิจการที่มีอ�ำนาจหน้าที่ก�ำหนดไว้ในข้อ 59 รวม 6 ภารกิจ แตล่ ะภารกจิ มรี ายการทเี่ ปน็ การตรวจสอบและการตดิ ตามแจกแจงไว้ และใหผ้ ตู้ รวจสอบกจิ การแจง้ ผลการตรวจสอบ ประจ�ำเดอื นแกค่ ณะกรรมการในการประชมุ ประจ�ำเดอื นคราวถดั ไป แลว้ เสนอผลการตรวจสอบประจ�ำปตี อ่ ทป่ี ระชมุ ใหญ่ ของ สอ.มก. ด้วย ผู้ตรวจสอบกิจการ สอ.มก. ก็จะต้องมีความรู้หรือมีศักยภาพที่จะแสวงหาความรู้ในวิชาการหลายสาขา เหมือนกับของกรรมการ ดังทก่ี ลา่ วแล้ว 8. การวเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าท่ขี องผู้ตรวจสอบกจิ การ สอ.มก. เมอ่ื พจิ ารณาบทบาทหนา้ ทข่ี องผตู้ รวจสอบกจิ การ สอ.มก. ดงั กลา่ วมาใน 7. ขา้ งตน้ แลว้ พอสรปุ ความไดว้ า่ 38

(ก) ท่ปี ระชุมใหญ่ สอ.มก. เปน็ ผเู้ ลือกตั้งผ้ตู รวจสอบกิจการของ สอ.มก. (ข) ขอ้ บังคบั ของ สอ.มก. ไดก้ �ำหนดคณุ สมบัติและอ�ำนาจหน้าทขี่ องผู้ตรวจสอบกิจการ สอ.มก. ไวเ้ ป็น เกณฑ์ให้ท่ีประชุมใหญ่ สอ.มก. เลือกต้ังสมาชิกผู้มีคุณวุฒิ ความรู้และความสามารถเหมาะสม หลายด้าน หรือหลายสาขาความรู้ เป็นผู้ตรวจสอบกิจการ รวมท้ังได้ก�ำหนดอ�ำนาจหน้าท่ีของ ผตู้ รวจสอบกจิ การไว้ 6 ภารกจิ ดังกล่าวแล้วใน 7. ขา้ งตน้ (ค) เท่าท่ีเคยปฏิบัติมาแล้ว ท่ีประชุมใหญ่ สอ.มก. ให้สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุมใหญ่เสนอชื่อผู้ท่ีตนเห็น ว่าเหมาะสม หรือเสนอช่ือตนเองเพื่อให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งในวันประชุมตามวาระการประชุม เป็นผู้ตรวจสอบกิจการจึงไม่มีเวลาคัดเลือกและสรรหาสมาชิกผู้มีคุณวุฒิ ความรู้และความสามารถ ทีเ่ หมาะสม ส�ำหรบั ท่ีประชมุ ใหญ่ใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการพจิ ารณาเลือกต้ังเปน็ ผู้ตรวจสอบกิจการ 9. หัวข้ออภปิ รายเพอื่ ประกอบค�ำบรรยาย เราจะอภิปรายใน 7. และ 8. ขา้ งต้น มีเอกสารแจกส�ำหรับอา้ งอิงการอภิปรายแลว้ คือ (1) (ร่าง) ขอ้ ก�ำหนด สอ.มก. วา่ ด้วยการสรรหาผู้ตรวจสอบกิจการ พ.ศ. 2547 10. สรปุ และเสนอแนะ ค�ำบรรยายเรื่อง “บทบาทหน้าท่ีของกรรมการและผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ออมทรัพย์ : กรณีศึกษา สอ.มก.” น้ี มขี อ้ สรุปและเสนอแนะ ดังนี้ (1) อ�ำนาจ หน้าท่ี และความรบั ผิดชอบของกรรมการและผู้ตรวจสอบกิจการ สอ.มก. เกดิ มาจาก “บท” คือบทบัญญัติของกฎหมายสหกรณ์ บทหรือข้อความที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับและในระเบียบต่างๆ ของ สอ.มก. ดงั น้ัน สมาชกิ สอ.มก. ผ้สู นใจเปน็ กรรมการกด็ ีหรือผู้ตรวจสอบกิจการกด็ ีจงึ ต้องอา่ นและศกึ ษาบทต่างๆ ดังกลา่ วให้รอบรกู้ อ่ นจึงควรสมัครเพ่อื ด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าว (2) ข้อบังคับของ สอ.มก. ข้อ 48 (2) ถึง (2) ก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการไว้โดยละเอียด และ ขอ้ 58, ขอ้ 59 ไดก้ �ำหนดคณุ วฒุ ิ ความรแู้ ละความสามารถ รวมทงั้ อ�ำนาจหนา้ ทขี่ องผตู้ รวจสอบกจิ การไวเ้ ปน็ เกณฑ์ โดยละเอียดเชน่ กนั ดงั นนั้ สมาชิก สอ.มก. ผู้สนใจเปน็ กรรมการและผู้ตรวจสอบกิจการควรต้องมีความรอบรบู้ ้างในวชิ าการ สาขาตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การด�ำเนนิ กจิ การ สอ.มก. เชน่ วชิ าสหกรณ์ เศรษฐศาสตร์ การบญั ชี กฎหมาย การบรหิ าร จดั การ และการตลาด เป็นต้น เพอ่ื เปน็ ฐานความเป็นผนู้ �ำของ สอ.มก. (3) สอ.มก. ควรจดั โครงการอบรมลกั ษณะน้ปี ลี ะ 4 ครง้ั (3 เดือนครัง้ ) 39

แผนธรุ กจิ ของ สอ.มก. (ก) แผนบริหารการเงนิ (1) งานบรหิ ารก�ำไรสุทธิประจ�ำปี (2) งานบริหารเงินรับฝาก (3) งานบริหารหุ้นและทนุ ส�ำรอง (4) งานบริหารเงินก้แู ละหลักประกนั เงินกู้ ฯลฯ (ข) แผนสรา้ งเสรมิ บริการแกส่ มาชกิ (1) งานบรรเทาความเดอื ดรอ้ นของสมาชกิ กรณีช�ำระคืนเงนิ กแู้ ละดอกเบ้ยี เม่ือถงึ แกก่ รรม (2) งานจดั เงนิ ด�ำรงชพี วฒุ ิสมาชิก กรณเี กษยี ณอายกุ ารท�ำงาน (3) งานจดั หาท่อี ยอู่ าศัยและส่งเสริมความสะดวกของครอบครวั (3.1) ให้เงินกู้ (3.2) จดั หาทอี่ ย่อู าศัยโดยสร้างทีอ่ ยอู่ าศยั พร้อมทดี่ ินเปน็ หมู่บ้านและหรอื กล่มุ บา้ น (3.3) สง่ เสริมความอยเู่ ปน็ สุขของครอบครวั (4) งานให้กยู้ มื เพอื่ การศึกษาของตนเองหรอื ของลกู หลาน ฯลฯ (ค) แผนสร้างเสริมความรอบรู้ เพื่อพฒั นา สอ.มก. (1) งานบคุ คลกลุ่มเป้าหมาย (1) คณะกรรมการด�ำเนินการ (2) เจา้ หนา้ ท่ีสหกรณ์ (3) ผตู้ รวจสอบกจิ การ (4) สมาชกิ สหกรณ์ (5) ผู้เกยี่ วข้อง สอ.มก. ภาครฐั และภาคเอกชน (2) งานจัดโครงสรา้ งความรอบรสู้ �ำหรับบุคคล กลมุ่ เปา้ หมาย ฯลฯ (ง) แผนแก้ไขหรือปรับปรงุ กฎหมายสหกรณ์ (1) งาน – กฎหมายสหกรณ์ (2) งาน – กฎกระทรวงตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ (3) งาน – ประกาศ ค�ำสงั่ ระเบียบ เป็นตน้ ของนายทะเบยี นสหกรณ์ (4) งาน – ขอ้ บงั คับ สอ.มก. (5) งาน – ระเบียบ สอ.มก. ฯลฯ (จ) แผนส่งเสริมความร่วมมือกบั มก. (1) งานก่อสรา้ งอาคารสถานที่ มก. (2) งานทนุ การศกึ ษาและการวจิ ยั แก่หนว่ ยงานของ มก. (3) งานร้านสหกรณ์ มก. (4) งานศูนยห์ นังสอื มก. ฯลฯ 40

งานบรหิ ารกำ� ไรสทุ ธปิ ระจำ� ปี ของ สอ.มก.* ศาสตราจารย์พิเศษ อาบ นคะจัด (77) นักสหกรณแ์ ห่งชาติ สาขาวชิ าการสหกรณ์ 1. ความนำ�และวัตถุประสงค์ ผมเปน็ สมาชกิ สอ.มก. เลขท่ี 77 มาตง้ั แตแ่ รกตง้ั ในปี พ.ศ. 2502 เปน็ คนหนง่ึ ผรู้ เิ รมิ่ จดั ตง้ั สอ.มก. ในปนี น้ั และไดร้ ับแต่งตง้ั เปน็ ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมการด�ำเนินการ สอ.มก. มาหลายสมัย เวลานีก้ ็เป็นท่ปี รกึ ษาดงั กล่าวอยู่ วัตถปุ ระสงค์ในการเขยี นบทความนี้ คอื 1) เพ่ือเป็นเอกสารประกอบเรื่อง “แผนธุรกิจของ สอ.มก.” กรณีงานบริหารก�ำไรสุทธิประจ�ำปี ซึ่งผม ได้เสนอประธานกรรมการด�ำเนินการ สอ.มก. ผ่านคณะกรรมการที่ปรึกษาคณะกรรมการด�ำเนินการ สอ.มก. โดยหนงั สือลงวนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2547 และ 2) เพื่อขยายความรู้ เรื่อง การบริหารก�ำไรสุทธิประจ�ำปีของ สอ.มก. ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ หลกั สหกรณ์และส่ิงแวดล้อมด้านการแขง่ ขันของตลาดเงนิ และตลาดทุน 2. หลกั การของสหกรณเ์ รือ่ งไม่ให้หาก�ำไรมาจ�ำแนกในสมาชกิ นน้ั อุดมการณ์ หลักการ และวธิ ีการปฏิบัตขิ องสหกรณน์ ั้น ไดม้ ีการสรุปไว้ในพระราชบญั ญตั ิสมาคมเพิม่ เติม พ.ศ. 2459 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติม พระราชบัญญัติสมาคม พ.ศ. 2457 กฎหมายท้ังสองฉบับน้ี เป็นกฎหมายว่าด้วย สหกรณ์ฉบับแรกของประเทศไทย การสรุป ค�ำวา่ “สหกรณ”์ โดยพระราชบัญญัติดังกลา่ ว มดี งั ตอ่ ไปนี้ “...ทรงพระราชปรารภการเกื้อหนุนประชาราษฎร ซ่ึงประกอบกสิกรรม การค้าขาย ทรงพระราชด�ำริว่า สหกรณ์ คือสมาคมชนิดที่ราษฎรผู้ท�ำการเพาะปลูก และหากินด้วยการท�ำของขาย รวบรวมกันต้ังขึ้น เพ่ือยัง ความเจรญิ ให้เกดิ แก่หมู่ ด้วยวิธีรวมก�ำลังกนั บ�ำรุงตนเอง และประหยัดการใชจ้ า่ ยแตท่ พ่ี อควร มใิ ชต่ ั้งขนึ้ เพื่อหา ก�ำไรมาจ�ำแนกในสมาชกิ นนั้ ...” 2 คำ�ว่า “กำ�ไรสุทธิประจำ�ปี” เป็นคำ�ที่ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ใช้ในมาตรา 60 ซึ่งใช้เพ่ือให้ตรงกับค�ำ ว่า “กำ�ไรสุทธิ” (net profit) ตาม 41 ภาษาทางวชิ าการบญั ชี เพราะ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ใชค้ �ำ วา่ “ปที างบญั ช”ี , “การท�ำ บญั ช”ี , “ใหส้ หกรณจ์ ดั ท�ำ งบดลุ อยา่ งนอ้ ยครง้ั หนง่ึ .... ทุกรอบปีทางบัญชีของสหกรณ์” ในมาตรา 64, มาตรา 65 และมาตรา 66 เป็นต้น แต่ภาษาทางวิชาการสหกรณ์ ไม่ใช้คำ�ว่า “กำ�ไรสุทธิ” (net profit) แต่ใช้คำ�ว่า “เงินส่วนเกินสุทธิ” (net surplus) เพราะในระบบสหกรณ์นั้น สหกรณ์เป็นตัวแทนสมาชิก ทำ�การซื้อสินค้า ที่มวลสมาชิก ต้องการให้ซื้อแทนสมาชิก และทำ�การขายสินค้า ที่สมาชิกต้องการขายแทนสมาชิก เพื่อให้เกิด “การประหยัดต่อขนาด” (Economies of scale) ตามหลักเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ กฎหมายสหกรณ์บัญญัติให้สหกรณ์เป็นตลาดมีรูปแบบพิเศษประเภทหนึ่ง (a formal market) จดทะเบียน วัตถุประสงค์ว่า เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของบรรดาสมาชิก โดยวิธีช่วยตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกันตาม หลักการสหกรณ์ ต้องจดทะเบียนสมาชิก ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กำ�หนดในข้อบังคับ (มาตรา 33 พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542) จะให้บริการ แต่เฉพาะสมาชิกผู้เป็นทั้งเจ้าของและเป็นลูกค้าผู้ใช้บริการ จะให้บริการแก่ผู้ไม่เป็นสมาชิกได้เฉพาะกรณีที่กฎหมายสหกรณ์ และกฎเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้องอนุญาตให้ทำ�ได้เท่านั้น * รายงานกิจการประจ�ำ ปี 2547 สอ.มก. วันที่ 27 มกราคม 2548

3. ก�ำไรสุทธิประจ�ำปี 2546 ของ สอ.มก. ก�ำไรสุทธิประจ�ำปี 25462 ของ สอ.มก. นน้ั เกิดจากรายได้ ซ่ึงแยกเป็น 4 รายการ (ดูงบก�ำไร ขาดทนุ ปี 2546 ของ สอ.มก.) ดงั ตารางท่ี 1 รายการ รายได ้ ปี 2546 (ล้านบาท) กำ�ไรสทุ ธิประจ�ำ ปจี ากที่มาแต่ละรายการ 1) ดอกเบ้ียรับใหเ้ งินกแู้ ก่สมาชกิ 93.05 47.09 (25.41) (25.41) 2) ดอกเบยี้ รับเงนิ ให้กูแ้ กส่ หกรณอ์ ืน่ 83.39 42.19 (22.77) (22.77) 3) ผลตอบแทนจากการลงทนุ 181.27 91.73 (49.50) (49.50) 4) รายได้อืน่ 8.59 4.30 (2.32) (2.32) รวม (ลา้ นบาท) 366.21 185.31 (100.00) (100.00) หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเลบ็ คือ รอ้ ยละของยอดรวมรายได้ และกำ�ไร การท่ี สอ.มก. แยกรายได้ใหเ้ หน็ ทม่ี าชดั แจง้ ดงั กลา่ วนน้ั นบั วา่ เปน็ วธิ กี ารปฏบิ ตั ขิ องสหกรณท์ ถ่ี กู ตอ้ งแลว้ ควรทน่ี ายทะเบยี นสหกรณจ์ ะวางระเบยี บใหส้ หกรณท์ ว่ั ไปถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งท่ี สอ.มก. ปฏบิ ตั ิ เพราะจะท�ำ ใหง้ านบรหิ าร กำ�ไรสุทธิประจำ�ปีของ สอ.มก. และของสหกรณ์ทั่วไปมีข้อมูลพร้อมสำ�หรับพิจารณาและบริหารให้เป็นไปตาม อดุ มการณ์ และหลกั การของกฎหมายว่าดว้ ยสหกรณ์ดงั กลา่ วท่วี า่ สหกรณ์......มใิ ช่ต้งั ขึ้นเพอ่ื หากำ�ไร (จากผู้อ่นื ) มาจ�ำ แนกในสมาชกิ นั้น....(เหมอื นบริษัทและนิติบคุ คลอนื่ ทต่ี ง้ั ข้ึนโดยประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ และโดย กฎหมายอืน่ ) เพราะสหกรณ์ออมทรพั ย์หลายแหง่ มกั จะแจ้งในงบกำ�ไรขาดทนุ แต่เพยี ง 2 รายการ คือ รายไดจ้ าก ดอกเบีย้ ไมแ่ จ้งว่าดอกเบี้ยจากสมาชิก หรือดอกเบีย้ จากผู้ไม่เป็นสมาชกิ และรายได้อน่ื 4. การบริหารก�ำ ไรสุทธปิ ระจำ�ปี 2546 ของ สอ.มก. การบริหารกำ�ไรสุทธิ ประจำ�ปี 2546 จำ�นวน 185.31 ล้านบาท ของ สอ.มก. นั้น คณะกรรมการดำ�เนนิ การ สอ.มก. ไดจ้ ดั สรรไปตามที่เคยปฏิบัติ คอื เปน็ เงินปนั ผลไม่เกนิ ร้อยละ 10 ตามกฎกระทรวงและเป็นเงนิ เฉล่ียคืน ตามส่วนธุรกจิ ท่ีสมาชกิ ไดท้ �ำ ไว้กบั สหกรณ์ในระหวา่ งปี ดงั แสดงในตารางที่ 2 ตอ่ ไปน้ี แต่ยงั ถือวา่ บริหารกำ�ไร สทุ ธิประจ�ำ ปไี มถ่ ูกต้อง 42

การจดั สรรกำ�ไรสทุ ธิ ประจ�ำ ปี 2546 ของ สอ.มก. 1. ทุนสำ�รองไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของก�ำ ไรสทุ ธ ิ 51,886.84 (28.00) 2. ค่าบำ�รงุ สันนบิ าตสหกรณ์แห่งประเทศไทย 10.00 รอ้ ยละ 5 ของกำ�ไรสทุ ธิ ไม่เกนิ 10,000.-บาท (0.01) 84,063.58 3. เงนิ ปนั ผลร้อยละ 5.5 ตามหุ้นท่ชี ำ�ระแลว้ (45.36) (ปี 2545 อตั ราร้อยละ 6.5) 22,964.25 4. เงนิ เฉล่ียคืน ร้อยละ 25 ของดอกเบยี้ เงินกู้ทช่ี ำ�ระแล้ว 3,803.68 (12.39) (2.05) 5. เงนิ โบนัสกรรมการและเจา้ หนา้ ท่ีไม่เกินร้อยละ 10 4,615.74 ของกำ�ไรสุทธ ิ (2.49) 9,071.17 6. ทนุ รักษาระดบั เงนิ ปันผลไมเ่ กินร้อยละ 2 (4.90) ของทุนเรือนหนุ้ 8,894.88 (4.80) 7. ทนุ สาธารณประโยชน์ไม่เกนิ รอ้ ยละ 10 ของก�ำ ไรสทุ ธ ิ 185.31 (100.00) 8. ทนุ สวสั ดิการสมาชกิ ไม่เกนิ ร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธ ิ รวม (ลา้ นบาท) เฉพาะในกรณที ่ี สอ.มก. น�ำ กำ�ไรจากผู้ไมเ่ ปน็ สมาชิกสหกรณ์ มาจัดสรรเป็นเงนิ ปันผล และเงนิ เฉลี่ยคืน เกนิ กวา่ ท่ีควรทำ�ตามหลกั การของสหกรณ์ ก็เพราะเคยปฏบิ ตั ิเชน่ นนั้ ติดตอ่ กนั มานาน โดยไมม่ ผี ู้ใดแนะน�ำ หรอื ทักท้วงให้ปฏิบัติให้ถูกต้อง เพิ่งมาเข้าใจดีขึ้นและนำ�มาปฏิบัติเม่ือสองปีมานี้ โดยผู้เขียนบทความนี้เป็นผู้แนะนำ� คณะกรรมการดำ�เนินการ สอ.มก. ได้พิจารณาและรับฟัง แต่ก็วางแผนทำ�ให้เป็นไปตามหลักการสหกรณ์แบบ ละเมยี ดละไมไปแตล่ ะปี จนกว่าจะถูกตอ้ งสมบรู ณต์ ามหลักการดงั กล่าว แนวทางทีถ่ กู หลักการสหกรณน์ ั้น สอ.มก. ควรปฏิบัตดิ ังน้ี กำ�ไรสุทธิประจำ�ปี 2546 จ�ำ นวน 185.31 ลา้ นบาท ดงั แสดงในตารางที่ 1 ข้างต้น ควรจะจัดสรรใหถ้ กู ต้องตามหลกั การสหกรณด์ ังนี้คอื ก) รายการที่ 1) รายไดจ้ ากสมาชิก 47.09 ลา้ นบาท รายการท่ี 4) รายได้อืน่ ๆ 4.30 ล้านบาท รวม 51.39 ลา้ นบาท 43

ก�ำ ไรสุทธิ 51.39 ล้านบาทนี้ จะนำ�ไปจัดสรรเปน็ เงนิ ปนั ผล และเงินเฉลย่ี คนื สมาชิกท้งั หมด 51.39 ล้าน บาทเลยก็ท�ำ ได้โดยถูกตอ้ ง เพราะได้มาจากสมาชกิ ข) รายการท่ี 2) รายได้จากสหกรณอ์ ื่น 42.19 ล้านบาท รายการท่ี 3) รายไดจ้ ากการลงทนุ 91.73 ล้านบาท รวม 133.92 ลา้ นบาท ก�ำไรสุทธิท่ีได้จากผู้ไมเ่ ปน็ สมาชิก 133.92 ลา้ นบาทน้ี ไม่ให้น�ำไปเป็นเงินปันผล และเปน็ เงนิ เฉล่ียคืน แก่สมาชิกตามหลักการสหกรณ์ แต่ให้น�ำไปเป็นเงินรายการจัดสรรอย่างอ่ืนๆ ได้ทุกอย่าง โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็น ทุนส�ำรอง ซ่ึงเป็นฐานแห่งความม่ันคงของสหกรณ์ย่ิงกว่าทุนเรือนหุ้น เพราะทุนเรือนหุ้นน้ัน สมาชิกเบิกคืนได้ เม่ือพ้นสมาชิกภาพ อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ของต่างประเทศ เช่น กฎหมายสหกรณ์การเกษตรของ ประเทศญ่ีปุ่นให้สหกรณ์ท�ำธุรกิจกับบุคคลภายนอกได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของปริมาณธุรกิจและอาจน�ำก�ำไรสุทธิของ สหกรณจ์ ากผู้ไมเ่ ปน็ สมาชกิ นน้ั ไปใชเ้ ปน็ เงนิ ปนั ผลและเงนิ เฉลย่ี คนื ได้ หากอนโุ ลมตามเกณฑข์ องกฎหมายการเกษตร ของประเทศญปี่ นุ่ ก�ำไรสทุ ธปิ ระจ�ำปี 2546 ของ สอ.มก. ทไ่ี ดจ้ ากผู้ไมเ่ ปน็ สมาชกิ จ�ำนวน 133.92 ลา้ นบาทนนั้ กอ็ าจ หกั จากจ�ำนวนนั้น 26.78 ล้านบาท หรอื ร้อยละ 20.00 ไปรวมกับจ�ำนวน 51.39 ล้านบาท รวมเปน็ 78.17 ลา้ นบาท เพือ่ เปน็ เงนิ ปันผล และเงนิ เฉลย่ี คนื แก่สมาชิกได้ ดงั น้นั เงนิ ก�ำไรสุทธิจากผู้ไม่เป็นสมาชิกสหกรณจ์ ะเหลือจ�ำนวน 107.14 ล้านบาท และ สอ.มก. สามารถจดั สรรเป็นทนุ ส�ำรอง และเปน็ ตามรายการจดั สรรอน่ื ๆ โดยเฉพาะเงินทนุ สวัสดิการแก่สมาชิกในรปู แบบตา่ งๆ เมื่อพิเคราะห์ตัวเลขในตารางที่ 2 จะเห็นว่า สอ.มก. ได้จัดสรรเงิน 84.06 ล้านบาทเป็นเงินปันผลตาม หุน้ ร้อยละ 5.5 ตอ่ หุน้ (หนุ้ มมี ูลค่า 10 บาท เทา่ กบั ไดป้ ันผล + 0.55 บาทตอ่ หนุ้ ) และจัดสรรเงิน 22.96 ล้านบาท เปน็ เงินเฉล่ยี คืนรอ้ ยละ 25 ของดอกเบี้ยเงนิ กู้ รวมสองรายการนเี้ ปน็ เงนิ 107.20 ล้านบาท เกินไปจ�ำนวน 28.85 ล้านบาทจากจ�ำนวนเงนิ 78.17 ล้านบาท ท่คี วรจดั สรรเป็นเงนิ ปันผลและเฉล่ยี คืนที่ค�ำนวณไว้ เท่ากับว่า สอ.มก. น�ำเงินก�ำไรสุทธิจากผู้ไม่เป็นสมาชิกสหกรณ์ไปจัดสรรเปน็ เงนิ ปันผล และเงินเฉลยี่ คืนแกส่ มาชิก รวมเปน็ ร้อยละ 41.54 (26.78 + 28.85 = 55.63/133.92) แทนที่จะเป็นร้อยละ 20.00 ตามเกณฑอ์ นุโลมดงั กลา่ ว 5. การบริหารอัตราเงินปันผลและอัตราเงนิ เฉลี่ยคืนของ สอ.มก. พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 60 บญั ญัติไว้วา่ “.....ก�ำไรสทุ ธทิ ่เี หลือจากกการจัดสรรเปน็ ทุนส�ำรอง และคา่ บ�ำรงุ สันนิบาตสหกรณ์แหง่ ประเทศไทย ที่ประชุมใหญอ่ าจจัดสรรได้ภายใต้ขอ้ บังคับ ดังนี้ 1) จา่ ยเป็นเงนิ ปันผลตามหุน้ ท่ีช�ำระแลว้ แตต่ อ้ งไม่เกนิ อัตราท่กี �ำหนดในกฎกระทรวง ส�ำหรับสหกรณ์ แต่ละประเภท 2) จา่ ยเป็นเงินเฉลยี่ คนื ใหแ้ กส่ มาชิกตามส่วนธรุ กิจท่ีสมาชกิ ไดท้ �ำไวก้ ับสหกรณ์ในระหวา่ งป.ี ...” ปัจจบุ ันน้ี อตั ราเงนิ ปันผลตามหนุ้ ที่ช�ำระแล้ว กฎกระทรวงออกตามกฎหมายน้ี ก�ำหนดไว้ไมเ่ กินรอ้ ยละ 10 ส�ำหรบั สหกรณ์ทุกประเภท สว่ นอัตราจา่ ยเป็นเงนิ เฉลยี่ คืนน้นั กฎหมายไม่ได้ก�ำหนดไว้ ภายใต้บทบญั ญัติของ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 60 ดงั กล่าว ในทางปฏิบตั ิ สอ.มก. จะตอ้ งก�ำหนดวธิ ีบริหารอตั ราเงินปันผล 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook