Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษา2563

งานวิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษา2563

Published by kruton cmt, 2021-03-13 05:17:53

Description: งานวิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษา2563

Search

Read the Text Version

1 ชื่อผลงานวิจยั การพัฒนาความกล้าแสดงออกด้านการเปน็ ผู้นาโดยใช้กระบวนการปฏบิ ัติจรงิ ของนกั เรยี น ของนักเรียนสาขาวิชาการโรงแรม (ทวศิ ึกษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 เชียงใหม่ ชือ่ ผู้วิจัย นายธีรยทุ ธ ยานะ๊ บทท่ี 1 บทนำ 1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปญั หำ การศึกษาถือว่าเป็นเรื่องท่ีสาคัญมากสาหรับทุกประเทศ เพราะเป็นต้นกาเนิดแห่งการพัฒนาท่ีไม่ หยุดยั้งของคน การที่เราจะใช้เทคนิคหรือวิธีการสอนให้แก่เด็กเหมือนเช่นเดิม ท่ีผ่านมา คงจะเป็นไปไม่ได้อีก แล้ว เพราะวา่ ในปจั จุบันสภาพการณต์ ่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยมี ีความทันสมัยทา ให้การศึกษาสามารถเรียนรู้กันได้ข้ามประเทศ เพียงแค่คุณอยู่ท่ีบ้าน แม้กระท่ังการติดต่อสื่อสารก็ทาให้ได้รับ ข้อมูลข่าวสารทั้งทางบวกและทางลบ ตัวอย่างท่ีเหมาะสมและไม่เหมาะสม จึงทาให้เกิดการลอกเลียนแบบ อยา่ งถูกตอ้ งและไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะวัยรุ่น เป็นวัยทีม่ คี วามอยากรู้ อยากเห็น และอยากลอกเป็นอย่างมาก จึง ทาให้พฤติกรรมการแสดงออกของแต่ละบุคคลและแต่ละคร้ังมที ้ังความเหมาะสมและไม่เหมาะสม สิ่งท่ีดีอาจถูก มองเปน็ ส่งิ ท่ีไม่ดี และส่ิงที่ไม่ดีอาจถูกมองเปน็ ส่ิงท่ีดี เน่ืองจากการได้รับรู้ข้อมูลมาจากโลกอินเตอรเ์ น็ตอย่างผิด ๆ ทาให้วัยรุ่นไทยในปัจจุบันมีพฤติกรรมการแสดงออกท่ีไม่เหมาะสมหรือพฤติกรรมท่ีก้าวร้าว ซ่ึงบางคร้ัง อาจจะแสดงออกมาอย่างตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ โดยในปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มที่จะแสดงออกพฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสมมาก เพราะเราได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมความเกรงใจ และคาว่าไม่เป็นไรมากจากบรรพบุรุษ จึง ทาให้เราไม่กลา้ แสดงออก หรืออาจเป็นเพราะความไม่ม่ันใจ อาย ไม่กลา้ จึงทาให้บคุ คลอ่ืนมองว่าเราเป็นคนไม่ รู้ ฉลาดน้อย หรือต่อต้าน จึงไม่แสดงออก ทาให้เรามีความเสี่ยงต่อการขาดโอกาสการก้าวหน้าในชีวิต ถ้าหาก บุคคลใดมีความบกพร่องเกี่ยวกับการกล้าแสดงออก บุคคลนั้นมักจะพบกับปัญหาท้ังในด้านการติดต่อ และ การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ซ่ึงจะทาให้เกิดความยากลาบากท้ังในการเรียน การทางาน และเกิดความวิตก กงั วลตา่ ง ๆ ตามมา ขา้ พเจา้ จึงได้ทาการวิจัยในเร่ืองการพัฒนาความกลา้ แสดงออกด้านการเป็นผนู้ าโดยใช้กระบวนการ ปฏิบตั ิจรงิ ของนักเรยี นของนักเรียนสาขาวชิ าการโรงแรม (ทวิศกึ ษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เชยี งใหม่

2 เนื่องจากว่า นักเรียนบางกลุ่มไม่ค่อยมีความกล้าแสดงออกด้านการเป็นผู้นา สาเหตุอาจมาจาก นักเรียนส่วน ใหญ่ในสาขาวิชาการท่องเท่ียว 80%เป็นเด็กชนเผ่า พูดไม่ค่อยชัด เขิน อาย จึงอาจจะเป็นสาเหตุท่ีทาให้ นักเรียนไม่มีความกล้าแสดงออกด้านความเป็นผู้นา ทั้งน้ีเมื่อนักเรียนเลือกเรียนในสาขาน้ีแล้ว นักเรียนควรมี ภาวะความเป็นผู้นาและมีความกล้าแสดงอก กล้าตัดสินใจและมีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้ ข้าพเจา้ ไดท้ าการวิจัยในเรอ่ื งน้ขี ีน้ มา ผลของงานวิจัยอาจจะทาให้นักเรียนกลุ่มที่ไม่มีความกล้าแสดงออกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความกล้า แสดงออกด้านการเป็นผู้นาของนกั เรียนและสามารถนาไปปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมตัวเองในการดารงชวี ิตและการ ทางานหากนักเรียนไดจ้ บการศกึ ษาไป 2. คำถำมกำรวิจัย ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมความกล้าแสดงออกด้านการเป็นผู้นาของนักเรียนสาขาวิชาการโรงแรม (ทวศิ ึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 เชียงใหม่ ที่ได้รับการฝึกด้วยวธิ ีการโดยการใช้กจิ กรรมฝึก ภาวะความเปน็ ผ้นู ามีผลอย่างไร 3. วตั ถุประสงคข์ องกำรวิจยั เพื่อเปรียบเทียบการปรับเปล่ียนพฤติกรรมความกล้าแสดงออกก่อนและหลังด้านการเป็นผู้นาของ นกั เรยี นสาขาวชิ าการโรงแรม (ทวิศกึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 เชียงใหม่ ขอบข่ำยกำรวจิ ยั กล่มุ เป้าหมายของการวจิ ัย คอื นกั เรียนสาขาวิชาการโรงแรม (ทวศิ ึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เชยี งใหม่ นักเรยี นหญงิ จานวน 18 คน ตัวแปรท่ศี กึ ษา ตวั แปรต้น คือ กระบวนการกลุ่ม ได้แก่ ด้านการพูด การกระทา และการแสดงความคิดเห็น ตวั แปรตาม คือ พฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม

3 4. นยิ ำมเชิงปฏิบตั ิกำร พฤติกรรมการกล้าแสดงออก หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลสามารถแสดงออกได้อยา่ งเป็นธรรมชาติมาก ท่ีสุดตามสภาพการณ์ทเี่ ป็นอยู่ และสามารถจัดการกับปัญหาตา่ ง ๆ ได้ด้วยวิธีการทางบวก โดยปราศจากความ วิตกกังวล นั่นคือบุคคลสามารถแสดงออกซ่ึงความต้องการหรือความรู้สึกได้อย่างตรงมาและจริงใจ อย่างไรก็ ตามพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมมิใช่กระทาเพ่ือท่ีจะให้ได้ส่ิงที่ต้องการ เป้าหมายของการ กระทาพฤติกรรมกล้าแสดงออกนั้นคือการส่อื สารอยา่ งชัดเจนและตรงไปตรงมา ไม่โจมตีความต้องการหรอื การ คิดเห็นขอบบคุ คลอนื่ ซง่ึ การทาเช่นนั้นจะทาให้มีโอกาสบรรลุเป้าหมายท่ตี ้องการโดยไมป่ ฏิเสธสิทธิของผอู้ ื่น ผู้นา หมายถึง สัมพันธภาพในเรื่องของการใช้อิทธิพล ที่มีต่อกันและกัน ระหว่างผู้นากับผู้ตามที่มุ่ง หมายให้เกิดการเปล่ียนแปลง โดยสะท้อนถึงวัตถุประสงค์ที่มีร่วมกันภาวะผู้นา เกี่ยวข้องกับ การใช้อิทธิพล (Influence) เกิดข้ึนระหว่างกลุ่มบุคคล โดยกลุ่มบุคคลเหล่าน้ันมีความต้ังใจที่จะก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลง การเปลีย่ นแปลงดงั กล่าวจะสะท้อนให้เห็นวตั ถปุ ระสงคท์ ี่มรี ว่ มกันระหวา่ งผ้นู ากบั ผู้ตาม นักเรียน หมายถึง นักเรียนสาขาวิชาการโรงแรม (ทวิศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เชียงใหม่ 6. ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะไดร้ บั จำกงำนวจิ ัย 1. นกั เรยี นมีความกล้าแสดงออกด้านการเป็นผนู้ ามากย่งิ ขน้ึ 2. นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญเล็งเห็นถึงประโยชน์และเจตคติที่ดีต่อการแสดงออกด้าน การเปน็ ผนู้ าและนาไปปรับใช้ในการทางานต่อไปในอนาคต

4 บทที่ ๒ เอกสำรงำนวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง การวจิ ยั เรือ่ ง “การพฒั นาความกล้าแสดงออกด้านการเปน็ ผ้นู าโดยใชก้ ระบวนการปฏบิ ัตจิ ริง ของนักเรียนสาขาวชิ าการโรงแรม (ทวิศึกษา) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 เชียงใหม่” ผูว้ ิจัยได้ศกึ ษา เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวข้องดงั น้ี เอกสำรงำนวิจัยทเี่ กยี่ วข้อง 1. แนวคดิ เก่ยี วกบั กจิ กรรมการฝึกภาวะความเป็นผนู้ า 1.1 ความแตกต่างระหวา่ งพฤตกิ รรมกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม พฤติกรรมไมก่ ล้า แสดงออก และพฤติกรรมก้าวร้าว 1.2 ลักษณะของการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม 1.3 ผลของการมพี ฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม 1.4 การพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 2. แนวคดิ ท่เี กี่ยวข้องกับกระบวนการกลุม่ 2.1 ความหมายของกระบวนการกลุ่ม 2.2 ทฤษฎเี ก่ียวกับกระบวนการกลุ่ม 2.3 เทคนิคและวธิ กี ารทใ่ี ชใ้ นกระบวนการกลมุ่ 1. แนวคิดเกย่ี วกับกจิ กรรมกำรฝกึ ภำวะควำมเปน็ ผู้นำ ผู้นา หมายถึง สัมพันธภาพในเรื่องของการใช้อิทธิพล ท่ีมีต่อกันและกัน ระหว่างผู้นากับผู้ตามท่ีมุ่ง หมายให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยสะท้อนถึงวัตถุประสงค์ท่ีมีร่วมกันภาวะผู้นา เกี่ยวข้องกับ การใช้อิทธิพล (Influence) เกิดข้ึนระหว่างกลุ่มบุคคล โดยกลุ่มบุคคลเหล่านั้นมีความต้ังใจที่จะก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นวัตถุประสงค์ที่มีร่วมกันระหว่างผู้นากับผู้ตาม โดย Daft (1999) กล่าวว่า อิทธิพล (Influence) หมายถึง สัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่ไม่ใช่การยอมจานนและการบังคับ ซ่ึง ต้องมีลักษณะเป็นการยอมรับซึ่งกันและกัน (Reciprocal) ระหว่างผู้นากับผู้ตามบุคคลในระบบความสัมพันธ์ ดังกล่าว มีความต้องการการเปล่ียนแปลง ดังน้ัน ภาวะผู้นาจึงเกี่ยวข้องกับการสร้างและการพัฒนาให้เกิดการ เปล่ียนแปลง ไม่ใช่การรักษาสถานภาพเดิม (Status quo) ย่ิงไปกว่านั้นการเปลี่ยนแปลงท่ีต้องการผู้นาไม่ได้ เป็นผกู้ าหนดแต่เป็นที่วัตถุประสงคก์ าหนดร่วมกันระหวา่ งผ้นู าและผู้ตาม อันจะก่อให้เกิดแรงจูงใจท่ีจะโนม้ นา้ ว บคุ คลใหม้ ่งุ ไปสผู่ ลสาเร็จทต่ี อ้ งการอยา่ งแท้จรงิ

5 ความหมายของภาวะผู้นาในส่วนของ พระธรรมปิฎก ให้ความหมายไว้ว่า “คุณสมบัติ เช่นสติปัญญา ความดี งาม ความรู้ความสามารถของบุคคล ท่ีชักนาให้คนทั้งหลายมาประสานกัน และพากันกันไปสู่จุดมุ่งหมายที่ดี งาม” (ธีรวรรณ ธีระพงษ์, 2543) ให้ความหมายว่า เป็นพฤติกรรมที่บุคคลสามารถแสดงออกได้ อย่างเป็นธรรมชาติมากท่ีสุดตามสภาพการณ์ท่ีเป็นอยู่ และสามารถจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยวิธีการ ทางบวก โดยปราศจากความวิตกกังวล นั่นคือบุคคลสามารถแสดงออกซึ่งความต้องการหรือความรู้สึกได้อย่าง ตรงมาและจริงใจ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมมิใช่กระทาเพื่อที่จะให้ได้สิ่งที่ ต้องการ เป้าหมายของการกระทาพฤติกรรมกล้าแสดงออกน้ันคือการสื่อสารอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา ไม่ โจมตีความต้องการหรือการคิดเห็นขอบบุคคลอ่ืน ซ่ึงการทาเช่นน้ันจะทาให้มีโอกาสบรรลุเป้าหมายท่ีต้องการ โดยไมป่ ฏเิ สธสิทธขิ องผู้อ่ืน โบเวอร์ และ โบเวอร์ (Bower & Bower, 1976) ให้ความหมายว่า พฤติกรรมท่ีเหมาะสมในการ แสดงออก คือความสามารถในการท่ีจะแสดงความรู้สึกท่ีจะเลือกว่าควรปฏิบัติอย่างไร ที่จะแสดงสิทธิเมื่อมี ความเหมาะสม ที่จะเพ่ิมความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ท่ีจะช่วยพัฒนาความม่ันใจในตนเองให้เกิดขึ้น ที่จะ แสดงความไม่เห็นด้วยเม่ือคิดว่ามีความสาคัญมากพอ และความสามารถในการที่จะดาเนินการ เพื่อปรับ พฤตกิ รรมจองตนเองและขอร้องให้ผู้อน่ื เปล่ียนแปลงพฤติกรรมการต่อต้านเขาดว้ ย เจกุโบว์กี้ (Jakubowski, 1973) ให้ความหมายว่า พฤติกรรมระหว่างบุคคลหน่ึงซึ่งบุคคลลุกข้ึนเพื่อ แสดงสิทธิอันถูกต้องของเขาในวิถีทางท่ีไม่ละเมิดสิทธิของผู้อ่ืน เป็นการแสดงความรู้สึก การคิดและความเชื่อ ออกมาอย่างตรงไปตรงมา จริงใจ และเหมาะสม สรุปความหมาย พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม หมายถึง พฤติกรรมท่ีบุคคลแสดงออก อย่างเหมาะสม กล้าคิด กล้าพูด กล้ากระทาในสิ่งท่ีถูกต้อง เป็นการเพ่ิมความมั่นใจในตนเองโดยไม่ละเมิดสิทธิ ของผ้อู ื่น โดยเปน็ การแสดงออกอยา่ งชัดเจนและตรงไปตรงมา 1.1 ควำมแตกต่ำงระหว่ำงพฤติกรรมกล้ำแสดงออกอย่ำงเหมำะสม พฤติกรรมไม่กล้ำแสดงออก และพฤติกรรมก้ำวรำ้ ว การตอบสนองอย่างเหมาะสม (Assertion) พฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมเป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงความกล้าพูด กล้าคิด กล้ากระทาใน ส่ิงที่ถูกต้อง และกล้าแสดงออกตามความรู้สึกที่แท้จริงของตน โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อ่ืน และเม่ือแสดง พฤติกรรมไปแลว้ จะไม่มีความวิตกกงั วลใจ ซ่งึ แสดงถึงการยอมรบั ในสทิ ธขิ องบุคคล เมอื่ พิจารณาในรปู ของการ มีความสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน จะเป็นบุคคลท่ีสื่อสารด้วยความจริงใจ เปิดเผยและตรงตามความต้องการหรือ

6 ความรู้สึกของตนเอง โดยมีวิธกี ารที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ซึ่งแสดงถึงการมีความเคารพนับถือ ยอมรับ และเห็นคุณค่าของบุคคลอน่ื และของตนเองด้วย การตอบสนองอยา่ งไม่กล้าแสดงออก (Passive) พฤติกรรมไม่กล้าแสดงออก หรือการยอมตาม เป็นความขลาดกลัวที่ไม่กล้าแสดงออกถึงความรู้สึก ความต้องการท่ีแท้จริงของตน รวมท้ังไม่สามารถจะรักษาสิทธิของตนเองได้ เป็นบุคคลที่มีความอาย ไม่กล้า แสดงออกถึงความไม่สบายใจหรือความไม่เห็นด้วยกับบุคคลอ่ืน ไม่กล้าปฏิเสธ มีความเชื่อฟัง สอนง่าย มักจะ เก็บความรู้สึกขุน่ มัวเอาไว้ หากถูกเอาเปรยี บก็มักจะถอยหนีหรอื หลบตัว มักจะมีความรู้สกึ เห็นคุณค่าในตนเอง ต่าหากต้องการแสดงออกถึงความต้องการของตน ก็มักจะมีความวิตกกังวลหรือความไม่สบายใจ จึงมีท่าทางที่ ระมัดระวัง และกลา่ วคาขอโทษอยู่เสมอ พรอ้ มกับมีภาษาทา่ ทางทไี่ มเ่ หมาะสม เช่น การไมก่ ล้าสบตาผู้สนทนา พูดเสยี งเบา พดู เรว็ เกินไป เป็นต้น การตอบสนองด้วยความกา้ วร้าว (Aggression) พฤติกรรมก้าวร้าวเป็นการแสดงออกถึงการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางเรียกร้องถึงสิทธิของตนโดยไม่ สนใจว่าจะไปละเมิดสิทธิของผู้อื่นหรือไม่ ไม่เห็นความสาคัญของปฏิกิริยา ความรู้สึก และความคิดเหน็ ท่ีบุคคล อ่นื ได้แสดงออกมา รวมท้ังไม่มีความเคารพนับถือบุคคลอ่ืนด้วย บุคคลท่ีมีพฤติกรรมก้าวร้าวจึงมักแสดงออกถึง ความรู้สึก ความต้องการ และความคิดเห็นที่ตนมีในลักษณะของการข่มขู่ บังคับ เรียกร้อง พูดโต้เถียงให้ชนะ พดู กล่าวโทษผู้อื่น พูดเสียงดัง พูดจาเสียดสี พูดเหยยี ดหยาม ข่มขหู่ รือพูดในสิ่งที่แสดงถึงความมอี านาจของตน หรือทาให้ตนเองมีความสาคัญมากขึ้น และอาจแสดงความหยาบคายต่อบุคคลอื่น มักจะทาให้บุคคลอ่ืนไม่ สบายใจหรือขัดใจ หรือโกรธอยู่เสมอ ซ่ึงมีผลทาให้สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเปล่ียนแปลงไป ถึงแม้ผู้มี พฤติกรรมก้าวร้าวจะมีความรู้สึกผิด แต่บรรลุเป้าหมายท่ีตนต้องการก็เหมือนได้รับการเสริมแรงต่อพฤติกรรม ก้าวรา้ วนน้ั จงึ มแี นวโนม้ การกระทาก้าวรา้ วต่อไปอกี 1.2ลกั ษณะของกำรกล้ำแสดงออกอยำ่ งเหมำะสม เฟสเตอร์ฮิม (Fensterheim & Bear, 1978) กล่าวว่าบุคคลที่มีความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม จะตอ้ งมีลักษณะ 4 ประการดังน้ี 1. รู้สึกอสิ ระที่จะเปิดเผยตนเอง ไมว่ า่ จะเปน็ การพดู หรอื การกระทา 2. สามารถติดต่อส่ือสารกับบุคคลได้ทุกระดับ และทุกประเภท เช่น คนแปลกหน้า เพ่ือนฝูง คนในครอบครัว โดยที่การตดิ ต่อน้ันเปน็ ไปอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา

7 3. มคี วามกระตือรือร้นในการดาเนนิ ชวี ิต พยามยามทาสง่ิ ต่าง ๆ ตามท่ีตนเองคิดและตอ้ งการ ไม่นงั่ คอยว่าอะไรจะเกดิ ขึ้นกบั ตนเองและไมต่ ้องรอคอยให้ใครมาช่วย 4. กระทาในสิ่งท่ีทาให้ตนเองภูมิใจอย่างท่ีสุด ยอมรับความสามารถและข้อจากัดของตนเอง แต่ในขณะเดยี วกันก็พยามนาตนเองไปสคู่ วามสาเรจ็ ถึงแม้วา่ จะลม้ เหลวกย็ ังนบั ถอื ตนเอง 1.3 ผลของกำรมีพฤติกรรมกำรกลำ้ แสดงออกอย่ำงเหมำะสม (ธีรวรรณ ธีระพงษ์, 2543) กล่าวว่าพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมจะช่วยให้ผู้นั้นเป็นท่ี ยอมรับและสามารถแสดงสิทธขิ องตนโดยไมก่ ระทบสิทธิของผ้อู นื่ อนั นาไปสู่สมั พนั ธท์ ี่พฒั นาและดีงาม ไดแ้ ก่ 1. การยืนหยัดเพื่อตัวเอง และการทาให้คนอื่นรู้จักตัวของเราน้ันเป็นการเคารพตนเองและ เปน็ การทจี่ ะไดร้ บั การเคารพจากผอู้ น่ื 2. การพยามยามใช้ชีวิตของเราอยู่ในแนวทางท่ีจะไม่ทาให้ผู้อื่นเจ็บปวดเลย ไม่ว่าจะอยู่ ภายใต้เงื่อนไขใด ๆ ก็ตาม มักจะจบลงด้วยการทาให้ผอู้ ื่นและตัวเองเจ็บปวดด้วย (เป็นวงจรของพฤติกรรมการ ไมก่ ล้าแสดงออก) 3. เม่ือเรายืนหยัดเพื่อตัวเอง และแสดงความรู้สึกของเราออกมาอย่างจริงใจ หรือแสดงการ คิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา ด้วยท่าทีท่ีเหมาะสม ทุกคนจะได้รบั ประโยชน์ในระยะยาว แต่ถ้าเราไม่จริงใจต่อคน อืน่ เท่ากบั ว่าเราไมจ่ ริงใจกับตวั เอง ทกุ คนท่เี กี่ยวขอ้ งกจ็ ะสญู เสียประโยชนใ์ นระยะยาว 4. ในการเสียสละความเป็นตัวของเราเอง และปฏิเสธความรู้สึกส่วนตัวของเรา มักจะนาไปสู่ ความรา้ วรานในสมั พันธ์ หรอื ความสมั พนั ธไ์ มส่ ามารถพฒั นาต่อไปได้ 5. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะมีคุณค่ามากข้ึนและน่าพึงพอใจมากข้ึนเมื่อเราสามารถ แลกเปล่ยี นการตอบสนองตอบที่จรงิ ใจกับบุคคลอ่นื และไมข่ ดั ขวางบุคคลอ่นื ท่ตี อบสนองต่อเรา 6. การไม่ให้ผู้อ่ืนรู้ว่าเราคิด หรือรู้สึกอย่างไร เป็นการเห็นแก่ตัวเท่า ๆ กับการไม่สนใจ ความรูส้ ึกและการคดิ ของคนอ่นื 7. การท่ีเราเสยี สิทธิสว่ นตัวของเรา เท่ากับเราสอนใหบ้ ุคคลอน่ื เอาเปรียบเรา 8. ในการที่เรากล้าแสดงออก และบอกบุคคลอ่ืนว่าพฤติกรรมของเขามีผลต่อเราเช่นใด เท่ากับเราได้เปิดโอกาสให้เขาเปลี่ยนพฤติกรรม และเป็นการแสดงให้เห็นว่าเราได้ให้เกียรติแก่สิทธิของเขา ท่ี บอกให้เขารู้ว่าเขากาลังยืนอยู่ที่จุดใดกับเรา (สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต, 2539 อ้างถึงใน ธีรวรรณ ธีระพงษ์, 2543)

8 1.4 กำรพฒั นำพฤตกิ รรมกลำ้ แสดงออกอย่ำงเหมำะสม (Developing Assertiveness) การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม มหี ลกั สาคญั 3 ประการดงั นี้ 1. การตระหนักรู้ตนเอง (Self – awareness) เป็นการสารวจตรวจสอบพฤติกรรมการ แสดงออกของตนเอง พิจารณาผลทเี่ กิดขึน้ อาจขอรบั ขอ้ มูลย้อนกลับจากผ้อู ่ืน หรอื การสารวจดว้ ยตนเอง 2. การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก เป็นกระบวนการฝึกทักษะการกล้าแสดงออก ทั้ง ความรู้สึก ความคิด และการติดต่อสื่อสาร เชน่ ทักษะการแสดงการเห็นด้วยกับสาระสาคัญที่ได้รับการวิพากษ์ ทักษะการตอบสนองผู้วิพากษ์ ทักษะการยอมรับการวิพากษ์ หรือทักษะการแสดงความม่ันคงในความคิดและ ความรู้สึกของตน เป็นต้น การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก ประกอบด้วยความรู้ความเข้าใจและการฝึกหัดให้ เกดิ ความคล่องตวั 3. การพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมกับผู้ท่ีเก่ียวข้อง ในการฝึกทักษะท่ี จาเป็นจนชานาญแล้ว ควรพัฒนาเพ่ิมพูนทักษะให้มากข้ึน รวมทั้งการรักษาให้เป็นพฤติกรรมคงทนต่อไป โดย การฝึกหดั แสดงออกและตอบสนองกับผู้ทเี่ กีย่ วข้องในสถานการณ์ต่าง ๆ ซัลเทอร์ (Salter, 1949) ได้สรุปว่า บุคคลผู้มีพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมจะสามารถ แสดงพฤติกรรมต่อไปนี้ได้ ได้แก่ การแสดงความรู้สึก พูดเก่ียวกับตัวท่านเอง การพูดทักทายปราศรัย การยอม รับคาชมเชย การแสดงออกทางสีหน้าที่เหมาะสม การแสดงความไม่เห็นด้วยอย่างสุภาพ การขอร้องให้แสดง ความกระจ่างแจ้ง การถามหาเหตุผล การแสดงความไม่เห็นด้วยขณะน้ัน การกล่าววาจาเพ่ือรักษาสิทธิ การ แสดงความมัน่ คง หลกี เลย่ี งท่ีจะตอ้ งแสดงเหตผุ ลในทกุ ๆ ความเห็น 2. แนวคดิ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับกระบวนกำรกลุ่ม 2.1 ควำมหมำยของกระบวนกำรกลมุ่ ชาร์ทวิง และ เซนเดอร์ (Cartwright & Zander, 1968) ให้ความหมายว่า อุดมการณ์ทางการเมือง แบบหนึ่งที่กลุ่มควรจัดให้มีและควรดาเนินการโดยอุดมการณ์ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับความเป็นผู้นาในระบบ ประชาธิปไตย รวมถึงการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของสมาชิกคุณค่า และประโยชน์ที่สมาชิกและสังคมควร ได้รับ ซ่ึงการรวมกลุ่มดังกล่าวจะมีคุณค่าต่อสมาชิก ซ่ึงนับว่าเป็นการรวมกลุ่มในอุดมคติท่ีสมาชิกทุกคนจะมี ความเท่าเทียมกัน ไม่มีการกาหนดการเป็นผู้นาผู้ตาม ทุกคนจะใช้สติปัญญาและความสามารถที่ตนมีอยู่อย่าง เตม็ ทเ่ี พือ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อตนและสงั คม (ช่อลัดดา ขวัญเมือง, 2541) ให้ความหมายว่า กระบวนการที่ช่วยให้นักเรียนได้มีพัฒนาการในด้าน ทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมท่ีบกพร่อง เป็นปัญหาควรแก้ไขโดยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ จึงเป็นวิธีการท่ีเปิด

9 โอกาสให้นักเรียนเข้าใจความต้องการของตนเองและของผู้อ่ืน จากการสัมผัสด้วยการปฏิบัติจนเกิดการค้นพบ สิ่งท่ตี อ้ งการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ซงึ่ ทาใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อการปฏิบัตติ นในการอยู่รว่ มกบั ผ้อู ่ืน (กาญจนา ไชยพันธุ์, 2549) ให้ความหมายว่า การที่บุคคลมารวมกันเพื่อศึกษาประสบการณ์ของกลุ่ม หลาย ๆ ฝ่าย ศึกษาพฤตกิ รรมความเป็นผู้นาผู้ตาม ความคิด ฝกึ ปฏิสัมพันธร์ ะหว่างบุคคล และมีการศึกษาจาก ประสบการณ์ โดยผู้ศกึ ษาจะต้องเข้าไปมสี ่วนรว่ มในประสบการณ์การเรียนรู้ทีจ่ ัดขึน้ สรุปความหมาย กระบวนการกลุ่ม หมายถึง การที่บุคคลมารวมกันต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป เพ่ือร่วมกัน กระทาการศกึ ษาหาข้อมลู ตามความเป็นจริง โดยทกุ คนได้รับประโยชน์ ไม่มกี ารเป็นผู้นา ผ้ตู าม ทุกคนสามารถ แสดงความคดิ ความรู้สกึ และการกระทาได้อยา่ งเท่าเทียมกนั เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและต่อสงั คม 2.2 ทฤษฎเี ก่ยี วกบั กระบวนกำรกลุ่ม (กาญจนา ไชยพันธุ์, 2549) กระบวนกลุม่ ต้องอาศัยทฤษฎเี ข้ามามีส่วนเกยี่ วขอ้ งในการจัดกระบวนการ กลุ่ม ซ่ึงมที ฤษฎีดงั ต่อไปน้ี 1. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) ของ Kurt Lewin ในเรื่องของกลุ่ม Lewin สรุปสาระสาคัญของ ทฤษฎีสนามไวด้ ังนี้ (วินจิ เกตขุ าและคมเพชร ฉัตรศภุ กุล, 2522) 1. พฤติกรรมเป็นผลจากพลังความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มไม่ได้เกิดจากการรวมตัว ของสมาชิกเพยี งเอย่างเดยี ว แตจ่ ะเป็นผลจากโครงสรา้ งที่เกดิ จากการเกีย่ วข้องสมั พนั ธ์กันและกันในกลุ่ม 2. โครงสร้างของกลมุ่ เกดิ จากระบวนกลุ่มของบุคคลที่มีลักษณะแตกตา่ งกนั 3. การรวมกลุ่มแต่ละครั้งจะต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม โดยเป็นปฏิสัมพันธ์ใน รูปการกระทาความรู้สกึ และความคิด 4. องค์ประกอบด้านปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การกระทา ความรู้สึก และความคิด จะก่อให้เกิด โครงสร้างของกลุ่มแต่ละครงั้ ซ่งึ มีลักษณะแตกตา่ งกนั ออกไปตามลกั ษณะของสมาชกิ ในกลุม่ 5. สมาชิกในกลุ่มจะมีการปรับตัวเข้าหากัน และพยายามช่วยกันทางาน ซึ่งการที่บุคคล พยายามปรับบุคลิกภาพของตนทีม่ ีความแตกตา่ งกันนี้ จะก่อให้เกิดความเปน็ อันหน่งึ อันเดียวกัน และทาให้เกิด พลงั หรือแรงผลักดนั ของกลุ่มที่ทาในการทางานเปน็ ไปดว้ ยดี 2. ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ (Interaction Theory) ของ Bales โฮมาน และ ไวที (Homans & Whyte อ้าง ถึงใน ทศิ นา แขมมณี และคณะ, 2522) ไดก้ ลา่ วถึงแนวคิดพน้ื ฐานของทฤษฎีนี้ คอื

10 1. กลุม่ จะมีปฏสิ มั พันธโ์ ดยการกระทากจิ กรรมอย่างใดอยา่ งหนึง่ 2. ปฏิสมั พนั ธ์จะเป็นปฏสิ มั พนั ธท์ กุ ๆ ดา้ น คอื - ปฏสิ ัมพนั ธท์ างรา่ งกาย - ปฏิสัมพนั ธ์ทางวาจา - ปฏสิ ัมพันธ์ทางจิตใจ 3. กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทก่ี ระทาผ่านการมปี ฏิสัมพนั ธน์ ้ี จะก่อใหเ้ กิดอารมณค์ วามรู้สกึ ขนึ้ 3. ทฤษฎีบุคลิกภาพของกลุ่ม (Group Syntality Theory) ของ Cattell ทฤษฎีน้ีอาศัยหลักการจาก ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) (โยธิน ศันสนยุทธ, 2528) คือ กฎแห่งผล (Low of Effect) เพ่อื อธบิ ายพฤตกิ รรมของกลุ่ม แนวคิดในทฤษฎนี ี้ประกอบไปด้วย 1. ลักษณะของกลุม่ ประกอบด้วย - กลุ่มแต่ละกลุ่มจะประกอบด้วยสมาชิกซ่ึงมีบุคลิกภาพเฉพาะตัว (Population Traits) ได้แก่ สติปัญญา ทัศนคติ บุคลิกภาพ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าเป็นลักษณะในรูปเอกัตบุคคลที่รวมกันเข้า เป็นกลมุ่ การทางานของเอกตั บคุ คลที่ทางานสอดคล้องกนั เรียกว่า กลุ่ม - กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีบุคลิกภาพเฉพาะกลุ่ม (Syntality Traits) หรือความสามารถที่ กลุ่มได้รบั จากสมาชิก ซึ่งจะทาให้กลุ่มมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป บุคลิกภาพของกลุ่มได้จากความสามารถ ของกล่มุ ท่ีมีอย่ใู นการกระทาของสมาชิกร่วมกนั - กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะโครงสร้างภายในโดยเฉพาะ (Characteristic of Internal Structure) ซ่ึงหมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก และแบบแผน หรือลักษณะในการรวมกลุ่ม เชน่ มีการแสดงตาแหน่งบทบาทหน้าที่ มกี ารสือ่ สารกันระหวา่ งสมาชกิ 2. พลัง หรือการเปล่ียนแปลงบุคลิกภาพของกลุ่ม (Dynamics of Syntality) หมายถึง การ แสดงกจิ กรรมหรือความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่มเพื่อจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง การกระทาของสมาชิกจะ มีลักษณะ 2 ประการ คอื - ลักษณะท่ีทาให้กลุ่มรวมกันได้ (Maintenance Synergy) หมายถึง ลักษณะของ ความรว่ มมือในการกระทากิจกรรมของสมาชิกแต่ละกลุ่มเพ่อื ให้ความสัมพันธ์ของสมาชิกเป็นไปได้อย่างราบรื่น และก่อให้เกิดความสามัคคี ซงึ่ จะทาให้การรวมกลมุ่ ไมม่ กี ารแตกแยก หรอื การถอนตัวออกจากกลมุ่

11 - ลักษณะท่ีจะทาให้กลุ่มประสบผลสาเร็จ (Effective Synergy) หมายถงึ กิจกรรมที่ สมาชิกกระทาเพอื่ ให้บรรลจุ ุดมุ่งหมายที่ต้ังไว้ 4. ทฤษฎีพ้ืนฐานความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หรือ FIRO (Fundamental Interpersonal Relation Orientation) ของ Schuts ทฤษฎีนี้จะพิจารณาพฤติกรรมระหว่างสมาชิกท่ีพยายามปรับตัวเขา้ หากัน โดยเชื่อ ว่าคนทุกคนจะมีลักษณะเฉพาะในการปรับตัวให้เข้ากับผู้อ่ืน ความต้องการท่ีจะมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นมี 3 ลกั ษณะ คอื 1. ความต้องการมีส่วนร่วมหรือการเช่ือมโยงกับผู้อ่ืน (Inclusion) ได้แก่ความต้องการจะมี สัมพันธก์ ับผู้อื่น โดยการแสดงพฤติกรรมการสนใจตอ่ ผ้อู ื่น และความเป็นมิตรหรือความต้องการอยู่ร่วมกับผู้อื่น เพอื่ ให้เกิดชื่อเสยี ง (Prestige) การเป็นท่ียอมรบั นับถอื (Recognition) และความมีเกยี รติ (Prestige) เป็นตน้ 2. ความต้องการในการควบคุม (Control) หมายถึง กระบวนการบุคคลตัดสินใจเพ่ือจะให้ อิทธิพล (Authority) มีอานาจ (Power) หรือความต้องการจะควบคุมผู้อ่ืน ซึ่งอาจจะแสดงออกมาในลักษณะ คือ การควบคมุ ผอู้ นื่ 3. ความต้องการเป็นที่รักใครของผู้อื่น (Affection) หมายถึง ความรู้สึกและอารมณ์ส่วนตัวท่ี เกิดข้ึนระหว่างบุคคลสองคน เช่น ความรัก ความเป็นมิตร การช่วยเหลือเก้ือกูลกัน การสร้างความผูกพันทาง อารมณ์ เพ่ือให้เกดิ ความใกล้ชิดสนทิ สนมตอ่ กัน การท่ีบุคคลมีความสัมพันธ์กัน จะแสดงพฤติกรรมและความต้องการเฉพาะตน ซึ่งพัฒนาขึ้น จากการได้รับการสนองความต้องการในวัยเด็ก ความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่มอาจเป็นในลักษณะท่ีเข้ากันได้ (Compatibility) หรือเข้ากันไม่ได้ (Incompatibility) ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับบุคคลที่สัมพันธ์กันและลักษณะในการ แสดงความสมั พันธก์ นั เป็นสาคัญ 5. ทฤษฎีสัมฤทธิผลของกลุ่ม (A Theory of Group Achievement) ผู้ที่เริ่มทฤษฎีน้ี คือ Stogdill โดยมีวัตถุประสงค์สาคัญในเร่ืองผลผลิตหรือสัมฤทธิผลของกลุ่ม ดังน้ันทฤษฎีนี้จึงไม่กล่าวถึงพฤติกรรมของ สมาชกิ ในกลมุ่ แต่เน้นโครงสร้างของทฤษฎีประกอบดว้ ยตัวแปร 3 ประเภท คือ 1. การลงทุนของสมาชิกหรือตัวแปรท่ีสมาชิกป้อนใส่เข้าไป (Member Input) คือ การ แสดงออกของสมาชิกภายในกลุ่ม รวมถึงการกระทาและการแสดงออกของสมาชิกเปน็ ส่วนสาคัญโดยเฉพาะใน เรอ่ื ง เมอื่ บุคคลมาอยู่รวมกนั จะมีปฏสิ ัมพันธ์ (Interaction) การแสดงออก (Performance) และความคาดหวัง (Expectations) 2. ส่ือกลางของการลงทุนของสมาชิก (Mediating Variables) เมื่อสมาชิกมีการลงทุนโดย กระทาหรือมีปฏิสัมพันธ์ รวมท้ังการคาดหวังผลร่วมกันแล้ว สิ่งหน่ึงที่จะทาให้กลุ่มบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายท่ี

12 ต้องการ คือ การกาหนดโครงสร้างของกลุ่มขึ้น เพื่อเป็นส่ือให้การลงทุนของสมาชิกบังเกิดผล โครงสร้างของ กลุ่มประกอบด้วย โครงสร้างอย่างเป็นทางการ โครงสร้างเก่ียวกับบทบาทของสมาชิก และผลของกลุ่มหรือ สมั ฤทธผิ ลของกลมุ่ 6. ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม (Exchange Theory) Thifaut and Kelley ทฤษฎีน้ีเน้น ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกและกระบวนการกลุ่ม ซ่ึงจะก่อให้เกิดผลจากการรวมกลุ่ม แนวคิดของทฤษฎีจะ เป็นพื้นฐานของการทาหนา้ ท่ีในกลุ่มได้เป็นอย่างดี แนวคิดท่ีสาคัญของทฤษฎีมี 3 ประการ ลุกท์ (Lugt, 1970) คือ 1. ในการรวมกลุ่มทาให้เกิดการแลกเปล่ียนพฤติกรรมและเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ซึ่งเกิดจากการท่ีสมาชิกมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในรูปต่าง ๆ เช่น การส่ือสาร หรือการแสดงพฤติกรรมที่บุคคลหนึ่ง แสดงต่ออีกคนหนึ่ง และจะมีอิทธิผลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคลน้ันด้วย เช่น การแสดงพฤติกรรม การ กระทาหรอื คาพูด 2. การแลกเปลี่ยนพฤติกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก จะก่อให้เกิดผลของกลุ่ม (Group Outcome) ขึ้น จึงเป็นผลจากการปฏิสัมพันธ์ของสมาชิก (Consequences of Interaction) ซ่ึง ประกอบด้วยรางวัลจากการมีปฏิสัมพันธ์ เช่น ความสบายใจ ความสนุกสนาน ความอ่ิมอกอิ่มใจ ความพอใจ และเหน็ คุณค่าของการพยายามกระทาพฤตกิ รรมนนั้ ให้บรรลุจุดมุ่งหมายตามท่ตี ้องการ 7. ทฤษฎีสังคมมิติ (Sociometric Theory) Moreno คือ ผู้ก่อต้ังทฤษฎีและอาศัยพ้ืนฐานทางทฤษฎี ดังน้ี 1. การกระทาและจริยธรรมหรือขอบเขตการกระทาของกลุ่มจะเกิดความสัมพันธ์ระห ว่าง สมาชกิ ในกลุ่ม 2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ คือ การแสดงบทบาทจาลอง (Role Playing) หรอื สงั คมมิติ (Sociometric) 8. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์น้ี สิงมัน (Sigmund Freud, 1993) มีแนวคดิ สาคัญของทฤษฎี คือ 1. กระบวนการทางแรงจูงใจ (Motivation Process) เมื่อบุคคลมาอยู่รวมกันจะต้องอาศัย แรงจูงใจเปน็ รางวลั หรือผลจากการทางานในกลมุ่ 2. การรวมกลุ่ม (Cohesive) บุคคลจะมีโอกาสแสดงตนอย่างเปิดเผย หรือพยายามป้องกัน ปิดบังตนเองโดยกลวิธีในการป้องกันตน หรือพยายามปิดบังตนเองโดยกลวิธีในการวิเคราะห์ต่าง ๆ (Defense

13 Mechanism) การใช้แนวคิดน้ีในการวิเคราะห์กลุ่ม ซ่ึงให้บุคคลแสดงออกตามความเป็นจริง โดยใช้วิธีการ บาบัด จะทาใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ เกดิ ความเขา้ ใจตนเองและผู้อืน่ 2.3 เทคนคิ และวธิ กี ำรท่ใี ชใ้ นกระบวนกำรกลุม่ สาหรับเทคนิคและวิธีการท่ีใช้ในกระบวนการกลุ่มน้ัน (สุรางค์ โค้วตระกูล, 2541 อ้างถึงใน นิตยา วิเศษพานิช, 2546) ได้กล่าวถึงเทคนิคและวิธีการนากระบวนการกลุ่มมาใช้ในการสอน โดยใช้สรุปเป็นเทคนิค วธิ ที ่สี าคญั ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เกม (Game) การสอนโดยใชเ้ กม เป็นการสอนโดยให้ผู้เรยี นเข้าไปอย่ใู นกจิ กรรม หรือสถานการณ์ ที่ผู้เล่นยินยอมตกลงกันที่จะปฏิบัติตามเง่ือนไขใดเงื่อนไขหน่ึง เพ่ือให้ได้ตามเป้าหมายท่ีต้องการ ซึ่งมักจะมีผล ในรูปของการแพ้ การชนะ การเล่นเกมจะช่วยให้สมาชิกได้เรียนรู้ยุทธวิธีที่จะเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ และได้ ฝึกฝนเทคนคิ และทักษะท่ีต้องการ รวมท้งั ชว่ ยให้เกดิ ความสนกุ สนานในการเรียน 2. บทบาทสมมติ (Role - Play) การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ เป็นการใช้ตัวละครท่ีสมมติขึ้นจาก สถานการณ์ใดสถานการณ์หน่ึงที่ใกล้เคียงความเป็นจริง มาเป็นเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนสวม บทบาทนั้น ๆ และแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนเกี่ยวกับบทบาทน้ันออกมา วิธีการน้ีช่วยให้มีโอกาสศึกษา วิเคราะห์ถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผู้อ่ืนได้อย่างลึกซึ้ง และบทบาทสมมติยังช่วยให้เข้าใจถึง บทบาททีต่ า่ งไปจากตน 3. กรณีตัวอย่าง (Case) เป็นการใช้กรณี หรอื เร่ืองราวต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนจริงมาดัดแปลงและใช้เป็นส่ือ ตัวอย่าง หรือเครื่องมือในการศึกษาวิเคราะห์และอภิปรายกัน เป็นการช่วยฝึกฝนการใช้ความคิดในการ แก้ปัญหาหลาย ๆ แบบ วิธีการนี้ช่วยให้คิดและพิจารณาข้อมูลที่ตนได้รับอย่างถี่ถ้วน นอกจากนั้นยังช่วยให้ การเรยี นรู้มลี กั ษณะใกลเ้ คียงกับความเป็นจริง ทาให้การเรยี นรมู้ ีความหมายตอ่ ผเู้ รยี นมากข้ึน 4. สถานการณ์จาลอง (Simulation) เป็นการใช้สถานการณ์ท่ีจาลองข้ึนให้เหมือนจริง หรือใกล้เคียง กับความเป็นจริง โดยให้ผู้เรียนเข้าไปอยู่ในสถานการณ์น้ัน และมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่ในสถานการณ์ และใช้ข้อมูลในความเป็นจริงในสภาพการณ์นั้น ในการตัดสินใจและแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยที่การตัดสินใจนั้นจะ สง่ ผลถึงผู้เล่นถึงลักษณะเดยี วกับท่ีเกิดขึ้นในสถานการณ์จริง ในการเล่นในสถานการณ์จาลองช่วยให้ผู้เรียนเกิด ความเข้าใจลึกซ้ึงในองค์ประกอบท่ีซับซ้อนของสภาพความเป็นจริงได้ทดลองแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีในชีวิต จริงอาจไมก่ ล้าแสดง เพราะเปน็ การเสี่ยงตอ่ ผลทีจ่ ะได้รับจนเกนิ ไป 4. กลุ่มย่อย (Small Group) การใช้กลุ่มย่อยช่วยเปิดโอกาสให้สมาชิกได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่าง ทั่วถึง รวมท้ังให้สมาชิกได้เรียนรู้จากกันและกัน คือได้เรียนรู้ความรู้สึก พฤติกรรม การปรับตัว การมี ปฏิสัมพันธ์ การเรียนรู้บทบาทหน้าท่ี การแก้ปัญหาและการตัดสินใจร่วมกัน ท้ังยังได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์

14 ความรู้ ความคิด การใช้เทคนิคกลุ่มย่อยมีหลายวิธดี ้วยกัน แต่ที่นิยมใช้กันมากก็คือ กลุ่มระดมสมอง ที่เรียกว่า Brainstorming Group จากที่กลา่ วมา อาจกล่าวไดว้ ่า เทคนคิ และวธิ ีการใช้กระบวนการกล่มุ น้นั มหี ลากหลาย ฉะนั้นในการที่ จะเลือกใช้วิธีการใด จึงควรคานึงถึงความเหมาะสมในทุกด้าน รวมทั้งคานึงถึงวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของ การจดั กิจกรรมในแต่ละครงั้ ดว้ ย รำยวิชำ การพัฒนาบุคลิกภาพในงานท่องเที่ยว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สายการโรงแรม โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 31 เชียงใหม่ งำนวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง (วิมพ์วิภา ถาสกุล, 2550) ทาการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาการใช้กิจกรรมตามทฤษฎีเผชิญ ความจริงเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 10 คน ถูกเลือกมาแบบสุ่มอย่างง่าย เพ่ือเข้าร่วม กิจกรรมกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงจานวน 10 กิจกรรม เครื่องมือท่ีใช้ได้แก่ แบบทดสอบพฤติกรรมกล้า แสดงออกประเมินก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม และกิจกรรมตามทฤษฎีเผชิญความจริง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาค่า t – test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการเข้าร่วม กิจกรรม นักเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมกล้าแสดงออกสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิตทิ ่ีระดับ 0.05 (D’Zurilla & Goldfried ,1971) ได้ทาการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์คือมุ่งระบุลาดับเวลา ความคิดของคนทมี่ ีพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมสงู กบั คนที่มีพฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสมต่า พบว่าคนที่มีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมสูงมีทักษะการแก้ปัญหา มีการเตรียม ปัญหา มีการกาหนด มีการสร้างรูปแบบทักษะการแก้ปัญหา และม่ันใจตนเองในการมีความสามารถที่จะให้ คาตอบสูงกวา่ ผทู้ ่ีมพี ฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมตา่ (รัศมี เช้ือเจด็ ตน, 2539) ศึกษาพฤติกรรมกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัยโดยใช้บทบาทสมมุติ และเปรียบเทียบพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมของเด็กปฐมวัยท่ีรับการฝึก โดยใช้กิจกรรม บทบาทสมมุติ และไม่ได้รับการฝึกโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติ จานวน 46 คน พบว่านักเรียนที่ได้รับการฝึก โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในด้านการพูดมากกว่าการกระทา และการคิดและมพี ฤตกิ รรมกลา้ แสดงออกเพม่ิ ข้ึนหลังได้รับการฝกึ โดยใช้กจิ กรรมบทบาทสมมตุ ิ

15 บทที่ 3 วธิ กี ำรดำเนินกำรวจิ ยั กำรดำเนินกำรวจิ ัยผวู้ ิจัยดำเนินกำรตำมขน้ั ตอนดังน้ี 1. กลุ่มเป้ำหมำย นักเรยี นในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 สายการโรงแรม นักเรยี นหญิง จานวน 18 คน 2. เครอ่ื งมอื กำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้ กิจกรรมการสร้างภาวะความเป็นผู้นา และแบบสังเกตการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมและการเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อนและหลังการทาการวิจัย เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมแี นวทางใน ดงั นี้ 2.1 ประเภทของเครือ่ งมือวิจัย 2.1.1 เครอ่ื งมอื สาหรบั การพัฒนา คือ การทากจิ กรรมการสร้างภาวะความเป็นผู้นา 2.1.2 เครือ่ งมือสาหรับการตรวจสอบการพัฒนา คอื แบบสงั เกตการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม 2.2 วธิ กี ารสร้างเคร่อื งมอื วิจัย ในการวิจัยคร้งั น้ีผวู้ ิจัยดาเนินการสรา้ งเครอื่ งมอื การวจิ ยั ตามลาดับ ดงั นี้ 2.2.1 เครอื่ งมือสาหรบั การพัฒนา โดยการทากิจกรรมการสร้างภาวะความเป็นผู้นา มขี ้ันตอน ดงั นี้ - ศึกษาเอกสารแนวคิดกิจกรรมการฝึกภาวะความเป็นผู้นา ตระหนักถึงความสาคัญ ของการ เป็นผูน้ า - ผู้วิจัยสร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสาคัญของการเป็นผู้นาโดยผ่านกิจกรรม การฝึกภาวะความเปน็ ผูน้ า - นาประเด็นการทากิจกรรมการฝึกภาวะความเป็นผู้นาเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อน และหลังท่ีสร้างข้นึ ไปเสนอเพื่อตรวจสอบความถกู ต้อง -ผวู้ ิจัยดาเนินการปรับปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผ้เู ชี่ยวชาญ 2.2.2 เครื่องมือสาหรับการตรวจสอบการพัฒนา คือ แบบสังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีข้ันตอนการสรา้ งดงั นี้ - ศึกษาเอกสารแนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั การจัดทาแบบสังเกต - ผู้วจิ ยั สรา้ งแบบสังเกตพฤตกิ รรม

16 - นาแบบสังเกตพฤติกรรมที่สร้างข้ึน นาเสนอผู้เช่ียวชาญ เพ่ือตรวจสอบความตรง ของเนือ้ หา และดาเนินการปรบั ปรุงแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะของผเู้ ชยี่ วชาญ - จัดทาแบบสังเกตพฤตกิ รรมฉบบั สมบูรณเ์ พอ่ื ใชใ้ นการวจิ ัยครง้ั ต่อไป 3. วิธีกำรดำเนินงำนวิจัย การวจิ ัยครง้ั น้ี ผ้วู ิจัยได้มกี ารดาเนนิ การดังนี้ 3.1 ผู้วิจัยได้สังเกตพฤติกรรมการเป็นผู้นาของนักเรียนช้ัน นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 สายการ โรงแรม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เชยี งใหม่กอ่ นทากิจกรรม 3.2 ออกแบบเคร่ืองมือสาหรับการพัฒนาโดยการตระหนักให้เห็นถึงความสาคัญของการเป็นผู้นาโดย ผ่านกจิ กรรมการฝกึ ภาวะความเป็นผู้นาดา้ นการ 3.3 กิจกรรม สร้างภาวะความเป็นผู้นาคร้ังท่ี 1 ผู้วิจัยได้ตระหนักถึงการฝึกภาวะความเป็นผู้นาในช้ัน เรยี นในดา้ นการตัดสินใจในการทางาน, ความม่นั ใจในตัวเอง และความกล้าแสดงออกหน้าชนั้ เรยี น 3.4 ผู้วิจัยประเมินผลการทากิจกรรมคร้ังที่ 1 โดยใช้แบบสังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ นกั เรยี น 3.5 กิจกรรม สร้างภาวะความเป็นผู้นาครั้งท่ี 2 ผู้วิจัยได้ตระหนักถึงการฝึกภาวะความเป็นผู้นาในช้ัน เรียนในด้านการตดั สนิ ใจในการทางาน, ความมั่นใจในตวั เอง และความกลา้ แสดงออกหนา้ ชัน้ เรยี น 3.6 ผู้วิจัยประเมินผลการทากิจกรรมครั้งท่ี 2 โดยใช้แบบสังเกตการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของ นักเรยี น 3.7 กิจกรรม สร้างภาวะความเป็นผู้นาคร้ังที่ 3 ผู้วิจัยได้ตระหนักถึงการฝึกภาวะความเป็นผู้นาในช้ัน เรียนในด้านการตัดสินใจในการทางาน, ความมั่นใจในตัวเอง และความกล้าแสดงออกหนา้ ชั้นเรยี น 3.8 ผู้วิจัยประเมินผลการทากิจกรรมครั้งท่ี 3 โดยใช้แบบสังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ นักเรยี น 3.9 กิจกรรม สร้างภาวะความเป็นผู้นาครั้งที่ 4 ผู้วิจัยได้ตระหนักถึงการฝึกภาวะความเป็นผู้นาในชั้น เรยี นในดา้ นการตดั สินใจในการทางาน, ความม่นั ใจในตวั เอง และความกล้าแสดงออกหน้าชน้ั เรียน 3.10 ผู้วิจัยประเมินผลการทากิจกรรมคร้ังที่ 4 โดยใช้แบบสังเกตการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของ นกั เรียน 3.11 กิจกรรม สร้างภาวะความเป็นผู้นาครั้งที่ 5 ผู้วิจัยได้ตระหนักถึงการฝึกภาวะความเป็นผู้นาในช้ัน เรียนในด้านการตดั สินใจในการทางาน, ความมนั่ ใจในตวั เอง และความกล้าแสดงออกหน้าชน้ั เรยี น

17 3.12 ผู้วิจัยประเมินผลการทากิจกรรมคร้ังที่ 5 โดยใช้แบบสังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ นกั เรียน 3.13 สรุปผลการประเมนิ การสงั เกตการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมของนักเรียนทง้ั 5 ครั้ง 4. กำรวิเครำะหข์ ้อมลู 4.1 สรุปวิเคราะห์ขอ้ มลู สรุปวิเคราะห์ข้อมูลผลคะแนนที่ได้จากการสังเกตพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงด้านภาวะความ เป็นผู้นาของนักเรียน นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 สายการโรงแรม โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 เชียงใหม่ 4.2 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์สรปุ ขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการหาค่าความถแี่ ล้วนามาเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ ดังนี้ เกณฑ์ คะแนน 10-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 5-9 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1-4 หมายถงึ ควรปรับปรุง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook